Math PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 191

BOBBYtutor Mathematic Note

เซต (Sets)
เซต
เซต เปนคําที่ไมไดใหนิยาม (Undefined Term) เรามักใชเซตแทนสิ่งที่อยูรวมกัน ซึ่งหมายถึงกลุมของสิ่งตางๆ
ที่เราสามารถกําหนดสมาชิกไดชัดเจน (Well - defined)
การเขียนเซต
1. เขียนแบบแจกแจงสมาชิก (Tabular form) เปนการเขียนเซตโดยบรรจุสมาชิกทั้งหมดของเซตลงในวงเล็บ
ปกกา และระหวางสมาชิกแตละตัวคั่นดวยเครื่องหมายจุลภาค ( , )
(หมายเหตุ : ถาเซตมีจํานวนสมาชิกมากมาย เราใช "..." แทนสมาชิกที่เหลือ)
2. เขียนเซตแบบบอกเงื่อนไขของสมาชิกในเซต (Set builder form)
มีหลักการ คือ แทนสมาชิกของเซตดวยตัวแปรแลวกําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับตัวแปรนั้น เพื่อแสดงวามีสิ่งใดบางที่
เปนสมาชิกของเซต
วิธีเขียนเซตโดยวิธีนี้ คือ เขียนตัวแปรและสิ่งที่กําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับตัวแปรลงในวงเล็บปกกาและคั่นตัวแปร
กับสิ่งที่กําหนดเงื่อนไขเกี่ยวกับตัวแปรดวยเครื่องหมาย " | " หรือ " : "
3. การเขียนเซตดวยวิธีอื่นๆ เชน แบบบรรยาย, แบบใชแผนภาพเวนน, แบบชวง เปนตน
BOBBYtutor Mathematic Note

แผนภาพเวนน-ออยเลอร เปนแผนภาพที่ใชเขียนแทนเซต ซึ่งแทนเอกภพสัมพัทธ U ดวยสี่เหลี่ยมผืนผา และ


แทนเซต A, B, ... ดวยรูปวงกลม หรือวงรี หรือรูปปดอื่นๆ ดังรูป
A U
B
1, 2, 3 a
C 4, 5 b
c

รูปวงรี แทนเซต A โดยที่ A = {1, 2, 3}


รูปวงกลม แทนเซต B โดยที่ B = {a, b, c}
รูปสามเหลี่ยม แทนเซต C โดยที่ C = {4, 5}
ซึ่งในเรื่องของแผนภาพนี้เรายังทําไปประยุกตใชในเรื่องการกระทําระหวางเซต ซึ่งแสดงดวยแผนภาพจะทําใหดู
เขาใจงายขึ้น
เซตที่ควรรูจัก
1. เซตจํากัด (Finite Set) หมายถึง เซตที่มีจํานวนสมาชิกจํากัด (มีจํานวนสมาชิกเทากับจํานวนเต็มบวกหรือ
ศูนย)
2. เซตอนันต (Infinite Set) หมายถึง เซตที่มีจํานวนสมาชิกไมจํากัด และเปนเซตซึ่งไมใชเซตจํากัด
3. เซตวาง (Empty Set) หมายถึง เซตที่ไมมีสมาชิกและเขียนแทนดวยสัญลักษณ φ หรือ { } เซตวางถือวา
เปนเซตจํากัดและเปนเซตที่มีจํานวนสมาชิกเทากับ 0
4. เซตที่เทากัน เซต A เทากับเซต B ก็ตอเมื่อเซตทั้งสองมีจํานวนสมาชิกเทากัน และสมาชิกทุกตัวเหมือนกัน
เขียนแทนดวยสัญลักษณ "A = B" หรืออาจกลาววาเซต A เทากับเซต B ก็ตอเมื่อ A ⊂ B และ B ⊂ A
5. เซตเทียบเทา เซตสองเซตใดๆ จะเทียบเทากัน ก็ตอเมือ่ เซตทัง้ สองมีจานวนสมาชิ
ํ กเทากัน แตสมาชิกไมจําเปน
ตองเหมือนกัน หรือจะเหมือนกันก็ไดเขียนแทนดวย A ∼ B
6. เซตที่ไมเทากัน เซต A ไมเทากับเซต B ก็ตอเมื่อมีสมาชิกของเซต A อยางนอย 1 ตัว ที่ไมเปนสมาชิกของ
เซต B หรือมีสมาชิกของเซต B อยางนอย 1 ตัว ที่ไมเปนสมาชิกของเซต A เขียนแทนดวยสัญลักษณ A ≠ B
สับเซต (Subset) และเพาเวอรเซต (Power Set)
ให A และ B เปนเซตใดๆ จะไดวา
1. เซต A เปนสับเซตของเซต B ก็ตอ เมือ่ ทุกสมาชิกของเซต A เปนสมาชิกของเซต B เขียนแทนดวย "A ⊂ B"
2. เซต A ไมเปนสับเซตของเซต B ก็ตอเมื่อมีสมาชิกอยางนอย 1 ตัว ของเซต A ที่ไมเปนสมาชิกของเซต B
เขียนแทนดวยสัญลักษณ "A ⊄ B"
3. เซต A เปนสับเซตแท (Proper Subset) ของเซต B ก็ตอเมื่อ A เปนสับเซตของ B แต A ≠ B และใช
สัญลักษณ "⊂" แทนทั้งสับเซตแทและสับเซตไมแท
4. เพาเวอรเซต (Power Set) ของเซต A คือ เซตของสับเซตทั้งหมดของเซต A เขียนแทนดวยสัญลักษณ
"P(A)" ดังนั้น P(A) = {x | x ⊂ A}
BOBBYtutor Mathematic Note

สมบัติของสับเซต
1. ถา A เปนเซตใดๆ แลว A ⊂ A [เซตทุกเซตเปนสับเซตของตัวเอง]
2. ถา A เปนเซตใดๆ แลว φ ⊂ A [เซตวางเปนสับเซตของทุกเซต]
3. ถา A ⊂ B และ B ⊂ C แลว A ⊂ C
4. ถา A เปนเซตจํากัดใดๆ ที่มีสมาชิก n ตัว แลว สรุปไดวา
4.1 จํานวนสับเซตทั้งหมดของเซต A = 2n เซต
4.2 จํานวนสับเซตแททั้งหมดของเซต A = 2n - 1 เซต
4.3 จํานวนสับเซตที่มีสมาชิกอยางนอย 1 ตัว = 2n - 1 เซต
4.4 จํานวนสับเซตที่มีสมาชิกอยางนอย 2 ตัว = 2n - n - 1
4.5 จํานวนสับเซตที่มีสมาชิกเพียง 2 ตัว = n(n2- 1) เซต
4.6 จํานวนสับเซตที่มีสมาชิกเพียง r ตัว = Cn, r = (n -n!r)!r! เซต
สมบัติของเพาเวอรเซต
ให A เปนเซตใดๆ เพาเวอรเซตของเซต A เขียนแทนดวย P(A) และมีสมบัติดังนี้
1. P(A) ≠ φ สําหรับทุกๆ เซต A [P(A) จะตองมีสมาชิกอยางนอย 1 ตัว เสมอ]
2. φ ∈ P(A) และ φ ⊂ P(A) สําหรับทุกๆ เซต A
3. A ∈ P(A) เสมอ
4. ถา A เปนเซตใดๆ ที่มีสมาชิก n ตัว จํานวนสมาชิกของ P(A) = 2n เซต
5. ถา A ⊂ B แลว P(A) ⊂ P(B)
6. P(A) I P(B) = P(A I B)
7. P(A) U P(B) ⊂ P(A U B)
8. ถา A เปนเซตอนันตแลว P(A) เปนเซตอนันต
ขอสังเกต
1. A ⊂ (A U B) และ B ⊂ (A U B)
2. (A I B) ⊂ A และ (A I B) ⊂ B
3. ถา A ⊂ B แลว A U B = B
4. ถา A ⊂ B แลว A I B = A
BOBBYtutor Mathematic Note

การดําเนินการบนเซต (Operation on set)


ให A และ B เปนเซตใดๆ และ U เปนเอกภพสัมพัทธซึ่งกําหนดดังแผนภาพตอไปนี้
A U
A B
B

U
Joint Disjoint
A A B
B
U U
Include Equal
1. ยูเนียน (Union)
ยูเนียนของเซต A และเซต B คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกซึ่งเปนสมาชิกของเซต A หรือของเซต B หรือ
ของทั้งสองเซต เขียนแทนดวยสัญลักษณ "A U B"
ดังนั้น A U B = {x ∈ U | x ∈ A หรือ x ∈ B หรือ x ∈ A และ B}
บริเวณที่แรเงาในแผนภาพ คือ A U B
A
A B
B

U U

A A B
B

U U
BOBBYtutor Mathematic Note

2. อินเตอรเซกชัน (Intersection)
อินเตอรเซกชันของ A และ B คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิกซึ่งเปนสมาชิกของทั้งเซต A และเซต B เขียน
แทนดวยสัญลักษณ "A I B"
ดังนั้น A I B = {x ∈ U | x ∈ A และ x ∈ B}
A
A B
B
U U
A A B
B
U U
บริเวณที่แรเงาในแผนภาพ คือ A I B
3. ผลตาง (Difference)
ผลตางระหวางเซต A และ เซต B หรือคอมพลีเมนตของ B เมื่อเทียบกับ A คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิก
ซึ่งเปนสมาชิกของเซต A แตไมเปนสมาชิกของเซต B เขียนแทนดวยสัญลักษณ "A - B"
ดังนั้น A - B = {x ∈ U | x ∈ A และ x ∉ B}
บริเวณที่แรเงาในแผนภาพ คือ A - B
A
A B
B

U U
A A B
B

U U
BOBBYtutor Mathematic Note

4. คอมพลีเมนต (Complement)
คอมพลีเมนตของเซต A เมื่อเทียบกับ U เขียนแทนดวย A′ หรือ U - A หมายถึง เซตที่ประกอบดวย
สมาชิกซึ่งเปนสมาชิกของ U แตไมเปนสมาชิกของ A
ดังนั้น A = {x ∈ U | x ∉ A}
A A B A B

U U U
A′ (A B)′ (A U B)′
U

กฎทางพีชคณิตของเซต (Laws of the Algebra of Sets)


ให A, B, C เปนเซตใดๆ
กฎทางพีชคณิตของเซต Union Intersection
1. Idempotent Laws AU A = A AI A = A
AU φ = A AI φ = φ
AU U = U AI U = A
2. กฎการเปลี่ยนกลุมได (A U B) U C = A U (B U C) (A I B) I C = A I (B I C)
(Associative Laws)
3. กฎการสลับที่ (Commutative Laws) AU B = BU A AI B = BI A
4. กฎการกระจาย (Distributive Laws) A U (B I C) = (A U B) I (A U C) A I (B U C) = (A I B) U (A I C)
5. กฎเอกลักษณ (Identity Laws) AU φ = A AI U = A
6. Complement Laws A U A′ = U A I A′ = φ
7. De Morgan's Laws (A U B)′ = A′ I B′ (A I B)′ = A′ U B′
การหาจํานวนสมาชิกของเซต
กําหนดให U เปนเอกภพสัมพัทธ A, B และ C เปนเซตจํากัด ซึ่งตางก็เปนสับเซตของเอกภพสัมพัทธ U
1. ถา A และ B เปนเซตจํากัด และ A I B = φ แลว n(A U B) = n(A) + n(B)
2. ถา A และ B เปนเซตจํากัดใดๆ และ A I B ≠ φ แลว n(A U B) = n(A) + n(B) - n(A I B)
3. ถา A, B และ C เปนเซตจํากัดใดๆ และ A I B I C ≠ 0 แลว
n(A U B U C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A I B) - n(A I C) - n(B I C) + n(A I B I C)
ถา A I B = φ แลว ถา A I B ≠ φ แลว
A A B

U B U
n(A U B) = n(A) + n(B) n(A U B) = n(A) + n(B) - n(A I B)
BOBBYtutor Mathematic Note

4. ถา A, B และ C เปนเซตจํากัดใดๆ แลว


n(A U B U C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A I B) - n(A I C) - n(B I C) + n(A I B I C)
พิจารณาดังรูป
A B A C

C B
U U
(A I B I C) n(A U B U C) = n(A) + n(B) + n(C)
5. ถา A เปนเซตจํากัดใดๆ แลว n(A′) = n(U) - n(A) ดังรูป

บริเวณที่แรเงาคือจํานวนสมาชิกของเซตของ n(A′)
A
U A′

แนวขอสอบ
1. ขอใดถูกตอง
1) {0, 1, 2, 3, 4} ⊂ {จํานวนจริง}
2) ถา A ⊂ B แลว เซต A มีจํานวนสมาชิกนอยกวาเซต B
3) ถา A เปนเซตจํากัดใดๆ แลว จะมีเซต A ที่ทําให n(P(A)) = 15
4) ถา A เปนเซตจํากัด และ n(P(P(A))) = 256 แลว n(A) = 3
2. กําหนด <a, b> = {{a}, {a, b}} เมื่อ a, b เปนสมาชิกใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ U ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) <a, b> I <b, a> = {a, b} 2) <a, b> I {a} ≠ φ
3) <a, b> I {{a}} = {{a}} 4) <a, b> = <b, a>
3. ถา A U B มีจํานวนสมาชิก 7 ตัว และ A I B มีจํานวนสมาชิก 3 ตัว ถา A และ B มีจานวนสมาชิ
ํ กเทากัน จงหาวา
A - B มีสมาชิกกี่ตัว
1) 1 2) 2 3) 3 4) 4
4. กําหนด Im คือ เซตคําตอบของจํานวนนับ m ตัวแรก กลาวคือ Im = {1, 2, 3, ... , m} ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
1) (I1 U I4) I I5 ≠ I4 I I5 2) (I99 - I100) U A = A เมื่อ A เปนเซตใดๆ
3) P(I10 - I7) มีจํานวนสมาชิก 8 ตัว 4) n(I3 - I5) ≠ n(I3) - n(I5)
5. เซต E ในขอใดตอไปนี้ที่แตละสมาชิกของ E ลวนแตเปนสับเซตของ E
1) E = เซตของจํานวนจริง 2) E = {φ, {φ}, {{φ}}, ...}
3) E = {0, {1}, {1, 2}, {1, 2, 3}, ...} 4) E = {{1, 2, 3, ...}, {2, 3, 4, ...}, {3, 4, 5, ...}, ...}
BOBBYtutor Mathematic Note

6. กําหนดให A = {a, 1, b, 2, c, 3}, B = {a, b} จะมีเซต E ซึ่ง E ⊂ A และ E I B ≠ φ กี่เซต


1) 16 2) 32 3) 48 4) 64
7. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} และ B = {1, 2, 3} ให E เปนเซตใดๆ ที่ B ⊂ E ⊂ A จะมีเซต E
ดังกลาวกี่เซต
1) 16 2) 32 3) 35 4) 48
8. กําหนด A = {x | x เปนอักษรในคําวา "BRAND'S SUMMER CAMP"}
B = {y | y เปนอักษรในคําวา "SUPERMAN"}
ถา C เปนเซตใดๆ ซึ่ง C ⊂ A และ C I B ≠ φ จํานวนเซต C ดังกลาวมีกี่เซต
1) 2040 2) 1016 3) 512 4) 256
9. กําหนด A = {1, 2, 3, ... , n, ...}
B = {10, 11, 12, ... , n + 9, ...}
ถา C เปนเซตใดๆ ซึ่ง C ⊂ A และ C I B = φ จะมีเซต C ดังกลาวกี่เซต
1) 256 2) 512 3) 1023 4) 1024
10. ให A, B และ C เปนเซตโดยที่ A I B ⊂ B I C ถา n(A) = 25, n(C) = 23, n(B I C) = 7, n(A I C) = 10
และ n(A U B U C) = 49 แลว n(B) เทากับขอใด
1) 11 2) 16 3) 17 4) 18
11. ถา A = {φ, 0, 1, {0, 1}} และ B = {φ, {φ}, {0, {0, 1}}, {0, {1}}} แลว เซต P(A) - B มีจานวนสมาชิ ํ กเทาใด
1) 13 2) 14 3) 15 4) 16
12. ถา A = {1, 2, 3, 4, ...} และ B = {{1, 2}, {3, 4, 5}, 6, 7, 8, ...} แลว (A - B) U (B - A) มีสมาชิกกี่ตัว
1) 5 2) 6 3) 7 4) 8
13. จากการสํารวจสีตาและสีผมของนักเรียนนานาชาติ จํานวน 100 คน ทราบวามีผูที่มีตาสีฟา 40 คน ตาสีนํ้าตาล
30 คน ผูที่มีผมสีทอง 20 คน และผมสีแดง 50 คน อยากทราบวาคนที่มีผมสีทองและตาสีฟามีกี่คน ถาคนที่
ผมสีทองหรือตาสีฟามี 55 คน
1) 5 2) 10 3) 15 4) 20
14. ออดทุกตัวเปนอึ่ง มีครึ่งหนึ่งของอางที่เปนอึ่ง มีครึ่งหนึ่งของอึ่งที่เปนออด ทั้งหมดมีอางอยู 30 ตัว และมีออดอยู
20 ตัว อางทุกตัวไมเปนออด อยากทราบวามีอึ่งกี่ตัวที่ไมเปนออดหรืออาง
1) 5 2) 10 3) 15 4) 20
15. ให A, B และ C เปนเซตมีจํานวนสมาชิกเทากับ 25, 14 และ 18 ตามลําดับ ถา A I B, A I C, B I C และ
A I B I C มีจานวนสมาชิ
ํ กเทากับ 6, 8, 10 และ 2 ตามลําดับ แลวจํานวนสมาชิกของเซต (A I C) - B, B - (A U C)
และ (A U B) - C ตามลําดับคือขอใดตอไปนี้
1) 6, 0, 17 2) 6, 1, 26 3) 4, 1, 21 4) 4, 0, 17
16. ระหวางที่ไปพักตากอากาศชายทะเลแหงหนึ่งมีฝนตก 13 วัน ถาฝนตกตอนเชา ตอนบายอากาศแจมใส แตถาวัน
ไหนฝนตกตอนบาย ตอนเชาอากาศจะแจมใสมากอน ถาหากระหวางทีพ่ กั ตากอากาศอยูน นั้ มีอากาศแจมใสตอนเชา
11 วัน และตอนบายอากาศแจมใส 12 วัน จงหาวาในการไปพักตากอากาศครั้งนี้มีกี่วัน
1) 15 2) 18 3) 20 4) 28
BOBBYtutor Mathematic Note

17. ในการแขงขันโบวลิ่งชิงแชมปโลกที่ประเทศฝรั่งเศสมีผูเขาแขงขัน 50 คน ปรากฏวา 40 คน ถนัดมือขวา


7 คน โยนลูกโคง และไดแตมเฉลี่ยเกิน 200 แตม
9 คน ถนัดมือขวา และไดแตมเฉลี่ยเกิน 200 แตม
11 คน ถนัดมือขวา และโยนลูกโคง
24 คน ถนัดมือขวา ไมโยนลูกโคงและไดแตมเฉลี่ยไมเกิน 200 แตม
5 คน ถนัดมือซาย และโยนลูกโคง
5 คน ถนัดมือซาย และไดแตมเฉลี่ยเกิน 200 แตม
จํานวนผูแขงขันที่ถนัดมือซายไมโยนลูกโคงและไดแตมเฉลี่ยไมเกิน 200 แตมมีกี่คน
1) 1 2) 2 3) 3 4) 4
18. จากการสํารวจนักเรียนที่เรียน "BRAND'S SUMMER CAMP" กลุมหนึ่งพบวา
มี 20 คน ไมเคยไปเที่ยวนํ้าตกสาริกา
มี 16 คน ไมเคยไปเที่ยวนํ้าตกพริ้ว
มี 12 คน ไมเคยไปเที่ยวนํ้าตกนางรอง
มี 10 คน ไมเคยไปเที่ยวนํ้าตกสาริกาและนํ้าตกพริ้ว
มี 7 คน ไมเคยไปเที่ยวนํ้าตกสาริกาและนํ้าตกนางรอง
มี 5 คน ไมเคยไปเที่ยวนํ้าตกพริ้วและนํ้าตกนางรอง
มี 2 คน ไมเคยไปเที่ยวทั้ง 3 แหง
จงหาวานักเรียนกลุมนี้มีกี่คน (ไมมีนักเรียนคนใดเคยไปเที่ยวทั้ง 3 แหง)
1) 20 2) 25 3) 26 4) 28
19. ในการสํารวจนักทองเที่ยวชาวมาเลเซียและชาวสิงคโปรที่มาเที่ยวเชียงใหมในชวงสงกรานตไดขอมูลดังนี้
ประเภทของนักทองเที่ยว จํานวนคน
เพศชาย 600
เพศหญิง 500
ชาวสิงคโปร 300
ชาวสิงคโปรที่เปนชาย 200
ขับรถยนตเขามาเอง 50
ชายที่ขับรถยนตเขามาเอง 30
ชาวสิงคโปรที่ขับรถยนตเขามาเอง 25
ชายชาวสิงคโปรที่ขับรถยนตเขามาเอง 15
จํานวนของชาวมาเลเซียที่ไมไดขับรถยนตเขามาเองมีกี่คน
1) 775 2) 490 3) 390 4) 385
BOBBYtutor Mathematic Note

20. ในการแขงขันบาสเกตบอลแหงเอเชียครั้งหนึ่ง ปรากฏวามีประเทศที่เขารวมการแขงขันครั้งนั้น 8 ประเทศ คือ


ไทย จีน เกาหลีใต มาเลเซีย ศรีลังกา ฟลิปปนส สิงคโปร และอินโดนีเซีย ในนัดเปดสนามมีการแขงขัน 4 คู
หนังสือพิมพ 3 ฉบับ ใหการวิจารณวากอนการแขงขัน ดังนี้
หนังสือพิมพไทยรัฐ วิจารณวา ทีมที่จะชนะในนัดแรก คือ ไทย เกาหลีใต มาเลเซีย และจีน
หนังสือพิมพเดลินิวส วิจารณวา ทีมที่จะชนะในนัดแรก คือ เกาหลีใต จีน ศรีลังกา และสิงคโปร
หนังสือพิมพบานเมือง วิจารณวา ทีมที่จะชนะในนัดแรก คือ มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย และจีน
จงหาวาการแขงขันนัดแรกนี้ จะมีการจับคูการแขงขันกันอยางไร
ประเทศ
ไทย จีน เกาหลีใต มาเลเซีย ศรีลังกา ฟลิปปนส สิงคโปร อินโดนีเซีย
หนังสือพิมพ
ไทยรัฐ
เดลินิวส
บานเมือง
1) ไทยแขงกับจีน เกาหลีใตแขงกับสิงคโปร มาเลเซียแขงกับศรีลังกา อินโดนีเซียแขงกับฟลิปปนส
2) จีนแขงกับฟลิปปนส ไทยแขงกับศรีลังกา เกาหลีใตแขงกับอินโดนีเซีย มาเลเซียแขงกับสิงคโปร
3) จีนแขงกับฟลิปปนส ไทยแขงกับสิงคโปร ศรีลังกาแขงกับมาเลเซีย เกาหลีใตแขงกับอินโดนีเซีย
4) ไทยแขงกับอินโดนีเซีย มาเลเซียแขงกับสิงคโปร เกาหลีใตแขงกับศรีลังกา จีนแขงกับฟลิปปนส

เฉลย
1. 4) 2. 3) 3. 2) 4. 1) 5. 2) 6. 3) 7. 1) 8. 1) 9. 2) 10. 3)
11. 1) 12. 1) 13. 1) 14. 1) 15. 1) 16. 2) 17. 3) 18. 4) 19. 1) 20. 3)

แนวขอสอบเขามหาวิทยาลัย
1. ให A, B, C เปนชวงซึ่ง A = [2, 6], B = [3, 7], C = [4, 9] และเอกภพสัมพัทธ U = [2, 10]
แลว [(A – C)′ – B] คือชวงในขอใดตอไปนี้
1) (7, 10] 2) (9, 10] 3) [2, 3) U (7, 10] 4) [2, 3) U (9, 10]
2. กําหนดให R เปนเซตของจํานวนจริง
ถา A = {x ∈ R | x + 3 – x ≤ 1}
และ B = {x ∈ R | | x – 2 | > 7} แลว
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) A = (0, ∞) 2) B′ = (-5, 9) 3) A – B′ = (9, ∞) 4) B′ – A = (-5, -1)
BOBBYtutor Mathematic Note

3. สําหรับเซต X ใดๆ ให n(X) หมายถึงจํานวนสมาชิกของ X ให U เปนเอกภพสัมพัทธ ซึ่ง n(U) = 10 และ
A, B, C เปนสับเซตของ U ซึ่ง [A U B U C] = U
ถา n(A) = n(B) = n(C) = 5 และ n(A I B) = n(A I C) = n(B I C) = 2 แลว ขอใดตอไปนี้ถูก
1) n[A – (B I C)] = 3 2) n[(A – B) I C] = 3
3) n[(A U B) – C] = 2 4) n[A – (B U C)] = 2
4. กําหนดให A = {1, 2, 3}, B = {1, 2, 4} และ P(x) แทนเพาเวอรเซตของเซต x พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. {1, 2} ∈ P(A I B) ข. P(A - B) = P(A) - P(B)
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
5. ในการสอบถามความเห็นของผูชมรายการขาวของสถานีโทรทัศน 2 ชอง คือ ชอง A และชอง B โดยใหตอบวา
ชอบหรือไมชอบอยางใดอยางหนึ่ง ถามีผูตอบวาชอบชอง A 60 เปอรเซ็นต ชอบชอง B 55 เปอรเซ็นต และ
ชอบทั้งสองชอง 40 เปอรเซ็นต แลวผูที่ไมชอบรายการขาวของทั้งสองชองคิดเปนเปอรเซ็นตเทากับขอใดตอไปนี้
1) 15 2) 20 3) 25 4) 30
6. ให A, B และ C เปนเซตที่กําหนดในแผนภาพตามรูป
A B
2 3 7
1
6
4 5
8 9
C
ขัอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) A - (B I C) = {1, 2} 2) (A U B) - C = {1, 2, 7}
3) A I (B U C) = {3, 4, 6} 4) (C - B) I (A - B) = {6}
7. กําหนดเซต A, B, C ดังนี้ A = {4, 5, 6, 7}, B = {4, 6, 8}, C = {3, 6, 9}
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. (6, 6) เปนสมาชิกของ [(A I B) × C] และ A × (B I C)
ข. (5, 9) เปนสมาชิกของ [(A - B) × C] หรือ A × (B - C)
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
BOBBYtutor Mathematic Note

เก็งขอสอบเรื่องเซต
8. สําหรับเซต x ใดๆ ให | x | แทนจํานวนสมาชิกของ x ให A, B, C เปนเซตซึ่ง | A U B U C | = 100 และกําหนด
สมบัติดังแผนภาพ
A B
20
23
22 11
9
C

ถา | A | - | B | = 6 แลว | (B U C) - A | มีคาเทาใด


1) 28 2) 29 3) 30 4) 31
9. ถา A = {φ, 0, 1, {0}, {0, 1}} และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของเซต A แลว [P(A) - A] มีสมาชิกกี่ตัว
1) 28 2) 29 3) 30 4) 31
10. ถาสับเซตแททั้งหมดของเซต x คือ φ, {{1}}, {2} และเซต y = {1, {2}} แลว x I y คือขอใดตอไปนี้
1) φ 2) {1} 3) {2} 4) {1, 2}
11. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธคือเซต U = {1, 2, 3, 4, 5} และ A, B, C เปนเซตจํากัดซึ่งมีเงื่อนไขวา
n(A) = n(B) = n(C) = 3 และ n(A I B) = n(B I C) = n(A I C) = 2
ถา A U B U C = U แลวขอใดตอไปนี้ผิด
1) n(A U B) = 4 2) n(A U (B I C)) = 3
3) n(A I (B U C)) = 2 4) n(A I B I C) = 1
12. ในการสอบแขงขันชิงทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัยแหงหนึ่งมีผูเขาสอบแขงขัน 100 คน ผูเขาสอบตองสอบ 2 วิชา
คือ คณิตศาสตรและภาษาอังกฤษ โดยมหาวิทยาลัยกําหนดไววาผูที่จะไดรับทุนตองสอบผานทั้ง 2 วิชา ซึ่งปรากฏ
ผลวาผูที่สอบตกวิชาคณิตศาสตรมี 60 คน สอบตกวิชาภาษาอังกฤษมี 46 คน และสอบตกทั้ง 2 วิชามี 10 คน
ดังนั้นผูมีสิทธิรับทุนมีกี่คน
1) 2 2) 4 3) 5 4) 10
13. ให U เปนเอกภพสัมพัทธ A และ B เปนสับเซตของ U
กําหนดนิยาม A @ B = (A - B) U (B - A)
ถา A = {1, 2, 3}, B = {1, 3, 4, 5} และ C = {1, 2, 4, 6, 7} แลว (A @ B) @ C เทากับเซตในขอใด
1) {4, 5, 6} 2) {5, 6, 7} 3) {1, 4, 5, 6} 4) {1, 5, 6, 7}
14. ให A = {1, 2, 3, 4, 5, 6}, B = {4, 5} และ C = {S | S ⊂ A และ S I B ≠ φ} ดังนั้นจํานวนสมาชิกทั้งหมด
ของเซต C เทากับเทาใด
1) 16 2) 24 3) 48 4) 63
BOBBYtutor Mathematic Note

15. หมูบานแหงหนึ่งมีครอบครัวทั้งหมด 800 ครอบครัว ประกอบอาชีพคาขายอยางเดียว 10 ครอบครัว นอกนั้น


ทําสวนเงาะ มังคุด และทุเรียน จากการสํารวจเฉพาะชาวสวน พบวามีครอบครัวที่ปลูกผลไมตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป
110 ครอบครัว ปลูกเงาะและมังคุด 70 ครอบครัว ปลูกเงาะและทุเรียน 60 ครอบครัว ปลูกมังคุดและทุเรียน
50 ครอบครัว ไมปลูกมังคุดเลย 290 ครอบครัว จงหาวามีกี่ครอบครัวที่ปลูกแตมังคุดเพียงอยางเดียวเทานั้น
1) 315 2) 350 3) 405 4) 415
16. กําหนด U เปนเอกภพสัมพัทธ และ A, B, C เปนเซตใดๆ โดยที่ n(U) = 44, n(A) = 16, n(B) = 19, n(C) = 16,
n(A I B) = 7, n(B I C) = 6, n(A I C) = 5 และ n[(A U B U C)′] = 9, n[(A U B) - C] มีคา เทากับเทาใด
17. กําหนดให A = {1, 2, 3, 4} และ B = {4, 5, 6, 7} ถาตองการสรางเซต C โดยที่ (A - B) ⊂ C และ C ⊂ (A U B)
แลว จะไดจํานวนเซต C ดังกลาวทั้งหมดเทากับกี่เซต
18. ให A, B และ C เปนเซตจํากัด ซึ่งกําหนดโดย
A I B = {0, 1, 2, 3}
A U B = {0, 1, 2, 3, 4, 5}
A I C = {0, 1}
B I C = {0, 1, 5}
A U C = {0, 1, 2, 3, 5}
เซตของ (B U C) - A มีคาตรงกับเซตใด
19. จากการสํารวจการประกอบอาชีพการทํานา ทําไร และทําสวน ของชาวบานหมูบานหนึ่ง ซึ่งมีอยู 100 ครอบครัว
ปรากฏวามี 41 ครอบครัวไมไดประกอบอาชีพทั้งสามอาชีพนี้ มี 10 ครอบครัวที่ประกอบอาชีพทั้งสามอาชีพ และ
มี 32 ครอบครัวที่ประกอบอาชีพอยางนอยสองอยางในสามอาชีพนี้ จํานวนครอบครัวที่ประกอบอาชีพเพียง
อยางเดียวในสามอาชีพนี้มีจํานวนกี่คน
20. จากการสํารวจผูช มการถายทอดการแขงขันกีฬาเอเชี่ยนเกมสประเภทฟุตบอล บาสเกตบอล และวอลเลยบอล จํานวน
200 คน พบวาผูที่ชอบดูฟุตบอลมี 130 คน ผูที่ชอบดูบาสเกตบอลมี 100 คน ผูที่ชอบดูวอลเลยบอลมี 110 คน
ผูที่ชอบดูฟุตบอลและบาสเกตบอลมี 60 คน ผูที่ชอบดูบาสเกตบอลและวอลเลยบอลมี 55 คน ผูที่ชอบดูฟุตบอล
และวอลเลยบอลมี 45 คน จํานวนผูที่ชอบดูกีฬาทั้งสามประเภทเทากับกี่คน

เฉลย
1. 1) 2. 3) 3. 4) 4. 2) 5. 3) 6. 3) 7. 2) 8. 3) 9. 2) 10. 1)
11. 4) 12. 2) 13. 4) 14. 3) 15. 4) 16. 19 17. 16 18. {4, 5} 19. 27 20. 20
BOBBYtutor Mathematic Note

ระบบจํานวนจริง
จํานวนจริง (R)

จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ

จํานวนเต็ม (I) จํานวนทีอ่ ยูใ นรูปของเศษสวน ab


เมือ่ a ∈ I, b ∈ I, b ≠ 0 และ ab ไมเปนจํานวนเต็ม

จํานวนเต็มบวก I + จํานวนเต็มศูนย จํานวนเต็มลบ I -

1. ลักษณะโครงสรางของระบบจํานวนจริงจากแผนภาพ
ในวิชาคณิตศาสตรไมวาแขนงใด ตัวเลขเปนองคประกอบหนึ่งในการศึกษาวิชาคณิตศาสตรแขนงนั้นๆ เสมอ
ดังนั้นสิ่งที่เราตองศึกษาก็คือความเขาใจเกี่ยวกับตัวเลข เซตของตัวเลขที่สําคัญๆ ไดแก
1.1 เซตของจํานวนเต็ม นิยมใช I แทนสัญลักษณของเซตดังกลาว ประกอบดวย
1) เซตของจํานวนนับ หรือเซตของจํานวนธรรมชาติ หรือเซตของจํานวนเต็มบวก คือ เซตที่ประกอบดวย
สมาชิก 1, 2, 3, 4, ... และ เรานิยมใชสญ ั ลักษณ N หรือ I+ แทนเซตดังกลาว นั่นคือ N = I+ = {1, 2, 3, 4, ...}
2) เซตของจํานวนเต็มลบ คือ เซตที่ประกอบดวยสมาชิก -1, -2, -3, -4, ... และเรานิยมใชสัญลักษณ
I- แทนเซตดังกลาว นั่นคือ I- = {-1, -2, -3, -4, ...}
3) เซตของศูนย คือ เซตที่มี 0 เปนสมาชิกเพียงตัวเดียว นั่นคือ {0}
1.2 เซตของเศษสวนที่ไมใชจํานวนเต็ม ไดแก เซตที่มีสมาชิกเปนเศษสวน โดยมีเงื่อนไขวาเศษตองเปน
จํานวนเต็ม สวนตองเปนจํานวนเต็มที่ไมเทากับศูนย และไมสามารถตัดทอนใหเหลือสวนเปน 1 ได ไมสามารถเขียนเปน
จํานวนเต็มได ซึ่งตัวอยางของสมาชิกในเซตนี้ ไดแก 23 , 51 , 87 , 54 , - 87 , - 54 เปนตน
1.3 เซตของจํานวนตรรกยะ ไดแก เซตของจํานวนที่สามารถทําเปนเศษสวนได นิยมใช Q แทนสัญลักษณของ
เซตดังกลาว ดังนั้น Q =  qp p ∈ I, q ∈ I และ q ≠ 0
1.4 เซตของจํานวนอตรรกยะ ไดแก เซตของจํานวนที่เขียนไดในรูปทศนิยมไมซํ้า
ตัวอยางของจํานวนอตรรกยะ เชน 2 , 3 , π, 0.1537...
1.5 เซตของจํานวนจริง คือ เซตที่เกิดจากการยูเนียนกันของเซตของจํานวนตรรกยะกับเซตของจํานวนอตรรกยะ
จากลักษณะของเซตของจํานวนตางๆ สามารถแสดงเปนโครงสรางไดดังนี้
BOBBYtutor Mathematic Note

สรุปเซตที่ควรทราบเพิ่มเติม
1. เซตของจํานวนคู
จํานวนคู คือ จํานวนเต็มที่มี 2 เปนตัวประกอบ หรือกลาวอีกนัยหนึ่งไดวาคือจํานวนเต็มที่ 2 หารลงตัว
ดังนั้นถาให E เปนเซตของจํานวนคู E = {... , -4, -2, 0, 2, 4, ...} และสามารถเขียนเซต E ในลักษณะเซตแบบ
บอกเงื่อนไขไดดังนี้ E = {2n | n ∈ I}
2. เซตของจํานวนคี่
จํานวนคี่ คือ จํานวนเต็มที่ไมใชจํานวนเต็มคู หรือกลาวอีกนัยหนึ่งไดวา จํานวนคี่คือจํานวนเต็มที่หารดวย 2
แลวเหลือเศษ 1
นั่นคือ ถาให O เปนเซตของจํานวนคี่ O = I-E
= {... , -5, -3, -1, 1, 3, 5, ...}
= {2n - 1 | n ∈ I}
หรือ O = {2n + 1 | n ∈ I}
3. เซตของจํานวนเฉพาะบวก
จํานวนเฉพาะบวก คือ จํานวนเต็มบวกที่ไมใช 1 และไมใชจํานวนเต็มอื่น ซึ่งจํานวนใดหารลงตัว นอกจาก 1
และตัวของมันเอง จํานวนเหลานี้ ไดแก 2, 3, 5, 7, 11, 13, 17 เปนตน
4. เซตของจํานวนเฉพาะ
จํานวนเฉพาะ คือ จํานวนเต็มที่ไมใช 1 หรือ -1 ซึ่งไมมีจํานวนใดหารลงตัวนอกจาก 1, -1 และตัวมันเอง
กับจํานวนตรงขามเทานั้นที่หารลงตัว เชน -3, -2, 2, 3, 5 เปนตน
2. คุณสมบัติพื้นฐานของการบวกและการคูณของจํานวนจริง
A1 คุณสมบัติปด (Closure property)
ถา a และ b เปนจํานวนจริงแลว a + b และ ab เปนจํานวนจริง
A2 คุณสมบัติการสลับที่ (Commutative property)
ถา a และ b เปนจํานวนจริงแลว a + b = b + a และ ab = ba
A3 คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุมได (Associative property)
ถา a, b และ c เปนจํานวนจริงแลว (a + b) + c = a + (b + c) และ (ab)c = a(bc)
A4 คุณสมบัติการมีเอกลักษณของการบวกและการคูณ
- จะมีจํานวนจริงจํานวนหนึ่ง คือ 0 ซึ่ง a + 0 = 0 + a = a โดยที่ a เปนจํานวนจริงใดๆ เรียก 0 วา
เอกลักษณของการบวก
- จะมีจํานวนจริงจํานวนหนึ่ง คือ 1 ซึ่ง a ⋅ 1 = 1 ⋅ a = a โดยที่ a เปนจํานวนจริงใดๆ เรียก 1 วา
เอกลักษณของการคูณ
BOBBYtutor Mathematic Note

A5 คุณสมบัติการมีอินเวอรส (Existence of inverse)


- ถา a เปนจํานวนจริงใดๆ จะมีจํานวนจริง -a ซึ่งทําให a + (-a) = (-a) + a = 0 และเรียก -a วา
เปนอินเวอรสสําหรับการบวกของ a
- ถา a เปนจํานวนจริงใดๆ และ a ≠ 0 จะมีจํานวนจริง a-1 ที่ทําให a ⋅ a-1 = a-1 ⋅ a = 1 และเรียก
a-1 วา เปนอินเวอรสสําหรับการคูณของ a
3. อสมการ
การแกอสมการ มีขั้นตอนวิธีดังนี้
1. จัดอสมการใหอยูในรูปของการแยกตัวประกอบใหเปนแตละวงเล็บคูณกัน โดยคาทางดานขวามือเทากับศูนย
2. จัดตัวประกอบแตละวงเล็บใหตัวแปรอยูหนา คาคงที่อยูหลัง หรือสรุปงายๆ ใหสัมประสิทธิ์ของตัวแปรเปน
จํานวนบวก
3. หาคาตัวแปรจากแตละวงเล็บที่ทําใหเทากับศูนย คาที่ไดเรียกวา คาวิกฤต
4. นําคาที่หาไดจากขอ 3 มาเขียนลงบนเสนจํานวนซึ่งทําใหเสนจํานวนถูกแบงเปนชวงๆ
5. ในแตละชวงเขียนเครื่องหมายสลับกันตามลําดับ โดยทางดานขวามือสุดเปนจํานวนบวก ถัดมาเปนลบสลับ
กันไป
6. พิจารณาคําตอบดังนี้
6.1 ถาอสมการอยูในรูปที่มากกวาศูนย เซตคําตอบจะตองหมายถึง ชวงที่เปนบวกในแตละชวง โดยการนํา
มายูเนียนกัน
6.2 ถาอสมการอยูในรูปที่นอยกวาศูนย เซตคําตอบจะตองหมายถึง ชวงที่เปนลบในแตละชวง แลวนํามา
ยูเนียนกัน
ขอควรระวังในเรื่องการแกอสมการ
1. การคูณหรือหารดวยจํานวนลบ จะตองเปลี่ยนเครื่องหมายอสมการใหเปนตรงขามกับเครื่องหมายเดิม
2. ในกรณีที่ตองการทําสวนใหหมดไปโดยการเอา ค.ร.น. คูณตลอด จะตองแนใจกอนวาตัวทีน่ าไปคู
ํ ณตลอดนั้น
เปนจํานวนบวกหรือลบ แตในกรณีที่ไมแนใจก็ใหนํามายกกําลังสองกอน แลวจึงนําไปคูณตลอด และไมตองเปลี่ยน
เครื่องหมายของอสมการ
ตัวอยาง จงหาคําตอบจากอสมการ (x - a1)(x - a2)(x - a3) > 0 ; [a1 < a2 < a3]
แนวคิด นํามาเขียนบนเสนจํานวนได ดังรูป
- + - +
a1 a2 a3

เซตคําตอบ คือ {x ∈ R | a1 < x < a2 หรือ x > a3} เมื่อ a1 < a2 < a3
BOBBYtutor Mathematic Note

ตัวอยาง จงหาเซตคําตอบจากอสมการ (x - 5)(x + 3)(x - 2) ≥ 0


(x + 1)
แนวคิด พิจารณาจากอสมการ x + 1 ≠ 0, x ≠ -1 และคา x แตละคาที่ทําใหแตละวงเล็บเทากับ 0 คือ
x = -1, -3, 2, 5 ซึ่งนําไปเขียนบนเสนจํานวนแลวแบงชวงพรอมทั้งใสเครื่องหมายบวกลบสลับกัน แลว
พิจารณาชวงที่เปนบวก
+ - + - +
-1 -3 2 5
ดังนั้นเซตคําตอบ คือ (-∞, -1) U [-3, 2] U [5, ∞)
การแกอสมการและสมการที่มีเครื่องหมายกรณฑ (รากที่สอง) มีขั้นตอนดังนี้
1. หาเอกภพสัมพัทธกอน
2. ยกกําลังสองทั้ง 2 ขาง เพื่อทําใหเครื่องหมายกรณฑหมดไปโดยพิจารณาดังนี้ ถา 0 ≤ a ≤ b แลว a2 ≤ b2
3. ใชการพิจารณาโดยแบงเปนกรณี
4. นําคําตอบที่ไดจากการแกสมการและอสมการไปตรวจสอบในสมการเดิม
ตัวอยาง ผลบวกของจํานวนเต็มที่ไมเปนคําตอบของอสมการ 2x 2 - 3x - 2 ≥ x 2 - 2x - 3 มีคาเทาใด
แนวคิด 2x 2 - 3x - 2 ≥ x 2 - 2x - 3 และ 2x2 - 3x - 2 ≥ 0 และ x2 - 2x - 3 ≥ 0
2x2 - 3x - 2 ≥ x2 - 2x - 3 และ (2x + 1)(x - 2) ≥ 0 และ (x - 3)(x + 1) ≥ 0
x2 - x + 1 ≥ 0 และ (2x + 1)(x - 2) ≥ 0 และ (x - 3)(x + 1) ≥ 0

x2 - x + 41 + 34 ≥ 0 และ + - + และ + - +
- 21 2 -1 3

 2
x - 21  + 34 และ  -∞, - 21  U [2, ∞) และ (-∞, -1] U [3, ∞)


x∈R

-1 - 1 0 2 3
2
R I (-∞, -1] U [3, ∞)
จํานวนเต็มที่ไมเปนคําตอบ คือ 0, 1, 2
ผลบวกของจํานวนเต็มที่ไมเปนคําตอบของอสมการ คือ 0 + 1 + 2 = 3
BOBBYtutor Mathematic Note

4. คาสัมบูรณของจํานวนจริง
4.1 นิยาม เมื่อ x เปนจํานวนจริงใดๆ คาสัมบูรณของ x เขียนแทนดวย | x | กําหนดดังนี้

x เมื่อ x > 0

 x เมื่อ x ≥ 0


| x | = 0 เมื่อ x = 0
 หรือ |x| = 
 - x เมือ่ x ≤ 0



- x เมื่อ x < 0


4.2 ขอควรสนใจเพิ่มเติม
1. | x | > x ก็ตอเมื่อ x < 0
2. | x | > -x ก็ตอเมื่อ x > 0
4.3 คุณสมบัติที่ควรทราบ
ให a เปนจํานวนจริงบวกใดๆ
1. | x | < a หมายถึง -a < x < a
2. | x | ≤ a หมายถึง -a ≤ x ≤ a
3. | x | > a หมายถึง x > a หรือ x < -a
4. | x | ≥ a หมายถึง x ≥ a หรือ x ≤ -a
4.4 กฎเกณฑที่ควรทราบ
1. สมการ
1. | x | = | y | ก็ตอเมื่อ x = y หรือ x = -y
2. | x | = | -x |
3. | x2 | = | x |2 = x2
4. | x2 | = | y2 | ก็ตอเมื่อ | x | = | y |
5. | xy | = | x || y |
6. xy = || xy|| , y ≠ 0
7. | x + y | = | x | + | y | ก็ตอเมื่อ xy ≥ 0
8. | x - y | = | x | + | y | ก็ตอเมื่อ xy ≤ 0
9. x 2 = | x |
2. อสมการ
1. x2 < y2 ก็ตอเมื่อ | x | < | y |
2. | x + y | ≤ | x | + | y |
3. | x | - | y | ≤ | x - y |
4. | y | - | x | ≤ | x - y |
5. -| x | ≤ x ≤ | x |
BOBBYtutor Mathematic Note

แนวขอสอบ
1. ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ถา a เปนจํานวนตรรกยะ และ b เปนจํานวนอตรรกยะแลว ab เปนจํานวนอตรรกยะ
2) ถา a ≠ 0 เปนจํานวนตรรกยะ และ b เปนจํานวนอตรรกยะแลว ab เปนจํานวนตรรกยะ
3) มีจํานวนอตรรกยะ a, b ซึ่ง a ≠ -b และ a + b เปนจํานวนตรรกยะ
4) ถา a, b เปนจํานวนตรรกยะบวกแลว ab เปนจํานวนตรรกยะ
2. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
n
1) ถา a เปนจํานวนจริง และ n เปนจํานวนเต็มบวก แลว an = 1
a
2) ถา a และ b เปนจํานวนจริง ซึ่ง a > b แลว | a - b | = | a | - | b |
3) ถา a และ b เปนจํานวนจริง ซึ่ง a2 + b2 > (a + b)2 แลว ab < 0
4) ถา a, b และ c เปนจํานวนจริง ซึ่ง a < b แลว ac < bc หรือ ac > bc
3. ให x, y และ z เปนจํานวนเต็มบวกทีม่ คี า เรียงติดกันจากนอยไปมาก ถา y เปนจํานวนเต็มบวกทีม่ คี านอยสุดที่ทําให
3 x + y + z เปนจํานวนเต็มบวกแลว y มีคาเทาใด
1) 7 2) 8 3) 9 4) 10
4. ให a, b และ c เปนจํานวนจริงบวก คาของ a + b + c + a1 + b1 + c1 มีคาตํ่าสุดเทากับเทาใด
1) 3 2) 4 3) 5 4) 6
5. ให a1, a2, a3, ... , an เปนจํานวนจริงบวกโดยที่ a1 ⋅ a2 ⋅ a3 ⋅ a4 ⋅ ... ⋅ an = 4n
4
คาของ (1 + a1)(1 + a2)(1 + a3) ... (1 + an) มีคาตรงกับขอใด
1) [0, 1] 2) (1, 2) 3) [2, ∞) 4) (-∞, ∞)
6. ขอความใดตอไปนี้ไมถูกตอง
1) อินเวอรสการบวกของ xyx- 1 คือ x1 - y
2) อินเวอรสการคูณของ -3 - 2 คือ 27- 3
3) ถา x, y ∈ R และ x * y = 3x +9 2y แลว 7 * 3 = 3
4) ถา a, b ∈ R+ U {0} และ a ∆ b = ab แลวเอกลักษณของระบบคือ 1
7. อินเวอรสการคูณของ (1 + 3 )2 มีลักษณะอยางไร
1) เปนจํานวนตรรกยะที่มากกวา 0.15 2) เปนจํานวนตรรกยะที่นอยกวา -1
.

3) เปนจํานวนอตรรกยะบวกที่นอยกวา 0.2 4) เปนจํานวนอตรรกยะที่อยูระหวาง 0.2 และ 0.5


8. จํานวนเต็มบวกจํานวนหนึ่งมี 4 ตําแหนง หารดวย 72 ลงตัว ตัวเลขหลักรอยและหลักสิบ คือ 5 และ 7 ตามลําดับ
ถา a เปนตัวเลขหลักพัน และ b เปนตัวเลขหลักหนวย แลว a + b มีคาเทาใด
1) 11 2) 13 3) 15 4) 17
BOBBYtutor Mathematic Note

9. ให N เปนจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยสุด ซึ่ง N2 , N3 , N4 , N5 , N6 , N7 และ N8 ตางก็เปนจํานวนเต็ม


ถา N = am ⋅ bn ⋅ cp ⋅ dq โดยที่ a, b, c และ d เปนจํานวนเฉพาะที่เปนบวก แลว m + n + p + q มีคาเทาใด
1) 5 2) 6 3) 7 4) 8
2 2
10. เซตคําตอบของอสมการ x (x x++4)(x 7
- 5) ≥ 0 คือขอใด
1) (-∞, -7) U (5, ∞) 2) (-∞, -7) U (5, ∞) U {0}
3) (-∞, -7) U [5, ∞) 4) (-∞, -7) U [5, ∞) U {0}
11. ถา a เปนจํานวนเต็มบวกที่มีคานอยสุดของอสมการ 2x + 10
3x + 5 ≤ 1 และ b เปนคําตอบที่เปนจํานวนเต็มลบที่มี
คามากสุดของอสมการ x3x + 2 ≤ 2 แลว a + b มีคาเทากับเทาใด
1) 1 2) 2 3) 3 4) 4
12. คาของ x ที่สอดคลองกับอสมการ 3|x1--1x| < -x คือขอใด
1) x < 1 2) x > 3 หรือ x < 1 3) -3 < x < 1 4) x < -3
13. ในการดัดลวดที่ยาว 28 นิ้ว ใหเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาซึ่งมีเสนทแยงมุมสั้นกวา 10 นิ้ว ถาให x แทนความยาวของ
ดานที่สั้นกวาของรูปสี่เหลี่ยมผืนผาดังกลาว คา x เทากับเทาใด
1) 6 < x < 7 2) 6 < x < 8 3) 7 < x < 8 4) 7 < x < 8.5
14. คา x จากสมการ (| x - 1 | - 4)(| x - 2 | - 3) = 0 คือขอใด
1) R - {-3, -1, 5} 2) {-3, -1, 5} 3) (-3, -1) U (5, ∞) 4) [-3, -1] U {5}
15. ถา A เปนเซตคําตอบของอสมการ (x - 4)(x - 2)(x + 3) ≥ 0 แลว A′ คือเซตใด
1 - |x - 3|
1) (-∞, -3) 2) [-3, ∞) 3) (-∞, 2) U (4, ∞) 4) (-3, ∞)
16. คา x จากสมการ | x2 - 8x + 15 | > x2 - 8x + 15 มีคาตรงกับขอใด
1) (-∞, 3) U (5, ∞) 2) (-∞, 3] U [5, ∞) 3) (3, 5) 4) [3, 5]
17. สําหรับจํานวนจริง x, y ใดๆ จะได | x + y | ≤ | x | + | y | จงหาวาจํานวนเต็มบวก M ที่นอยที่สุด
ซึ่งทําให | x3 - 2x2 + 3x - 4 | ≤ M สําหรับทุกๆ x ∈ [-3, 2] คือขอใด
1) 4 2) 14 3) 42 4) 58
18. คา x ที่ทําให | (x2 + 4x + 9) + (2x - 3) | = | x2 + 4x + 9 | + | 2x - 3 | เปนจริงคือคา x ในขอใด
1) x < 32 2) 0 ≤ x ≤ 32 3) x ≥ 32 4) - 32 ≤ x ≤ 32
19. ให x และ y เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง 80 < x < 200 และ x = pq เมื่อ p และ q เปนจํานวนเฉพาะ ซึ่ง p ≠ q
ถา x และ y เปนจํานวนเฉพาะสัมพัทธและ ค.ร.น. ของ x, y เทากับ 15015 แลวผลบวกของคา y ทั้งหมดที่
สอดคลองกับเงื่อนไขทั้งหมดที่กําหนดใหเทากับเทาใด
1) 250 2) 270 3) 275 4) 295
20. ให A และ B เปนจํานวนเต็มบวกโดยที่ A หารดวย 7 เหลือเศษ 3 และ B หารดวย 7 เหลือเศษ 5 ดังนัน้ 3A + 2B
หารดวย 7 จะเหลือเศษเทาใด
1) 3 2) 4 3) 5 4) 6
BOBBYtutor Mathematic Note

21. ให a, b, c เปนจํานวนเต็มบวก ถา 7 หาร a เหลือเศษ 2, 7 หาร b เหลือเศษ 3 และ 7 หาร c เหลือเศษ 5 แลว
7 หาร a(b + c) เหลือเศษเทาใด
22. ให a, b และ c เปนจํานวนเต็ม ถา c เปน ห.ร.ม. ของ 26 และ 118 และ c = a(26) + b(118) และ a + b = -7
แลว b + c มีคาเทาใด
23. ให a เปนจํานวนเต็มบวกที่นอยที่สุด ซึ่งมีสมบัติดังตอไปนี้
a หารดวย 7 เหลือเศษ 5
a หารดวย 9 เหลือเศษ 7
a หารดวย 12 เหลือเศษ 10
จํานวนเต็มบวก a ดังกลาวมีคาเทาใด
24. ให A = {x | | x - 3 | < 5} และ B = {x | x + 7 < | x + 1 |} คาขอบเขตบนนอยสุดของ A - B มีคาเทาใด
25. ให x, y แทนจํานวนจริงใดๆ โดยที่ x = 3 7 + 5 2 และ y = 3 7 - 5 2 คาของ x4 + y4 มีคาเทาใด

เฉลย
1. 3) 2. 3) 3. 3) 4. 4) 5. 3) 6. 4) 7. 3) 8. 4) 9. 2) 10. 4)
11. 4) 12. 1) 13. 1) 14. 2) 15. 2) 16. 3) 17. 4) 18. 3) 19. 2) 20. 1)
21. 2) 22. 4) 23. 250 24. 2) 25. 34

ตัวอยางขอสอบเขามหาวิทยาลัย
1. ให b, c เปนจํานวนเต็ม ถารากของสมการ 3x2 + bx + c = 0 เปนจํานวนเต็มบวก โดยทีผ่ ลตางของรากเทากับ 1
และผลคูณของรากเทากับ 2 แลว | b + c | เทากับเทาใด
2. ให A = {x | | x - 4 | ≤ 2x} และ B = [-10, 10] ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) A U B = (-10, ∞) 2) A I B =  43, 10  3) A - B = (10, ∞) 4) B - A =  -4, 43 
3. ให a เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง 3 | a และ 5 | a ถา ห.ร.ม. ของ a และ 7 เทากับ 1 แลว ห.ร.ม. ของ a และ 105
เทากับขอใดตอไปนี้
1) 5 2) 15 3) 35 4) 105
4. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธคือเซตของจํานวนเต็ม ถา A = {x | | x - 3 | < 2} และ B = {x | (1 + x)(3 - x) ≤ 0}
แลว A I B′ คือขอใดตอไปนี้
1) {2} 2) {2, 3} 3) {3, 4} 4) {4}
5. ให A เปนเซตคําตอบของสมการ || 4x - 1 | + 3| = 10 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) A ⊂ -1, 72 2) A ⊂ [-2, 2] 3) A ⊂ -3, 32 4) A ⊂ [-4, 0]
6. ถา a, b, q1, q2 เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง a = bq1 + 231 และ b = 231q2 + 126 แลว ห.ร.ม. ของ a, b เทากับ
เทาใด
BOBBYtutor Mathematic Note

 
7. กําหนดให A =  x x 2 - 2x + 1 - x 2 + 2x + 1 = 2 ถา A I [-5, 5] = [a, b] แลว a + b
 
เทากับขอใดตอไปนี้
1) -6 2) -3 3) 3 4) 6
8. ให A เปนเซตของจํานวนของอสมการ |x +1 1| - |x -1 3| ≤ 0 ถา B = [-20, 20] แลว B - A เทากับเซตใด
ตอไปนี้
1) [-20, 1) 2) (-1, 20] 3) [-20, 1) U {3} 4) (1, 20) U {-1}
เก็งขอสอบ
9. กําหนดให x, y และ z เปนจํานวนเต็มคี่ที่เรียงตอกันโดยที่ x < y < z ถาผลบวกของ x, y และ z นอยกวา
57 แลว สําหรับคาของ x มากที่สุดซึ่งทําใหผลบวกของจํานวนทั้งสามดังกลาวมีคามากที่สุดคือขอใด
1) 13 2) 15 3) 17 4) 19
10. กําหนดให I เปนเซตของจํานวนเต็ม และ * เปนโอเปอเรชันที่กําหนดโดย a * b = a + b + 2 เมื่อ a, b ∈ I
จํานวนใดเปนอินเวอรสของ 4 ภายใตโอเปอเรชัน *
1) -2 2) -4 3) -6 4) -8
11. ถาตองการใหขอความ "ถา a ∈ A แลว จะมี a-1 ∈ A ซึ่ง aa-1 = 1" เปนจริง เซต A ควรจะเปนเซตใดตอไปนี้
1) A = เซตของจํานวนตรรกยะ 2) A = เซตของจํานวนตรรกยะบวก
3) A = เซตของจํานวนเต็มบวก 4) A = เซตของจํานวนจริง
12. กําหนดให A = {x | x = 2m, m เปนจํานวนเต็ม} และการกระทําบน A คือ การคูณของจํานวนจริง ขอใดตอไปนี้ผิด
1) A มีสมบัติปดภายใตการคูณ 2) 1 เปนเอกลักษณใน A
3) มีสมาชิกบางตัวของ A ที่ไมมีอินเวอรสใน A 4) อินเวอรสของ 2 ภายใตการกระทําคือ 21
2 - b2
13. กําหนดให A แทนเซตของจํานวนจริงที่ไมเทากับศูนย และ a, b ∈ A ถานิยาม a * b ดังนี้ a * b = a ab
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) A สอดคลองกับคุณสมบัติปดของ * 2) A สอดคลองกับสมบัติสลับที่ของ *
3) a * b ∈ A ก็ตอเมื่อ | a | ≠ | b | 4) A สอดคลองกับคุณสมบัติเปลี่ยนกลุมไดของ *
14. เซตคําตอบของอสมการ xx -- 21 ≤ xx ++ 21 เปนสับเซตของชวงในขอใด
1) (-1, 1] U [0, 2) 2) [-2, 4) I (-3, 1] 3) (-∞, 0] U [1, ∞) 4) (-∞, 1] I [-2, ∞)
2 2
15. ขอใดคือคําตอบของอสมการ x2 - 2x - 6 ≤ x2 - x - 10
x - 2x - 8 x - x - 12
1) (-∞, -3) U (-2, 4) 2) (-∞, -3) U [-2, 4] 3) (-3, -2) U (4, ∞) 4) [-3, -2] U (4, ∞)
16. กําหนด A เปนเซตคําตอบของอสมการ x3 - 3x - 2 < 0
B เปนเซตคําตอบของอสมการ (x + 2)(x - 3)3 < 0
ถา a เปนคาขอบเขตบนนอยสุดของ A I B แลว a3 + 1 มีคาเทาใด
1) -7 2) 0 3) 1 4) 9
BOBBYtutor Mathematic Note

4
17. ให R คือ เซตของจํานวนจริง เซตคําตอบของอสมการ 2x ≥ x2 + 1 คือขอใดตอไปนี้
x -1
1) R 2) R - {-1, 1} 3) (-1, 1) 4) (-∞, -1) U (1, ∞)
18. กําหนดให a = 1 , b = 1 , 3 = 1.732 คาของ 7a2 + 11ab - 7b2 เทากับเทาใด
2- 3 2+ 3
(คําตอบใหใชทศนิยม 2 ตําแหนง)
19. กําหนดให a, b และ c เปนจํานวนเต็มบวกใดๆ จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา a | b และ b | c แลว a | c ข. ถา a | b แลว ห.ร.ม. ของ a กับ b คือ a
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
20. ถา [a, b] เปนคําตอบของอสมการ x + 7 ≥ | x - 5 | แลว a + b มีคาเทาใด
1) 9 2) 11 3) 17 4) 19
21. ให m และ n เปนจํานวนเต็มบวก ถา 5 หาร m เหลือเศษ 4 และ 5 หาร n เหลือเศษ 2 แลว 5 หาร (m + n)
เหลือเศษเทาใด
1) 1 2) 2 3) 3 4) 4
22. ผลบวกกําลังสองของจํานวนเต็มลบ ซึ่งเปนคําตอบของสมการ
| (x2 + 2x - 15) + (2x - 3) | = | x2 + 2x - 15 | + | 2x - 3 | มีคาเทาใด
1) 15 2) 20 3) 55 4) 225
23. เซตคําตอบของอสมการ ||xx -- 21|| -- 24 < 1 คือขอใด
1) (-6, 2) 2) (-6, -2) 3) (-2, 6) 4) (2, 6)
24. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
n
1) ถา a เปนจํานวนจริง และ n เปนจํานวนเต็มบวกแลว an = 1
a
2) ถา a เปนจํานวนจริงใดๆ แลว a > a 2
3) ถา a และ b เปนจํานวนจริง ซึ่ง a2 + b2 > (a + b)2 แลว ab < 0
4) ถา a, b และ c เปนจํานวนจริง ซึ่ง a < b แลว ac < bc หรือ ac > bc
25. เซตคําตอบของอสมการ xx +- 23 + xx -- 41 ≥ xx +- 23 + xx -- 41 เทากับเทาใด

เฉลย
1. 3) 2. 4) 3. 2) 4. 1) 5. 2) 6. 21 7. 1) 8. 1) 9. 2) 10. 4)
11. 3) 12. 3) 13. 3) 14. 1) 15. 1) 16. 4) 17. 2) 18. 107.99 19. 1)
20. 2) 21. 1) 22. 3) 23. 3) 24. 3) 25. (-∞, -3) U [1, 2] U (4, ∞)
BOBBYtutor Mathematic Note

ความสัมพันธ-ฟงกชัน
1. คูอันดับ (Ordered Pair)
คือ การจับคูกันระหวางของ 2 สิ่ง คูอันดับแตละคูอันดับประกอบดวยสมาชิก 2 ตัว คือ สมาชิกตัวหนาและ
สมาชิกตัวหลัง โดยทั่วไปนิยมแทนเปนคูอันดับ (a, b) หรือ (x, y) เมื่อ a และ x เปนสมาชิกตัวหนา สวน b และ y
เปนสมาชิกตัวหลัง
การเทากันของคูอันดับ และการไมเทากันของคูอันดับ
นิยาม (a, b) = (c, d) ก็ตอเมื่อ a = c และ b = d
(a, b) ≠ (c, d) ก็ตอเมื่อ a ≠ c หรือ b ≠ d
ตัวอยางที่ 1 กําหนด x, y ∈ R ถา (3x - y, 2x + y) = (y + 4, x - 7) แลวคูอันดับ  xy, 2yx  เทากับคูอันดับใด
ตอบ (10, 5)
ตัวอยางที่ 2 ถา (4x - 1, y) = (3y - 2, x - 2) แลว (x + y, x - y) มีคาตรงกับคูอันดับใด
ตอบ (-16, 2)
2. ผลคูณคารทีเซียน (Cartesian Product)
ถา A และ B เปนเซตใดๆ ผลคูณคารทีเซียนของ A และ B เขียนแทนดวย A × B ซึ่งหมายถึงเซตที่มีสมาชิก
เปนคูอันดับ หรือหมายถึงเซตวาง ถาเซต A หรือเซต B เซตใดเซตหนึ่งเปนเซตวางหรือทั้งสองเซตเปนเซตวาง
นั่นคือ สามารถนิยามไดดังนี้ A × B = {(x, y) | x ∈ A และ y ∈ B}
B × A = {(x, y) | x ∈ B และ y ∈ A}
ตัวอยาง ให A = {1, 2, 3} และ B = {4, 6}
จะไดวา A × B = {(1, 4), (1, 6), (2, 4), (2, 6), (3, 4), (3, 6)}
B × A = {(4, 1), (4, 2), (4, 3), (6, 1), (6, 2), (6, 3)}
ขอสังเกต
1. ถา A มีสมาชิก m ตัว และ B มีสมาชิก n ตัว แลว A × B จะมีสมาชิก mn ตัว ซึง่ เทากับสมาชิกของ B × A
2. ถา A = φ หรือ B = φ จะไดวา A × B = B × A = φ
3. A × B ไมจําเปนเทากับ B × A
4. A × B = B × A ก็ตอเมื่อ A = B หรือ A = φ หรือ B = φ
5. ถา A × B = A × C แลว B ไมจําเปนจะตองเทากับ C
6. ถา A × B = A × C และ A ≠ φ แลว B = C
7. A × (B I C) = (A × B) I (A × C)
8. A × (B U C) = (A × B) U (A × C)
9. A × (B - C) = (A × B) - (A × C)
BOBBYtutor Mathematic Note

3. ความสัมพันธ (Relations)
ในทางคณิตศาสตร เรานําสิ่งของ 2 สิ่งที่เกี่ยวของกันมาเขียนเปนคูอันดับโดยบงบอกกฎเกณฑ หรือลักษณะที่
เกี่ยวของไว เชน 10 มากกวา 2 จะเขียนเปนคูอันดับ (10, 2) โดยกฎเกณฑที่สิ่ง 2 สิ่ง เกี่ยวของกัน คือ "มากกวา"
ก เปนนองชาย ข จะเขียนเปนคูอันดับ (ก, ข) โดยกฎเกณฑที่สิ่ง 2 สิ่ง เกี่ยวของกัน คือ "เปนนองชาย" เราสามารถ
นิยามความสัมพันธไดดังนี้
นิยาม ให A และ B เปนเซต r เปนความสัมพันธจาก A ไป B ก็ตอเมื่อ r เปนสับเซตของ A × B
ตัวอยาง A = {0, 1, 2, 3, 4}
B = {2, 4, 6, 8, 10}
r1 = {(x, y) ∈ A × B | y = x2 + 1}
r1 = {(1, 2), (3, 10)}
r2 = {(x, y) ∈ A × B | y = x - 1}
r2 = {(3, 2)}
r3 = {(x, y) ∈ A × B | y = 3 x }
r3 = φ

ขอสังเกต
1. φ เปนความสัมพันธจาก A ไป B เพราะ φ เปนสับเซตของ A × B
2. สมาชิกของความสัมพันธเปนคูอันดับ ยกเวนความสัมพันธที่เปนเซตวางจะไมมีคูอันดับ
3. ความสัมพันธในเซต A หมายถึง ความสัมพันธที่เปนสับเซตของ A × A
4. ถา A มีสมาชิก m ตัว และ B มีสมาชิก n ตัว A × B จะมีสมาชิก mn ตัว ดังนั้นสับเซตของ A × B จะมี
2 สับเซต แต r เปนสับเซตของ A × B นั่นคือ จะมีความสัมพันธจาก A ไป B ที่ตางกัน 2mn ความสัมพันธ
mn

4. โดเมนและเรนจของความสัมพันธ
โดเมนของความสัมพันธ r คือ เซตของสมาชิกตัวหนาของทุกคูอันดับที่อยูใน r และเขียนดวยสัญลักษณ Dr
โดยที่ Dr = {x | (x, y) ∈ r}
เรนจของความสัมพันธ r คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของทุกคูอันดับที่อยูใน r และเขียนดวยสัญลักษณ Rr
โดยที่ Rr = {y | (x, y) ∈ r}
การหาโดเมนและเรนจของความสัมพันธ r
1. ถาความสัมพันธ r อยูในรูปเซตของคูอันดับ โดยเขียนเปนเซตแบบแจกแจงสมาชิก มีหลักในการพิจารณา
คาโดเมนและเรนจ ดังนี้
Dr คือ เซตของสมาชิกตัวหนาของทุกคูอันดับ ซึ่งอยูในความสัมพันธ r
Rr คือ เซตของสมาชิกตัวหลังของทุกคูอันดับ ซึ่งอยูในความสัมพันธ r
BOBBYtutor Mathematic Note

2. ถาความสัมพันธ r อยูในรูปสมการ จะตองจัดสมการใหอยูในรูปของ y = f(x) แลวพิจารณาคา x


คา x ใดๆ ที่ทําใหสมการหรือความสัมพันธเปนจริงตามเงื่อนไขที่กําหนด ก็คือ คาของโดเมนของความสัมพันธ r
ที่ตองการ และคา x ใดๆ ที่ทําใหสมการหรือความสัมพันธไมเปนจริงก็คือคา x ที่ตองยกเวน ซึ่งคา x ที่ตองยกเวนมี
หลักการในการพิจารณา ดังนี้
2.1 คา x ที่แทนคาแลวทําใหสวนเปนศูนย
2.2 คา x ที่แทนคาแลวทําใหจํานวนที่อยูในเครื่องหมายราก หรือกรณฑที่เปนเลขคูเปนคาติดลบ
2.3 คา x ที่ไมสอดคลองกับสมการ หรือขอกําหนด
การหาคา Rr จะตองจัดสมการใหอยูในรูปของ x = f(y) แลวพิจารณาคา y แตตองคํานึงถึงคา y จากสมการ
เดิมดวย
3. ถาความสัมพันธ r อยูในรูปกราฟ มีหลักในการพิจารณาคาโดเมน คือ Project จุดตางๆ ของกราฟลงบน
แกน x ถาจะพิจารณาคาเรนจ ก็ให Project จุดตางๆ ของกราฟลงบนแกน y
การหา Dr และ Rr นอกจากจะมีหลักเกณฑทั่วไปดังที่กลาวแลว ยังมีหลักเกณฑยอยๆ ซึ่งขึ้นอยูกับตัวโจทยอีก
มากมายหลายหลักเกณฑ ซึ่งนักเรียนควรจะไดหาประสบการณเพิ่มเติมโดยการทําโจทยใหมากขึ้น จะขอยกตัวอยาง
หลักเกณฑบางหลักเกณฑ เชน
1) ถาเงื่อนไขของสมการความสัมพันธอยูในรูปเศษสวน ใชหลักเกณฑวา สวน ≠ 0
 
ตัวอยาง r = (x, y) y = 22 
 x -4
จะเห็นวา y จะหาไดเมื่อ x - 4 ≠ 0
2
x ≠ ±2
ดังนั้น Dr = R - {-2, 2}
หาคาเรนจพิจารณาดังนี้
x2 - 4 = 2y
x2 = 4 + 2y
x2 = 4yy+ 2
x2 ≥ 0 เสมอ
ดังนั้น 4y + 2 ≥ 0
y
2y + 1 ≥ 0
y
y ≤ - 21 หรือ y > 0
Rr =  -∞, - 21  U (0, ∞)
BOBBYtutor Mathematic Note

2) ถาเงื่อนไขของสมการความสัมพันธอยูในรูป r = (x, y) y = cx
ax + b 
+ d

จะไดวา Dr = R - -dcd 


Rr = R -  dac 
 
= R -  สัมประสิทธขิ์ อง x ในเศษ 
 สัมประสิทธขิ์ อง x ในสวน 
ตัวอยาง กําหนด r = (x, y) y = 3x - 5 
 2x - 7
จะไดวา Dr = R -  72 

Rr = R -  32 
3) ถาเงื่อนไขของสมการความสัมพันธอยูใ นรูป (จํานวนจริงใดๆ)2 ใชหลักเกณฑวา (จํานวนจริงใดๆ)2 ≥ 0 เสมอ
ตัวอยาง r = {(x, y) | (x - 1)2 = y - 3}
จากสมการจะไดวา x เปนจํานวนจริงใดๆ ดังนั้น Dr = R
จาก (x - 1)2 = y - 3
แต (x - 1)2 ≥ 0
ดังนั้น y-3 ≥ 0
y ≥ 3
นั่นคือ Rr = [3, ∞)
4) ถาเงื่อนไขของสมการความสัมพันธอยูในรูปคาสัมบูรณของจํานวนจริงใดๆ ใชหลักเกณฑวา
| จํานวนจริงใดๆ | ≥ 0 เสมอ
ตัวอยาง r = {(x, y) | y + 5 = | 2x - 1 |}
จาก y + 5 = | 2x - 1 |
| 2x - 1 | ≥ 0 จะได Dr = R
ดังนั้น y+5 ≥ 0
y ≥ -5
นั่นคือ Rr = [-5, ∞)
Dr = R
Rr = [-5, ∞)
BOBBYtutor Mathematic Note

5) ถาเงือ่ นไขของสมการความสัมพันธอยูใ นรูปรากคูข องจํานวนจริงใดๆ ใชหลักเกณฑวา รากคูข องจํานวนจริงใดๆ


จะหาคาไดเมื่อจํานวนจริงตัวนั้นตองมากกวาหรือเทากับศูนยเสมอ
ตัวอยาง r = {(x, y) | y = x 2 - 1 }
y จะหาไดเมื่อ x2 - 1 ≥ 0
(x - 1)(x + 1) ≥ 0
ดังนั้น x ∈ (-∞, -1] U [1, ∞)
นั่นคือ Dr = (-∞, -1] U [1, ∞)
พิจารณาคาเรนจ y2 = x2 - 1 , y ≥ 0
x2 = y2 + 1
y ∈ R แต y ≥ 0
Rr = [0, ∞)
6) ถาเงื่อนไขของสมการความสัมพันธไมสามารถจัด y ในรูป x หรือจัด x ในรูป y ได ใหทําเปนกําลังสอง
สมบูรณ หรือจัดใหอยูในรูป ax2 + bx + c = 0
 
ตัวอยาง r = (x, y) y = 2 1 
 x - 2x - 3 
หา Dr โดยใชหลักเกณฑวา สวน ≠ 0
x - 2x - 3 ≠ 0
2
(x - 3)(x + 1) ≠ 0
x ≠ 3, -1
ดังนั้น Dr = R - {-1, 3}
การหาคาเรนจจะตองจัด x ในเทอม y ซึ่งการจัดสามารถจัดโดยวิธีทําใหเปนกําลังสองสมบูรณ
จาก y = 2 1
x - 2x - 3
x - 2x - 3 = y1
2

x2 - 2x + 1 - 3 = y1 + 1
(x - 1)2 = y1 + 1 + 3
(x - 1)2 = 1 +y4y
แต (x - 1)2 ≥ 0 เสมอ
ดังนั้น 1 + 4y ≥ 0
y
+ - +
แลวนํามาหาคําตอบโดยการเขียนเสนจํานวน
- 14 0

ดังนั้น จะได Rr =  -∞, - 41  U (0, ∞)


BOBBYtutor Mathematic Note

5. กราฟของความสัมพันธ
กราฟมี 3 ชนิด คือ
1. กราฟจุด
2. กราฟเสน เปนกราฟที่เงื่อนไขของความสัมพันธเปนเครื่องหมาย = และ (x, y) ∈ R × R
3. กราฟพืน้ ที่ เปนกราฟทีเ่ งือ่ นไขของความสัมพันธเปนเครือ่ งหมาย <, ≤, >, ≥ การวาดกราฟแบบนีม้ วี ธิ กี าร คือ
1) กอนที่จะเขียนกราฟของอสมการ จะตองเขียนกราฟของสมการกอน
2) ถามีเครื่องหมาย " = " ในอสมการ สวนทีเ่ ปนกราฟของสมการจะเปนเสนทึบ แตถา ไมมเี ครือ่ งหมาย " = "
ในอสมการ สวนที่เปนกราฟของสมการจะเปนเสนประ
3) ถาเงื่อนไขของกราฟความสัมพันธเปนเครื่องหมาย > ก็ใหแรเงาเหนือเสนกราฟของสมการ จะไดพื้นที่
ของกราฟอสมการที่ตองการ
4) ถาเงื่อนไขของกราฟความสัมพันธเปนเครื่องหมาย < ก็ใหแรเงาใตเสนกราฟของสมการ จะไดพื้นที่ของ
กราฟของอสมการที่ตองการ
ตัวอยาง จงเขียนกราฟของ y ≥ x2 และ x2 + y2 ≤ 1
y
y = x2
x2 + y 2 = 1
x
-1 0 1
-1

6. อินเวอรสของความสัมพันธ r
คือ ความสัมพันธที่เกิดจากการสลับที่ระหวางสมาชิกตัวหนาและสมาชิกตัวหลังในแตละคูอันดับที่เปนสมาชิกของ
ความสัมพันธ r
ถา r เปนความสัมพันธจาก A ไป B แลวอินเวอรสของ r เขียนแทนดวย r-1 และจะไดวา r-1 จะเปนความ
สัมพันธจาก B ไป A นั่นคือ จะไดวา
r = {(x, y) ∈ A × B | x ∈ A และ y ∈ B}
r = {(y, x) ∈ B × A | x ∈ B และ y ∈ A}
-1
ขอสังเกต
1. Dr-1 = Rr และ Rr-1 = Dr
2. กราฟของ r และ r-1 จะสมมาตรกันตามเสนตรง y = x
BOBBYtutor Mathematic Note

ฟงกชัน
1. ความหมายของฟงกชัน
ฟงกชัน คือ ความสัมพันธไมมีสมาชิกตัวหนาของสองคูอันดับใดๆ เหมือนกัน แตสมาชิกตัวหลังตางกันหรืออาจ
กลาวไดอีกแบบหนึ่งวา

ความสัมพันธ r จะเปนฟงกชัน ก็ตอเมื่อ ถา (x, y) ∈ r และ (x, z) ∈ r แลว y = z

ถากําหนดให r = {(x, y) ∈ A × B | P(x, y)} เมื่อ P(x, y) คือ เงื่อนไขของความสัมพันธระหวาง x กับ y


ในการตรวจสอบวาความสัมพันธ r ดังกลาวเปนฟงกชันหรือไม สามารถตรวจสอบได
ให f เปนความสัมพันธ จะเรียก f วา เปนฟงกชัน เมื่อแตละสมาชิกในโดเมนมีความสัมพันธกับสมาชิกในเรนจ
ไดเพียงสมาชิกเดียวเทานั้น
พิจารณาฟงกชันจากแผนภาพ
f : A 1- 1
→ B
A B เปนฟงกชันจาก A ไป B ชนิด 1-1 ซึ่ง Df = A, Rf ⊂ B ซึ่งฟงกชันที่มีลักษณะ
a 1 เชนนี้เราเรียกวา "ฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป B" เขียนแทนดวย
2 f : A 1- 1
→ B
b 3
4
c 5
f:A B
A B
a 1 Df = A และ Rf = B ฟงกชนั ในลักษณะดังกลาวนีเ้ ราเรียกวา "ฟงกชนั หนึ่งตอหนึ่ง
b 2
จาก A ไปทั่วถึง B" เขียนแทนดวย f : A 1-1 B
c 3 ทั่วถึง
f:A B
A B เปนฟงกชันทีเ่ กิดจากสมาชิกตัวหนาหลายตัวไปจับคูก บั สมาชิกตัวหลังเพียง 1 ตัว
a 1 หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวาเปนฟงกชันแบบ many-to-one จาก A ไป B
b 2
c 3
BOBBYtutor Mathematic Note

การตรวจสอบความสัมพันธวาเปนฟงกชันหรือไม
1. ถาความสัมพันธที่กําหนดใหเปนกราฟ วิธีการตรวจสอบ คือ ลากเสนตรงใหขนานกับแกน y ถามีเสนตรง
เสนใดเสนหนึ่ง ตัดกราฟเกิน 1 จุด แสดงวาความสัมพันธนั้นไมเปนฟงกชัน
2. ใชวิธีการคาดคะเน เมื่อกําหนดความสัมพันธในรูปสมการ โดยการพิจารณาจากตัวแปร y ถาเปนตัวแปร y
อยูในรูปที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มคูหรืออยูในรูปคาสัมบูรณ ใหพิจารณาไวกอนวาความสัมพันธนั้นไมควรเปน
ฟงกชัน เชน
y2 = 4x ไมเปนฟงกชัน เพราะวาเมื่อกําหนด x = 1 จะไดวา y = 2 หรือ y = -2
| y | = x ไมเปนฟงกชัน เพราะวาถากําหนด x = 1 จะไดวา y = 1 หรือ y = -1
ซึ่งจากสมการทั้งสองจะเห็นไดวา คา x เพียงคาเดียวแตทําใหเกิดคา y ได 2 คา ความสัมพันธในลักษณะนี้จะ
ไมเปนฟงกชัน
3. ตรวจสอบโดยใชหลักที่วา กําหนดคูอันดับ 2 คูใดๆ ที่ตัวหนาซํ้ากัน แตตัวหลังตางกัน ถาสรุปไดวาตัวหลัง
เทากันความสัมพันธนี้เปนฟงกชัน ดังนี้ ให (a, b) ∈ r และ (a, c) ∈ r ถา b = c ก็สรุปไดวาเปนฟงกชัน ซึ่งวิธีนี้ควร
มีการฝกใหมากๆ

นิยาม ถา f เปนฟงกชันจาก A ไป B เขียนแทนดวย f : A B หมายถึง ฟงกชัน f ที่มีโดเมนเทากับ A และมี


เรนจเปนสับเซตของ B

โดยทั่วๆ ไป เมื่อกลาววา f เปนฟงกชัน จะหมายถึงวา f เปนฟงกชันจากสับเซตของ R ไป R ซึ่งไมมีเงื่อนไขใดๆ


เพิ่มเติม
ขอสังเกต ฟงกชัน f จะเรียกวา เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง ก็ตอเมื่อสมาชิกในเรนจแตละตัวมีความสัมพันธกับโดเมน
เพียงตัวเดียวเทานั้น หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวา ไมมีสมาชิกในโดเมน 2 สมาชิกหรือมากกวาไปมีความสัมพันธกับสมาชิก
ในเรนจสมาชิกเดียวกัน ดังนี้
*ฟงกชนั หนึง่ ตอหนึง่ จาก A ไป B เขียนแทนดวย f : 1-1 B หมายถึง ฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งที่มี Df = A
ไป
และ Rf ⊂ B
*ฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไปทั่วถึง B เขียนแทนดวย f : 1-1 B หมายถึง ฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งที่มี
ทั่วถึง
Df = A และ Rf = B
การตรวจสอบวาฟงกชันเปนฟงกชันแบบหนึ่งตอหนึ่งหรือไม
วิธีการตรวจสอบคลายคลึงกับการตรวจสอบวาเปนฟงกชันหรือไม ซึ่งมีหลักดังนี้
1. ถาสามารถเขียนกราฟของฟงกชันได ตรวจสอบโดยลากเสนใหขนานกับแกน x ถาเสนตรงที่ขนานกับแกน x
ตัดกราฟเกิน 1 จุด แสดงวาฟงกชันนั้นไมใชฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง
2. ใชวิธีการคาดคะเน จากการพิจารณาตัวแปร x วาอยูในรูปที่มีเลขชีก้ าลั
ํ งเปนจํานวนเต็มคูหรือไม หรือตัวแปร x
อยูในรูปคาสัมบูรณหรือไม ถาอยูในลักษณะดังกลาว ฟงกชันนั้นไมควรเปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง คือ ควรเปนฟงกชัน
แบบ many-to-one
BOBBYtutor Mathematic Note

3. ตรวจสอบโดยใชหลักที่วา กําหนดคูอันดับ 2 คูใดๆ ที่ตัวหลังเหมือนกัน แตตัวหนาตางกัน ถาสรุปไดวา


ตัวหนาก็ตองเหมือนกันแลวฟงกชันดังกลาวควรเปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง
จํานวนฟงกชันจาก A ไป B
n(A) แทน จํานวนสมาชิกของเซต A
n(B) แทน จํานวนสมาชิกของเซต B
ถาตองการหาจํานวนฟงกชันที่ตางๆ กัน เราสรุปไดดังนี้
1. จํานวนฟงกชันจาก A ไป B เทากับ n(B)n(A)
2. จํานวนฟงกชันจาก B ไป A เทากับ n(A)n(B)
3. จํานวนฟงกชันจาก A ไป A เทากับ n(A)n(A)
2. ฟงกชันชนิดตางๆ
1. ฟงกชันคงตัว (Constant function)
ฟงกชันคงตัว คือ ฟงกชันที่อยูในรูป
f(x) = c เมื่อ c เปนจํานวนจริง
กราฟของฟงกชันคงตัว จะเปนเสนตรงที่ขนานกับแกน x และกราฟจะทับกับแกน x เมื่อ c = 0
2. ฟงกชันเชิงเสน (Linear function)
ฟงกชันเชิงเสน คือ ฟงกชันที่อยูในรูป
f(x) = ax + b เมื่อ a และ b เปนจํานวนจริง
กราฟของฟงกชันเชิงเสน จะเปนเสนตรงที่ไมขนานกับแกน y มีความชัน = a และระยะตัดแกน y = b
3. ฟงกชันกําลังสอง (Quadratic function)
ฟงกชันกําลังสอง คือ ฟงกชันที่อยูในรูป
f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เปนจํานวนจริงใดๆ และ a ≠ 0
กราฟของฟงกชันกําลังสองเปนรูปพาราโบลา จะมีลักษณะหงายขึ้น ถา a > 0 จะมีลักษณะควํ่าลงถา a < 0
2
และจุดยอดของพาราโบลาจะอยูที่ x = - 2ab , y = 4ac4a- b
 2
ดังนั้น จุดยอด คือ  - 2ab , 4ac4a- b 
 
4. ฟงกชันพหุนาม (Polynomial function)
ฟงกชันพหุนาม คือ ฟงกชันที่อยูในรูป
f(x) = anxn + an-1xn-1 + an-2xn-2 + ... + a2x2 + a1x + a0
เมื่อ a0, a1, a2, ... , an เปนคาคงตัว และ n เปนจํานวนเต็มที่มีคามากกวาหรือเทากับศูนย
กราฟของฟงกชันเชิงเสน จะเปนเสนตรงที่ไมขนานกับแกน y มีความชัน = a และระยะตัดแกน y = b
BOBBYtutor Mathematic Note

5. ฟงกชันตรรกยะ (Rational function)


ฟงกชันตรรกยะ คือ ฟงกชันที่อยูในรูปของ
f(x) = g(x)
h(x) โดยที่ g และ h เปนฟงกชันพหุนาม และ h(x) ≠ 0
6. ฟงกชันคาสัมบูรณ (Absolute value function)
ฟงกชันคาสัมบูรณ คือ ฟงกชันที่มีเครื่องหมายคาสัมบูรณปรากฏอยู
7. ฟงกชันขั้นบันได (Step function)
ฟงกชันขั้นบันได คือ ฟงกชันที่มีคาคงตัวเปนชวงๆ ลักษณะกราฟของฟงกชันนี้เหมือนกับขั้นบันได
8. ฟงกชันที่เปนคาบ (Period function)
ฟงกชัน f จะเปนฟงกชันที่เปนคาบ ถามีจํานวนจริงบวก k ซึ่งทําให
f(x + k) = f(x) สําหรับทุกๆ x ที่อยูในโดเมนของ f
ถา k เปนจํานวนจริงบวกที่นอยที่สุดที่ทําใหขอความขางตนเปนจริง เราเรียก k วา คาบของฟงกชัน f
9. ฟงกชันคู และฟงกชันคี่ (Even function and Odd function)
เราจะเรียก f วาเปนฟงกชันคู ก็ตอเมื่อ f(-x) = f(x)
เราจะเรียก f วาเปนฟงกชันคี่ ก็ตอเมื่อ f(-x) = -f(x)
ฟงกชันเพิ่มและฟงกชันลด
ถา x มีคามากขึ้น และคา y หรือ f(x) ก็มีคามากขึ้นดวย เราจะเรียกฟงกชันในลักษณะนี้วา เปนฟงกชันเพิ่ม
ถา x มีคามากขึ้น แตคา y หรือ f(x) มีคาลดลง เราจะเรียกฟงกชันในลักษณะนี้วา เปนฟงกชันลด
3. ฟงกชันคอมโพสิท (Composit function)
ให f และ g เปนฟงกชันโดยที่ Rf I Dg ≠ φ ฟงกชันคอมโพสิทของ f และ g ซึ่งเขียนแทนดวยสัญลักษณ gof
คือ ฟงกชันที่มีเงื่อนไข ดังนี้
สําหรับทุกๆ คาของ x ซึ่งอยูในโดเมนของ f และ f(x) อยูในโดเมนของ g
(gof)(x) = g(f(x))
ขอควรทราบ
1. จะมี gof ไดก็ตอเมื่อ Rf I Dg ≠ φ
2. gof ไมจําเปนจะตองเทากับ fog
3. Dgof = Df เมื่อ Rf ⊂ Dg
4. gof เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง เมื่อ f และ g เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง
5. ถา f : A 1-1 B และ g : B 1-1 C จะไดวา gof : A 1-1
ทั่วถึง ทั่วถึง ทั่วถึง
C
BOBBYtutor Mathematic Note

4. อินเวอรสความสัมพันธและอินเวอรสฟงกชัน
ถา r เปนความสัมพันธจาก A ไป B แลว อินเวอรสของ r เขียนแทนดวย r-1 จะเปนความสัมพันธจาก B ไป A
นั่นคือ
ถา r = {(x, y) | x ∈ A และ y ∈ B}
r-1 = {(y, x) ∈ B × A | (x, y) ∈ r}
ขอสังเกต
1. ถา r ⊂ A × B แลว r-1 ⊂ B × A
2. Dr = Rr-1 และ Rr = Dr-1
ขอควรสนใจ
1. ถา f เปนฟงกชันแลว f -1 จะเปนฟงกชันก็ตอเมื่อ f เปนฟงกชันแบบ 1-1
2. ถา f เปนฟงกชันแบบ 1-1 แลว f -1 จะเปนฟงกชันแบบ 1-1 ดวย
3. ถาอินเวอรสของ f เปนฟงกชัน จะเรียก f -1 วา อินเวอรสฟงกชัน
4. ถา y = f(x) และ f เปนฟงกชัน 1-1 แลว x = f -1(y)
5. fof -1 ไมจําเปนจะตองเทากับ f -1of แต (fof -1)(x) = x และ (f -1of)(x) = x
5. พีชคณิตของฟงกชัน
ให f และ g เปนฟงกชันในเซตของจํานวนจริง จะได
1. f + g = {(x, y) ∈ R × R | y = f(x) + g(x)} โดยที่ Df+g = Df I Dg
2. f - g = {(x, y) ∈ R × R | y = f(x) - g(x)} โดยที่ Df-g = Df I Dg
3. f ⋅ g = {(x, y) ∈ R × R | y = f(x) ⋅ g(x)} โดยที่ Df.g = Df I Dg
4. gf = (x, y) ∈ R × R y = g(x)
f(x)  โดยที่ D = D I D ยกเวนคา x ที่ทําให g(x) = 0
f/g f g
 

ตัวอยางเสริม
1. กําหนด A = {1, 3, 4}, B = {1, 2, 5} ความสัมพันธในขอใดมีสมาชิกมากสุด
1) {(x, y) ∈ A × B | y ≠ x} 2) {(x, y) ∈ A × B | y = x}
3) {(x, y) ∈ A × B | y > x} 4) {(x, y) ∈ A × B | y = x }
2. ให r = {(x, y) ∈ R × R | x - 1 + y + 1 = 2} โดเมนและเรนจของความสัมพันธ r ตรงกับขอใด
1) Dr = [0, 5], Rr = [0, 3] 2) Dr = [1, 5], Rr = [0, 3]
3) Dr = [1, 5], Rr = [-1, 3] 4) Dr = [0, 5], Rr = [-1, 3]
BOBBYtutor Mathematic Note

3. กราฟของความสัมพันธ r = {(x, y) ∈ R × R | x ≥ 1 และ x + y ≥ 2} ตรงกับรูปในขอใด


y y

1) 2 2) 2
1 1
x x
1 2 1 2

y y

3) 2 4) 2
1 1
x x
1 2 -2 -1

4. กําหนดให r1 = {(x, y) ∈ R × R | x2 + y2 = 1}
 
r2 = y = 2 1 - 1
(x, y) ∈ R × R
 x + 1 
A = Dr1 และ B = Rr2 ดังนั้น A - B คือขอใด
1) [0, 1] U {1} 2) (0, 1] U {-1} 3) (0, 1] 4) {-1}

เฉลย
1. 1) 2. 3) 3. 1) 4. 3)

แนวขอสอบ
1. ให A = {0, 1, 2, (1, 2), (3, 2)} และ B = (A × A) - A จํานวนสมาชิกของ B เทากับเทาใด
1) 24 2) 25 3) 26 4) 27
2. ให R แทนเซตของจํานวนจริง และ f = {(x, y) ∈ R × R | y = | x | - x} เรนจของ f คือขอใดตอไปนี้
1) (-∞, ∞) 2) (-∞, 0] 3) [0, ∞) 4) {0}
BOBBYtutor Mathematic Note

3. กําหนดจุด A(-2, 0) และ B(4, -2) และ r = {(x, y) | (x, y) คือจุด C ที่ทําให AC ตั้งฉากกับ BC}
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. โดเมนของ r = [1 - 10 , 1 + 10 ]
ข. โดเมนของ r = เรนจของ r
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
n 2 ถา n เปนจํานวนเต็มคู

4. ให I+ เปนเซตของจํานวนเต็ม กําหนดให f : I+ → I+ โดย f(n) = 
n ถา n เปนจํานวนเต็มคี่
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. f เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง ข. f เปนฟงกชันทั่วถึง
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
5. กําหนดให f(x) = 5xx -+21 ถา a เปนจํานวนจริง ซึ่ง a ≠ 4 แลว f -1(a + 1) คือขอใดตอไปนี้
1) 2aa -+41 2) 2a -1
a- 4 3) 2aa -+43 4) 2a -3
a- 4
6. ใหความสัมพันธ r = (x, y) ∈ R × R y = x x+ 1  เมื่อ R เปนเซตของจํานวนจริง เรนจของ r คือขอใด
 
ตอไปนี้
1) R - {1} 2) R - {-1, 1} 3) (-∞, -1] U (1, ∞) 4) (-∞, -1] U [0, ∞)
7. กําหนดกราฟของความสัมพันธ r บนแกน x, y ดังภาพ
y

x
กราฟของ r-1 คือขอใดตอไปนี้
y y
1) 2)
x x

y y
3) 4)
x x
BOBBYtutor Mathematic Note

8. กําหนดให R เปนเซตของจํานวนจริง ขอใดตอไปนี้คือ โดเมนของ f -1 เมื่อ f(x) = 1 + 1


x
1) {x ∈ R | x ≠ 1} 2) {x ∈ R | x ≠ -1} 3) {x ∈ R | x ≠ 0} 4) {x ∈ R | x ≠ 0, 1}
9. ให x เปนจํานวนจริงใดๆ f, g และ h เปนฟงกชัน โดยที่ f(x) = 2x - 1, h(x) = 2x2 - 2x + 1 และ
(fog)(x) = h(x) แลว g(3) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 1 2) 3 3) 5 4) 7

3x - 4 ,x<0
 2
10. ให x เปนจํานวนจริงใดๆ และ f เปนฟงกชัน ซึ่ง f(x) = x ,0 ≤ x≤2

 x2 - 5x - 8 ,x>2

2
ถา x เปนจํานวนจริงที่ทําให f(x) = 6 แลว x4 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 10.25 2) 11.25 3) 12.25 4) 14.25
11. กําหนดให f(x) = 2x แลว f(x + 3)
f(x - 1) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) f(2) 2) f(3) 3) f(4) 4) f(5)
12. กําหนดให r = {(x, y) ∈ B × B | | x - y | หารดวย 3 ลงตัว}
โดยที่ B = {2, 3, 4, 5, 6} จํานวนสมาชิกของเซต r เทากับขอใดตอไปนี้
1) 2 ตัว 2) 4 ตัว 3) 5 ตัว 4) 9 ตัว
13. วงกลมรัศมี r หนวย และมีพื้นที่ A ตารางหนวย กราฟของความสัมพันธระหวาง r และ A คือขอใดตอไปนี้
1) A 2) A

r r
3) A 4) A

r r

14. ถา f = {(1, a), (2, b), (3, c), (4, d)} และ f -1og = {(1, 3), (3, 1), (4, 4)} แลว g คือ ฟงกชันในขอใดตอไปนี้
1) {(a, 3), (c, 1), (d, 4)} 2) {(1, c), (3, a), (4, d)}
3) {(1, 1), (3, 3), (4, 4)} 4) {(a, c), (c, a), (d, d)}
BOBBYtutor Mathematic Note

15. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. f(x) = x2 เมื่อ x < -2 เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง

-(x + 2) เมื่อ x < -2
ข. g(x) =  เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง

 x + 2 เมื่อ -2 ≤ x ≤ 0
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
16. กําหนดให R แทนเซตของจํานวนจริง และ R+ แทนเซตของจํานวนจริงบวก ให r = {(x, y) | yx2 = 1} ขอใด
ตอไปนี้คือเรนจของ r
1) R- 2) R- U {0} 3) R - {0} 4) R+
17. กราฟที่กําหนดใหเปนกราฟของความสัมพันธในขอใดตอไปนี้
y

(0, 1)
x
(- 1, 0) (1, 0)
(0, - 1)
1) {(x, y) ∈ R × R | | x + y | = 1} 2) {(x, y) ∈ R × R | | x | + | y | = 1}
3) {(x, y) ∈ R × R | | x - y | = 1} 4) {(x, y) ∈ R × R | | x | - | y | = 1}
18. กําหนดให r = {(x, y) ∈ R × R | y = 9 - x 2 } พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. Df = {x | -3 ≤ x ≤ 3} ข. Rf = {x | 0 ≤ x}
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
19. ให A = {0, 1, 2} จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. {(x, y) ∈ A × A | y = x2 - 2x + 1} เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง
ข. {(x, y) ∈ A × A | x - 2y + 3 = 0} เปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
20. ถา f(x) = 2x - 5 และ (fog)(x) = -4x + 13 แลว g(1.3) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 6.0 2) 6.2 3) 6.4 4) 6.8
21. ให f(x) = 3x - 1 และ g(x) = (x - 1)3 คาของ 2f -1(2) + 3g-1(1) คือขอใดตอไปนี้
1) 7 2) 8 3) 10 4) หาคาไมได
BOBBYtutor Mathematic Note

22. เรนจของความสัมพันธ (x, y) ∈ R × R y = xx -+ 52  คือขอใดตอไปนี้


1) {y ∈ R | y ≠ 5} 2) {y ∈ R | y ≠ -2}
3) {y ∈ R | y ≠ 1} 4) {y ∈ R | y ≠ -5}
 x เมื่อ x ≥ 0
23. ฟงกชัน f กําหนดโดย f(x) = 
 - - x เมื่อ x < 0

1) y 2) y

x 0 x
0

y 4) y
3)

0 x
0 x

24. กําหนด f(x) = x - 1 , g(x) = x2 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง


1) (gof)(x) = x - 1 2) (gof)(x) = x 2 - 1
3) (fog)(x) = x - 1 4) (fog)(x) = x2 - 1
25. ถา f(x) = x3 + 1 แลว [(f-1of )of -1](9) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 2 2) 3 3) 9 4) 10
26. กําหนดให P = {-1, 1, 2, 3, 4}
Q = {-6, -4, -2, 0, 2, 4, 6}
และความสัมพันธ r = {(x, y) ∈ P × Q | 2x - y = 0} ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) Dr - Rr = {-1, 1, 3, 4} 2) Rr - Dr = {-2, 6}
3) Q - Rr = {-6, 0} 4) P - Dr = {4}
27. กําหนดให A = {x | x2 - 2x - 3 = 0}
B = {x | x(x - 1)(x - 2) = 0)}
ขอใดตอไปนี้เปนฟงกชันจาก A ไป B
1) {(3, 0), (-1, 1)} 2) {(3, 2), (1, -1)}
3) {(-3, 1), (1, 2), (1, 0)} 4) {(-3, 1), (1, 2), (-3, 0)}
BOBBYtutor Mathematic Note

28. ถา f : R → R เปนฟงกชัน ซึ่ง f(0) = 2, f(1) = 3 และ f(x + 2) = 2f(x) - f(x + 1) ทุกๆ x ∈ R แลว f(3)
เทากับขอใดตอไปนี้
1) -3 2) 5 3) 7 4) 13

2
29. ถา f(x) = | x + 2 |, g(x) = x |+x 4x + 4 , h(x) =  x + 2 เมื่อ x ≥ -2 แลวขอใดถูกตอง
+ 2| -x - 2 เมื่อ x < -2
1) f = g และ f = h 2) f ≠ g และ f = h
3) f = g และ f ≠ h 4) f ≠ g และ f ≠ h
30. ฟงกชัน f ในขอใดตอไปนี้มีคุณสมบัติวา f(x) = f(-x)
1) f(x) = x2 - 2x + 4 2) f(x) = | x - 4 |
3) f(x) = x2 - 1 4) f(x) = x3 + 2

เฉลย
1. 1) 2. 3) 3. 3) 4. 2) 5. 3) 6. 1) 7. 3) 8. 1) 9. 4) 10. 3)
11. 3) 12. 4) 13. 4) 14. 2) 15. 2) 16. 4) 17. 2) 18. 2) 19. 3) 20. 3)
21. 2) 22. 3) 23. 4) 24. 1) 25. 1) 26. 4) 27. 1) 28. 2) 29. 2) 30. 3)

ตัวอยางขอสอบเขามหาวิทยาลัย
1. กําหนดให A = {p, q, r} และ B = {a, b, c, d} ฟงกชันจาก A ไป B ชนิดหนึง่ ตอหนึง่ มีทงั้ หมดเปนจํานวนเทาใด
2. กําหนดให A = [-4, 4] และ B = [0, 4] พิจารณาความสัมพันธ
r1 = {(x, y) ∈ A × A | x2 + y2 = 16} และ r2 = {(x, y) ∈ B × B | x2 + y2 = 16}
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ทั้ง r1 และ r2 เปนฟงกชัน 2) r1 เปนฟงกชัน แต r2 ไมเปนฟงกชัน
3) r1 ไมเปนฟงกชัน แต r2 เปนฟงกชัน 4) ทั้ง r1 และ r2 ไมเปนฟงกชัน
3. กําหนดความสัมพันธ r1 = {(x, y) ∈ R × R | y ≥ x2} และ r2 = {(x, y) ∈ R × R | y ≤ x + 2} และ
D = โดเมนของ r1 I r2 R = เรนจของ r1 I r2 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) D = [-1, 2], R = [0, 4] 2) D = [-2, 2], R = [0, 4]
3) D = [-1, 2], R = [0, 2] 4) D = [-2, 2], R = [0, 2]
4. กําหนดให f(x) = 2x + 3 และ g(x) = 2x ถา h เปนฟงกชันอินเวอรสของ f แลว ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) (goh)(x) = x + 3, (hog)(x) = x - 32 2) (goh)(x) = x - 32 , (hog)(x) = x - 3
3) (goh)(x) = x - 3, (hog)(x) = x + 32 4) (goh)(x) = x - 3, (hog)(x) = x - 32
BOBBYtutor Mathematic Note

5. ถา g =  -3, 21 , (1, 3), (2, -3)  และ (fog)(x) = 1 -2x , x ≠ 0 แลว f(-3) เทากับขอใดตอไปนี้
2
  x
1) - 98 2) - 43 3) 0 4) 3
6. ให A = {x ∈ R | x ≥ 0} กําหนดความสัมพันธ r1 และ r2 ดังนี้
r1 = {(x, y) | x ∈ A, y ∈ A และ 2x + 4y ≤ 15}
และ r2 = {(x, y) | x ∈ A, y ∈ A และ x + 3y ≤ 12}
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) r1 ⊂ r2 2) r2 ⊂ r1 3) r1 = r2 4) r1 I r2 = φ
 
7. กําหนดความสัมพันธ r = (x, y) ∈ R × R y = 1 
 9 - x 2 
และ I แทนเซตของจํานวนเต็ม ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) Dr = [-3, 3] 2) Rr =  31, ∞ 
3) Dr-1 I I มีสมาชิก 7 ตัว 4) Rr-1 I I มีสมาชิก 5 ตัว
8. กําหนดให f(x) = 3x - 4 และ (fog)(x) = x + 1 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) g-1(x) = x -3 5 2) g-1(x) = x +3 5
3) g-1(x) = 3x + 5 4) g-1(x) = 3x - 5
9. กําหนดฟงกชัน f และ g ดังนี้
f(x) = x3 - 1
2x + 1 เมื่อ x ≤ 0

g(x) = 
 x-3 เมื่อ x > 0

ถา (f -1og)(1) = a และ (gof -1)(-1) = b แลวขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) a = 1, b = 1 2) a = 1, b = -1
3) a = -1, b = 1 4) a = -1, b = -1
10. กําหนดให f = {(-1, 1), (0, 3), (3, 6), (4, 5)} และ gof = {(-1, 3), (0, 7), (3, 13), (4, 11)} แลว g เปน
สับเซตของเซตในขอใดตอไปนี้
1) {(x, y) | y = x + 2} 2) {(x, y) | y = 2x + 1}
3) {(x, y) | y = 4x - 1} 4) {(x, y) | y = 5x - 2}
BOBBYtutor Mathematic Note

 2 
11. กําหนดใหความสัมพันธ r = (x, y) ∈ R × R y = x - 42 
 9-x 
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. โดเมนของ r คือ (-∞, -3) U (3, ∞)
ข. เรนจของ r คือ (-∞, -1) U  - 49, ∞ 
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
12. กําหนดให f(x) = x1 และ g(x) = x -x 1 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) (fog)(2) = -2 2) (f -1og-1)(2) = -1
3) (f + g)(2) = -1 4) (f -1 + g-1)(2) = -2
13. ถา f และ g เปนฟงกชัน ซึ่ง f -1(x) = x +3 4 และ (fog)(x) = 3x2 + 2 แลว f(x) + g(x) เทากับขอใดตอไปนี้
1) x2 + 3x - 2 2) x2 - 3x + 2 3) x2 + 3x 4) x2 - 3x
 x3 - 1 เมื่อ x ≥ 1

14. กําหนดให f(x) = 
- (x - 1)2 เมื่อ x < 1

และ g(x) = 3 x - 1 คาของ (g-1of -1)(1) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) -1 2) 0 3) 1 4) 3
15. กําหนดความสัมพันธ r = {(x, y) ∈ R × R | y = x| x |} อินเวอรสของความสัมพันธ r คือขอใด
  x , x ≥ 0
 
1) r-1 = (x, y) ∈ R × R y=  
  - x , x < 0
 
  x , x ≥ 0 
 
2) r-1 = (x, y) ∈ R × R y=  
 - - x , x < 0
 
 - x , x ≥ 0
 
3) r-1 = (x, y) ∈ R × R y=  
  - x , x < 0
 
 - x , x ≥ 0 
 
4) r-1 = (x, y) ∈ R × R y=  
 - - x , x < 0
 
BOBBYtutor Mathematic Note

16. กําหนด f และ g เปนฟงกชัน โดยที่ f ⊂ R × R, g ⊂ R × R ซึ่ง (gof)(x) = -g(x) - 2x , f(x) และ g(x) = x2
ถา | 2x + 1 | ≤ 9 แลว f(x) มีคาอยูในชวงใด
1) [-5, 4] 2) [-5, 5] 3) [-4, 5] 4) [4, 5]
17. ให f เปนฟงกชัน และ f ⊂ N × N กําหนดโดย
ก f(2) = 4 ข. f(3) = 6
ค. f(m ⋅ n) = f(m) ⋅ f(n) ง. ถา m < n แลว f(m) < f(n)
ดังนั้น ถา 4 หาร f(5) ลงตัวแลว f(5) มีคาเทาใด
1) 16 2) 20 3) 24 4) 28
 x - 17 , x ≥ 2000
18. กําหนดให f(x) =  คาของ f(2532) - f(1989) มีคาเปนเทาใด
f(f(x + 23)) , x < 2000

1) 350 2) 351 3) 530 4) 531


19. ให R เปนเซตของจํานวนจริง f : R → R และ g : R → R กําหนดโดย f(x) = a2x+1 และ g(x) = bx + 5
ถา (fog-1)(-2) = 27 และ (f ⋅ g)(0) = 15 แลว 3f(-1) - 4g(2) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) -35 2) -33 3) 37 4) 39
-1 - (f-1og)(2) เทากับ
20. กําหนด f(x) = x +2 3 เมื่อ x ∈ R, g(x) = | x | เมื่อ x ∈ R ถา x = 3 คาของ (f og)(x) |x| - 2
ขอใด
1) 21 2) 1 3) 2 4) 6
21. ให N แทนเซตของจํานวนเต็มบวก และ f : N × N → N ซึ่งกําหนดโดย f(1, n) = n + 1 และ
f(m + 1, n) = f(m, n) × n คาของ f(3, 2) มีคาเทากับเทาใด
22. กําหนด f(x) = axn + b, f(2) = 17, f(4) = 77 และ f(8) = 377 คาของ a3 + b3 มีคาเทากับเทาใด
23. กําหนดนิยาม fa(n) = n(n - 1)(n - 2) ... (n - a) เมือ่ a, n เปนจํานวนเต็มบวกและ a < n ดังนั้น f1  f3 (34) 
f (35)
 2 
เทากับเทาใด
24. กําหนด f(x) = x2 + 4x และ A = {x ∈ R | f(f(x)) = f(x)} ดังนั้นจํานวนสมาชิกของ P(A) เทากับเทาใด
25. กําหนด f(x) = a sin x + bx cos x + x2 และ f(3) = 5 ดังนั้น f(-3) เทากับเทาใด

เฉลย
1. 24 2. 3) 3. 1) 4. 4) 5. 2) 6. 1) 7. 4) 8. 4) 9. 3) 10. 2)
11. 4) 12. 2) 13. 1) 14. 4) 15. 2) 16. 3) 17. 2) 18. 4) 19. 3) 20. 3)
21. 12 22. 35 23. 1190 24. 16 25. 13
BOBBYtutor Mathematic Note

พื้นฐานเรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
1. โพรเจกชัน (Projection)
1.1 โพรเจกชันของจุดบนเสนตรง
โพรเจกชันของจุด P บนเสนตรง l คือ จุด P′ ซึ่งเกิดจากเสนตรงจากจุด P มาตั้งฉากกับเสนตรง l
P

P′ l

1.2 โพรเจกชันของจุดบนแกน x และแกน y


y โพรเจกชันของจุด P(x, y) ใดๆ บนแกน x คือ จุด P′(x, 0)
P(x, y) โพรเจกชันของจุด P(x, y) ใดๆ บนแกน y คือ จุด P′(0, y)
เชน โพรเจกชันของจุด (3, 7) บนแกน x คือ จุด (3, 0)
โพรเจกชันของจุด (4, 5) บนแกน y คือ จุด (0, 5)
0 x
1.3 โพรเจกชันของสวนของเสนตรง AB บนเสนตรง l
ถา AB เปนสวนของเสนตรง และ l เปนเสนตรงที่กําหนดให โพรเจกชันของสวนของเสนตรง AB บน
เสนตรง l คือ สวนของเสนตรง A′B′ โดยที่ A′ และ B′ เปนโพรเจกชันของจุด A และ B บนเสนตรง l
ตามลําดับ
B
A A B

A′ l B′ A′ l B′
1.4 โพรเจกชันของจุด P(x, y) บนเสนตรง y = x
ให P′ เปนโพรเจกชันของจุด P(x1, y1) บนเสนตรง y = x คือ จุด P′  1 2 1 , 1 2 1 
x +y y +x

y
P(x1, y1 ) y=x

x +y y +x
P′  1 2 1, 1 2 1 
x
BOBBYtutor Mathematic Note

1.5 โพรเจกชันของจุด P(x, y) บนเสนตรง y = -x


x +y y +x 
ให P′ เปนโพรเจกชันของจุด P(x1, y1) บนเสนตรง y = -x คือ จุด P′  1 2 1 , 1 2 1 
 
y
y = -x P(x1, y1 )



x1 - y1, y1 - x1  P′
 2 2 
x
0
1.6 โพรเจกชันของจุด P(x, y) บนเสนตรงใดๆ
วิธีทํา
1. หาสมการเสนตรงที่ผานจุด P(x, y) และตั้งฉากกับเสนตรงที่โจทยกําหนด
2. แกสมการเสนตรงที่โจทยกําหนดและเสนตรงในขอ 1 เพื่อหาจุดตัดของเสนตรงทั้งสองเสน
3. โพรเจกชันของ P(x, y) บนเสนตรงที่กําหนด คือ จุดตัดในขอ 2
2. การหาระยะหางระหวางจุด 2 จุด
ถา P และ Q เปนจุด 2 จุดใดๆ ระยะหางระหวางจุด P และ Q เขียนแทนดวย | PQ |
2.1 ถา P และ Q เปนจุดที่อยูในแนวที่ขนานกับแกน x
P = (x1, y), Q = (x2, y) แลว
| PQ | = | x1 - x2 | = | x2 - x1 |

2.2 ถา P และ Q เปนจุดที่อยูในแนวที่ขนานกับแกน y


P = (x, y1), Q = (x, y2) แลว
| PQ | = | y1 - y2 | = | y2 - y1 |

2.3 ถา P(x1, y1) และ Q(x2, y2) เปนจุดใดๆ 2 จุด บนระนาบ

| PQ | = (x 1 - x 2 ) 2 + (y 1 - y 2 ) 2

3. จุดกึ่งกลางระหวางจุด 2 จุด
ให A(x1, y1) และ B(x2, y2) เปนจุดปลายของสวนของเสนตรง

จุดกึ่งกลางของสวนของเสนตรง AB คือ  x1 +2 x2 , y1 +2 y2 


BOBBYtutor Mathematic Note

4. จุดแบงของสวนของเสนตรงออกเปนอัตราสวน m : n
จุดแบงภายใน
A(x1 , y1 )

m P
n B(x 2 , y2 )

ให A(x1, y1) และ B(x2, y2) เปนจุดปลายของสวนของเสนตรง AB ที่มี P เปนจุดแบงภายใน


ที่ทําให | AP | : | PB | = m : n แลว จุด P คือ  mxm2 ++ nnx1, mym2 ++ nny1 

5. การหาพื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยม
วิธีทํา
1. นําจุดยอดของรูปเหลี่ยมมาเขียนเรียงในแนวตั้งในทิศทวนเข็มนาฬิกา
2. ปดทายดวยจุดยอดแรก
3. พื้นที่ของรูปเหลี่ยมจะเทากับครึ่งหนึ่งของผลบวกของผลคูณทแยงลง ลบดวยผลบวกของผลคูณทแยงขึ้น
y
B(x2 , y2 )
A(x1 , y1 )
x
B(x3 , y3 )
x1 y1
x2 y2
พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC = 21 x3 y3
x1 y1
= 21 | (x1y2 + x2y3 + x3y1) - (x2y1 + x3y2 + x1y3) |
BOBBYtutor Mathematic Note

6. ขอควรรูเกี่ยวกับสามเหลี่ยมเมื่อทราบจุดยอด
y
A(x1, y1 )

Q R M  x1 + x32 + x3 , y1 + y32 + y3 


C(x3 , y 3 )
C(x3 , y3 ) P
x

 x1
+ x 2 + x3 y1 + y 2 + y3 
6.1 จุดที่เสนมัธยฐานตัดกันคือ M  3 , 3 
 
1
6.2 พื้นที่ ∆ PQR = 4 ของพื้นที่ ∆ ABC

7. ความชันของเสนตรง
ให l เปนเสนตรงที่ผานจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) โดยที่ x1 ≠ x2 ความชันของเสนตรง l คือ m
y -y y -y
โดยที่ m = x11 - x22 หรือ x22 - x11 , x1 ≠ x2
ถา l 1 มีความชันเทากับ m1 และ l 2 มีความชันเทากับ m2 โดยที่ m1 และ m2 ไมเทากับ 0 แลวจะไดวา
1. ถา l 1 ขนานกับ l 2 แลว m1 = m2
2. ถา l 1 ตั้งฉากกับ l 2 แลว m1 × m2 = -1

8. สมการเสนตรงในรูปแบบตางๆ
8.1 จุด-ความชัน
ใหเสนตรงผานจุด (x1, y1) และมีความชัน = m
สมการเสนตรง คือ y - y1 = m(x - x1)
8.2 จุด-จุด
ใหเสนตรงผานจุด 2 จุด คือ P1(x1, y1) และ P2(x2, y2)
y -y
สมการเสนตรง คือ y - y1 = x11 - x22 (x - x1)
y -y
หรือ y - y2 = x11 - x22 (x - x2)
เมื่อ x1 ≠ x2
8.3 ความชัน-จุดตัดแกน y
ใหเสนตรงมีความชัน = m และตัดแกน y ที่จุด (0, c)
สมการเสนตรง คือ y = mx + c
BOBBYtutor Mathematic Note

8.4 ระยะตัดแกน x และระยะตัดแกน y


ใหเสนตรงมีระยะตัดแกน x = a และระยะตัดแกน y = b
นั่นคือ ตัดแกน x ที่จุด (a, 0) และตัดแกน y ที่จุด (0, b)
สมการเสนตรง คือ xa + yb = 1

8.5 สมการเสนตรงในรูปทั่วไป
ใหสมการเสนตรงที่อยูในรูปทั่วไป คือ Ax + By + C1 = 0 จะไดวาเสนตรงที่ตั้งฉากกับเสนตรงนี้ คือ
Bx - Ay + C2 = 0
9. ระยะทางระหวางจุดกับเสนตรง
กําหนดเสนตรง คือ Ax + By + C = 0 และ P1(x1, y1) เปนจุดภายนอกเสนตรง ถา d เปนระยะหางระหวาง
จุดกับเสนตรงจะไดวา
d =
| Ax1 + By1 + C |
A 2 + B2

10. ระยะหางระหวางเสนขนาน
ใหเสนตรง 2 เสน ขนานกันมีสมการ คือ Ax + By + C1 = 0 และ Ax + By + C2 = 0
ถา d เปนระยะหางระหวางเสนขนานทั้ง 2 จะไดวา
d =
|C1 - C2|
A 2 + B2
BOBBYtutor Mathematic Note

วงกลม (Circle)
y

P(x, y)

C(h, k)
x

จุด C(h, k) เปนจุดคงที่ เรียกวา จุดศูนยกลาง


| CP | = ระยะทางคงที่ เรียกวา รัศมี
วงกลม คือ เซตของจุดทุกจุดซึ่งหางจากจุดคงที่จุดหนึ่งเปนระยะทางคงตัว จุดคงที่ เรียกวา จุดศูนยกลาง
ระยะคงที่ เรียกวา รัศมี
รูปแบบสมการวงกลม จุดศูนยกลาง รัศมี
x2 + y2 = r2 (0, 0) r
(x - h)2 + (y - k)2 = r2 (h, k) r
x2 + y2 + Dx + Ey + F = 0  D E
- , - 
 2 2 D2 + E2 - 4F
2
ขอสังเกต
1. ถา D2 + E2 - 4F = 0 กราฟที่ไดจะเปนจุดวงกลม
2. ถา D2 + E2 - 4F > 0 กราฟที่ไดจึงเปนวงกลม
3. ถา D2 + E2 - 4F < 0 จะไมเกิดกราฟในระบบจํานวนจริง
ขอสําคัญ
ในเรื่องวงกลม ถาตองการหาสมการวงกลม จะตองทราบ
1. จุดศูนยกลาง
2. รัศมี
การหาจุดศูนยกลาง อาจหาไดดังนี้
- กําหนดโดยตรง เชน ใหจุดศูนยกลาง คือ C(h, k)
- กําหนดจุดศูนยกลาง คือ จุดที่เสนตรงตัดกัน
- กําหนดจุดศูนยกลาง โดยใหมีความสัมพันธกับกราฟอื่นๆ
BOBBYtutor Mathematic Note

การหาความยาวรัศมี อาจหาไดดังนี้
- โจทยอาจกําหนดความยาวของเสนรอบวงมาให (2πr)
- กําหนดความยาวระหวางจุด 2 จุด หาไดจากสูตร | P1P2 | = (x 1 - x 2 ) 2 + (y 1 - y 2 ) 2
- กําหนดจุดศูนยกลาง (h, k) และเสนสัมผัส Ax + By + C = 0
รัศมี คือ ระยะทางระหวางจุดกับเสนตรง ซึ่งหาไดจาก d =
| Ax1 + By1 + C |
A 2 + B2
ดังนั้น r = | Ah +2Bk + 2C |
A +B
- อื่นๆ ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะโจทยในแตละขอ
ความยาวของเสนสัมผัส
ให | PQ | เปนความยาวของเสนสัมผัสที่ลากจากจุด P มาสัมผัสวงกลมที่จุด Q
1. ถาสมการวงกลม คือ x2 + y2 = r2 แลว | PQ | = x 21 + y 21 - r2 ดังรูป
Q

P(x1, y1 )

2. ถาสมการวงกลม คือ (x - h)2 + (y - k)2 = r2 แลว | PQ | = (x 1 - h) 2 + (y 1 - k) 2 - r2 ดังรูป


Q

C(h, k) P(x1, y1 )

3. ถาสมการวงกลม คือ x2 + y2 + Dx + Ey + F = 0 แลว | PQ | = x 2 + y 2 + Dx + Ey + F ดังรูป


Q
P(x1, y1 )
D - D2 , - E2 



BOBBYtutor Mathematic Note

พาราโบลา (Parabola)
นิยาม
พาราโบลา คือ เซตของจุดบนพื้นระนาบซึ่งมีระยะหางจากจุดคงที่ เทากับระยะที่หางจากเสนตรงคงที่
y

D P(x, y)

F x
เสนไดเรกตริกซ
x = -c เสนลาตัสเรกตัม

จุดคงที่ คือ จุดโฟกัส (Focus)


เสนตรงที่คงที่ คือ เสนไดเรกตริกซ
เสนลาตัสเรกตัม (Latus rectum) คือ เสนตรงที่ลากผานจุด Focus และตั้งฉากกับแกนของรูป
แกนของรูปหรือแกนสมมาตร คือ เสนตรงที่ลากผานจุดยอดและผานจุด Focus
คอรดของพาราโบลา คือ เสนตรงที่ลากเชื่อมจุด 2 จุด ที่ตางกันของพาราโบลาและคอรดที่ลากผานจุด Focus
เรียกวา Focul และคอรดที่ผานจุด Focus และตั้งฉากกับแกนของรูปดวย เรียกวา ลาตัสเรกตัม (Latus rectum)
ขอสังเกต
จากสมการ จะตองมีตวั แปรตัวใดตัวหนึง่ อยูใ นรูปกําลังสอง และอีกตัวหนึง่ ยกกําลังหนึง่ และอยูที่เทอมที่บวกลบกัน
กราฟที่ไดจึงจะเปนกราฟพาราโบลา
รูปแบบของพาราโบลาที่มีจุดศูนยกลางที่จุด (0, 0)
y y

(-2c, c) F(0, c) (2c, c) (c, 2c)


V F(0, c) x
x
V (0, 0) (c,-2c)
x = -c
x2 = 4cy y2 = 4cx

พาราโบลาซึ่งมีจุดยอดที่จุด (0, 0) พาราโบลาซึ่งมีจุดยอดที่จุด (0, 0)


และแกนของรูปทับแกน y และแกนของรูปทับแกน x
BOBBYtutor Mathematic Note

สรุป
x2 = 4cy รูปสมการ y2 = 4cx
v(0, 0) จุดยอด V(0, 0)
F(0, c) จุด Focus F(c, 0)
y = -c สมการเสนไดเรกตริกซ x = -c
| 4c | ความยาวเสนลาตัสเรกตัม | 4c |
รูปหงาย (เปดบน) ถา c > 0 รูปตะแคงขวา (เปดขวา)
รูปควํ่า (เปดลาง) ถา c < 0 รูปตะแคงซาย (เปดซาย)
(-2c, c), (2c, c) จุดปลายเสนลาตัสเรกตัม (c, 2c), (c, -2c)

วงรี (Ellipse)
นิยาม
วงรี คือ เซตของจุดทั้งหมดซึ่งผลบวกของระยะทางจากจุดใดๆ จุดหนึ่งในเซตไปยังจุดคงที่ 2 จุด มีคาคงตัว
m1′ Bp(x, y) m1

V′ V
F′ F
m2′ m2
B′
สวนประกอบของวงรี
F, F′ เปนจุดคงที่ เรียกวา Focus
V, V′ เปนเสนตรงที่ผานจุด Focus และมีจุดปลายทั้งสองเปนจุดยอด เรียกวา แกนเอก
B, B′ เปนเสนตรงที่ผานจุดศูนยกลางและตั้งฉากกับแกนเอก โดยมีจุดปลายทั้งสองอยูบนวงรี เรียกวา แกนโท
m1m2, m′1m′2 เปนเสนตรงที่ผานจุด Focus และตั้งฉากกับแกนของรูป เรียกวา เสนลาตัสเรกตัม
BOBBYtutor Mathematic Note

วงรีที่มีจุดศูนยกลางที่จุด (0, 0)
y
V
y
B F
B′ B x
V V′ x
F′
F′ F
B′ V′

สรุป
x2 + y2 = 1 รูปสมการ y2 + x2 = 1
a2 b2 a2 b2
(0, 0) จุดศูนยกลาง (0, 0)
V(a, 0), V′(-a, 0) จุดยอด V(0, a), V′(0, -a)
F(c, 0), F′(-c, 0) จุด Focus F(0, c), F′(0, -c)
| 2a | ความยาวแกนเอก | 2a |
| 2b | ความยาวแกนโท | 2b |
B(0, b), B′(0, -b) จุดปลายแกนโท B(b, 0), B′(-b, 0)
2b2 ความยาวลาตัสเรกตัม 2b2
|a| |a|
ขอควรจํา b2 = a2 - c2
BOBBYtutor Mathematic Note

ไฮเพอรโบลา (Hyperbola)
นิยาม
ไฮเพอรโบลา คือ เซตของจุดทุกจุดในระนาบ ซึ่งผลตางของระยะทางจากจุดใดๆ ในเซตนี้ไปยังจุดคงที่สองจุด
มีคาคงตัว
ไฮเพอรโบลาที่มีจุดศูนยกลางที่จุด (0, 0)
y y

F(0, c)
B(0, b)
V′(-a, 0) V(a, 0) x B′(-b, 0) V(0, a) B(0, b)
F′(-c, 0) F(c, 0) V ′(0, -a)
x

B′(0, -b)
F′(0, -c)

เสนกํากับ (Asymptote)

สรุป
x2 - y2 = 1 รูปสมการ y2 - x2 = 1
a2 b2 a2 b2
(0, 0) จุดศูนยกลาง (0, 0)
V(a, 0), V′(-a, 0) จุดยอด V(0, a), V′(0, -a)
F(c, 0), F′(-c, 0) จุดโฟกัส F(0, c), F′(0, -c)
B(0, b), B′(0, -b) จุดปลายแกนสังยุค B(b, 0), B′(-b, 0)
| 2a | ความยาวแกนตามขวาง | 2a |
| 2b | ความยาวแกนสังยุค | 2b |
2b2 ความยาวของเสนลาตัสเรกตัม 2b2
|a| |a|
y = ± ba x สมการของเสนกํากับ (Asymptote) y = ± ab x
ขอควรจํา b2 = c2 - a2
BOBBYtutor Mathematic Note

การพิจารณากราฟจากสมการ
1. ถาสมการอยูในเทอมของ x, y บวกหรือลบกัน เทากับคาใดคาหนึ่ง หรือสมการมีตัวแปร x หรือ y เพียง
ตัวใดตัวหนึ่งเทากับคาคงที่ กราฟที่ไดจะเปนสมการเสนตรง ตัวอยางสมการ เชน
Ax + By + C = 0 เปนเสนตรงในรูปทั่วไป
y = b เปนเสนตรงที่ขนานกับแกน x
x = a เปนเสนตรงที่ขนานกับแกน y
2. ถาสมการอยูในเทอมของตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งยกกําลังสองเพียงตัวเดียว และอีกตัวหนึ่งยกกําลังหนึ่ง กราฟ
ที่ไดจะเปนกราฟพาราโบลา ซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดดังนี้
1. ถาเปนเทอมของ x ยกกําลังสอง กราฟที่ไดจะเปนกราฟที่มีลักษณะเปนรูปควํ่าหรือหงายเทานั้น ทั้งนี้
ขึ้นอยูกับการจัดรูปสมการแลวพิจารณาคาคงที่ เชน จัดสมการเปน x2 = 4Cy หรือ (x - h)2 + 4C(y - k)
จะพิจารณาทีค่ า ของ C ถา C > 0 กราฟจะเปนรูปหงาย แตถา C < 0 กราฟจะเปนรูปควํา่ หรือจัดสมการ
เปน y = ax2 + bx + c ก็ใหพิจารณาที่ a ถา a > 0 รูปกราฟก็เปนรูปหงาย แตถา a < 0 รูปกราฟ
จะเปนรูปควํ่า
2. ถาเปนเทอมของ y ยกกําลังสอง กราฟที่ไดจะเปนรูปตะแคง แลวพิจารณาคาคงที่เชนเดียวกันกับการ
พิจารณาเทอมของ x2 กลาวคือ ถาคาคงที่ซึ่งอาจจะเปนตัว a หรือ c มากกวา 0 กราฟก็จะตะแคงทาง
ดานขวา แตถา a หรือ c นอยกวา 0 กราฟจะตะแคงดานซาย
3. ถาสมการอยูในเทอมของ x2, y2 บวกกัน โดยที่สัมประสิทธิ์ของ x2 และ y2 เทากัน กราฟที่ไดจะมี
ลักษณะเปนวงกลม ซึง่ มีรปู สมการ เชน x2 + y2 + Cx + Dy + F = 0 แตตองพิจารณาเงื่อนไขเพิ่มเติม
4. ถาสมการอยูในเทอมของ x2, y2 บวกกัน โดยที่สัมประสิทธิ์ของ x2, y2 ไมเทากัน กราฟที่ไดจะเปนวงรี
5. ถาสมการอยูในเทอมของ x2, y2 ลบกัน โดยที่สัมประสิทธิ์ของ x2 และ y2 จะเทากันหรือไมก็ได กราฟ
ที่ไดจะเปนไฮเพอรโบลา
6. ถาสมการอยูในเทอมของ x, y คูณกันแลว เทากับคาคงที่คาใดคาหนึ่งจะเปนบวกหรือลบก็ได กราฟที่ได
จะเปนกราฟไฮเพอรโบลาแบบแกนมุมฉาก
การพิจารณากราฟในแตละลักษณะนั้น จะมีขอปลีกยอยเพิม่ เติมอีก ซึง่ จะกลาวถึงในแตละเรื่องอีกครั้งหนึ่ง
ตัวอยางการพิจารณากราฟจากสมการ
สมการที่ควรสนใจ
1. x2 = y2 กราฟที่ไดจะเปนกราฟเสนตรง 2 เสน ซึ่งมีสมการดังนี้ คือ x + y และ y = -x กราฟเสนตรง
ทั้งสองนี้จะตัดกันที่จุด (0, 0)
2. x2 - y2 = x + y กราฟที่ไดจะเปนกราฟเสนตรง 2 เสน ซึ่งมีสมการเปน x + y = 0 และ x - y - 1 = 0
โดยที่เสนทั้งสองจะตัดกันที่จุด  21, - 21 
3. x2 - y2 = x - y กราฟที่ไดจะเปนกราฟเสนตรง 2 เสน คือ x + y = 0 และ x + y - 1 = 0 โดยที่เสน
ทั้งสองตัดกันที่จุด  21, 21 
BOBBYtutor Mathematic Note

4. x4 + 4x2y2 + 4y4 = 25 เปนกราฟวงรี 1 วง โดยมีแกน x เปนแกนหลัก และสามารถจัดสมการใหมได


เปนดังนี้
จัดสมการใหมไดดังนี้ (x2 + 2y2)2 = 25
x2 + 2y2 = 1
5 5
x + 2y2 = ±5
2
แตคาลบใชไมได
ดังนั้น x2 + 2y2 = 5
5. x4 - 4x2y2 + 4y4 = 100 กราฟที่ไดจะเปนไฮเพอรโบลา 2 รูป
จัดสมการใหมไดดังนี้ (x2 - 2y2)2 = 100
x2 - 2y2 = ±10
แยกสมการ x2 - 2y2 = 10 และ 2y2 - x2 = 10
6. y4 - 4y2x + 4x2 = 64 กราฟที่ไดเปนกราฟพาราโบลา ซึ่งเปนรูปตะแคง 2 รูป
จัดสมการใหมไดดังนี้ (y2 - 2x)2 = 64
y2 - 2x = ±8

แนวขอสอบ
1. เสนตรง x - 2ay + 1 = 0 ตั้งฉากกับเสนตรงที่ผานจุด P(1, -5) และจุด Q(-1, 3) คา a คือขอใด
1) -4 2) -2 3) 2 4) 4
2. เสนตรงที่ผานจุด (2, 4) และมีระยะตัดแกน x เปนครึ่งหนึ่งของระยะตัดแกน y จะมีความชันและระยะตัดแกน y
ตรงกับขอใด
1) -2 และ 4 2) -2 และ 8 3) 2 และ 4 4) 2 และ 8
3. กําหนดให ABC เปนสามเหลี่ยมหนาจั่ว ซึ่งมี AB เปนฐาน ถาพิกัดของจุด A, B และ C เปน (-4, 2), (4, -6)
และ (x, 5) ตามลําดับ x มีคาเทากับขอใด
1) 3.0 2) 3.1 3) 7.0 4) 8.1
4. เสนตรงที่ผานจุด (-3, 4) จะตั้งฉากกับเสนตรง 4x - 2y - 1 = 0 ที่จุดในขอใด
1) (1.0, 2.0) 2) (1.1, 1.8) 3) (1.2, 1.8) 4) (1.2, 1.9)
5. ให P เปนจุดกึ่งกลางของสวนของเสนตรงที่เชื่อมระหวางจุด A(2, 3) และ B(4, -5) ถาเสนตรง L ผานจุด P และ
ขนานกับแกน x สมการแสดงกราฟของเสนตรง L คือขอใด
1) x = 3 2) y = -1 3) x = -1 4) y = 4
BOBBYtutor Mathematic Note

6. จงหาจุดบนแกน x ซึ่งมีระยะหางจากจุด (4, 5) และ (3, -2) เปนระยะทางเทากัน


1) (7, 0) 2) (-7, 0) 3) (14, 0) 4) (-14, 0)
7. โพรเจกชันของจุดซึ่งเกิดจากเสนตรง 3x - 2y + 4 = 0 และเสนตรง 4x + 2y + 3 = 0 ตัดกันบนเสนตรง
y = -x คือจุดในขอใด
1)  32, - 32  2)  - 41, 41  3)  43, - 43  4)  - 43, 43 
8. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC โดยมีจุด A(-5, 0), B(9, 0) และ C(-3, 6) เปนจุดยอด พืน้ ทีข่ องรูปสามเหลี่ยมรูปนี้
เปนเทาใด
1) 45 ตารางหนวย 2) 44 ตารางหนวย 3) 43 ตารางหนวย 4) 42 ตารางหนวย
9. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งมีจุดปลายของเสนทแยงมุมเสนหนึ่ง คือ P(-1, -2) และ R(2, -6) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีพื้นที่
เทาใด
1) 25 ตารางหนวย 2) 12.5 ตารางหนวย 3) 6.25 ตารางหนวย 4) ขอมูลไมเพียงพอ
10. จากรูป พื้นที่สวนที่แรเงาเทากับเทาใด
y

x
(-1, 0) (1, 0)

(0, - 2) ( 22 , 22 )

1) 34π + 1 ตารางหนวย 2) π + 34 ตารางหนวย


3) π + 1 ตารางหนวย 4) 2π + 1 ตารางหนวย
11. ความยาวของคอรดที่ไดจากการตัดกันของพาราโบลา y2 = 5 + x กับเสนตรง x + y = 1 มีคาเทากับกี่หนวย
1) 5 3 หนวย 2) 4 7 หนวย 3) 5 2 หนวย 4) 3 2 หนวย
12. กําหนดจุด A(-4, 3) จงหาสมการของเสนตรงที่ผานจุด A และหางจากจุด (0, 0) เปนระยะ 3 หนวย
1) x = -4 และ 7x + 24y - 440 = 0 2) x = -4 และ 7x - 24y + 100 = 0
3) y = 3 และ 24x + 7y - 75 = 0 4) y = 3 และ 24x + 7y + 75 = 0
13. จงหาสมการเสนตรงซึง่ สัมผัสกับวงกลมทีม่ จี ดุ ศูนยกลางที่ (-1, -2) และรัศมียาวเทากับ 5 หนวย เมื่อเสนสัมผัส
มีความชันเทากับ 21
1) x - 2y + 2 = 0 และ x - 2y - 8 = 0 2) x + 2y - 2 = 0 และ x + 2y - 8 = 0
3) x - 2y - 2 = 0 และ x - 2y + 8 = 0 4) x + 2y - 2 = 0 และ x + 2y + 8 = 0
BOBBYtutor Mathematic Note

14. กําหนดจุด P(-1, 3) เปนจุดบนวงกลมที่มีสมการเปน x2 + y2 - 4x + 2y - 20 = 0 สมการของเสนตรง


ซึ่งสัมผัสวงกลมที่จุด P คือสมการในขอใด

1) 3x - 4y + 15 = 0 2) 4x + 3y - 5 = 0
3) 3x + 4y - 9 = 0 4) 4x - 3y + 13 = 0
15. ระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของวงกลม x2 + 2x + y2 - 8y - 25 = 0 กับเสนตรง 5x + 12y - 4 = 0 เทากับ
กี่หนวย
1) 2 2) 3 3) 4 4) 5
16. สมการวงกลม ซึ่งมีจุดศูนยกลางที่ C(2, 3) และสัมผัสเสนตรง 3x - 4y - 9 = 0 คือ สมการในขอใด

1) x2 + y2 + 4x + 6y + 4 = 0 2) x2 + y2 - 4x + 6y + 4 = 0
3) x2 - y2 + 4x - 6y + 4 = 0 4) x2 + y2 - 4x - 6y + 4 = 0
17. ถา k1 และ k2 เปนความยาวที่สั้นที่สุดและยาวที่สุดตามลําดับ โดยวัดตามแนวเสนตรงจากจุด A(10, 7) ไปยัง
จุดบนเสนรอบวงของวงกลม ซึ่งมีสมการเปน x2 + y2 - 4x - 2y - 20 = 0 แลว | k1 + k2 | เทากับเทาใด

1) 5 หนวย 2) 10 หนวย 3) 15 หนวย 4) 20 หนวย


18. กําหนดจุด C(3, -1) เปนจุดศูนยกลางของวงกลม ซึง่ มีเสนตรง 3x - 2y + 15 = 0 ตัดกับวงกลมที่จุด A และ B
ตามลําดับ ถาสวนของเสนตรง AB ยาว 8 หนวย สมการของวงกลมคือขอใด

1) x2 + y2 - 6x + 2y - 78 = 0 2) x2 + y2 - 6x + 2y - 68 = 0
3) x2 + y2 - 6x + 2y - 58 = 0 4) x2 + y2 - 6x + 2y + 78 = 0
19. วงกลมผานจุด (1, -2) และจุด (4, 3) และมีจุดศูนยกลางอยูบนแกน y มีรัศมีตรงกับขอใด
1) 5 2) 15 3) 17 4) 34
BOBBYtutor Mathematic Note

20. สมการ y2 = -12x มีจุดโฟกัส สมการไดเรกตริกซ และแกนสมมาตร ตรงกับขอใด


1) (0, -3), y = 3, x = 0 2) (0, 3), y = -3, y = 0
3) (3, 0), x = -3, x = 0 4) (-3, 0), x = 3, y = 0
21. ให P เปนโฟกัสของพาราโบลา {(x, y) ∈ R × R | y2 = 12x} ถาวงรีมีจุดศูนยกลางอยูที่ (0, 0) มีโฟกัสจุดหนึ่ง
อยูที่ (0, 7 ) และวงรีนี้ผานจุด P แลวสมการของวงรีคือขอใด
1) 9x2 + 16y2 = 144 2) 16x2 + 9y2 = 144
3) 2x2 + 9y2 = 18 4) 9x2 + 4y2 = 36
22. ความยาวของคอรดที่ผาน Focus ของพาราโบลา y2 = 8x และขนานกับเสนตรง y = 2 2 x + 1 เทากับเทาใด
1) 7 2 หนวย 2) 8 หนวย 3) 9 หนวย 4) 10 2 หนวย
23. ถา A เปนจุดโฟกัสของพาราโบลา y = -x2 และ B และ C เปนจุดบนเสนไดเรกตริกซของพาราโบลานี้ ซึ่งทําให
สามเหลี่ยม ABC เปนสามเหลี่ยมดานเทา แลวพื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC เทากับขอใดตอไปนี้
1) 483 2) 163 3) 2 3 3 4) 33
24. สมการของวงรีซึ่งมีโฟกัสที่จุด (± 3 , 0) และมีแกนเอกเปนเสนตรงที่เชื่อมระหวางจุดยอดของไฮเพอรโบลา
3x2 - 4y2 = 36 คือขอใดตอไปนี้
2 y2 x2 + y2 = 1 x2 + y2 = 1 x2 + y2 = 1
1) x9 + 12 =1 2) 12 25 3) 12 9 4) 25 12
25. ประตูทางเขาสวนสัตวมีลักษณะโคงเปนรูปครึ่งวงรีตามแนวนอนดังรูป และตรงกลางประตูมีเสาอยูตนหนึ่ง
ปลายเสาเสมอโคงประตู ณ จุดที่หางจากเสาออกไปขางละ 25 ฟุต ติดหลอดไฟไวขางละดวงบนโคงประตู โดยที่
หลอดไฟอยูสูงจากพื้น 20 2 ฟุต ความสูงของเสาที่อยูตรงกลางประตูจะสูงกี่ฟุต

20 2 ′
25′
150′
1) 25 2) 30 3) 40 4) 50
26. ถาวงรีมีสมการเปน 4x2 + y2 - 4 = 0 แลวขอใดตอไปนี้ผิด
1) จุดยอดของวงรีอยูที่ (0, ±2)
2) ผลบวกของความยาวของแกนเอกและความยาวของแกนโทของวงรีเปน 6
3) ความยาวของแกนเอกของวงรีเปนสองเทาของความยาวของแกนโท
4) วงรีมีโฟกัสที่จุด (0, ± 3 ) และความยาวของแกนเอกเปน 2
BOBBYtutor Mathematic Note

27. ให H เปนไฮเพอรโบลาที่มีสมการเปน 16x2 - 49y2 + 784 = 0 ขอใดตอไปนี้ผิด


1) ถาลากเสนผานจุดยอดของ H ใหขนานกับแกนสังยุค และลากเสนตรงผานจุดปลายของแกนสังยุค ใหขนานกับ
แกนตามขวาง จะไดรูปสี่เหลี่ยมผืนผาที่มีเสนทแยงมุมทั้งสองตัดกันที่จุดกําเนิดแลวเสนตรงทแยงมุมเสนหนึ่ง
จะเปนสวนหนึ่งของเสนตรง 4y = 7x
2) สี่เหลี่ยมผืนผาในขอ 1) มีพื้นที่ 112 ตารางหนวย
3) วงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ (0, 0) และผานโฟกัสทั้งสองของ H มีพื้นที่ 65π ตารางหนวย
4) H ไมใชไฮเพอรโบลามุมฉาก (Rectangular hyperbola)
28. ขอใดคือสมการของกราฟไฮเพอรโบลาที่มีแกนตามขวางยาวเทากับ 6 และโฟกัสจุดหนึ่งอยูที่ (0, 4)
2 2 2 2
1) 7y2 = 9x2 + 63 2) x9 - y16 = 1 3) y9 - x8 = 1 4) 8x2 = 9y2 + 72
29. ให P และ Q เปนโพรเจกชันของจุด (2, -4) และจุด (-2, 4) บนแกน y ตามลําดับ ถากราฟของไฮเพอรโบลา
มีจุด P และ Q เปนจุดยอดและผานจุด (-3, 5) แลวจุดในขอใดตอไปนี้อยูบนกราฟของไฮเพอรโบลานี้
1) (1, 17 ) 2) (2, 2 3 ) 3) (3, 27 ) 4) (4, 2 15 )
30. วงกลมมีจุดศูนยกลางที่ (-3, 6) และผานจุด (1, 3) จะตัดแกน x หรือแกน y ที่จุดในขอใดตอไปนี้
1) (0, 2) และ (0, 10) 2) (2, 0) และ (10, 0)
3) (2, 0) และ (-8, 10) 4) (0, 2) และ (0, -8)
31. ถาพาราโบลามีจุดยอดที่จุด (0, 0) และมีเสนไดเรกตริกซซงึ่ ขนานกับแกน y และสัมผัสวงกลม x2 - 8x + y2 = 20
แลว สมการของพาราโบลา คือสมการในขอใดตอไปนี้
1) y2 = 8x และ y2 = 40x 2) y2 = -8x และ y2 = 40x
3) y2 = 8x และ y2 = -40x 4) y2 = -8x และ y2 = -40x
32. ความยาวของเสนสัมผัส PQ ที่ลากจากจุด P(3, 4) มาสัมผัสวงกลม x2 + y2 + 2x - 2y - 7 = 0 ที่จุด Q
ยาวกี่หนวย
1) 4 2) 5 3) 6 4) 7
33. ให (x, y) เปนจุดใดๆ บนเสนโคงเสนหนึ่ง ถาจุด (x, y) อยูหางจากเสนตรง x = -2 เปน 2 เทาของระยะหาง
ระหวางจุด (x, y) กับจุด (2, 0) สมการของเสนโคงนั้นคือขอใด
1) y2 = 8x 2) 3x2 - 4y2 - 12x + 12 = 0
3) 4x2 + 4y2 - 17x + 14 = 0 4) 3x2 + 4y2 - 20x + 12 = 0
BOBBYtutor Mathematic Note

34. พื้นที่ที่เกิดจากการซอนกันของกราฟวงกลม x2 + y2 - 2x - 2y - 2 = 0 และ x2 + y2 - 6x - 2y + 6 = 0


เปนกี่ตารางหนวย
y
A

C1 C2
x
B

1) 83π - 2 3 2) 43π - 3
3) 34π 4) ขอมูลที่กําหนดใหไมเพียงพอหาพื้นที่ไมได
35. ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา A เปนจุดยอดหนึ่งของไฮเพอรโบลา x2 - y2 = a2 จุด B และ C อยูบน
ไฮเพอรโบลาอีกซีกหนึ่ง พื้นที่สามเหลี่ยม ABC เทากับเทาใด
2 2
1) 3 a2 2) 3 3 a2 3) 23a 4) 3 23a

เฉลย
1. 3) 2. 2) 3. 3) 4. 4) 5. 4) 6. 3) 7. 2) 8. 4) 9. 2) 10. 1)
11. 3) 12. 4) 13. 1) 14. 1) 15. 2) 16. 4) 17. 4) 18. 3) 19. 3) 20. 4)
21. 2) 22. 3) 23. 1) 24. 3) 25. 2) 26. 4) 27. 1) 28. 1) 29. 1) 30. 1)
31. 3) 32. 1) 33. 4) 34. 1) 35. 2)
BOBBYtutor Mathematic Note

ตัวอยางขอสอบเขามหาวิทยาลัย
1. กําหนดให A เปนจุดยอดของกราฟพาราโบลา y2 = 12x ซึ่งเสนไดเรกตริกซตัดแกน x ที่จุด B และให C เปนจุด
บนเสนไดเรกตริกซที่ทําใหพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมเทากับ 9 ตารางหนวย ในรูปสามเหลี่ยม ABC จะไดวา cot C
มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 81 2) 21 3) 2 4) 8
2. สมการของวงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูที่จุด (-2, 3) และสัมผัสกับเสนตรง 2x + 3y - 4 = 0 คือสมการในขอใด
ตอไปนี้
1) (x - 2)2 + (y + 3)2 = 131 2) (x - 2)2 + (y + 3)2 = 25
13
2 2
3) (x + 2) + (y - 3) = 13 1 4) (x + 2) + (y - 3) = 25
2 2
13
2 2
y = 1 ซึ่งอยูในควอดรันตที่หนึ่ง ถา C เปนจุดศูนยกลางของวงรีโดยที่
3. ให P(a, b) เปนจุดบนวงรี x9 + 25
เสนตรง PC ทํามุม 30° กับแกนเอกของวงรี แลวคาของ a2 + b2 คือขอใดตอไปนี้
1) 2259 2) 225 13 3) 225
25 4) 225
34
4. ให A และ B เปนจุดโฟกัสทั้งสองของไฮเพอรโบลา 16x2 - 9y2 = 144 และ C คือ จุด (-2, 3) พื้นที่
รูปสามเหลี่ยม ABC เทากับกี่ตารางหนวย
5. กําหนดให ∆ ABC มี ABC $ = 30° และ ACB $ = 45° ถาให BC เปนฐาน แลว ∆ ABC จะมีสวนสูงเทากับ
2 หนวย พื้นที่ของ ∆ ABC มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ตารางหนวย)
1) 1 + 33 2) 1 + 2 3 3 3) 3 4) 1 + 3
6. กําหนดใหพาราโบลามีจุดยอดที่จุดกําเนิด และจุดโฟกัสอยูบนแกน x ถาจุดตัดจุดหนึ่งของพาราโบลานี้กับเสนตรง
x + 3y + 10 = 0 คือ จุด (2, -4) แลวระยะทางจากเสนตรงนีถ้ งึ จุดโฟกัสของพาราโบลา มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 4 หนวย 2) 6 หนวย 3) 10 หนวย 4) 12 หนวย
10 10
7. สมการของวงกลมซึ่งมีจุดศูนยกลางอยูที่จุด (2, 0) และผานจุดยอดทั้งสองของวงรี 16x + 10y2 = 160 คือ
2
สมการในขอใดตอไปนี้
1) x2 + y2 + 4x - 12 = 0 2) x2 + y2 - 4x - 12 = 0
3) x2 + y2 + 4x - 16 = 0 4) x2 + y2 - 4x - 16 = 0
8. กําหนดให A และ B เปนจุด (-5, 4) และ (3, 2) ตามลําดับ ถาเสนตรงซึ่งแบงครึ่งและตั้งฉากกับสวนของ
เสนตรง AB ตัดแกน y ที่จุด (0, b) แลว b มีคาเทาใด
9. กําหนดใหเสนตรงที่ผานจุด A(a, 5) และ B(1, 2) ขนานกับเสนตรงที่ผานจุด C(2, 8) และ D(-2, 4) วงกลมที่
ลากผานจุด A และมีจุดศูนยกลางที่จุด (0, 2) ตัดแกน y ที่จุดในขอใดตอไปนี้
1) (0, -3) และ (0, 7) 2) (0, -5) และ (0, 5)
3) (0, -7) และ (0, 3) 4) (0, 2 + 13 ) และ (0, 2 - 13 )
BOBBYtutor Mathematic Note

x2 + y2 = 1 ถาไฮเพอรโบลามีจุดยอดทั้งสองจุดอยูที่โฟกัสของวงรี และมีความยาวแกนสังยุค
10. กําหนดวงรี 10 9
เทากับความยาวแกนโทของวงรี แลวสมการของไฮเพอรโบลาคือขอใดตอไปนี้
2 y2 2 2 x2 - y2 = 1 x2 - y2 = 1
1) x1 - 10 =1 2) x9 - y1 = 1 3) 10 1 4) 1 9
เก็งขอสอบ
11. ประตูโคงเปนรูปครึ่งวงรี กวาง 40 ฟุต และสูง 15 ฟุต ที่จุดกึ่งกลางประตู (ดังรูป) ความสูงของประตูที่จุดหางจาก
จุดกึ่งกลางประตู 12 ฟุต คือขอใดตอไปนี้

15′
40′
1) 11.25 ฟุต 2) 12 ฟุต 3) 12.76 ฟุต 4) 13 ฟุต
12. ให (h, k) เปนจุดศูนยกลางของวงกลมรัศมี 20 หนวย ถา (1, 4), (4, 1) เปนจุดบนวงกลมนี้แลว คาของ hk
คือขอใดตอไปนี้
1) 21 2) 1 3) 32 4) 2
13. กําหนดใหเสาไฟฟาแรงสูงสองตน มีตําแหนงในระบบพิกัดฉากเปน (1, 0) และ (-1, 8) ตามลําดับ สมชายยืนอยู
ในตําแหนงพิกัด (3, 5) ระยะที่สมชายยืนอยูหางจากเสนตรงที่ผานเสาไฟฟาทั้งสอง คือขอใดตอไปนี้
1) 13 หนวย 2) 21 หนวย 3) 13 หนวย 4) 21 หนวย
17 17
14. เสนตรงผานจุด (2, -1) และตั้งฉากกับเสนตรง 3x - y = 4 ตัดแกน y มีจุดๆ หนึ่ง จุดนั้น y มีคาเทากับขอใด
ตอไปนี้
1) - 51 2) - 41 3) - 31 4) - 21
15. ให C เปนจุดยอดของวงรี 25 x2 + y2 = 1 สมการของวงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูที่ C ผานจุด (0, 0) คือขอใด
16
ตอไปนี้
1) x2 + 10x + y2 = 0 2) x2 - 10x + y2 = 25
3) x2 + y2 + 10y = 0 4) x2 + y2 - 10y = 25
16. ให C เปนจุดกึ่งกลางของเสนตรง AE ; B และ D เปนจุดอีก 2 จุด บนเสนตรง AE โดยที่ AB = BC และ
CD = DE แลว AD จะยาวเปนกี่เทาของ AC
1) 1 เทาของ AC 2) 1.5 เทาของ AC 3) 2 เทาของ AC 4) 2.5 เทาของ AC
17. ถาลากเสนตรงจากจุด A(-3, -4) ไปยังจุด B(3, 4) ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ความยาวของเสนตรง AB เทากับ 5 หนวย 2) เสนตรง AB ขนานกับแกน x
3) เสนตรง AB ผานจุดกําเนิด 4) เสนตรง AB ตั้งฉากกับเสนตรง 4y - 3x = 0
BOBBYtutor Mathematic Note

18. ถาพืน้ ทีข่ องวงกลมทีม่ จี ดุ ศูนยกลางอยูท จี่ ดุ (0, 0) มีคา เทากับ 25π ตารางหนวยแลว วงกลมวงนี้จะไมผานจุด
ในขอใดตอไปนี้
1) (-5, 0) 2) (5, 0) 3) (0, 5) 4) (5, 5)
19. พาราโบลาที่มีจุดยอดอยูที่จุดกําเนิด และมีเสนตรง y = 4 เปนไดเรกตริกซ จะผานจุดในขอใดตอไปนี้
1) (4, -1) 2)  4, - 41  3)  4, 41  4) (4, 1)
20. ถาตองการใหกราฟของ y = x2 - 5x + k สัมผัสกับแกน x คาของ k มีคาเทากับเทาใด
21. จุดยอดของสมการไฮเพอรโบลา 4x2 - 8x - 9y2 = 32 คือขอใดตอไปนี้
1) (0, -2) และ (0, 2) 2) (0, -2) และ (0, 4)
3) (-2, 0) และ (4, 0) 4) (-3, 0) และ (3, 0)
22. จากรูป ABC เปนสะพานซึ่งมีลักษณะเปนเสนตรง PVQ เปนสายเคเบิล ซึ่งมีลักษณะโคงเปนพาราโบลาโดยมี
V เปนจุดยอด PA = 100 ฟุต, VB = 25 ฟุต, AB = 700 ฟุต, BC = 900 ฟุต QC มีความยาวตรงกับขอใด
Q
P

A B C
1) 125 ฟุต 2) 130 ฟุต 3) 730049 ฟุต 4) 8300
49 ฟุต
23. ขอใดตอไปนี้ตรงกับเซตของจุด (x, y) ที่อยูบนวงรีซึ่งมีจุดศูนยกลางที่จุดกําเนิด มีแกนเอกยาว 8 หนวย และ
แกนโทยาว 2 หนวย
1) {(x, y) | x2 + 16y2 = 16} 2) {(x, y) | x2 + 16y2 = 64}
3) {(x, y) | x2 - 16y2 = 16} 4) {(x, y) | x2 - 16y2 = 64}
24. วงรีวงหนึ่งมีสมการเปน 9x2 + 4y2 = 36 วงกลมซึ่งมีจุดศูนยกลางรวมกับวงรี และมีรัศมีเทากับความยาวครึ่ง
แกนโทของวงรี มีสมการเปนขอใดตอไปนี้
1) x2 + y2 = 2 2) x2 + y2 = 3 3) x2 + y2 = 4 4) x2 + y2 = 9
25. สมการพาราโบลาที่มีจุดยอดอยูที่ (0, 0) ไดเรกตริกซเปนเสนตรง x = 3 คือขอใดตอไปนี้
1) y2 = 4x 2) y2 = -4x 3) y2 = 12x 4) y2 = -12x
26. จงหาสวนตัดบนแกน y ของเสนตรงที่เชื่อมจุด A(5, 2) และ B(-3, 0)
27. จุดโฟกัสของไฮเพอรโบลา 9y2 - 16x2 = 144 คือขอใดตอไปนี้
1) (0, -5) และ (0, 5) 2) (0, - 7 ) และ (0, 7 )
3) (-5, 0) และ (5, 0) 4) (- 7 , 0) และ ( 7 , 0)
BOBBYtutor Mathematic Note

28. ถา A และ B เปนจุดที่วงกลม x2 + y2 - 4x - 6y - 3 = 0 ตัดกับแกน y แลว ขอใดตอไปนี้คือระยะทางจาก


A ไป B
1) 2 3 2) 4 3 3) 6 4) 8
29. สมการวงรีที่มีจุดยอดอยูที่ (0, -5) และ (0, 5) จุดโฟกัสทั้งสองหางกัน 8 หนวย คือขอใดตอไปนี้
1) 9x2 + 25y2 = 225 2) 25x2 + 9y2 = 225
3) 16x2 + 25y2 = 400 4) 25x2 + 16y2 = 400
30. ขอใดตอไปนี้ คือ สมการวงกลมที่มีจุดศูนยกลางอยูท จี่ ดุ โฟกัสของพาราโบลา y2 = 8x และรัศมีของวงกลมเทากับ
ระยะทางจากจุดโฟกัสถึงจุดยอดของพาราโบลา
1) x2 + y2 - 4x = 0 2) x2 + y2 + 4x = 0
3) x2 + y2 - 4x = 0 4) x2 + y2 + 4y = 0
31. พิจารณาสามเหลี่ยม ABC โดยที่เราทราบวาดาน AB เปนสวนหนึ่งของเสนตรง 3x - y = 1 ดาน BC เปน
สวนหนึ่งของเสนตรง x = 2 และดาน AC เปนสวนหนึ่งของเสนตรง y = 8 อยากทราบวาพื้นที่ของสามเหลี่ยม
ABC เทากับเทาใด
32. สมการเสนตรงที่ขนานกับเสนตรง x - 3y - 11 = 0 และผานจุดตัดของเสนตรง x - 5y - 9 = 0 กับเสนตรง
3x + 5y - 7 = 0 คือขอใดตอไปนี้
1) x - 3y + 1 = 0 2) x - 3y - 1 = 0 3) x - 3y + 7 = 0 4) x - 3y - 7 = 0
33. กําหนดใหสมการวงรีคือ 9x2 + 4y2 = 36 ขอใดตอไปนี้ผิด
1) ความยาวแกนเอก = 6 2) ความยาวแกนโท = 4
3) โฟกัสอยูที่ (0, ± 13 ) 4) จุดยอดอยูที่ (0, ± 3)
34. ไฮเพอรโบลาที่มีจุดยอดอยูที่จุดโฟกัสของวงรี 25x2 + y2 = 1 และมีแกนสังยุคยาวเทากับแกนโทของวงรีนี้
16
มีสมการเปนขอใดตอไปนี้
x2 - y2 = 1
1) 16 2) x2 - y2 = 1 3) y2 - x2 = 1 4) y2 - x2 = 1
9 9 16 9 16 16 9
35. ให C คือวงกลมที่ผานจุดกําเนิด และตัดแกน x ที่จุด (4, 0) ตัดแกน y ที่จุด (0, -2) สมการวงกลมที่มี
จุดศูนยกลางรวมกับวงกลม C และมีรัศมีเทากับ 3 คือขอใดตอไปนี้
1) (x - 2)2 + (y + 1)2 = 9 2) (x + 2)2 + (y - 1)2 = 9
3) (x - 1)2 + (y + 2)2 = 9 4) (x + 1)2 + (y - 2)2 = 9
BOBBYtutor Mathematic Note

36. จากรูป
C
y
สวนของเสนตรง AB มีความชัน 21
สวนของเสนตรง AC ยาวกี่หนวย
B(0, 1.5)
A(-3, 0) 0 x

37. สมการเสนตรงซึ่งสัมผัสวงกลมที่มีจุดศูนยกลางที่ (-1, -2) และรัศมียาว 5 หนวย ถาเสนสัมผัสมีความชัน


เปน 21 แลว สมการเสนสัมผัส คือ เสนตรงที่มีสมการเปนอยางไร

1) x - 2y + 2 = 0 และ x - 2y - 8 = 0 2) x - 2y - 2 = 0 และ x - 2y + 8 = 0
3) x - 2y + 2 = 0 และ x - 2y + 8 = 0 4) x - 2y - 2 = 0 และ x - 2y - 10 = 0
ํ นรูปวงรีมสี มการเปน 12x2 + 16y2 - 192 = 0 ตองวางลูกบิลเลียดในแนวตั้งฉากกับแกนหลัก
38. โตะสนุกเกอรทาเป
ดังรูป
A

F1 F2 B

F1 และ F2 เปนจุดโฟกัสของวงรี ถาตองแทงลูกบิลเลียดไปตามแนวศรชี้โดยผานจุด F1 กระทบขอบโตะที่จุด A


และลูกบิลเลียดกระเดงผานจุด F2 ไปกระทบขอบโตะที่จุด B พิกัดของจุด B ตรงกับขอใด
 26, - 9   9, - 26 
1)  2)  3) (-2, 3) 4) (2, 3)
 7 7  7 7

โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2004 _______________________________ คณิตศาสตร 2 (67)


BOBBYtutor Mathematic Note

39. โลกและดาวหางโคจรเขาหากัน โดยสมการที่มีกราฟเปนไฮเพอรโบลา ซึ่งมีความยาวของแกนสังยุคเทากับ 8 ปแสง


โฟกัสทั้งสองหางกัน 16 ปแสง ระยะที่โลกและดาวหางโคจรใกลกันที่สุดมีระยะเทากับขอใด
y
เสนทางโคจรของโลก

เสนทางโคจรของดาวหาง
1) 2 3 ปแสง 2) 4 3 ปแสง 3) 8 3 ปแสง 4) 16 3 ปแสง
40. ดาวหางดวงหนึ่งมีทิศทางของการเคลื่อนที่เปนรูปพาราโบลา โดยมีดวงอาทิตยเปนโฟกัส ในขณะที่ดาวหางอยูหาง
จากดวงอาทิตย 40 ลานไมล เสนตรงที่ลากผานดวงอาทิตยและดาวหางทํามุม 60 องศากับแกนของพาราโบลา
ดังรูป จงหาระยะทาง (หนวยเปนลานไมล) ระหวางดาวหางกับดวงอาทิตย ขณะที่ดาวหางโคจรอยูใกลดวงอาทิตย
มากที่สุด
y
ดาวหาง
40
x
F ดวงอาทิตย

(หมายเหตุ : จุดบนพาราโบลาที่ใกลโฟกัสมากที่สุดคือ จุดยอด)

เฉลย
1. 3) 2. 3) 3. 2) 4. 15 5. 4) 6. 4) 7. 4) 8. 7 9. 1) 10. 4)
11. 2) 12. 2) 13. 1) 14. 3) 15. 1) 16. 2) 17. 3) 18. 4) 19. 3) 20. 2)
21. 1) 22. 3) 23. 2) 24. 2) 25. 2) 26. 3 27. 2) 28. 2) 29. 3) 30. 4)
4
31. 1) 32. 1) 33. 3) 34. 2) 35. 2) 36. 7.5 37. 1) 38. 1) 39. 3) 40. 10

คณิตศาสตร 2 (68) ______________________________ โครงการแบรนดซัมเมอรแคมป 2004


BOBBYtutor Mathematic Note

เก็งขอสอบและขอสอบตุลาคม 2546 เนื้อหาระดับ ม.4


1. ถา A = {a, b, {c}, {a}, {a, b}, {b, c}}
และ P(A) เปนเพาเวอรเซตของ A แลว จํานวนสมาชิกของ [P(A) I A] เทากับเทาใด
1) 0 2) 1 3) 2 4) 3
2. ให A, B, C เปนเซต ดังนี้
A = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
B =  x x = 1 - y1 เมื่อ y ∈ A 
 
 
C = x x = y 1+ 1 เมื่อ y ∈ A 

 
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) B U C =  21 , 23 , 34 , 54 , 56 , 67  2) B I C =  21 , 23 , 34 , 54 , 56 
3) B – C =  67  4) C – B = {0}
3. ถา a เปนจํานวนเต็มบวกซึ่ง x – a หาร x2 – x – 17 เหลือเศษ 3 แลว x + a2 หาร x2 + ax จะเหลือเศษ
เทากับเทาใด
1) 5 2) 25 3) 336 4) 750

4. กําหนดให r = (x , y) y = 3x - 4 + 12 
 x 2 - 3x + 2 
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. Dr =  x x ≥ 43 
ข. Rr = {y | y ≥ 0}
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
5. ถาเซตคําตอบของอสมการ 2 ≤ x - x ≤ 6 คือเซต [a, b] แลว a + b เทากับคาในขอใดตอไปนี้
1) 9 2) 10 3) 12 4) 13
6. ให A เปนเซตคําตอบของอสมการ | x2x- 1| ≤ 1 และ R เปนเซตของจํานวนจริง R - A คือเซตในขอใดตอไปนี้
1) [0, 23 ] 2) [0, 23 ) 3) [0, 31 ] 4) [0, 31 )
BOBBYtutor Mathematic Note

7. กําหนดฟงกชัน f และ g ดังนี้


 2x + 1 , x < 1
ให f(x)  x3 + 2 , x ≥ 1 และ g(x) = x2 - x - 2


ถา (f-1ogof)(-2) = a และ (f-1ofog)(-2) = b แลว


ขอใดตอไปนี้ถูก
1) a = 4, b = 2 2) a = 2, b = 2 3) a = 4, b = 4 4) a = 2, b = 4
8. ถา g(x) = 2x และ (fog)(x) = x2 – 1 แลว คาของ (g-1of)(10) เทากับเทาใด
1) 12 2) 11 3) 10 4) 9
9. กําหนดฟงกชัน f และ g ดังนี้
f(2x - 1) = 4x – a , a > 0
และ g-1(x) = x + 1
ถา (fog)(a) = a2 + 20
แลว f(a) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 6 2) 7 3) 10 4) 17
10. กําหนดจุด A(a, 5), B(b, -1) โดยที่ความชันของ AB เทากับ -76 ให C เปนจุดกึ่งกลาง AB และ C อยูบน
เสนตรง y = 4x สมการวงกลมที่มี AB เปนเสนผานศูนยกลางคือสมการในขอใดตอไปนี้
1) (x - 1)2 + (y - 2)2 = 85 2) 4(x - 1)2 + 4(y - 2)2 = 85
3) (2x - 1)2 + 4(y - 2)2 = 85 4) (x - 21 )2 + (y - 2)2 = 85
2 2
11. ให k เปนระยะระหวางจุดศูนยกลางและโฟกัสของวงรี E ซึ่งมีสมการเปน x4 + y9 = 1 ถาไฮเพอรโบลา H มี
โฟกัสที่จุดยอดของ E และความยาวแกนตามขวางเทากับ 2a ความยาวแกนสังยุคเทากับ 2b โดยที่ a > b และ
ab = 2k แลวสมการของ H คือขอใดตอไปนี้
2 2 2 2 2 2 2 2
1) y6 - x3 = 1 2) y3 - x6 = 1 3) y4 - x5 = 1 4) y5 - x4 = 1
12. กําหนดพาราโบลา P มีสมการ x2 = -12y ถาวงรีมีโฟกัสที่จุด (-3 3 , 0) และ (3 3 , 0) ผานจุดโฟกัสของ P
และตัดเสนตรง x = 3 3 ที่จุด A, B แลว AB ยาวเทากับกี่หนวย
1) 1 2) 2 3) 3 4) 4
13. กําหนด A, B เปนเซตซึ่ง n(A) = a, n(B) = b ถา n[(A - B) U (B - A)] = 7 และ n(A × B) = 40
แลว n({C | C ⊆ A U B และ n(C) ≤ 2}) เทากับเทาใด
1) 56 2) 52 3) 50 4) 48
-1
14. กําหนด a > 0 และ f (x) = ax2 , x ≥ 0 ; g(x) = x3 ถา (f -1og)(4) = 2 แลว f -1(64) มีคาเทาใด
g (64)
1) 1 2) 2 1 3) 41 4) 61
BOBBYtutor Mathematic Note

15. กําหนดให f (x) = x3 + kx2 + mx + 4 เมื่อ k และ m เปนคาคงตัว ถา x - 2 เปนตัวประกอบตัวหนึ่งของ


f(x) และเมื่อนํา x + 1 ไปหาร f (x) ไดเศษเหลือ 3 แลวคาสัมบูรณของ k + m เทากับเทาใด
1) 2 2) 3 3) 4 4) 6
16. กําหนด f, g เปนฟงกชันซึ่ง Df = [0, ∞) โดยที่ f -1(x) = x2 , x ≥ 0 และ g-1(x) = (f (x))2 + 1 , x ≥ 0
ถา a > 0 และ f (a) + g(a) = 19 แลว f -1(a) + g-1(a) มีคาเทาใด
1) 273 2) 274 3) 513 4) 514
17. ให a, b, c เปนจํานวนเต็มบวก ซึ่ง abc = 11 ถา f (x) = (x – a)(x – b)(x – c) แลว ขอใดตอไปนี้เปนจริง
1) f (0) = –11 , f(11) = 0 2) f (0) = 11 , f(11) = 0
3) f (0) = –11 , f(–11) = 0 4) f (0) = 11 , f(–11) = 0
18. กําหนดฟงกชัน f และ g ดังนี้
 1 เมื่อ x เปนจํานวนตรรกยะ
f (x) = 
- 1 เมื่อ x เปนจํานวนอตรรกยะ
และ g(x) = | x + 1 | แลว {(f of )( 2 ), (f og)( 2 ), (gof )(–2), (gog)(–2)} คือเซตในขอใดตอไปนี้
1) {-1, 0, 2} 2) {-1, 1, 2} 3) {-1, 2} 4) {1, 2}
19. กําหนดให A และ B เปนโฟกัสของไฮเพอรโบลา 3x2 – y2 = 3 ถา P เปนจุดใดๆ บนวงรีที่มีโฟกัสที่จุด A, B
และ AP + BP = 8 แลวสมการของวงรีคือขอใดตอไปนี้
1) 4x2 + 3y2 = 24 2) 4x2 + 3y2 = 48
3) 3x2 + 4y2 = 24 4) 3x2 + 4y2 = 48
20. ให A เปนโฟกัสของพาราโบลา x2 – 8y = 0 และ B คือจุด (–4, 10) ถา C เปนจุดบน AB โดยที่ AC : CB =
1 : 3 แลวสมการวงกลมที่มี C เปนจุดศูนยกลางและผานจุด A คือสมการในขอใดตอไปนี้
1) x2 + y2 – 2x + 8y + 12 = 0 2) x2 + y2 + 2x – 8y + 12 = 0
3) x2 + y2 – 6x + 16y + 28 = 0 4) x2 + y2 + 6x – 16y + 28 = 0

เฉลย
1. 3) 2. -) 3. 4) 4. 4) 5. 4) 6. 4) 7. 4) 8. 1) 9. 2) 10. 4)
11. 4) 12. 3) 13. 1) 14. 2) 15. 3) 16. 1) 17. 1) 18. 2) 19. 4) 20. 2)

——————————————————————
BOBBYtutor Mathematic Note

วิเคราะหขอสอบ
เพื่อเปนการเตรียมความพรอมในการสอบ นักเรียนควรจะเริ่มจากการทราบถึงลักษณะของขอสอบและสัดสวน
ของจํานวนขอสอบในแตละเรื่อง โดยเนื้อหาของ ม.5 นั้น จะออกขอสอบคิดเปนคะแนนประมาณ 30% ของคะแนนสอบ
ทั้งหมด โดยมีเนื้อหาทั้งหมด 5 เรื่อง สามารถแยกตามเนื้อหาไดดังนี้
ตุลาคม 2545 มีนาคม 2546 ตุลาคม 2546
เนื้อหา อัตนัย ปรนัย อัตนัย ปรนัย อัตนัย ปรนัย
(2 คะแนน) (3 คะแนน) (2 คะแนน) (3 คะแนน) (2 คะแนน) (3 คะแนน)
ตรรกศาสตร - 3 - 3 - 3
ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล
- 3 1 2 - 2
และฟงกชันลอการิทึม
ตรีโกณมิติ 1 1 - 2 - 2
เมตริกซและดีเทอรมินันต 1 1 1 1 1 1
สถิติ (คากลางของขอมูล) - 1 - 1 - 1
รวมเปนคะแนน 31 คะแนน 31 คะแนน 28 คะแนน
ลักษณะขอสอบ ขอสอบสวนมากเนนการนําความรูมาแกปญหา ดังนั้นนักเรียนจะตองเริ่มจากการทบทวนสูตร
และทําความเขาใจกับทฤษฎีตา งๆ ใหชดั เจน หลังจากนัน้ ใหหมัน่ ฝกฝนทําโจทยใหเยอะๆ แลวนักเรียนจะพบวาขอสอบนั้น
ไมไดยากอยางที่คิด
BOBBYtutor Mathematic Note

ตรรกศาสตรเบื้องตน
1. ประพจน
ประพจน คือ ประโยคบอกเลาหรือประโยคปฏิเสธที่เปนจริงหรือเท็จอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น โดยจริงและเท็จ
คือคาความจริงของประพจน
ตัวอยางของประพจน เชน
3+5=8 (มีคาความจริงเปนจริง)
2 เปนจํานวนเต็มคี่ (มีคาความจริงเปนเท็จ)
ดวงอาทิตยขึ้นทางทิศตะวันตก (มีคาความจริงเปนเท็จ)
ประโยคที่ไมอยูในรูปของประโยคบอกเลาหรือปฏิเสธจะไมเปนประพจน เชน ประโยคคําถาม ประโยคคําสั่ง
.

คําขอรอง คําออนวอน คําอุทาน หรือประโยคเปด เปนตน


2. การเชื่อมประพจน และการหาคาความจริงของประพจนที่มีตัว-
เชื่อมแบบตางๆ
1. นิเสธของประพจนที่กําหนดให ถา p เปนประพจนที่กําหนดให นิเสธของประพจน p คือ ประพจนที่มีคา
ความจริงตรงกันขามกับประพจน p เขียนแทนดวยสัญลักษณ "∼p" ซึ่งมีคาความจริงดังตารางคาความจริงตอไปนี้
p ∼p
T F
F T
2. การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม "และ" กําหนด "p และ q" เปนประพจนใหมที่เกิดจากการนําประพจน
p และ q มาเชื่อมดวยคําวา "และ" เขียนแทนดวยสัญลักษณ "p ∧ q" ซึ่งมีคาความจริงดังตารางคาความจริงตอไปนี้
p q p∧q
T T T
T F F
F T F
F F F
BOBBYtutor Mathematic Note

3. การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม "หรือ" กําหนด "p หรือ q" เปนประพจนใหมที่เกิดจากการนําประพจน


p และ q มาเชื่อมดวยคําวา "หรือ" เขียนแทนดวยสัญลักษณ "p ∨ q" ซึ่งมีคาความจริงดังตารางคาความจริงตอไปนี้
p q p∨q
T T T
T F T
F T T
F F F

4. การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม "ถา...แลว..." กําหนด "ถา p แลว q" เปนประพจนใหมที่เกิดจากการนํา


ประพจน p และ q มาเชื่อมดวยคําวา "ถา...แลว..." เขียนแทนดวยสัญลักษณ "p → q" ซึ่งมีคาความจริงดังตาราง
คาความจริงดังนี้
p q p→q
T T T
T F F
F T T
F F T
5. การเชื่อมประพจนดวยตัวเชื่อม "...ก็ตอเมื่อ..." กําหนด "p ก็ตอเมื่อ q" เปนประพจนใหมที่เกิดจากการนํา
ประพจน p และ q มาเชื่อมดวยคําวา "...ก็ตอเมื่อ..." เขียนแทนดวยสัญลักษณ "p ↔ q" ซึ่งมีคาความจริงดังตาราง
คาความจริงตอไปนี้
p q p↔q
T T T
T F F
F T F
F F T
BOBBYtutor Mathematic Note

ขอตกลงเพิ่มเติม
1. ตัวเชื่อม "และ" อาจเขียนในรูปที่มีความหมายเดียวกัน เชน แต
2. ตัวเชื่อม "ถา...แลว" อาจเขียนในรูปที่มีความหมายเดียวกัน เชน ถา...ดังนั้น, ถา...จะได... หรือบางครั้งก็ใช
ถา...
3. ถาประพจนหนึ่งเกิดจากประพจนยอยหลายประพจน เพื่อที่จะไมตองเขียนวงเล็บมากครั้งเกินไป จะยอมรับ
กันวา
สัญลักษณ ↔ เปนตัวเชื่อมที่คลุมมากที่สุด
→ เปนตัวเชื่อมที่คลุมรองลงมา
∧, ∨ เปนตัวเชื่อมที่คลุมนอยกวา →
∼ เปนตัวเชื่อมที่คลุมนอยที่สุด
เชน ∼p ∨ q หมายถึง (∼p) ∨ q
p→q∨r หมายถึง p → (q ∨ r)
p→q↔r หมายถึง (p → q) ↔ r
3. การสรางตารางคาความจริง
จํานวนกรณีที่พิจารณา = 2n กรณี
4. รูปแบบของประพจนที่สมมูลและเปนนิเสธกัน
ประพจน p และ q จะสมมูลกันเมื่อประพจนทั้งสองมีคาความจริงเหมือนกันทุกกรณี โดยสามารถเขียนแทน
ประพจน p และ q ที่สมมูลกันดวย p ≡ q
ประพจนที่สมมูลกันที่สําคัญ
ชุดที่ 1 ∼(p ∨ q) ≡ ∼p ∧ ∼q
∼(p ∧ q) ≡ ∼p ∨ ∼q
* ชุดที่ 2 p → q ≡ 1. ∼p ∨ q
2. ∼q → ∼p
∼(p → q) ≡ p ∧ ∼q
ชุดที่ 3 p ↔ q ≡ (p → q) ∧ (q → p)
∼(p ↔ q) ≡ 1. ∼p ↔ q
2. p ↔ ∼q
ชุดที่ 4 p ∧ (q ∨ r) ≡ (p ∧ q) ∨ (p ∧ r)
p ∨ (q ∧ r) ≡ (p ∨ q) ∧ (p ∨ r)
ชุดที่ 5 p ∨ ∼p ≡ T
p ∧ ∼p ≡ F
ชุดที่ 6 p∨p ≡ P
p∧p ≡ P
BOBBYtutor Mathematic Note

ชุดที่ 7 สรุปไมไดวามีคาความจริงเปน T หรือ F แตสามารถบอกไดวามีคาความจริงเหมือนตัวใด เชน


p ∧ q , p → q , p → Q
T T F
q q ∼p

5. ประโยคเปด
ประโยคเปด คือ ประโยคบอกเลาหรือประโยคปฏิเสธที่มีตัวแปร แตยังไมเปนประพจน และสามารถทําใหเปน
ประพจนไดโดยการแทนตัวแปรนั้นดวยสมาชิกของเอกภพสัมพัทธที่กําหนดให หรือเติมตัวบงปริมาณหนาประโยคนั้น
เชน
- "x + 3 = 0" เปนประโยคเปด มี "x" เปนตัวแปร
- "2x + 3" ไมเปนประโยคเปด เพราะเมื่อแทน "x" ดวยจํานวนจริงใดๆ แลวไมเปนประพจน
- "∃x [x2 < 0]" ไมเปนประโยคเปด แตเปนประพจน
6. ตัวบงปริมาณ
ตัวบงปริมาณ มี 2 ชนิด คือ
1. ∀x แทนคําวา "สําหรับ x ทุกตัว", "สําหรับ x ใดๆ", "สําหรับ x แตละตัว" โดยเรียก ∀x วาตัวบงปริมาณ
"ทั้งหมด"
2. ∃x แทนคําวา "สําหรับ x บางตัว", "มี x อยางนอยหนึ่งตัวที่..." โดยเรียก ∃x วาตัวบงปริมาณ
"มีอยางนอยหนึ่งตัว"
7. คาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ
สําหรับการพิจารณาคาความจริงของประโยคทีม่ ีตัวบงปริมาณ จะพิจารณาแตละสวนของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ
คือ
1. พิจารณาตัวบงปริมาณ
2. พิจารณาประโยคเปด
3. พิจารณาเอกภพสัมพัทธ
การพิจารณาคาความจริงของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ
1. ∀x [P(x)]
- มีคาความจริงเปน T ก็ตอเมื่อ แทนคา x ทุกตัวใน P(x) แลวไดประพจนที่มีคาความจริงทั้งหมด
- มีคาความจริงเปน F ก็ตอเมื่อ มีคา x อยางนอยหนึ่งตัวที่แทนใน P(x) แลวไดประพจนที่มีคาความจริง
เปนเท็จ
2. ∃x [P(x)]
- มีคาความจริงเปน T ก็ตอเมื่อ มีคา x อยางนอยหนึ่งตัวที่แทนใน P(x) แลวไดประพจนที่มีคาความจริง
เปนจริง
- มีคาความจริงเปน F ก็ตอเมื่อ แทนคา x ทุกตัวใน P(x) แลวไดประพจนที่มีคาความจริงเปนเท็จทั้งหมด
BOBBYtutor Mathematic Note

8. สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ
รูปแบบการสมมูลกันของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ มีลักษณะเดียวกับการสมมูลของประพจน เชน
∀x [P(x) → Q(x)] ≡ ∀x [∼P(x) ∨ Q(x)]
∀x [P(x) → Q(x)] ≡ ∀x [∼Q(x) → ∼P(x)]
นิเสธของประโยคที่มีตัวบงปริมาณ
1. ∼∀x [P(x)] ≡ ∃x [∼P(x)]
2. ∼∃x [P(x)] ≡ ∀x [∼P(x)]

ตัวอยางขอสอบ
1. กําหนดให A แทนประพจน (p ∧ q) → (r → s)
และ B แทนประพจน ((p ∨ r) → s) → q
ถาประพจน p → (q → (r ∨ s)) มีคา ความจริงเปนเท็จแลว คาความจริงของประพจน A, B ในขอใดตอไปนี้ถูก
1) A เปนจริง และ B เปนจริง 2) A เปนจริง และ B เปนเท็จ
3) A เปนเท็จ และ B เปนจริง 4) A เปนเท็จ และ B เปนเท็จ
2. ประพจน (p → r) ∧ (q → r) สมมูลกับประพจนในขอใดตอไปนี้
1) (∼p ∧ ∼q) ∨ r 2) (∼p ∨ ∼q) ∧ r 3) (p ∧ q) → r 4) (p → q) → r
3. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ประพจน p ∧ (q ∧ ∼r) เปนนิเสธของประพจน p → (∼q ∨ r)
ข. กําหนดเอกภพสัมพัทธ U = (0, 3)
ประพจน ∀x[2x2 - 5x ≤ 0] มีคาความจริงเปนจริง
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
4. ให p, q, r เปนประพจน ซึ่งทําใหประพจน (p → q) → (∼p → ∼r) มีคาความจริงเปนเท็จ
ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง
1) q ∨ (p ∧ r) 2) (p ∨ q) ∧ r 3) q ∧ (p ∨ r) 4) (p ∧ q) ∨ r
5. ให p และ q เปนประพจน
ประพจนในขอใดตอไปนี้ไมสมมูลกับประพจน [∼(p ∧ q)] → [p ∧ ∼q]
1) (p ∧ q) ∨ (p ∧ ∼q) 2) p ∧ (q ∨ ∼q)
3) p ∨ ∼q 4) p
6. ชวงในขอใดตอไปนี้เปนเอกภพสัมพัทธที่ทําใหขอความ ∃x[x2 – 2x ≤ 8] และ ∀x[x3 – 9x ≠ 0] มีคา
ความจริงเปนจริง
1) (-3, -2) 2) (-3, 0) 3) (0, 4) 4) (-2, 3)
BOBBYtutor Mathematic Note

7. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา q มีคาความจริงเปนเท็จแลว ประพจน p → (q → r) มีคาความจริงเปนจริง
ข. นิเสธของประพจน (p → q) → r คือ (∼p ∧ ∼r) ∨ (∼r ∧ q)
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
8. ให p, q และ r เปนประพจนที่กําหนดดังนี้
p แทน 0 เปนจํานวนเต็มคู
q แทน จํานวนเฉพาะทุกจํานวนเปนจํานวนเต็มคี่
r แทน มีจํานวนอตรรกยะ a บางจํานวน ซึ่ง a2 เปนจํานวนตรรกยะ
ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
1) (∼(p ∧ q)) ∨ r 2) (p ∧ r) ∧ (∼q) 3) r → (p ∧ q) 4) q → (p ∧ r)
9. ใหเอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนจริง
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ประพจน ∀x [x6 - 2x3 ≥ -1] มีคาความจริงเปนเท็จ
ข. ประพจน ∃x [logx2 (logx x4) = -1] มีคาความจริงเปนจริง
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
10. ให p, q เปนประพจน ถา [(p → q) → (p ∨ ∼q)] มีคาความจริงเปนเท็จแลว ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคา
ความจริงเปนเท็จ
1) ∼p ∨ q 2) ∼p ∧ q 3) p ↔ q 4) ∼p → q
11. กําหนดให p, q, r, s, t เปนประพจน ซึ่งประพจน (p ∧ q) → r มีคาความจริงเปนเท็จ
ถา A แทนประพจน [s → (t → q)] ↔ (r ∧ p) แลวขอใดตอไปนี้เปนขอสรุปที่ถูกตอง
1) A มีคาความจริงเปนจริง
2) A มีคาความจริงเปนเท็จ
3) หาคาความจริงของ A ไมไดเพราะไมทราบคาความจริงของ s
4) หาคาความจริงของ A ไมไดเพราะไมทราบคาความจริงของ t
12. ให R เปนเซตของจํานวนจริง และเอกภพสัมพัทธ U = {x ∈ R | 0 ≤ x ≤ 1} ขอใดตอไปนีม้ คี า ความจริงเปนเท็จ
1) ∃x [x2 = x] 2) ∀x [x2 ≤ x]
 
3) ∃x  x > 21  ∧  x 2 > 21   4) ∀x [x2 - 2x + 2 < 0]
 

13. ให p และ q เปนประพจน ขอใดตอไปนี้ถูกตอง


1) ∼(p ↔ q) สมมูลกับ ∼p ↔ ∼q 2) ∼(p ↔ q) สมมูลกับ p ↔ ∼q
3) p → q สมมูลกับ p ∧ ∼q 4) p → q สมมูลกับ p ∨ ∼q
BOBBYtutor Mathematic Note

14. กําหนดให p, p → q และ p → (∼q ∨ r) เปนประพจนที่มีคาความจริงเปนจริง ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคา


ความจริงเปนจริง
1) q ∧ (∼r → p) 2) r → (∼p ∨ ∼q) 3) ∼p ∧ (q ∨ r) 4) (∼p ∧ q) ∨ (∼r)
15. กําหนดเอกภพสัมพัทธ U = {-2, -1, 0, 1, 2} และ P(x) แทน x เปนจํานวนคู Q(x) แทน x2 < 4
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ∀x [∼P(x) → Q(x)] มีคาความจริงเปนจริง
ข. ∃x [P(x) ∧ Q(x)] มีคาความจริงเปนจริง
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
16. พิจารณาประพจนตอไปนี้
ก. p → p
ข. p ∨ (∼q)
ค. p → (p ∧ q)
ขอใดตอไปนี้เปนจริง
1) ก. สมมูลกับ ค. 2) ข. สมมูลกับ ค.
3) ก. สมมูลกับ ข. 4) ไมมีขอความใดสมมูลกันเลย
17. ถาประพจน p → q และประพจน p ↔ (∼q) มีคาความจริงเปนจริงทั้งคู แลวประพจนในขอใดตอไปนี้มีคา
ความจริงเปนเท็จ
1) p → (p ∨ q) 2) q → (p ∨ q) 3) p → (p ∧ q) 4) q → (p ∧ q)
18. กําหนดให ∼p → q, ∼p ∨ r, ∼r เปนประพจนที่มีคาความจริงเปนจริง ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริง
เปนจริง
1) p → q 2) q ↔ r 3) p ∨ r 4) p ∧ ∼q
19. นิเสธของประพจน (p → q) → r คือขอใดตอไปนี้
1) (p ∧ ∼q) ∧ ∼r 2) (p ∨ ∼q) ∨ ∼r 3) (∼p ∨ q) ∧ ∼r 4) (p ∧ ∼q) ∨ ∼r
20. ให p, q และ r เปนประพจนที่กําหนดใหดังนี้
p แทน 0 ไมเปนจํานวนเต็มคู และไมเปนจํานวนเต็มคี่
q แทน ถา a2 ≤ b2 แลว | a | ≤ | b |
r แทน ถา a และ b เปนจํานวนอตรรกยะ แลว a + b เปนจํานวนอตรรกยะ
พิจารณาคาความจริงของประพจนตอไปนี้
ก. [p ∧ (∼q)] ∨ r ข. (p → q) → r
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. จริง และ ข. จริง 2) ก. จริง และ ข. เท็จ
3) ก. เท็จ และ ข. จริง 4) ก. เท็จ และ ข. เท็จ
BOBBYtutor Mathematic Note

21. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. p → (q → r) สมมูลกับ ∼(p ∧ q) ∨ r
ข. p → (q → r) สมมูลกับ (∼p ∧ q) → r
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
22. ให p แทนขอความ "ถาฝนไมตกหรือคุณแมไมอยูบานแลว แดงจะเลนฟุตบอล"
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ขอความ "ถาแดงไมเลนฟุตบอลแลว ฝนตกและคุณแมอยูบาน" มีคาความจริงตรงกับขอความ p
ข. นิเสธของขอความ p คือ ฝนไมตกหรือคุณแมไมอยูบาน แตแดงไมเลนฟุตบอล
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
23. ใหเอกภพสัมพัทธคือ {-1, 0, 1} พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ∀x [-x2 = x] มีคาความจริงเปนจริง
ข. ∃x [x = 2x] มีคาความจริงเปนจริง
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
24. ขอความ "ถาปนี้สมชายไปทํางานทุกวัน แลวปหนาเขาจะไดรับเงินเดือนเพิ่ม 10%" สมมูลกับขอความในขอใด
ตอไปนี้
1) ปนี้สมชายไปทํางานทุกวัน และปหนาเขาไดรับเงินเดือนเพิ่ม 10%
2) ถาปนี้สมชายไมไปทํางานอยางนอย 1 วัน แลวปหนาเขาจะไมไดรับเงินเดือนเพิ่ม 10%
3) ถาปหนาสมชายไมไดรับเงินเดือนเพิ่ม 10% แลว แสดงวาปนี้เขาไมไปทํางานอยางนอย 1 วัน
4) ปนี้สมชายไมไปทํางานอยางนอย 1 วัน และปหนาเขาจะไมไดรับเงินเดือนเพิ่ม 10%
25. กําหนดเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริง ขอใดตอไปนี้เปนจริง
1) ∃x [x = x + 1] 2) ∀x [x2 > 0] 3) ∀x [x = x + 0] 4) ∃x [x2 + 1 = 0]
26. นิเสธของขอความ "ถาสมศรีไมอานหนังสือแลว สมศรีสอบไมผาน" คือขอใดตอไปนี้
1) สมศรีอานหนังสือ และสมศรีสอบผาน 2) สมศรีอานหนังสือ หรือสมศรีสอบผาน
3) สมศรีไมอานหนังสือ และสมศรีสอบผาน 4) สมศรีไมอานหนังสือ หรือสมศรีสอบผาน

เฉลย
1. 1) 2. 1) 3. 2) 4. 4) 5. 3) 6. 2) 7. 1) 8. 3) 9. 3) 10. 3)
11. 2) 12. 4) 13. 2) 14. 1) 15. 1) 16. 1) 17. 4) 18. 1) 19. 3) 20. 4)
21. 2) 22. 1) 23. 3) 24. 3) 25. 3) 26. 3)
BOBBYtutor Mathematic Note

แบบทดสอบ
1. กําหนดให p, q, r เปนประพจนที่มีคาความจริงเปนจริง เท็จ และเท็จ ตามลําดับ ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคา
ความจริงเหมือนกับประพนจ (p → ∼q) ∨ (r ∧ ∼p)
1) (∼r → p) ∧ (q ∨ r) 2) (q ∧ ∼r) ↔ (∼p → ∼q)
3) (∼p ∨ r) → (q ∧ ∼r) 4) (p → q) ∨ (∼r ↔ q)
2. ให p แทน "32 เปนจํานวนคู" q แทน "π เปนจํานวนอตรรกยะ" และ r เปนประพจนใดๆ
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ประพจน p ∧ (q → r) มีคาความจริงเปนจริง
ข. ประพจน ∼(r ∨ ∼p) ↔ q มีคาความจริงเปนเท็จ
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
3. กําหนดให p ∨ q, p → r และ ∼r เปนขอความทีม่ คี า ความจริงเปนจริงแลว ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
1) [∼(p ∧ q)] ∨ (∼p ∧ r) 2) (p ∨ r) ∨ (q ∧ ∼p)
3) [∼p ∧ (p → r)] → q 4) [q ∧ (r → p)] → p
4. ถาคาความจริงของ (p → q) → (p → (q ∧ r)) เปนเท็จ แลวประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง
1) (p ∧ q) ∧ r 2) (p ∧ ∼q) ∧ ∼r 3) ∼(p ∧ q) ∨ r 4) (p ∧ ∼q) ∨ ∼r
5. ให p, q และ r เปนประพจนใดๆ ถาคาความจริงของ (p ∧ q) → (∼q ∨ r) เปนเท็จ แลวคาความจริงของ
[(∼p ∨ r) ∧ q] ↔ r จะเหมือนกับคาความจริงของประพจนใดตอไปนี้
1) p ∧ r 2) p ∨ r 3) p → r 4) p ↔ r
6. ให p, q, r, s และ t เปนประพจน ถาประพจน (p ∧ q) → (r ∨ s) มีคาความจริงเปนเท็จแลว ประพจนในขอใด
ตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
1) (p ∧ r) ↔ (s ∧ t) 2) (p ∧ s) → (q ∨ t)
3) (p ∧ s) ∨ (r ∧ t) 4) (r → p) ∧ (s → t)
7. กําหนดให p, q, r เปนประพจน
ถาประพจน p → (q ∧ r) มีคาความจริงเปนเท็จ และ (p ∨ q) ↔ r มีคาความจริงเปนจริง แลว
พิจารณาคาความจริงของประพจนตอไปนี้
ก. (p ↔ q) ↔ ∼r ข. p ↔ (q ∨ ∼r)
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. จริง และ ข. จริง 2) ก. จริง และ ข. เท็จ
3) ก. เท็จ และ ข. จริง 4) ก. เท็จ และ ข. เท็จ
8. ให p และ q เปนประพจน ขอใดตอไปนี้สมมูลกับ (p ∧ ∼q) → p
1) q → (p → ∼q) 2) ∼p ∧ (q ∨ ∼p)
3) (p ∧ ∼q) → p 4) (∼p ∧ q) ∨ ∼q
BOBBYtutor Mathematic Note

9. นิเสธของขอความ "ถา a ≠ b แลว a < b หรือ a > b" ตรงกับขอใด


1) a ≠ b และ a ≥ b และ a ≤ b 2) a ≠ b แลว a < b หรือ a > b
3) a = b และ a > b และ a < b 4) a = b แลว a < b หรือ a > b
10. นิเสธของ ∼(p → q) ∧ p คือประพจนใด
1) p ↔ q 2) (p ∨ q) ∧ (∼q)
3) (p → q) ∧ (∼q) 4) ∼p ∨ q
11. ขอความคูใดไมสมมูลกัน
1) (∼p ∨ ∼q) → p และ ∼p → (p ∧ q) 2) ∼p → (q → p) และ ∼p ∨ q
3) ∼(p → q) และ p ∧ ∼q 4) p ↔ q และ (∼p ∨ q) ∧ (∼p → ∼q)
12. ถาเอกภพสัมพัทธคือเซตจํานวนเต็ม แลวขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ∃x [x2 ≤ 0 หรือ x2 + 1 = 0] มีคาความจริงเปนจริง
2) ∃x [x + 4 = 0 และ x - 2 = -6] มีคาความจริงเปนเท็จ
3) ∀x [x2 > 0] มีคาความจริงเปนจริง
4) ∀x [ถา x < 3 แลว x < 5] มีคาความจริงเปนเท็จ
13. เอกภพสัมพัทธในขอใดตอไปนี้ทําใหประพจน ∀x [x2 + 2x - 3 < 0] มีคาความจริงเปนจริง
1) (-∞, -3) 2) (-2, 1) 3) (0, 10) 4) (1, ∞)
14. ประโยค ∀x[ | 2x + 5 | ≤ 2] จะมีคาความจริงเปนจริง เมื่อเอกภพสัมพัทธเปนเซตในขอใด
1) {x | -7 ≤ x ≤ -3} 2) {x | 1.5 ≤ x ≤ 3.5}
3) {x | -2 ≤ x ≤ 2} 4) {x | -3.5 ≤ x ≤ -1.5}
15. ขอความใดไมใชนิเสธของ ∃x[P(x) ∧ ∼Q(x)]
1) ∀x [∼P(x) ∨ Q(x)] 2) ∀x [P(x) → Q(x)]
3) ∀x [∼Q(x) → ∼P(x)] 4) ∀x [P(x) ∨ ∼Q(x)]

เฉลย
1. 3) 2. 3) 3. 4) 4. 4) 5. 2) 6. 3) 7. 2) 8. 2) 9. 1) 10. 4)
11. 2) 12. 1) 13. 4) 14. 4) 15. 4)
BOBBYtutor Mathematic Note

ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล และฟงกชันลอการิทึม
1. เลขยกกําลัง
บทนิยาม ถา a เปนจํานวนจริง และ n เปนจํานวนจริง จะเรียก an วาเลขยกกําลัง โดยมี a เปนฐาน และ
n เปนเลขชี้กําลัง
สมบัติของเลขยกกําลัง
เมื่อ a, b เปนจํานวนจริงที่ไมเปน 0 และ m, n เปนจํานวนจริงใดๆ
n
5.  ba  = an
n
1. am ⋅ an = am+n
a
a m 1
2. n = am-n 6. a-n = n
a a
- n n
3. (am)n = amn 7.  ba  =  ba 
4. (a ⋅ b)n = an ⋅ bn 8. a0 = 1 เมื่อ a ≠ 0
2. กรณฑ
เมื่อ a เปนจํานวนจริง n เปนจํานวนเต็มที่มากกวา 1 และ a มีรากที่ n แลว a1/n = n a อานวา กรณฑที่
n ของ a
สําหรับจํานวนเต็ม n ทีม่ ากกวา 1 a และ x เปนจํานวนจริง แลว "a เปนรากที่ n ของ x ก็ตอเมื่อ an = x"
ในกรณีที่ n เปนจํานวนคู เราสามารถแยกเปนกรณียอยในการพิจารณาไดดังนี้
- กรณีที่ x = 0 รากที่ n ของ x คือ 0 สามารถเขียนแทนดวย n 0
- กรณีที่ x < 0 จะไมมีจํานวนจริงเปนรากที่ n ของ x
- กรณีที่ x > 0 รากที่ n ของ x จะมีสองจํานวน เปนจํานวนบวกและจํานวนลบ
สําหรับรากที่เปนบวกเขียนแทนดวย n x สําหรับรากที่เปนลบเขียนแทนดวย - n x
- สําหรับกรณีรากที่สองเปนจํานวนบวก เราจะนิยมเขียนแทนดวย x มากกวา 2 x
ในกรณีที่ n เปนจํานวนคี่ เราสามารถแยกเปนกรณียอยในการพิจารณาไดดังนี้
- กรณีที่ x = 0 รากที่ n ของ x คือ 0 สามารถเขียนแทนดวย n 0
- กรณีที่ x < 0 รากที่ n ของ x จะมีจํานวนเดียว จึงเปนจํานวนลบ เขียนแทนดวย n x
- กรณีที่ x > 0 รากที่ n ของ x จะมีจํานวนเดียว จึงเปนจํานวนบวก เขียนแทนดวย n x
ตัวอยาง รากที่สองของ 9 คือ 3 กับ -3
รากที่สามของ 27 คือ 3
รากที่สองของ -4 คือ ไมมี
รากที่สามของ -8 คือ -2
BOBBYtutor Mathematic Note

คุณสมบัติที่นาสนใจเกี่ยวกับกรณฑ
1. ถา a เปนจํานวนจริงที่ทําให n a เปนจํานวนจริง แลว ( n a) n = a
2. ถา a ∈ R และ n ∈ I+ โดยที่ n ≥ 2 แลว
n a n = a เมื่อ n เปนจํานวนเต็มคี่

n an = | a | เมื่อ n เปนจํานวนเต็มคู
3. ถา a และ b มีรากที่ n แลว n a ⋅ n b = n ab
n
4. ถา a และ b มีรากที่ n และ b ≠ 0 แลว n a = n ab
b
mn
5. a = mn a
6. am/n = n a m

3. การบวก ลบ คูณ หาร จํานวนที่อยูในรูปเครื่องหมายกรณฑ


การบวก ลบ คูณ หาร จํานวนที่อยูในเครื่องหมายกรณฑ สามารถทําไดเหมือนกับการบวก ลบ คูณ หาร
จํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลัง
ตัวอยางที่ 1 จงหาคาของ 3 2 + 50 + 32
วิธีทํา 3 2 + 50 + 32 = 3 2 + 25 × 2 + 16 × 2
= 3 2 +5 2 +4 2
= 12 2
ตัวอยางที่ 2 จงทํา 8 ใหสวนอยูในรูปไมติดกรณฑ
2 2
วิธีทํา 8 = 8 × 2
2 2 2 2 2
= 8 42
= 2 2
ตัวอยางที่ 3 จงทํา 3 + 2 ใหสวนอยูในรูปไมติดกรณฑ
3- 2
วิธีทํา 3+ 2 = 3+ 2 × 3+ 2
3- 2 3- 2 3+ 2
= 3 + 3 23 +- 2 3 2 + 2
= 5+2 6
BOBBYtutor Mathematic Note

4. การหารากที่สองของจํานวนที่อยูในรูป x ± 2 y
ถา a, b ∈ R+ ซึ่ง x = a + b และ y = ab แลว
1. รากที่สองของ x + 2 y คือ ±( a + b )
2. รากที่สองของ x - 2 y คือ ±( a - b )
3. x+2 y = a + b
4. x - 2 y = a - b เมื่อ a > b

5. การแกสมการของจํานวนที่อยูภายใตเครื่องหมายกรณฑ
หลักการทั่วไป
1. จัดกรณฑใหอยูขางใดขางหนึ่งของสมการ ตัวแปรและตัวเลขที่ไมติดกรณฑจัดใหอยูอีกขางหนึ่งของสมการ
ในกรณีที่มีกรณฑมากกวา 1 กรณฑ ควรจัดใหมีกรณฑทั้งสองขาง
2. ยกกําลังเพื่อใหกรณฑหมด
3. แกสมการตามปกติ
*4. ตรวจคําตอบที่ไดวาทําใหสมการเปนจริงหรือไม
ตัวอยางที่ 4 จงแกสมการ x + 9 + 11 = x
วิธีทํา x + 9 + 11 = x
x + 9 = x - 11
ยกกําลังสองทั้ง 2 ขาง x + 9 = x2 - 22x + 121
x2 - 23x + 112 = 0
(x - 16)(x - 7) = 0
x = 16, 7
ตรวจคําตอบ x = 16 ; 16 + 9 + 11 = 16
16 = 16
x=7; 7 + 9 + 11 = 7
15 ≠ 7
∴ คําตอบของสมการ คือ x = 16
ตัวอยางที่ 5 จงแกสมการ x + 3 - 2 - x = 1
วิธีทํา x + 3 - 2 -x = 1
x + 3 = 1 + 2 -x
ยกกําลังสองทั้ง 2 ขาง x + 3 = 1 + 2 2 -x + 2 - x
2x = 2 2 - x
x = 2 -x
BOBBYtutor Mathematic Note

ยกกําลังสองทั้ง 2 ขาง x2 = 2-x


x2 + x - 2 = 0
(x + 2)(x - 1) = 0
x = -2, 1
ตรวจคําตอบ x = -2 ; -2 + 3 - 2 - (-2) = 1
-1 ≠ 1
x=1; 1+3 - 2-1 = 1
1 = 1
∴ คําตอบของสมการ คือ x = 1
ตัวอยางที่ 6 จงแกสมการ 3 2x - 1 = 6 x + 1
วิธีทํา 32x - 1 =
x+1 6

ยกกําลังหกทั้ง 2 ขาง (2x - 1)2


x+1 =
4x2 - 4x + 1x+1 =
4x2 - 5x0 =
x(4x - 5)
0 =
0, 54
x =
ตรวจคําตอบ x = 0 ; 3 2(0) - 1 = 6 0 + 1
-1 ≠ 1
x = 54 ; 3 2 5  - 1 = 6 5 + 1
4 4
3 3 = 3 3
2 2
∴ คําตอบของสมการ คือ x = 54
ตัวอยางที่ 7 จงแกสมการ 2 x + 1 - 5 4 x + 1 + 3 = 0
วิธีทํา ให a = 4 x + 1 ; 2a2 - 5a + 3 = 0
(2a - 3)(a - 1) = 0
a = 32 , 1
a = 32 หรือ a = 1
4 x+1 = 3 4 x+1 = 1
2 หรือ
ยกกําลังสี่ทั้ง 2 ขาง ; x + 1 = 16 81 ยกกําลังสี่ทั้ง 2 ขาง ; x + 1 = 1
x = 65 16 x = 0
BOBBYtutor Mathematic Note

ตรวจคําตอบ 65 + 1 = 3
4 ตรวจคําตอบ 4 0+1 = 1
16 2
3 = 3 1 = 1
2 2
65
∴ คําตอบของสมการ คือ 16 , 0

6. ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล
บทนิยาม ฟงกชันเอกซโพเนนเชียล คือ f = {(x, y) ∈ R × R | y = ax , a > 0 และ a ≠ 1}

จากความหมายตามบทนิยาม เราสามารถแยกคา a (ฐาน) พิจารณาได 2 กรณี คือ 0 < a < 1 และ a > 1 ซึ่ง
แตละกรณีจะทําใหลักษณะกราฟของฟงกชันเอกซโพเนนเชียลแตกตางกัน เราจึงศึกษารายละเอียดลักษณะของกราฟ
ดังกลาวในแตละกรณีตอไปนี้
กรณีที่ 0 < a < 1 กรณีที่ a > 1
y y

(0, 1) (0, 1)
x x
0 0
เปนฟงกชันลด แสดงวา เปนฟงกชันเพิ่ม แสดงวา
ax1 > ax2 ก็ตอเมื่อ x1 < x2 ax1 > ax2 ก็ตอเมื่อ x1 > x2
ax1 < ax2 ก็ตอเมื่อ x1 > x2 ax1 < ax2 ก็ตอเมื่อ x1 < x2
จากการพิจารณากราฟทั้งสองพบวา x มีคาเปนไปไดทั้งจํานวนจริงบวก ลบ หรือศูนย แต ax เปนไดเฉพาะจํานวน
จริงบวกเทานั้น จึงสรุปไดวาโดเมนของฟงกชันเอกซโพเนนเชียล คือ R และเรนจของฟงกชันนี้ คือ R+
นอกจากนี้กราฟทั้งสองตัดแกน y ที่จุด (0, 1) เสมอ เนื่องจาก a0 = 1
จากกราฟแสดงวาฟงกชันเอกซโพเนนเชียลเปนฟงกชนั หนึง่ ตอหนึง่ จึงสรุปไดวา x1 = x2 ก็ตอเมื่อ ax1 = ax2
7. การแกสมการเอกซโพเนนเชียล
หลักการทั่วไป
1. ถาโจทยมี 2 พจน ใหจัดพจนแตละพจนไวคนละขางของสมการ ทําฐานของเลขยกกําลังใหเทากันแลวเทียบ
เลขชี้กําลัง
2. ถาโจทยมีมากกวา 2 พจน ใหจัดขางใดขางหนึ่งของสมการใหเทากับศูนย แยกตัวประกอบ แลวพิจารณาคา
ของตัวแปร
BOBBYtutor Mathematic Note

x-1 -3
ตัวอยางที่ 8 จงแกสมการ  32  =  278 
 3  x-1  8 -3
วิธีทํา   = 
2  27 
 3  x-1   2 3  - 3
  =   
2  3  
 3  x-1  2  -9
  =  
2 3
 3  x-1  3 9
  =  
2 2
∴ x-1 = 9
x = 10
ตัวอยางที่ 9 จงแกสมการ 188-4x = (54 2 )3x-2
วิธีทํา 188-4x = (54 2 )3x-2
[(3 2 )2]8-4x = [(3 2 )3]3x-2
(3 2 )16-8x = (3 2 )9x-6
16 - 8x = 9x - 6
x = 22
17
ตัวอยางที่ 10 จงแกสมการ 22x+2 - 9 ⋅ 2x = -2
วิธีทํา 22x+2 - 9 ⋅ 2x -2 =
22x ⋅ 22 - 9 ⋅ 2x + 2 0 =
4 ⋅ 22x - 9 ⋅ 2x + 2 0 =
x
ให 2 = a ; 4a2 - 9a + 2 0 =
(4a - 1)(a - 2) 0 =
a 1 =
4 หรือ a = 2
นั่นคือ 2x = 41 2x = 2
2x = 2-2 x = 1
x = -2
ตัวอยางที่ 11 จงแกสมการ 9 ⋅ 4x - 12 ⋅ 6x + 4 ⋅ 9x = 0
วิธีทํา 9 ⋅ 4x - 12 ⋅ 6x + 4 ⋅ 9x = 0
9 ⋅ 22x - 12 ⋅ 2x⋅ 3x + 4 ⋅ 32x = 0
ให 2 = a, 3x = b
x
9a2 - 12ab + 4b2 = 0
(3a - 2b)(3a - 2b) = 0
3a - 2b = 0
3a = 2b
3 = b
2 a
BOBBYtutor Mathematic Note

นั่นคือ 3 = 3x
2 2x
3 =  3  x
2 2
x = 1
8. การแกอสมการเอกซโพเนนเชียล
หลักการทั่วไปในการแกอสมการเอกซโพเนนเชียลนั้นจะตองใชความรูเกี่ยวกับฟงกชันลดและฟงกชันเพิ่มมาชวย
ในการแกอสมการคือ
1. ถา a > 1 แลว ax > ay ก็ตอเมื่อ x > y
ax < ay ก็ตอเมื่อ x < y
2. ถา 0 < a < 1 แลว ax > ay ก็ตอเมื่อ x < y
ax < ay ก็ตอเมื่อ x > y
2 - 3x + 4
 x  x + 9
ตัวอยางที่ 12 จงแกอสมการ 21  < 1
 
   
2
2
วิธีทํา 1 - 3x + 4 <  1  x + 9
 x
 
2   2
x - 3x + 4 > x + 9
2
x2 - 4x - 5 > 0
(x - 5)(x + 1) > 0
+ - +
-1 5
∴ คําตอบของอสมการคือ (-∞, -1) U (5, ∞)

9. ฟงกชันลอการิทึม
เนื่องจากฟงกชันเอกซโพเนนเชียล f = {(x, y) ∈ R × R | y = ax , a > 0 และ a ≠ 1} เปนฟงกชัน
หนึ่งตอหนึ่งจาก R ไปทั่วถึง R+ ดังนั้นอินเวอรสของฟงกชันเอกซโพเนนเชียลจึงเปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก R+ ไป R
คือ f -1 = {(x, y) ∈ R × R | x = ay , a > 0 และ a ≠ 1}
ในทางคณิตศาสตรเราสามารถเขียน x = ay ในรูปของ y = f(x) ไดโดยกําหนดให y = logax ซึ่งเราอาน logax วา
"ลอการิทึมเอกซฐานเอ" หรือ "ล็อกเอกซฐานเอ" ดังนั้นเราสามารถเขียนอินเวอรสของฟงกชันเอกซโพเนนเชียลไดเปน
f -1 = {(x, y) ∈ R+ × R | y = logax , a > 0 และ a ≠ 1} ซึ่งเรากําหนดใหอนิ เวอรสของฟงกชนั เอกซโพเนนเชียลนี้
คือ ฟงกชันลอการิทึมนั่นเอง
BOBBYtutor Mathematic Note

ในทํานองเดียวกับฟงกชันเอกซโพเนนเชียล เราสามารถแยกคา a (ฐาน) พิจารณาได 2 กรณี คือ 0 < a < 1


และ a > 1 ซึ่งแตละกรณีจะทําใหลักษณะกราฟของฟงกชันเอกซโพเนนเชียลแตกตางกัน เราจึงศึกษารายละเอียดลักษณะ
ของกราฟดังกลาวในแตละกรณีตอไปนี้
กรณีที่ 0 < a < 1 กรณีที่ a > 1
y y

(1, 0)
x x
0 0 (1, 0)

มีลักษณะเปนฟงกชันลด แสดงวา มีลักษณะเปนฟงกชันเพิ่ม แสดงวา


x1 > x2 ก็ตอเมื่อ loga x1 < loga x2 หรือ x1 > x2 ก็ตอเมื่อ loga x1 > loga x2 หรือ
x1 < x2 ก็ตอเมื่อ loga x1 > loga x2 x1 < x2 ก็ตอเมื่อ loga x1 < loga x2
จากการพิจารณากราฟทั้งสองพบวา loga x มีคาเปนไปไดทั้งจํานวนจริงบวก ลบ หรือศูนย แต x เปนไดเฉพาะ
จํานวนจริงบวกเทานั้น จึงสรุปไดวาโดเมนของฟงกชันเอกซโพเนนเชียล คือ R+ และเรนจของฟงกชันนี้ คือ R
นอกจากนี้กราฟทั้งสองตัดแกน x ที่จุด (1, 0) เสมอ เนื่องจาก loga 1 = 0
จากกราฟแสดงวาฟงกชันลอการิทึมเปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง จึงสรุปไดวา x1 = x2 ก็ตอเมื่อ loga x1 = loga x2
10. คุณสมบัติของลอการิทึม
กําหนดให M, N เปนจํานวนจริงบวก, a > 0 และ a ≠ 1
1. loga MN = loga M + loga N
2. loga  M 
N  = loga M - loga N
3. loga Mn = n loga M
4. logan M = n1 loga M
5. loga a = 1
6. loga 1 = 0
*7. ln x = loge x
*8. log 2 + log 5 = 1
BOBBYtutor Mathematic Note

คุณสมบัติการเปลี่ยนฐานลอการิทึม
1. alogb c = clogb a
log M
2. logN M = logaa N = log M
log N
3. logx a = log1a x
ตัวอยางที่ 13 จงหาคาของ log1/4 641 + 4log4 3
วิธีทํา log1/4 641 + 4log4 3 = log4-1 4-3 + 3log4 4
= --31 log4 4 + 31
= 3+3 = 6
ตัวอยางที่ 14 จงหาคาของ log10 28 - log1/10 325 + log1/100 91
วิธีทํา log10 28 - log1/10 325 + log1/100 91 = log10 28 - log10-1 325 + log10-2 91
= log10 28 + log10 325 - 21 log10 91
= log10 28 + log10 325 - log10 91
 
= log10  28 × 325 
 91 
= log10 10
= 1

11. การแกสมการลอการิทึม
การแกสมการลอการิทึม คือ การแกสมการที่มีตัวไมทราบคา (ตัวแปร) เกี่ยวของกับลอการิทึม คือ ตัวแปรอาจ
ประกอบอยูในจํานวนของ log หรือฐานของ log
หลักการทั่วไป
1. แปลงรูปสมการใหเปนสมการทีม่ ี log เทอมเดียว แลวเปลีย่ นรูปลอการิทึมใหเปนรูปเลขยกกําลัง โดยใชสมบัติ
loga x = y ↔ x = ay
2. ใชสมบัติการเปนฟงกชัน 1-1 คือ สําหรับจํานวนจริงบวก x1, x2 ทุกตัว เมื่อ a > 0 และ a ≠ 1 แลว
loga x1 = loga x2 ↔ x1 = x2
*3. สิ่งที่สําคัญ ตองตรวจสอบคําตอบที่ไดวาทําใหสมการเปนจริง และ loga x หาคาไดตามนิยามหรือไม
loga x หาคาไดเมื่อ x > 0, a > 0 และ a ≠ 1
BOBBYtutor Mathematic Note

ตัวอยางที่ 15 จงแกสมการ log7 (x2 + 7x + 19) - log7 (x + 4) = 1


วิธีทํา log7 (x2 + 7x + 19) - log7 (x + 4) = 1
 2 + 19  = 1
จะได log7  x +x 7x+ 4 
 
2
x + 7x + 19 = 71
ดังนั้น x+ 4
2
x + 7x + 19 = 7(x + 4)
x2 + 7x + 19 = 7x + 28
x2 - 9 = 0
(x - 3)(x + 3) = 0
x = 3, -3
ตรวจคําตอบแลว เซตคําตอบของสมการคือ {3, -3}
ตัวอยางที่ 16 จงแกสมการ log3 x + 6 logx 3 = 5
วิธีทํา log3 x + 6 logx 3 = 5
จะได log3 x + log63 x = 5
ให log3 x = a a + 6a = 5
a2 + 6 = 5a
a2 - 5a + 6 = 0
(a - 3)(a - 2) = 0
a = 3 หรือ a = 2
นั่นคือ log3 x = 3 log3 x = 2
x = 3 3 x = 32
x = 27 x = 9
ตรวจคําตอบแลว เซตคําตอบของสมการคือ {9, 27}
12. การแกอสมการลอการิทึม
หลักการทั่วไปในการแกอสมการลอการิทึมนั้นจะตองใชความรูเกี่ยวกับฟงกชันลดและฟงกชันเพิ่มมาชวยในการ
แกอสมการคือ
1. ถา a > 1 แลว loga x > loga y ก็ตอเมื่อ x > y
loga x < loga y ก็ตอเมื่อ x < y
2. ถา 0 < a < 1 แลว loga x > loga y ก็ตอเมื่อ x < y
loga x < loga y ก็ตอเมื่อ x > y
* การแกอสมการจะตองตรวจคําตอบที่ไดวา loga x เปนไปตามบทนิยามคือ x > 0, a > 0 และ a ≠ 1 หรือไม
BOBBYtutor Mathematic Note

ตัวอยางที่ 17 จงแกอสมการ log8 (x + 2) + log8 (x + 9) < 1


วิธีทํา log8 (x + 2) + log8 (x + 9) < 1
จะได log8 (x + 2)(x + 9) < log8 8
ดังนั้น (x + 2)(x + 9) < 8 (เปนฟงกชันเพิ่ม)
x2 + 11x + 18 < 8
x2 + 11x + 10 < 0
(x + 10)(x + 1) < 0
+ - +
-10 -1
แตเนื่องจาก x + 2 > 0 และ x + 9 > 0
x > -2 x > -9

-10 -9 -2 -1
∴ คําตอบของอสมการคือ (-2, -1)

ตัวอยางขอสอบ
1. ให a เปนคําตอบของสมการ 2x - 15 = 16 ⋅ 2-x
log3 (3a – 2) + log 1 (5a2 + 10) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
3
1) -3 2) -2 3) 2 4) 3
2. พิจารณาขอความตอไปนี้
 
ก. ∀x  x 4 - 4x 3 + 4x 2 = x 2 - 2x  เมื่อเอกภพสัมพัทธคือ [-10, 101 ]
 
ข. ∀x [logx 2x < 0] เมื่อเอกภพสัมพัทธคือ (0, 1)
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
3. ถากราฟของ y = log4 (x – 2)2 + log2 (x + 4) log1/2 x ผานจุด (a, 2) แลว a มีคาเทากับเทาใด
BOBBYtutor Mathematic Note

4. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา f(x) = 4-x และ g(x) = log2 x แลว (fog)(x) = 12
x
 1 
ข. h(x) = log1/2  x  เปนฟงกชันเพิ่มบน (0, ∞)
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
5. ให A เปนเซตคําตอบของสมการ 22x+1 – 32(2x-1) + 1 = 0
และ B เปนเซตคําตอบของสมการ log4 (x + 1) + log4 (x – 2) = 1 ขอใดตอไปนี้ถูก
1) A ⊂ B 2) B ⊂ A
3) A I B เปนเซตวาง 4) A และ B มีจํานวนสมาชิกเทากัน
6. ให a เปนคําตอบของสมการ x - 3 = x - 1
และ b = 1 - 1 + 1 - 1 + 1 - 1
8- 7 7- 6 6- 5 5- 4 4- 3 3- 2
2
(a)b มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 2 2) 4 3) 16 4) 32
7. ถา log4 (2 log3 (1 + log2 a)) = 21 , เมื่อ a เปนจํานวนจริง และ 22x-a = a2 + 3a + 4 แลว x เทากับขอใด
ตอไปนี้
1) 2 2) 2.5 3) 4 4) 4.5
 
8. ให S เปนเซตคําตอบของสมการ 2 (log4 x)3 - (log4 x)2 + log4  12  + 1 = 0 ผลบวกของสมาชิกทั้งหมด
x 

ใน S มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 2 2) 4 3) 5.75 4) 6.25
9. คา x ที่สอดคลองกับสมการ 2 (ln 10)(log | x - 2 |) = ln (x2 + 1) มีคาเทากับเทาใด
10. ถา a คือคําตอบของสมการ 103x = 100ex2 ln 10 แลว log4 a + log4 (3 - a) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 0 2) 21 3) 1 4) 32
11. ถา f(x) = 32x และ g(x) = log9 (3x), x > 0 แลว (gof)(x) + (fog)(x) เทากับขอใดตอไปนี้
1) 4x 2) 4x + 21 3) 3x + 1 4) 2x + 3
12. กําหนดให log 2 = 0.301, log 3 = 0.477 ถา x เปนคําตอบของสมการ 10(2x+1) = 610 แลว x มีคาเทาใด
13. ถา x เปนคําตอบของสมการ 9x+1 = 729(31-2x) แลว log4 (x - 1) + log4 (4x - 3) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) - 32 2) - 21 3) 21 4) 32
14. ถา logy x + logx y = 2 และ x2 - y = 20 แลว log2 (2x + 2y) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 5 2) 6 3) 8 4) 10
BOBBYtutor Mathematic Note

15. ให n เปนจํานวนเต็มบวก ถา log2 3 ⋅ log3 4 ⋅ log4 5 ... log(n+1)(n + 2) = 7 แลว n มีคาเทากับเทาใด
16. กําหนดให f(x) = ex และ g(x) = 3x คาของ x ที่ทําให (fog)(x) = (gof)(x) คือขอใดตอไปนี้
1) ln  31  2) ln 3 3) ln 3 4) 2 ln 3
17. ถา a และ b เปนคําตอบของสมการ 33x = 103 - 3-3x แลว log (| a | + | b |) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) log 2 + log 3 3) log 2 - log 3 3) (log 2)(log 3) 4) log
log 3
2

18. ให A เปนเซตคําตอบของสมการ ( 1 + log x 27 ) log3 x + 1 = 0 จํานวนสมาชิกของ A มีคาเทากับขอใด


ตอไปนี้
1) 0 2) 1 3) 2 4) 3
19. ถา a เปนผลบวกของคําตอบของสมการ 22x+1 - 17(2x) = -8 แลว loga (8) เทากับขอใดตอไปนี้
1) -3 2) -1 3) 1 4) 3
20. คําตอบของสมการ x 3 3 x - 31 3 x 2 x = 32 มีคาเทากับเทาใด
21. กําหนดกราฟของสมการ y = 10x พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. มีจุดตัดแกน y หนึ่งจุด ข. เมื่อ x มีคาเปนลบ y มีคาเปนลบดวย
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
22. คาของ log3 (log2 (log5 625)) คือขอใดตอไปนี้
1) log2 3 2) log13 2 3) log
log 2
3 4) log 2
log 3
23. ถา log6 (x - 8) + log6 (x + 8) = 2 แลว x + 1.25 มีคาเทากับเทาใด
24. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. (cos 1)2 < (cos 1)3 ข. 2sin π/6 < 2sin π/3
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
25. ผลบวกของคําตอบของสมการ xlog x = 104 มีคาเทาใด
26. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. log (6) < log 2 + log 3 ข. 61 log2 16 + 61 log 4 = 1
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
27. 2 2 + 2 3 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
12 + 8 - 32
1) -5 - 2 6 2) -5 + 2 6 3) 5 - 2 6 4) 5 + 2 6
BOBBYtutor Mathematic Note

x- y
28. ถา  31  = 81 และ 2x =1
2 แลว y มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) -5 2)-3 3) 3 4) 5
29. กําหนดให log 2 = 0.301 แลว -10 log  51  มีคาเทากับเทาใด

เฉลย
1. 2) 2. 3) 3. 4 4. 1) 5. 3) 6. 3) 7. 4) 8. 4) 9. 0.75 10. 2)
11. 2) 12. 3.39 13. 2) 14. 2) 15. 126 16. 2) 17. 2) 18. 2) 19. 4) 20. 64
21. 2) 22. 4) 23. 11.25 24. 3) 25. 100.01 26. 4) 27. 4) 28 3) 29. 6.99

แบบทดสอบ
1. 1 + 1 + 1 + ... + 1 เทากับเทาใด
1+ 2 2+ 3 3+ 4 8+ 9
2. ถา log3 (x - 24) = 4 - log3 x แลวผลบวกของคําตอบทั้งหมดของสมการมีคาเทาใด
3. ใหชวงปด (a, b) เปนเซตคําตอบของอสมการ log (3x + 4) > log (x - 1) + 1 แลว a + b มีคาเทาใด
4. กําหนดให A เปนเซตคําตอบของอสมการ log4 log3 log2 (x2 + 2x) ≤ 0 จํานวนเต็มที่เปนสมาชิกของ A
มีทั้งหมดกี่จํานวน
5. จงหาผลบวกของเซตคําตอบของสมการ x + 2 = 7 - x - 3
1) -5 2) -2 3) 5 4) 7
6. ถา 27x+y = 36 และ 23x+y = 1 แลวคาของ 3x+1 + 3y-1 คือขอใดตอไปนี้
1) 2 2) 4 3) 6 4) 10
7. เซตคําตอบของสมการ (3x - 3)2 = 3x - 3 คือสับเซตของเซตในขอใด
1) [3, 4] 2) [-4, -3] 3) [1, 2) 4) (2, 3]
8. เซตคําตอบของสมการ 4 ⋅ 32x + 9 ⋅ 22x = 13 ⋅ 6x เปนสับเซตในขอใดตอไปนี้
1) [-4, 0] 2) [-3, 1] 3) [-2, 2] 4) [1, 3]
9. กําหนดให log 2 = a และ log 3 = b คาของ log 45 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 1 + b - 2a 2) 1 + a - 2b 3) 1 - a + 2b 4) 1 - b + 2a
BOBBYtutor Mathematic Note

10. ถา A และ B เปนเซตคําตอบของสมการ (1) และ (2) ตามลําดับดังนี้


log (x - 2) + log (x + 2) - log 5 = 0 ...(1)
(log3 4)(log4 5)(log5 x) = 1 ...(2)
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) A = B 2) A I B = φ
3) A เปนสับเซตแทของ B 4) B เปนสับเซตแทของ A
11. คาของ 2x + 1 จากสมการ log (x - 2) = log x - log 2 ตรงกับขอใด
1) 5 2) 7 3) 9 4) 11
12. กําหนดให a, b เปนคําตอบของสมการ log3 x + 6 logx 3 = 5 โดยที่ a < b
ถา A = {x ∈ I+ | x ∈ [a, b] และ 3 | x} เมื่อ I+ เปนเซตของจํานวนเต็มบวก
แลว A มีจํานวนสมาชิกเทากับเทาใด
1) 6 2) 7 3) 8 4) 19
13. เซตคําตอบของอสมการ log3 (2x2 + x) > 0 ตรงกับเซตใด
1) (-∞, -1) U (0, ∞) 2) (-∞, -1) U  21, ∞ 

3)  -∞, -21  U (0, ∞) 4)  -∞, -21  U  21, ∞ 
14. เซตคําตอบของอสมการ log1/2 x ≤ log1/2 x2 คือเซตในขอใดตอไปนี้
1) (0, 1] 2) [0, 1] 3) [1, ∞) 4) (-∞, 0) I [1, ∞)
15. ถา x, y สอดคลองกับระบบสมการ
log x log y
9 3 +4 2 = 16
log3 x - log1/3 y = 2 - log3 2
แลว | x + y | มีคาเทากับขอใด
1) 3 2) 4 3) 5 4) 6

เฉลย
1. 2 2. 27 3. 3 4. 4 5. 2) 6. 4) 7. 3) 8. 3) 9. 3) 10. 1)
11. 3) 12. 2) 13. 2) 14. 1) 15. 3)
BOBBYtutor Mathematic Note

ตรีโกณมิติ
1. ตรีโกณมิติกับรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
B

c
a

A θ C
b

a2 + b2 = c2
จากรูปสามเหลี่ยม ABC จะพบวา
sin θ = ac cosec θ = sin1 θ = ca
cos θ = bc sec θ = cos1 θ = cb
tan θ = ab cot θ = tan1 θ = ba

2. คาของฟงกชันตรีโกณมิติของมุมขนาดตางๆ
องศา
0 = 0° π π π π
ฟงกชัน 6 = 30° 4 = 45° 3 = 60° 2 = 90°

sin 0 1 2 3 1
2 2 2
cos 1 3 2 1 0
2 2 2
tan 0 1 1 3 หาคาไมได
3
BOBBYtutor Mathematic Note

3. วงกลม 1 หนวย
นิยาม วงกลม 1 หนวย หมายถึง วงกลมที่มีจุดศูนยกลางที่จุด (0, 0) และรัศมี 1 หนวย
y
π
2 (0, 1)
P(x, y)
sin ALL
π θ 0, 2 π x
(-1, 0) (1, 0)
tan cos
3 π (0, -1)
2

สิ่งที่ควรรูจากวงกลม 1 หนวย
1. คา θ เปนความยาวสวนโคง ซึ่งรองรับมุมที่จุดศูนยกลางที่มีขนาด θ เรเดียน
2. จุด P(x, y) ซึ่งเปนจุดบนวงกลม กําหนดคาตรีโกณมิติไดดังนี้ คือ x = cos θ และ y = sin θ
3. จากขอ 2 ทําใหเราสามารถหาคาตรีโกณมิติของมุมตางๆ ไดดังนี้
θ = 0 จะได cos θ = 1 และ sin θ = 0
θ = π2 จะได cos θ = 0 และ sin θ = 1
θ = π จะได cos θ = -1 และ sin θ = 0
θ = 32π จะได cos θ = 0 และ sin θ = -1
4. ใน จตุภาคที่ 1 เปนบวกทุกคาตรีโกณมิติ
จตุภาคที่ 2 คา sin θ และ cosec θ เปนบวกเทานั้น
จตุภาคที่ 3 คา tan θ และ cot θ เปนบวกเทานั้น
จตุภาคที่ 4 คา cos θ และ sec θ เปนบวกเทานั้น
BOBBYtutor Mathematic Note

4. สรุปการหาคาของฟงกชันตรีโกณมิติของมุมในจตุภาคตางๆ
กรณีที่จุดมุมมีคาเปนบวก (หมุนทวนเข็มนาฬิกา)
π
2

sin ALL
π 0, 2 π
tan cos


2
กรณีที่จุดมุมมีคาเปนลบ (หมุนตามเข็มนาฬิกา)
- 32π

sin ALL 0, - 2 π

tan cos

- π2

วิธีทํา 1. ใหดูวาตกจตุภาคใด
2. ใหพิจารณาดูวาฟงกชันตรีโกณมิตินั้นมีคาเปน + หรือ - ในจตุภาคนั้น
3. ใหดูวาจุดมุมที่ใชนั้นเปนแนวนอน (0, π, 2π, 3π, ...) หรือแนวตั้ง  π2 , 32π, 52π, ... 
ถาเปน แนวนอน → ใชฟงกชันเดิม
แนวตั้ง → กลับเปน co-funtion
sin θ → cos θ (cosin θ)
sec θ → cosec θ
tan θ → cot θ (cotan θ)
BOBBYtutor Mathematic Note

4. อานฟงกชันตาม θ ที่โจทยกําหนด
เชน sin  π + π3  = -sin π3 = 2
3
Q 3
cos (2π - θ)Q4 = +cos θ
sin  π2 + π6  = +cos π6 = 2
3
Q2

cos  32π - θ  = -sin θ


Q3

sin  -π - π3  = +sin π3 = 2


3
Q2
cos  -π2 + π6  = +sin π6 = 21 เปนตน
Q4
สิ่งที่ควรจํา
cos (-θ) = cos θ
sin (-θ) = -sin θ

ตัวอยางที่ 1 จงหาคาของ 3 sin 256π - 3 tan 13π + 2 cos 19 π


4 3
วิธีทํา
3 sin 256π - 3 tan 134π + 2 cos 193π = 3 sin  4 π + π6  - 3 tan  3π + π4  + 2 cos  6 π + π3 
= 3 sin π6 - 3 tan π4 + 2 cos π3
= 3 21  - 3(1) + 2 21 
= - 21

ตัวอยางที่ 2 จงหาคาของ cos 300° + sin 450° + tan 495°


วิธีทํา cos 300° + sin 450° + tan 495° = cos (360° - 60°) + sin 450° + tan (540° - 45°)
= cos 60° + sin 450° - tan 45°
= 21 + 1 – 1
= 21
(หมายเหตุ ; 450° เปนจุดมุมซึ่งสามารถอานคาไดเลย)
BOBBYtutor Mathematic Note

ตัวอยางที่ 3 จงหาคาของ sin (180° + A) + cos (270° - A) + sin (A - 90°) + cos (-A - 270°)
วิธีทํา จากโจทยสามารถจัดรูปใหมไดดังนี้
sin (180° + A) + cos (270° - A) + sin (-90° + A) + cos (-270° - A) = sin A - sin A - cos A + cos A
= 0
5. สมการเอกลักษณที่แสดงความสัมพันธระหวางฟงกชันตรีโกณมิติ
sin2 θ + cos2 θ = 1
tan2 θ + 1 = sec2 θ เมื่อ cos θ ≠ 0 (เกิดจากการนํา cos2 θ หารตลอด)
1 + cot2 θ = cosec2 θ เมือ่ sin θ ≠ 0 (เกิดจากการนํา sin2 θ หารตลอด)

6. กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
ฟงกชันตรีโกณมิติเปนฟงกชันระยะคาบ
ระยะคาบ หมายถึง ชวงสั้นที่สุดที่กราฟจะซํ้ารูปเดิม
แอมพลิจูด คือ คาครึ่งหนึ่งของผลตางระหวางคาสูงสุดและคาตํ่าสุดของฟงกชัน
กราฟของฟงกชันไซน
sine = {(x, y) ∈ R × R | y = sin x}
y = sin x เมื่อเขียนกราฟจะไดกราฟที่เปนกราฟตอเนื่อง
y
1
y = sin x
x
-2 π -3 π -π -π 0 π π 3 π 2 π
2 2 2 2
-1
ลักษณะกราฟฟงกชันไซน จะประกอบดวยสวนที่สําคัญ ดังนี้
1. โดเมนของฟงกชันไซน คือ เซตของจํานวนจริง
2. เรนจของฟงกชันไซน คือ ชวง [-1, 1] นั่นคือ -1 ≤ sin x ≤ 1
3. ฟงกชันไซนไมใชฟงกชัน 1-1 แตถาเราคิดเฉพาะภายในชวง - π2 ถึง π2 ฟงกชันไซนภายในชวงนี้ก็จะเปน
ฟงกชัน 1-1
BOBBYtutor Mathematic Note

กราฟของฟงกชันโคไซน
cosine = {(x, y) ∈ R × R | y = cos x}
y = cos x เมื่อเขียนกราฟจะไดกราฟที่เปนกราฟตอเนื่อง
y
1
y = cos x
x
-2 π -3 π -π -π 0 π π 3π 2π
2 2 2 2
-1

ลักษณะกราฟฟงกชันโคไซน จะประกอบดวยสวนที่สําคัญ ดังนี้


1. โดเมนของฟงกชันโคไซน คือ เซตของจํานวนจริง
2. เรนจของฟงกชันโคไซน คือ ชวง [-1, 1] นั่นคือ -1 ≤ cos x ≤ 1
3. ฟงกชันโคไซนไมใชฟงกชัน 1-1 แตถาเราคิดเฉพาะภายในชวง 0 ถึง π ฟงกชันโคไซนภายในชวงนี้เปน
ฟงกชัน 1-1

ตัวอยางขอสอบ
1. ให 0 < θ < π2 ถา 9 cot2 θ = 18 cosec θ - 14 แลว sin θ + cos θ + tan θ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 1541 43
2) 15 41
3) 20 43
4) 20
2. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. sin θ + sin ( π2 + θ) + sin (π + θ) + sin ( 32π + θ) = 0
ข. tan x < cot x เมื่อ 0 < x < π4
ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
1 + 1 = 8 โดยที่ π < x < 3π แลว sin x + cos 2x + tan 3x มีคาเทากับขอใด
3. ถา 1 - sin x 1 + sin x 2
ตอไปนี้
1) 32- 1 2) 32+ 1 3) - 32 - 1 4) - 32 + 1
4. คาของ θ ในชวงใดตอไปนี้ ทําให sec θ - cos θ ≤ 0
1)  0, 23π  2)  π2 , 54π  3)  π, 53π  4)  32π, 2 π 
BOBBYtutor Mathematic Note

5. ถา 9 sin3 θ + 18 sin2 θ - sin θ = 2 แลว 2 tan2 θ มีคาเทากับเทาใด


6. ให x เปนจํานวนจริง ซึ่ง 0 ≤ x ≤ 2π ชวงที่ทําให sec x - tan x > 0 และ sec x + tan x > 0 คือชวงใน
ขอใดตอไปนี้
1) (0, π) 2)  π2 , 32π 
3)  0, π2  U  π, 32π  4)  0, π2  U  32π , 2 π 
 sin x
 เมื่อ 0 < x ≤ π2
7. กําหนดให f(x) = 
cosec x

เมื่อ π2 < x < π
cos x
 เมื่อ 0 < x ≤ π2
และ g(x) = 
 tan x

เมื่อ π2 < x < π
เมื่อพิจารณา f และ g บนชวง (0, π) ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) f เทานั้นที่เปนฟงกชันเพิ่ม 2) g เทานั้นที่เปนฟงกชันลด
3) f และ g เปนฟงกชันเพิ่มทั้งคู 4) f และ g เปนฟงกชันลดทั้งคู
7 π 7 π
4 sin 3 sec 6 + tan 4 cosec 2 3 π 3 π
tan 74π - 1
8. คาของ เทากับขอใดตอไปนี้

1) -52 2) -32 3) 32 4) 52
9. ถา sin θ = - 21 และ cos θ < 0 แลว tan θ - sec θ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 1 2) 2 3) 3 4) 5
3 3 3 3
10. กําหนดใหรูปสามเหลี่ยม ABC มี ABC $ = 30° และ ACB
$ = 45° ถาให BC เปนฐานแลว ∆ ABC จะมีสวนสูง
เทากับ 2 หนวย พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม ABC มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ตารางหนวย)
1) 1 + 33 2) 1 + 2 3 3 3) 3 4) 1 + 3
11. กําหนดให y1 = sin x และ y2 = cos x เมื่อ x ∈ [0, 2π] ชวงในขอใดตอไปนี้ที่ทําให y1 < 0 และ y2 < 0
ตลอดชวง
1)  π4 , 34π  2)  34π, 54π  3)  54π, 32π  4)  32π, 74π 
12. ผลบวกของคําตอบของสมการ 2 cos θ + 1 = sec θ เมื่อ 0 ≤ θ ≤ π คือขอใดตอไปนี้
1) π3 2) 23π 3) π 4) 43π
13. ถา ABC เปนสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งมี A เปนมุมฉาก และ tan B = 34 แลว คาของ sec C cot B cosec A
คือขอใดตอไปนี้
1) 0 2) 209 3) 45 4) 209
BOBBYtutor Mathematic Note

14. กําหนด T เปนจุดบน PQ ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส PQRS ดังรูป ถา TQ มีความยาว 2 หนวย และมุม RTQ
เทากับ 60° แลวพื้นที่ของสี่เหลี่ยม PQRS เทากับขอใดตอไปนี้
S R

60o Q
P T
2
1) 2 3 ตารางหนวย 2) 2 3 3 ตารางหนวย 3) 12 ตารางหนวย 4) 8 ตารางหนวย
15. ให Q(0, 0) เปนจุดศูนยกลางของวงกลม ซึ่งมีรัศมี a หนวย l เปนเสนตรงที่ลากผานจุด Q และทํามุมกับแกน x
เปนมุม θ ในทิศทางบวก จุดที่ l ตัดกับวงกลม คือขอใดตอไปนี้
1) (cos θ, sin θ) กับ (-cos θ, -sin θ) 2) (a cos θ, a sin θ) กับ (-a cos θ, -a sin θ)
3) (sin θ, cos θ) กับ (-sin θ, -cos θ) 4) (a sin θ, a cos θ) กับ (-a sin θ, -a cos θ)
16. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABD ซึ่งมีมุม ABD = 30°, มุม ADB = 60° ดังรูป และดาน AC ตั้งฉากกับดาน BD
โดยที่ BC ยาว 12 หนวย พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABD คือขอใดตอไปนี้
A

B 30o 60o D
C
1) 16 3 ตารางหนวย 2) 21 3 ตารางหนวย
3) 28 3 ตารางหนวย 4) 32 3 ตารางหนวย
17. ให sin  2x + π3  = -cos π6 , 0 ≤ x < π ถา π = 3.14 แลว x มีคาเทากับเทาใด โดยกําหนดคาของฟงกชัน

sin  π2 + θ  = cos θ, sin  π2 - θ  = cos θ

cos  π2 + θ  = -sin θ, cos  π2 - θ  = sin θ


18. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. 3 sin θ > 2 cos θ เมื่อ 32π ≤ θ ≤ 2π
ข. sin θ = cos θ เมื่อ θ = 54π
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
BOBBYtutor Mathematic Note

19. กําหนดให cot θ = 2 และ sin θ < 0 แลว cos θ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้


1) 2 2) -2 3) 25 4) -25
5 5
20. กําหนดให ABC เปนสามเหลี่ยมหนาจั่ว โดยที่มุม ACB = 120° และดาน AC = BC ดังรูป
A

120 o
C B
ลากเสนจาก A มาตั้งฉากกับดาน BC ที่ตอออกไปที่จุด D ถา AD ยาว 3 หนวย แลวความยาวของเสนรอบรูป
ของสามเหลี่ยม ABC เทากับขอใดตอไปนี้
1) 32 + 3 3 2) 6 + 3 3 3) 32 + 4 3 4) 6 + 4 3

เฉลย
1. 4) 2. 1) 3. 3) 4. 2) 5. 0.25 6. 4) 7. 1) 8. 3) 9. 3) 10. 4)
11. 3) 12. 4) 13. 4) 14. 3) 15. 2) 16. 4) 17. 1.57 18. 3) 19. 2) 20. 4)

แบบทดสอบ
θ - 3 cos ( π - θ)
1. ถา 4 tan θ = 3 คาของ 5 sin6 cos θ - 3 sin θ เทากับเทาใด
2. กําหนดให 0 ≤ θ ≤ π2 จงหาคาของ sec θ เมื่อ θ สอดคลองกับสมการ 2 tan2 θ - sec θ = 1
3. คาของ cos 76π  sin 53π - 2 sin 83π  เทากับเทาใด
1) - 94 2) - 34 3) 34 4) 94
4. sin  π2 - π3   sec π3 - sin  π2 + π3   มีคาอยูในชวงใด
1) (-2, -0.5) 2) [-0.5, 0) 3) [0, 0.5) 4) [0.5, 2)
o ) + tan (-405o )
5. คาของ 2 sin (-330
cot 2 225o ตรงกับขอใด
1) 0 2) -2 3) - 3 - 1 4) 3 -1
6. คาของ sin 210° tan 225° + cos 300° cot 315° เทากับเทาใด
1) 2 2) 1 3) 0 4) -1
BOBBYtutor Mathematic Note

7. ถา sin θ1 + 1 - sin 1θ - 1 = 4 เมื่อ 0 < θ < π2 แลว sin θ sec (θ - π) มีคาเทากับเทาใด
1) -2 2) -1 3) 1 4) 2
8. ถา sin (2π - θ) - sin(π - θ) = 1 แลวขอใดตอไปนี้คือคาของ cos2 θ
1) 41 2) 21 3) 34 4) 1
9. กําหนดให sin x = 135 และ cos x = - 12 13 คา sin (x - π) + cos (x - π) คือขอใดตอไปนี้
1) - 17
13 2) 137 3) - 137 4) 17
13
10. คาของ θ ซึ่งทําให sin θ + cos θ ≤ 0 จะอยูในชวงใด
1) [0, π] 2)  π2 , 32π  3)  34π, 74π  4) [π, 2π]
11. ถา θ เปนจํานวนจริงใดๆ แลว (sec θ - tan θ)(sec θ + tan θ)2 มีคาตรงกับขอใด
- sin θ
1) 1 cos 2) 1 cos+ sin θ 3) 1 -sincosθ θ 4) 1 +sincosθ θ
θ θ
θ + cos θ)2 - 1
12. (sin
tan θ - sin θ cos θ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 2 cot2 θ 2) 2 cot θ 3) 2 cos2 θ sec2 θ 4) 2 cos θ cosec θ
13. ถา cosec θ + cot θ = 53 แลว sin θ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 3430 15
2) 34 3) 25 4) 15
30 30
14. กําหนดให AOC เปนสามเหลี่ยมมุมฉากดังรูป โดยที่มุม AOC = 60° และดาน AC ยาว 8 หนวย ถา B เปนจุด
บนสวนของเสนตรง AC โดยที่เสนตรง BO แบงครึ่งมุม AOC แลวขอใดตอไปนี้เปนความยาวของเสนตรง BC
C
1) 2
8
2) 4
3) 83
60 o 4) 163
A O
15. จากรูปกําหนดใหมุม ABC = 45° มุม ACB = 120° ดาน BC ยาว 40 หนวย ดาน AD ตั้งฉากกับดาน BD
ขอใดตอไปนี้เปนความยาวของดาน AD
A
1) 20(3 + 3 ) หนวย
2) 20(1 + 3 ) หนวย
3) 20(3 - 3 ) หนวย
o o 4) 20(1 - 3 ) หนวย
B 45 120C D
40
BOBBYtutor Mathematic Note

เฉลย
1. 1.8 2. 1.5 3. 4) 4. 4) 5. 1) 6. 4) 7. 2) 8. 3) 9. 3) 10. 3)
11. 2) 12. 1) 13. 1) 14. 4) 15. 1)

เมตริกซ
1. สัญลักษณของเมตริกซ
เมตริกซ คือ ชุดของตัวเลขที่เปนจํานวนเชิงซอนหรือจํานวนจริงใดๆ ที่จัดเรียงกันอยูเปนลักษณะรูปสี่เหลี่ยม-
ผืนผา และถูกปดลอมดวย [ ] หรือ ( )
 a 11 a12 ... a 1n  แถว 1

 a 21 a 22 ... a 2n  แถว 2
A = M M M  M
 
 a m1 a m2 a mn  แถว m
หลัก 1 หลัก 2 ... หลัก n

2. เมตริกซชนิดตางๆ ที่ควรรู

1  2 1 2 3 
1. เมตริกซจัตุรัส คือ เมตริกซที่จํานวนแถวเทากับจํานวนหลัก เชน 3 
4  ,  4 5 6

 7 8 9 
สําหรับเมตริกซจัตุรัส เราจะเรียกสมาชิกในแนวเสนทแยงมุมจากซายลงมาขวาลางวาเปนเสนทแยงมุมหลัก
2. เมตริกซเอกลักษณ คือ เมตริกซที่สมาชิกทุกตัวบนเสนทแยงมุมหลักของเมตริกซจัตุรัสเปน 1 สวนสมาชิก
 
1 0 1 0 0 
ที่เหลือเปน 0 เขียนแทนดวย I เชน I2×2 = 
0 1 , I3×3 = 0 1 0 
0 0 1

3. ทรานสโพสของเมตริกซ (At)
ทรานสโพสของเมตริกซ A คือ เมตริกซที่เกิดจากการสลับสมาชิกระหวางแถวและหลักของเมตริกซ เชน

1 2 3 1 4 
A = 
4 5 6  → At = 2 5


3 6 
BOBBYtutor Mathematic Note

4. การเทากันของเมตริกซ
บทนิยาม ถา A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n
A = B ก็ตอเมื่อ aij = bij ทุกๆ คาของ i และ j
จากบทนิยามสามารถสรุปไดวา เมตริกซ 2 เมตริกซเทากันไดจะตองประกอบดวยเงื่อนไข 2 เงื่อนไข คือ
1. เมตริกซทั้งสองจะตองมีมิติที่เทากัน
2. สมาชิกในตําแหนงเดียวกันจะตองเทากัน
1 2   1 x + 2
  = 
เชน
3 4   y + 4 4 
∴ x+2 = 2 ⇒ x = 0
y+4 = 3 ⇒ y = -1
5. การบวกและการลบเมตริกซ
บทนิยาม ถา A = [aij]m×n และ B = [bij]m×n
จะไดวา ถา A + B = [cij]m×n โดยที่ cij = aij + bij
A - B = [cij]m×n โดยที่ cij = aij - bij
จากบทนิยามสามารถสรุปไดวา เมตริกซ 2 เมตริกซ จะบวกหรือลบก็ไดจะตองประกอบดวยเงื่อนไข 2 เงื่อนไข
คือ
1. เมตริกซทั้งสองจะตองมีมิติเทากัน
2. สมาชิกที่เปนผลลัพธนั้นเกิดจากการนําสมาชิกในเมตริกซ A และ B มาบวกหรือลบกัน แตตองเปนสมาชิกที่
อยูในตําแหนงเดียวกันทั้งหมด เชน
1 2  0 - 2  1 0 
  +   = 

3 4  3 1 
6 5 
สมบัติเกี่ยวกับการบวกเมตริกซ
ถา A, B และ C เปน m × n เมตริกซ จะไดวา
1. A + B เปน m × n เมตริกซ (ปดสําหรับการบวก)
2. (A + B) + C = A + (B + C) (เปลี่ยนกลุมได)
3. A + 0 = A = 0 + A (เอกลักษณการบวก)
4. A + (-A) = 0 (อินเวอรสการบวก)
5. A + B = B + A (สลับที่การบวก)
6. การคูณเมตริกซดวยจํานวนจริง
บทนิยาม ถา A = [aij]m×n และ C เปนจํานวนจริงใดๆ จะไดวา cA = [caij]m×n
จากบทนิยามจะเห็นวา การนําจํานวนจริงคูณกับเมตริกซ ก็คือการนําจํานวนจริงคูณกับสมาชิกของเมตริกซทุกตัว
1 2  2 4  - 1 - 2 
นั่นเอง เชน A = 3 4  , 2A = 6 8  , -A = - 3 - 4 
     
BOBBYtutor Mathematic Note

7. การคูณเมตริกซดวยเมตริกซ
เมตริกซสองเมตริกซจะคูณกันไดก็ตอเมื่อ จํานวนหลักของตัวตั้งจะตองเทากับจํานวนแถวของเมตริกซตัวคูณ
เชน A 2 × 3 ⋅ B 3 × 4
เทากัน
1 2  - 1 3  (1)(-1) + (2)(2) (1)(3) + (2)(5)
    = 
เชน

3 4   2 5  
(3)(-1) + (4)(2) (3)(3) + (4)(5)
 
3 13 
= 5 29 
 

สมบัติเกี่ยวกับการคูณเมตริกซดวยเมตริกซ
1. AB เปนเมตริกซ เมื่อ A และ B คูณกันได (ปดการคูณ)
2. (AB)C = A(BC) (เปลี่ยนกลุมได)
3. A(B + C) = AB + AC
(B + C)A = BA + CA (การแจกแจง)
4. AI = A = IA (เอกลักษณ)
-1 -1
5. AA = A A = I (อินเวอรส)
6. AB ไมจําเปนตองเทากับ BA
ขอสังเกต
สมบัติบางประการที่สําคัญในการบวกเมตริกซ การคูณเมตริกซดวยจํานวนจริง และการคูณเมตริกซดวยเมตริกซ
1. (At)t = A
2. (cA)t = (cAt)
3. (A ± B)t = At ± Bt
4. ถา A + B = A + C จะได B = C
5. (AB)t = Bt At
6. ถา AB = 0 ไมจําเปนที่ A = 0 หรือ B = 0
7. ถา AB = AC ไมจําเปนที่ B = C
8. A2 = AA, A3 = A2 A, ...
BOBBYtutor Mathematic Note

8. อินเวอรสการคูณ
a b  d - b
A = c d  จะได A-1 = ad -1 bc - c d 
   

1 2   4 - 2
เชน A = 3 4  A-1 = (1)(4) -1 (2)(3) - 3 1 
   
 4 - 2
= -12 - 3 1 
 
- 2 1
=  3 
 2

- 21 
หมายเหตุ
1. เมตริกซจัตุรัสที่มี ad - bc = 0 จะไมมีอินเวอรสการคูณ เรียกเมตริกซลักษณะเชนนี้วา เมตริกซเอกฐาน
(Singular Matrix)
2. เมตริกซจัตุรัสที่มี ad - bc ≠ 0 จะมีอินเวอรสการคูณ เรียกเมตริกซลกั ษณะเชนนีว้ า เมตริกซไมเอกฐาน
(Non-Singular Matrix)
สมบัติของอินเวอรสการคูณ
1. (AB)-1 = B-1 A-1
2. (A-1)-1 = A
3. A-1 = AI
4. AB = AC = I แลว B = C = A-1
5. (At)-1 = (A-1)t
6. (Am)-1 = (A-1)m
9. ดีเทอรมินันต (det)
1. เมตริกซ 1 × 1
A = [a] แลว det A = a
2. เมตริกซ 2 × 2
-
a b a b
A = c d  และ det A = c d = ad - bc
 
+
BOBBYtutor Mathematic Note

3. เมตริกซ 3 × 3
- --

a b c  a b c a b
A= d e f และ det A = d e f d e

g h i  g h i g h
+ + +
สมบัติของดีเทอรมินันตที่สําคัญ
1. det (At) = det A
2. det (AB) = det A ⋅ det B
3. det (An) = (det A)n
4. det (A-1) = det1 A
5. det (cA) = cn det A
6. det (I) = 1
10. การแกระบบสมการ
กําหนดให a1x + b1y = c1
a2x + b2y = c2
เขียนในรูปเมตริกซได
 a 1 b1   x  c 1 
    =  
 a 2 b 2   y  c 2 
↓ ↓ ↓
A X B
วิธีที่ 1 หาไดจาก X = A-1B
หมายเหตุ
1. ถา A เปนเมตริกซเอกฐาน (det = 0) ระบบสมการนี้จะมีคําตอบเพียงคําตอบเดียว
2. ถา A เปนเมตริกซไมเอกฐาน (det ≠ 0) แลวระบบสมการนี้จะมีคําตอบจํานวนมากมายไมจํากัด หรือระบบ
สมการไมมีคําตอบ
วิธีที่ 2 ใชกฎคราเมอร
c 1 b1 a 1 c1
c b a c
x = 2|A| 2 y = 2|A| 2 เมื่อ | A | ≠ 0
วิธีที่ 3 แกระบบสมการเชิงเสน 2 ตัวแปร ธรรมดา
BOBBYtutor Mathematic Note

ตัวอยางขอสอบ
 x -1 
1. กําหนดเมตริกซ A = 1 -x  ถา a, b เปนคําตอบของสมการ det (2A2) + (1 - x2)3 det (A-1) = 45
 

โดย a > b แลว 2a – b มีคาเทากับเทาใด


 +
1 x 1 
2. ให x เปนจํานวนจริงบวก และ A เปนเมตริกซ โดยที่ A =  

 1 1 + x 
ถา det  21 A 2  = 16 แลว det[8A-1 + 2At] มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 40 2) 42 3) 80 4) 82
3. กําหนดเมตริกซ A, B ดังนี้
 1 3 x + 1 1 
A = - 2 4  , B =  2 3 - x  โดยที่ x เปนจํานวนจริง
   

ผลบวกของ x ทั้งหมดที่ทําให det  101 B = det [(A2)–1] มีคาเทากับเทาใด


0 - 2 
4. ให A และ B เปนเมตริกซ ซึ่ง A = 1 a  , a เปนจํานวนจริงบวก ถา BA = A-1 และ det (4B – I) = 0
 

แลว a มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 1 2) 2 3) 3 4) 4
 1 - 1  1 2
5. กําหนดให A = - 3 2  และ B = - 1 1 แลว det [5(A-1 + Bt)] มีคาเทากับเทาใด
 
 2 
6. ให A, B และ C เปนเมตริกซมิติ 2 × 2 และ I เปนเมตริกซเอกลักษณมิติ 2 × 2 ถา det A = det B = 3
และ det  At B - 21 At BC  = -27 แลว det (C - 2I) เทากับขอใดตอไปนี้
1) -6 2) 6 3) -12 4) 12
1 6 5 - 3 
7. กําหนดให A = 5 - 5  และ B = 3 9  แลว det [3(At + B)-1] เทากับขอใดตอไปนี้
   
1) 0.5 2) 1 3) 1.5 4) 3
BOBBYtutor Mathematic Note

8. ถา A = {1, 2, 3, 4, 5} และ B = {-2, -1, 1, 2}


  3  
ถา S = (a, b) ∈ A × B  b 2 + b  เปนเมตริกซเอกฐาน 
b a 
  
S เปนสับเซตของขอใดตอไปนี้
1) {(1, -1), (1, -2), (1, 2), (3, 1)} 2) {(1, -2), (1, 2), (3, 1), (3, 2)}
3) {(1, -1), (1, -2), (3, 1), (3, 2)} 4) {(1, 2), (2, 1), (2, 2), (3, 1)}
2 0 a b 
9. กําหนดให A = 0 - 1  และ B = c d  โดยที่ a, b, c, d เปนจํานวนจริง ถา A + B = AB แลว
   
det  21 B  มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) - 41 2) - 21 3) 41 4) 21
1 2  a 1 
10. กําหนดให A = 3 4  และ B = 0 b  โดยที่ a, b เปนจํานวนจริง ซึ่ง a > b ถา det (AB-1) = 25 และ
   
t
a + b = 4 แลว det (A + B ) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) -10 2) -7 3) 7 4) 10
x y x -3
11. ให A, B แทนเมตริกซ และ x, y เปนจํานวนจริง ซึง่ ทําให det (A) = 2 3 = 10 และ det (B) = y - 5 = 7
แลว x + y มีคาเทากับกับขอใดตอไปนี้
1) -115 2) -105 3) 27 4) 45
 1 2 3 2  a b 
12. ให A = - 1 0  , B = 1 0  และ C = c d  เมื่อ a, b, c, d เปนจํานวนจริง ถา ACt = B แลว ขอใด
     
ตอไปนี้เปนจริง
1) det (C) = -1 โดยที่ a2 + c2 = 1 2) det (C) = -1 โดยที่ a2 + c2 = 2
3) det (C) = 1 โดยที่ a2 + c2 = 1 4) det (C) = 1 โดยที่ a2 + c2 = 2
 x 1
13. กําหนดให A = - 2 1 โดยที่ x เปนจํานวนจริง ถา det (A-1) = 21 แลว 4A-1 คือเมตริกซในขอใดตอไปนี้
 
2 - 2  2 - 2  0 - 2  0 - 2 
1)  2 0  2)  4 0  3)  2 2  4)  4 2 
       
x 0
14. ถา A = 1 - x  โดยที่ x เปนจํานวนจริง และ det (A + At) = -9 แลว det (2A-1) เทากับขอใดตอไปนี้
 
1) -2 2) -1 3) 1 4) 2
BOBBYtutor Mathematic Note

1 1  a b  1 2
15. กําหนดให 0 1  c d  = 3 - 1 แลว a + b + c + d มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
     
1) 1 2) 2 3) 3 4) 4
 2 2
16. ถา A + I = - 1 0  เมื่อ I เปนเมตริกซเอกลักษณแลว สมาชิกของ A-1 ที่อยูในแถวที่หนึ่งหลักที่สองคือ
 
ขอใดตอไปนี้
1) -1 2) -2 3) 2 4) 0
x 3 y -x
17. กําหนดให y 1 = -1 และ - 3 5 = 3 คาของ x + y + 2.45 เทากับเทาใด

18. ให A, B และ C เปนเมตริกซซึ่งมิใชเอกฐานมิติ 2 × 2 พิจารณาขอความตอไปนี้


ก. ถา det (B - C) = 0 แลว det B = det C
ข. ถา det (A-1B) = det C แลว det B = det (AC)
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
0 a  6 1
19. ให a และ b เปนจํานวนจริง และเมตริกซ A = 1 b  ถา A-1 =  4 0  แลว คาของ a + b2 เทากับเทาใด
   
60 20  5 0 
20. ถา A เปน 2 × 2 เมตริกซ ซึ่งมิใชเอกฐาน และถา 30 A = 
40  0 5  แลว A-1 คือเมตริกซในขอใด
  
ตอไปนี้
6 2   9 - 18  12 4 12 20 
1) 3 4  2) - 12 6  3) 
8  4) 30 8 
     6  

 tan θ -1  1 1 
  และ B =   แลว det (AB) คือขอใดตอไปนี้
21. ถา A =
 1 cos θ - 1 - sin θ 
1) sin2 θ 2) cos2 θ 3) 2 cos θ 4) 2 sin θ
22. กําหนดระบบสมการ
x y
-2 3 = 3
x 3
y 0.5 = 7
x - y มีคาเทากับเทาใด
BOBBYtutor Mathematic Note

เฉลย
1. 6 2. 3) 3. 2 4. 3) 5. 250 6. 3) 7. 3) 8. 1) 9. 3) 10. 4)
11. 1) 12. 1) 13. 2) 14. 1) 15. 3) 16. 2) 17. 1.45 18. 3) 19. 2.5 20. 3)
21. 2) 22. 4.25

แบบทดสอบ
1. ให A, B และ C เปนเมตริกซขนาด n × n ขอความใดตอไปนี้เปนจริงเสมอ
1) (A - B)(A + B) = A2 - B2 2) ถา AB = AC แลว B = C
3) ถา AB = 0 แลว A = 0 หรือ B = 0 4) ((At)t)t = At
1 - 1 2  A 1 b11 b12 b13  B1
2. กําหนดให A = 2 1 3  A 2 และ B = b 21 b 22 b 23  B 2
3 0 4  A 3 b31 b32 b33  B 3
   
B เปนเมตริกซที่ไดจาก A โดยการดําเนินการดังนี้ B1 = A1 และ B2 = A2 - 2A1 , B3 = A3 - 3A1
คาของ b23 + b33 เทากับจํานวนในขอใดตอไปนี้
1) -3 2) -1 3) 1 4) 3
cos θ sin θ 
3. กําหนดให A = sin θ -cos θ , I = 0 1 และ B = A2 + (A-1)2 + 2I ดังนั้น (A-1)2 B มีคาตรงกับ
10
   
ขอใดตอไปนี้
1) 2I 2) 4I 3) 4A 4) 8A
-1 3
4. กําหนดให A = 21 - 3 -1 ถา B เปนเมตริกซ 2 × 2 ที่สอดคลองสมการ BA-1 = At แลว B คือ
 
เมตริกซในขอใดตอไปนี้
1) 1 0  2) -1 0  3) 0 1 4) -1 1 
01 0 -1 10 1 -1
       
a b
5. กําหนด A = 1 6  , X = c d  และ B = 6 3  ถา AX = B แลวคาของ c d เทากับเทาใด
1 3 a b 5 0
     

1) -5 2) -3 3) 3 4) 5
BOBBYtutor Mathematic Note

6. กําหนดให A = 2 5  , I = 0 1 x เปนสเกลาร ถา C = A-1 - xI และ det (C) = 0 แลว x มีคา เทากับ
37 10
   
ขอใดตอไปนี้
1) 31 2) 51 3) 4 ± 15 4) ± 60
7. ถา A =  3 -1  แลว det (-2A3At(A + At)) เทากับขอใดตอไปนี้
-1 1
 
1) 768 2) -768 3) 384 4) -384
8. ถา A = 1 - x  โดยที่ x เปนจํานวนจริง และ det (A + At) = -13 แลว det (3A-1) เทากับเทาใด
x 0
 
1) -4 2) -3 3) -2 4) -1

9. กําหนดให A = -3 1 โดยที่ x เปนจํานวนจริง ถา det (A-1) = 51 แลว 2A-1 คือเมตริกซในขอใด
x 1
 

1) 25  2 3  2) 25  3 2  3) 25  2 3  4) 25 3 2 
-1 1 -1 1 1 -1 1 -1
       

10. กําหนดให A =  2 -1 และ B = 1 -2  ถา det (AB + B) = 84 แลว y มีคาเทาใด
1 3 4 y
   
1) 5 2) 6 3) 7 4) 8
  x 2 - x 1 
 
11. ให f(x) = det  0 1 2   ถาชวง [a, b] เปนเซตคําตอบของอสมการ f(x) ≥ -2 แลว | a - b | คือ
 
 x 1 1  

ขอใด
1) 31 2) 23 3) 43 4) 53
12. ถา A, B และ C เปนเมตริกซมิติ 3 × 3 ถา det (A) = -3 และ AtB - 2AtCt = -3A-1 แลว det (2C - Bt)
เทากับขอใดตอไปนี้
1) -3 2) -1 3) 1 4) 3
13. ถา A =  2 0  และ B เปนเมตริกซซึ่ง BA = A-1 และ 2B - 2A-1 + I = 0 แลวเมตริกซ B ตรงกับขอใด
a -1
 

1) 21 -2 1 3) 21  1 1  4) 21 -1 1 


-1 1 -1 - 2 -1 2
2) 21 -1 -1
     
BOBBYtutor Mathematic Note

14. จากระบบสมการ 3x - y - 5 = 0
2x + y - 3z = 4
x + 3z - 1 = 0
สามารถเขียนเปนเมตริกซของสัมประสิทธิ์ ตัวแปร และคาคงตัวไดตรงกับเมตริกซในขอใด
3 -1 -5 0  3 -1 0 -5  3 -1 0 -5  3 -1 0 5 
     
1)  2 1 -3 4  2)  2 1 -3 4  3)  2 1 -3 4  4)  2 1 -3 4 
1 3 -1 0  1 0 3 -1  1 0 3 -1  1 0 3 1 
15. ถาเมตริกซของสัมประสิทธิ์ของตัวแปร x, y, z และคาคงตัวของระบบสมการเชิงเสนระบบหนึ่งเขียนเปน

- 4 1 1 0 
 6 0 - 1 - 7  คาสัมบูรณของ x เทากับเทาใด

 0 0 5 5 

เฉลย
1. 4) 2. 1) 3. 2) 4. 3) 5. 4) 6. 3) 7. 2) 8. 2) 9. 4) 10. 2)
11. 4) 12. 4) 13. 1) 14. 4) 15. 1
BOBBYtutor Mathematic Note

สถิติ
1. ความหมาย
สถิติ หมายถึง ตัวเลขทีใ่ ชแทนขอเท็จจริง หรือขอมูลทีเ่ ปลีย่ นแปลงหรือแปรเปลีย่ นไป แตตอ งเปนตัวเลขรวบยอด
ซึ่งประมวลมาไดจากขอมูลเบื้องตนโดยการวิเคราะหคํานวณ
สถิติ หมายถึง ศาสตรซึ่งเปนทั้งวิทยาศาสตรและศิลปะที่เกี่ยวของกับระเบียบวิธีทางสถิติ ดังนี้
1. การเก็บรวบรวมขอมูล
2. การนําเสนอขอมูล
3. การวิเคราะหขอมูล
4. การตีความหมายขอมูล
ขอมูลสถิติ หรือขอมูล หมายถึง ขอเท็จจริงที่เปนตัวเลขหรือไมเปนตัวเลขซึ่งเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งเรื่องใดที่เราสนใจ
ศึกษา
2. ประเภทของขอมูล
1. ขอมูลปฐมภูมิ ไดแก การสํารวจ การสัมภาษณ การสังเกต การใชแบบสอบถาม การทดลอง
2. ขอมูลทุติยภูมิ ไดแก ทะเบียนประวัติ รายงานตางๆ บทความ
3. การจําแนกขอมูล
1. ขอมูลเชิงคุณภาพ
2. ขอมูลเชิงปริมาณ
3. ขอมูลตามกาลเวลา
4. ขอมูลตามสภาพภูมิศาสตร
4. การนําเสนอขอมูล
1. การนําเสนอขอมูลอยางไมเปนแบบแผน ไดแก
ก. รูปบทความ
ข. รูปบทความกึ่งตาราง
2. การนําเสนออยางเปนแบบแผน
ก. ตาราง
ข. แผนภูมิ แผนภาพ
ค. กราฟ นิยมใชกับขอมูลในรูปในอนุกรมเวลา
BOBBYtutor Mathematic Note

5. การวิเคราะหขอมูล
การวิเคราะหขอมูล คือ การแยกขอมูลที่ไดมาเปนตัวเลขจากการเก็บรวบรวมขอมูลใหเปนระเบียบ รวมถึงการหา
คาสถิติตางๆ
6. สัญลักษณของผลรวม (Σ ซิกมา)
N
∑ xi = x1 + x2 + x3 + ... + xN
i=1
N
1. ∑ c = Nc
i=1
N N
2. ∑ cx i = c ∑ x i
i=1 i=1
N N N
3. ∑ (x i + y i ) = ∑ x i + ∑ y i
i=1 i=1 i=1
N N N
4. ∑ (x i - y i ) = ∑ x i - ∑ y i
i=1 i=1 i=1

7. ตารางแจกแจงความถี่แบบเปนอันตรภาคชั้น
ความถี่ คือ ตัวเลขที่แสดงจํานวนขอมูลในแตละชวงคะแนน
ขอบลาง = คะแนนนอยทีส่ ดุ ของชัน้ นัน้ + คะแนนมากที 2
ส่ ดุ ในชัน้ ทีค่ ะแนนตํา่ กวา 1 ชัน้

ขอบบน = คะแนนมากทีส่ ดุ ของชัน้ นัน้ + คะแนนน 2


อยทีส่ ดุ ในชัน้ ทีค่ ะแนนสูงกวา 1 ชัน้

ความกวาง = ขอบบน - ขอบลาง


จุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้น = ขอบลาง +2 ขอบบน = คะแนนสูงสุด +2 คะแนนตํา่ สุด
ความถีข่ องอันตรภาคชัน้ นัน้
ความถี่สัมพัทธ =
ความถีท่ ง้ั หมด
รอยละของความถี่สัมพัทธ = ความถี่สัมพัทธ × 100
ความถี่สะสมสัมพัทธ = ความถีส่ ะสมของอันตรภาคชัน้ นัน้
ความถีท่ ง้ั หมด
รอยละของความถี่สะสมสัมพัทธ = ความถี่สะสมสัมพัทธ × 100
BOBBYtutor Mathematic Note

8. การวัดคากลาง
คากลางของขอมูล คือ ตัวแทนของขอมูลทั้งหมดที่สามารถจะไปใชในการวิเคราะห
I. คาเฉลี่ยเลขคณิต (X)
วิธีทํา
1. ขอมูลไมแจกแจงความถี่ X = ΣNXi
ตัวอยาง จงหา X ของ 2, 3, 3, 3, 4, 8, 10, 15
วิธีทํา X = 2 + 3 + 3 + 3 +84 + 8 + 10 + 15
= 488 = 6
Σ (f X )
2. ขอมูลที่แจกแจงความถี่ X = Σif i
i
ตัวอยาง กําหนดขอมูลใหตามตารางแจกแจงความถี่
อันตรภาคชั้น ความถี่สะสม
20-29 8
30-39 20
40-49 30
50-59 44
60-69 52
70-79 60
วิธีทํา เนื่องจากโจทยใหความถี่สะสมมา ดังนั้นจะตองเริ่มจาก
การหาความถี่ใหไดกอน
อันตรภาคชั้น ความถี่ (f) จุดกึ่งกลางชั้น (Xi) fXi
20-29 8 24.5 196
30-39 12 34.5 414
40-49 10 44.5 445
50-59 14 55.5 777
60-69 8 65.5 524
70-79 8 75.5 604
Σf = 60 ΣfXi = 2960

ΣfX i
X = Σf
= 2960
60
= 49.33
BOBBYtutor Mathematic Note

3. คุณสมบัติของคาเฉลี่ยเลขคณิต * 1. Σ(Xi - a)2 มีคานอยที่สุด เมื่อ a = X


* 2. Σ(Xi - a) = 0 เมื่อ a = X
3. ΣXi = NX
4. คาเฉลี่ยเลขคณิตถวงนํ้าหนัก
X w + X w + ... + X w
X = 1 w1 1 + w2 2 2+ ... + wnn n
* 5. คาเฉลี่ยเลขคณิตรวม
X N + X N + ... + X N
X รวม = 1 N1 1 + N2 2 2+ ... + Nnn n
II. มัธยฐาน (Med)
มัธยฐาน คือ คาของขอมูลที่มีตําแหนงอยูกึ่งกลางระหวางขอมูลทั้งหมด เมื่อไดเรียงขอมูลจากนอยไปหามาก
วิธีทํา
1. ขอมูลไมแจกแจงความถี่ 1. เรียงลําดับขอมูลจากนอยไปมาก
2. หาตําแหนงมัธยฐาน = N 2+ 1
3. หาคามัธยฐาน คือ ขอมูลที่มีตําแหนงตามขอ 2
ตัวอยาง จงหามัธยฐานของ 2, 3, 3, 3, 4, 8, 10, 15
วิธีทํา 1. เรียงขอมูล 2, 3, 3, 3, 4, 8, 10, 15
2. หาตําแหนง 8 +2 1 = 4.5
3. 2, 3, 3, 3, 4, 8, 10, 15
∴ มัธยฐาน 3 +2 4 = 3.5

2. ขอมูลที่แจกแจงความถี่ 1. หาความถี่สะสมจากนอยไปมาก
2. หาตําแหนงมัธยฐาน = N2
3. หาคามัธยฐานโดยวิธีเทียบสัดสวน หรือใชสูตร

มัธยฐาน = L + fmI ตําแหนง - ΣfL

L คือ ขอบลางของชั้นที่มีมัธยฐานอยู
I คือ ความกวางของชั้นที่มีมัธยฐานอยู
fm คือ ความถี่ของชั้นที่มีมัธยฐานอยู
ΣfL คือ ความถี่สะสมของชั้นกอนหนามัธยฐาน
BOBBYtutor Mathematic Note

ตัวอยาง กําหนดขอมูลใหตามตารางแจกแจงความถี่
อันตรภาคชั้น ความถี่สะสม
20-29 8
30-39 20
40-49 30
50-59 44
60-69 52
70-79 60
วิธีทํา เนื่องจากโจทยใหความถี่สะสมมา ดังนั้นจะตองเริ่มจากการ
หาความถี่ใหไดกอน
อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม
20-29 8 8
30-39 12 20
40-49 10 30 มัธยฐานตกชั้นนี้
50-59 14 44
60-69 8 52
70-79 8 60
1. หาความถี่สะสม
2. หาตําแหนงมัธยฐาน = N2 = 602 = 30
3. ใชสูตร มัธยฐาน = L + fmI ตําแหนง - ΣfL
= 39.5 + 1010 [30 - 20]
= 49.5
หมายเหตุ ถาตําแหนงที่หาไดตกพอดีกับความถี่สะสมชั้นใดสามารถ
ตอบขอบบนของชั้นนั้นไดเลย
3. คุณสมบัติของมัธยฐาน Σ| Xi - b | มีคานอยสุด เมื่อ b = มัธยฐาน

4. โจทยลักษณะอื่นๆ ตัวอยาง อายุของเด็กกลุมหนึ่งมีการแจกแจงดังนี้


อายุ (ป) จํานวนเด็ก
1-3 3
4-6 a
7-9 6
10-12 4
BOBBYtutor Mathematic Note

ถามัธยฐานของอายุของเด็กกลุมนี้เทากับ 7 ป แลว a มีคาเทากับ


ขอใดตอไปนี้
1) 3 2) 4 3) 5 4) 6
วิธีทํา เนื่องจากโจทยกําหนดมัธยฐานอายุของเด็กเทากับ 7 ป
แสดงวามัธยฐานตองตกอยูในอันตรภาคชั้น 7-9
อายุ (ป) จํานวนชั้น ความถี่สะสม
1-3 3 3
4-6 a 3+a
7-9 6 9+a
10-12 4 13 + a
1. หาความถี่สะสม
2. หาตําแหนงมัธยฐาน = N2 = 132+ a
3. ใชสูตร มัธยฐาน = L + fmI ตําแหนง - ΣfL
7 = 6.5 + 36 132+ a - (3 + a)
0.5 = 21  13 + a -22(3 + a) 

1 =  13 + a -2 6 - 2a 
2 = 7-a
a = 5
III. ฐานนิยม (Mo) คือ คาของขอมูลที่มีความถี่สูงสุด
วิธีทํา
1. ขอมูลไมแจกแจงความถี่ ฐานนิยม คือ ขอมูลตัวทีซ่ ากั
ํ้ นมากทีส่ ดุ ซึง่ อาจมีหลายคาหรือไมมีเลย
ก็ได
ตัวอยาง จงหาฐานนิยมของ 2, 3, 3, 3, 4, 8, 10, 15
วิธีทํา 3 เปนขอมูลที่มีความถี่สูงสุด
∴ ฐานนิยม = 3
2. ขอมูลที่แจกแจงความถี่
ฐานนิยม = L + I  d +1 d 
d
 1 2

L เปนขอบลางของชั้นที่มีฐานนิยมอยู
d1, d2 เปนผลตางของความถีข่ องชัน้ ทีฐ่ านนิยมอยูก บั ชั้นที่มีคะแนนตํ่า
และสูงกวา 1 ชั้น ตามลําดับ
BOBBYtutor Mathematic Note

ตัวอยาง
อันตรภาคชั้น ความถี่สะสม
20-29 8
30-39 20
40-49 30
50-59 44
60-69 52
70-79 60
วิธีทํา เนื่องจากโจทยใหความถี่สะสมมา ดังนั้นจะตองเริ่มจาก
การหาความถี่ใหไดกอน
อันตรภาคชั้น ความถี่
20-29 8
30-39 12
40-49 10 d1 = 14 - 10 = 4
50-59 14 ฐานนิยมตกชั้นนี้
60-69 8 d2 = 14 - 8 = 6
70-79 8

ฐานนิยม = L + I  d +1 d 
d
 2 2
= 49.5 + 10  4 +4 6 
= 53.5
IV. คากึ่งกลางพิสัย (Mid-range)
คากึ่งกลางพิสัย คือ คาที่ไดจากการนําขอมูลที่มีคามากที่สุดและนอยที่สุดมาหาคาเฉลี่ยเลขคณิต
วิธีทํา
1. ขอมูลไมแจกแจงความถี่ กึ่งกลางพิสัย = คาสูงสุด +2 คาตํา่ สุด
ตัวอยาง จงหาคากึ่งกลางพิสัยของ 2, 3, 3, 3, 4, 8, 10, 15
วิธีทํา คาสูงสุด +2 คาตํา่ สุด = 15 2+ 2
= 8.5
2. ขอมูลที่แจกแจงความถี่
ขอบบนของอันตรภาคชัน้ มากสุด + ขอบลางของอันตรภาคชัน้ นอยสุด
กึ่งกลางพิสัย =
2
BOBBYtutor Mathematic Note

หลักเกณฑในการใชคากลางชนิดตางๆ
1. คาเฉลี่ยเลขคณิตเหมาะที่จะนํามาใชเปนคากลางของขอมูล เมื่อขอมูลนั้นๆ ไมมีคาใดคาหนึ่งหรือหลายๆ คา
ซึ่งสูงหรือตํ่ากวาคาอื่นๆ อยางผิดปกติ
2. คามัธยฐานเหมาะที่จะนํามาใชเปนคากลางของขอมูล เมื่อขอมูลนั้นๆ มีคาใดคาหนึ่งหรือหลายๆ คา ซึ่งสูง
หรือตํ่ากวาคาอื่นๆ อยางผิดปกติ หรือตองการทราบวาคาที่เปนไปไดคาใดของขอมูลนั้นซึ่งมีจํานวนคาสังเกตที่มากกวา
และนอยกวาคานี้อยูประมาณเทาๆ กัน
3. คาฐานนิยมเหมาะที่จะนํามาใชเปนคากลางของขอมูล เมื่อขอมูลนั้นเปนขอมูลที่เปนคามาตรฐาน เชน ขนาด
ของรองเทา ขนาดของยางรถยนต
ขอสังเกตที่สําคัญในการใชคากลาง
1. คาเฉลี่ยเลขคณิตเปนคากลางที่ไดจากการนําทุกๆ คาของขอมูลมาเฉลี่ย แตมัธยฐานและฐานนิยมเปนเพียง
คากลางที่ใชตําแหนงที่ของขอมูลบางคาเทานั้น
2. ถาในจํานวนขอมูลทั้งหมดมีขอมูลบางคาที่มีคาสูงกวาหรือตํ่ากวาขอมูลอื่นๆ มาก จะมีผลกระทบกระเทือน
ตอการหาคากลางโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต แตไมมีผลกระทบกระเทือนตอการหาคากลางโดยใชมัธยฐานหรือฐานนิยม
*3. ถาการแจกแจงความถี่ของขอมูลประกอบดวยอันตรภาคชั้นที่มีชวงเปดอาจเปนชั้นตํ่าสุดหรือชั้นสูงสุดชั้นใด
ชั้นหนึ่งหรือทั้งสองชั้น การหาคากลางโดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิตไมสามารถหาได แตสามารถหามัธยฐานหรือฐานนิยมได
4. การแจกแจงความถี่ของขอมูลที่มีความกวางของแตละอันตรภาคชั้นไมเทากัน อาจมีผลทําใหคากลางที่หาโดย
ใชคาเฉลี่ยเลขคณิตหรือฐานนิยมคลาดเคลื่อนไปจากที่ควรจะเปนไดบาง แตไมมีผลกระทบกระเทือนตอการหามัธยฐาน
5. ในกรณีที่ขอมูลเปนขอมูลคุณภาพ จะสามารถหาคากลางไดเฉพาะฐานนิยมเทานั้น แตไมสามารถหาคาเฉลี่ย-
เลขคณิตหรือมัธยฐาน

ตัวอยางขอสอบ
1. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน ม.4 ทั้งหมดของโรงเรียนแหงหนึ่ง ปรากฏผลดังนี้
มัธยฐานของคะแนนสอบทั้งหมดเทากับ 53.5 ซึ่งอยูในชวงคะแนน 50–59
มีนักเรียนที่สอบไดตํ่ากวา 49.5 คะแนนอยู 70 คน
มีนักเรียนที่สอบไดตํ่ากวา 59.5 คะแนนอยู 85 คน
จํานวนนักเรียน ม.4 ทั้งหมดนี้ เทากับขอใดตอไปนี้
1) 150 2) 152 3) 156 4) 158
2. ให x1, x2, … , x10 เปนขอมูล 10 จํานวนดังนี้ 2, 4, 6, 7, a, b, 12, 12, 12, 19 โดยที่ a, b เปนจํานวนจริง
ซึ่ง a ≠ b ถาฐานนิยมของขอมูลชุดนี้เทากับ b และคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับ 9.5 แลว
10
∑| xi - c | มีคานอยที่สุด เมื่อ c มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
i =1
1) 9.0 2) 9.5 3) 10.0 4) 10.5
BOBBYtutor Mathematic Note

3. ขอมูลชุดหนึ่งมี 10 จํานวน เมื่อเรียงขอมูลจากคานอยที่สุดไปหาคามากที่สุด ไดคาของขอมูลในตําแหนงที่ 6 เปน


55 และคํานวณคาเฉลี่ยเลขคณิตไดเทากับ 60 คามัธยฐานเทากับ 50
ตอมาพบวามีการบันทึกขอมูลผิดพลาด โดยทีค่ า ของขอมูลในตําแหนงที่ 6 ทีแ่ ทจริงเปน 60 ถาแกขอ มูลใหถูกตองแลว
ผลตางระหวางคาเฉลี่ยเลขคณิตและคามัธยฐานของขอมูลชุดนี้ที่ถูกตอง มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 5 2) 7 3) 8 4) 10
4. กําหนดตารางแจกแจงความถี่ของขอมูลชุดหนึ่งดังนี้
ชวงคะแนน ความถี่
นอยกวาหรือเทากับ 4 2
5-9 6
10-14 12
15-19 20
20-24 10
ให X = คาเฉลี่ยเลขคณิต และ Med = มัธยฐานของขอมูล
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) หาคา X ไมได และ Med = 15.75 2) หาคา X ไมได และ Med = 15.35
3) X = 15 และ Med = 15.75 4) X = 15 และ Med = 15.35
5. ขอมูลชุดหนึ่งเรียงจากนอยไปมากเปนดังนี้ 98, 100, 101, 104, a, 109, 110, 111, b
ถาพิสัยและคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้เทากับ 14 และ 106 ตามลําดับ แลวมัธยฐานของขอมูลนี้เทากับขอใด
ตอไปนี้
1) 107.5 2) 108 3) 108.5 4) 109
6. เมื่อนําอายุของเด็กกลุมหนึ่งจํานวน 24 คน มาสรางตารางการแจกแจงความถี่สะสมไดดังนี้
อันตรภาคชั้น ความถี่สะสม
2-5 4
6-9 14
10-13 18
14-17 24
ถาคาฐานนิยมของขอมูลเทากับ a และความถี่อันตรภาคชั้นที่มีฐานนิยมอยูเทากับ b แลว ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) a = 7.5, b = 10 2) a = 7.5, b = 14 3) a = 9.5, b = 10 4) a = 9.5, b = 14
8
7. ให a เปนจํานวนจริงที่ทําให ∑ (X i - a)2 มีคาตํ่าสุดสําหรับขอมูล 2 2 6 12 12 20 16 10
i=1
แลวมัธยฐานของขอมูล 5 a 2a 6 3 7 15 16
เทากับขอใดตอไปนี้
1) 8.5 2) 8 3) 7.5 4) 7
BOBBYtutor Mathematic Note

8. ในการสอบครั้งหนึ่งมีผูเขาสอบ 3 คน ปรากฏวา
คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 67
มัธยฐานเทากับ 65
และพิสัยเทากับ 16
ผูที่สอบไดคะแนนสูงสุดไดคะแนนเทาใด
9. สมศรีซื้อเงาะ 5 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 15 บาท มังคุด 6 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 20 บาท ทุเรียน 9 กิโลกรัม
ราคากิโลกรัมละ 25 บาท สมศรีซื้อผลไมโดยเฉลี่ยกิโลกรัมละเทากับขอใดตอไปนี้
1) 21 บาท 2) 22 บาท 3) 23 บาท 4) 24 บาท
10. ให X เปนคาเฉลี่ยเลขคณิตของเกรดเฉลี่ยสะสม ตั้งแต ม.4 ถึง ม.6 ของสมศักดิ์ สมศรี และสมสวย ดังตาราง
ชื่อ หนวยกิตที่เรียน เกรดเฉลี่ยสะสม
สมศักดิ์ 124 2.50
สมศรี 125 -
สมสวย 121 3.00
ให X = 2.60 แลว สมศรีมีเกรดเฉลี่ยสะสมเทากับขอใดตอไปนี้
1) 2.21 2) 2.31 3) 2.41 4) 2.61

เฉลย
1. 2) 2. 4) 3. 3) 4. 1) 5. 4) 6. 1) 7. 1) 8. 76 9. 1) 10. 2)

แบบทดสอบ
1. กําหนดให X1, X2, ... , X10 มีคาเปน 5, 6, a, 7, 10, 15, 5, 10, 10, 9 ตามลําดับ โดยที่ a < 15
ถาพิสัยของขอมูลชุดนี้เทากับ 12
10
b เปนจํานวนจริงที่ทําให ∑ (X i - b) 2 มีคานอยที่สุด
i=1
10
และ c เปนจํานวนจริงที่ทําให ∑ | Xi - c| มีคานอยที่สุด
i=1
แลว a + b + c มีคาเทาใด
2. ในการทําคะแนนสอบของนักเรียน 40 คน ครั้งหนึ่งครูประจําชั้นคิดคาเฉลี่ยเลขคณิตได 35 คะแนน ตอมาตรวจ
พบวาบวกคะแนนของนักเรียน 2 คน ผิดไปคือนอยไป 3 คะแนน และ 5 คะแนน คาเฉลี่ยเลขคณิตที่ถูกตองของ
นักเรียน 40 คน เทากับเทาใด
1) 31 2) 35.2 3) 39 4) 42
BOBBYtutor Mathematic Note

3. นักเรียนกลุมหนึ่งมีอายุ 14, 15, 15, 14, 13, 16 และ 17 ป อีก 7 ปขางหนาอายุเฉลี่ยของนักเรียนกลุมนี้เทากับ


กี่ป
1) 14.9 2) 16.9 3) 20.9 4) 21.9
4. คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียน 10 คน เทากับ 72 คะแนน ถาคะแนนของนักเรียน 8 คน เปนดังนี้
39, 46, 54, 70, 83, 86, 93 และ 99 คะแนน สวนคะแนนของนักเรียน 2 คน ครูทําหาย แตปรากฏวานักเรียน
2 คนนี้มีคะแนนตางกัน 4 คะแนน ดังนั้นมัธยฐานของคะแนนสอบของนักเรียน 10 คนนี้เทากับเทาใด
1) 69.0 2) 72.5 3) 75.0 4) 76.5
7 7
5. ถา θ1 และ θ2 เปนคาที่ทําให ∑ (X i - θ1 ) 2 และ ∑ | X i - θ2 | มีคาตํ่าสุดสําหรับขอมูลตอไปนี้ 2, 4, 6, 7,
i =1 i=1
12, 12, 13 แลวคา θ1 และ θ2 ตรงกับขอใดตอไปนี้
1) θ1 = 8, θ2 = 12 2) θ1 = 7, θ2 = 8 3) θ1 = 8, θ2 = 7 4) θ1 = 12, θ2 = 7
6. กําหนดขอมูล 2 ชุด คือ
ชุดที่ 1 a 6 5 3 3
ชุดที่ 2 1 4 4 4 b
คา a เปนเทาใดจึงจะทําใหคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับฐานนิยมของชุดที่ 2
1) 2.5 2) 3.0 3) 3.5 4) 4.0
7. บริษัทแหงหนึ่งจําแนกลูกจางเปน 2 กลุม คือคนงานและพนักงาน โดยที่คนงานมีคาจางรายวันเฉลี่ย 120 บาท
ตอคน พนักงานมีคาจางรายวันเฉลี่ย 440 บาทตอคน ถาจํานวนคนงานเปน 3 เทาของจํานวนพนักงานแลว
ลูกจางของบริษัทนี้มีคาจางรายวันเฉลี่ยตอคนเทากับกี่บาท
1) 200 2) 266 3) 288 4) 360
8. คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่งเปน 43 คะแนน ถาคิดคาเฉลี่ยเลขคณิต
ของคะแนนสอบของนักเรียนชายและหญิงแยกกันจะไดเปน 45 และ 40 คะแนน ตามลําดับแลว อัตราสวนระหวาง
จํานวนนักเรียนชายและนักเรียนหญิงคือขอใดตอไปนี้
1) 2 : 3 2) 2 : 5 3) 3 : 2 4) 3 : 5
9. นักเรียนชั้นหนึ่งเปนนักเรียนชาย 60 คน นักเรียนหญิง 40 คน คํานวณอายุเฉลี่ยของนักเรียนชายได 15.2 ป
อายุเฉลี่ยของนักเรียนหญิงได 14.5 ป แตนักเรียน 2 คน บอกอายุเกินไป 1 ป อีก 2 คน บอกอายุตํ่าไป 2 ป
อายุเฉลี่ยที่แทจริงของนักเรียนชั้นนี้เปนกี่ป
1) 14.56 2) 14.60 3) 14.64 4) 14.94
10. ครูสอนคณิตศาสตรไดรายงานผลการสอบยอยของนักเรียน 3 กลุมดังนี้
กลุมที่ 1 กลุมที่ 2 กลุมที่ 3
คะแนนเฉลี่ย 15 12 13
จํานวนนักเรียน 10 8 x
ถาคะแนนเฉลี่ยของวิชาคณิตศาสตรเทากับ 13.4 จํานวนนักเรียนกลุมที่ 3 (x) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 8 2) 10 3) 12 4) 14
BOBBYtutor Mathematic Note

11. จากขอมูลในตารางตอไปนี้
จํานวนวันที่หยุด จํานวนนักเรียน
0-2 8
3-5 12
6-8 10
9-11 0
12-14 10
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) มัธยฐานนอยกวาฐานนิยม 2) คาเฉลี่ยเลขคณิตนอยกวามัธยฐาน
3) มัธยฐานมากกวาฐานนิยม 4) ฐานนิยมมากกวาคาเฉลี่ยเลขคณิต
12. ตารางคาใชจายรายวันของนักเรียน 50 คน เปนดังนี้
อันตรภาคชั้น ความถี่
40-49 13
50-59 7
60-69 12
70-79 8
80-89 6
90-99 4
มัธยฐานเทากับเทาใด
1) 63.67 2) 64.18 3) 64.50 4) 65.06
13. ตารางขางลางนี้แสดงความถี่ และความถี่สะสมบางอยางของคะแนนของนักเรียน 200 คน
คะแนนสอบ ความถี่ ความถี่สะสม
⋅⋅ ⋅⋅ ⋅⋅
⋅ ⋅ ⋅
75-79 40 152
70-74 50 112
65-69 26 62
⋅⋅ ⋅⋅ ⋅⋅
⋅ ⋅ ⋅

จงหามัธยฐานของขอมูลชุดนี้
BOBBYtutor Mathematic Note

14. ถาตารางแจกแจงความถี่ของขอมูลชุดหนึ่ง ซึ่งมีความกวางแตละอันตรภาคชั้นเทากันเปนดังตอไปนี้


ชั้นที่ จุดกึ่งกลางของอันตรภาคชั้น ความถี่สะสม
1 ... 8
2 ... 16
3 ... 36
4 25 40
5 30 50
ให X เปนคาเฉลี่ยเลขคณิต และ Med เปนมัธยฐานของขอมูล ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) X = 19 และ Med = 19.75 2) X = 19 และ Med = 17.5
3) X = 20 และ Med = 19.75 4) X = 20 และ Med = 17.5
15 ขอมูลชุดหนึ่งประกอบดวย 5, 4, 3, 1, 6, 5, 3, 7, 5, 8, 9, X จงหาคา X ที่ทําใหขอมูลชุดนี้มีคาเฉลี่ยเลขคณิต
มัธยฐาน และฐานนิยม เทากัน

เฉลย
1. 19 2. 2) 3. 4) 4. 3) 5. 3) 6. 2) 7. 1) 8. 3) 9. 4) 10. 3)
11. 3) 12. 1) 13. 73.3 14. 3) 15. 4
BOBBYtutor Mathematic Note

แบบทดสอบเพื่อเตรียมความพรอมกอนสอบจริง
คําแนะนํา
1. แบบทดสอบมีทั้งหมด 2 ชุด โดยในแตละชุดมี 10 ขอ (เนื้อหาเฉพาะสวนของ ม.5) ขอละ 3 คะแนน รวมเปน
คะแนนเต็มในแตละชุด 30 คะแนน
2. ใชเวลาทําชุดละ 40 นาที
3. กอนที่นักเรียนจะทําแบบทดสอบทั้ง 2 ชุดนี้ ขอใหนักเรียนทบทวนเนื้อหาของคณิตศาสตร 2 ในสวนของ ม.5
ทั้งหมดกอน แลวนักเรียนจึงลองมาทําและจับเวลาเหมือนกับการสอบจริง
ชุดที่ 1
1. ถา p, q, r เปนประพจนโดยที่ ∼p ∨ q และ (p → q) → r มีคาความจริงเปนจริงทั้งคู
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. p → (∼r → q) มีคาความจริงเปนจริง
ข. (q ∧ ∼r) → p มีคาความจริงเปนจริง
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
2. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. p → (q ∧ r) สมมูลกับ (∼p ∨ q) ∧ (∼p ∨ r)
ข. นิเสธของขอความ ∃x [P(x) ∧ ∼Q(x)] สมมูลกับ ∀x [∼Q(x) → ∼P(x)]
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
3. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถาเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนเต็มบวก ประพจน ∃x [5x = -5x] มีคาความจริงเปนจริง
ข. กําหนดเอกภพสัมพัทธ U =  0, 21  U [4, 6) ประพจน ∃x [2x2 - 11x + 12 ≤ 0] มีคาความจริง
เปนจริง
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
x x+ y
4. ถา 4x + y = 8 และ 9 5y = 243, x และ y เปนจํานวนจริง แลว xy เทากับเทาใด
2 3
1) 512 2) 4 3) 6 4) 12
log x  log 2 x-1 3
5. ถา a เปนคําตอบของสมการ  169  2 ⋅  64
27  = 4 แลว (log2 a)3 มีคาเทากับขอใด
1) 1 2) 2 3) 6 4) 8
BOBBYtutor Mathematic Note

6. ถา cos A = 53 และ π < A < 2π แลว tan A + cosec (-A) เทากับขอใด
1) - 1231 2) - 121 3) 1231 4) 121
3 o 3 o
7. กําหนดให sin (A + B) = sin A cos B + sin B cos A สําหรับทุกคาของ A และ B แลว cos 15o + sin 15o
cos 15 + sin 15
มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 0 2) 41 3) 21 4) 43
1 0 
8. กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริง และ A =  a b  ถา A2 = A-1 แลว a2 + b2 เทากับขอใดตอไปนี้
 

1) 0 2) 1 3) 41 4) 161
-1 4   2 x 1 5 
9. กําหนดให A = -3 2  , B = -4 y  และ C = 1 7  ถา det  -21 AB  = det (C-1) แลวคาของ
     
2x + y เทากับขอใด
1) 101 2) 81 3) 61 4) 41
10. จากตารางแจกแจงความถี่ ขอใดตอไปนี้ผิด
อันตรภาคชั้น ความถี่
35-39 9
40-44 12
45-49 10
50-54 15
55 ขึ้นไป 4
รวม 50
1) ความถี่สะสมสัมพัทธของอันตรภาคชั้น 45-49 คือ 0.62
2) คาเฉลี่ยเลขคณิตหาคาไมได
3) ฐานนิยมคือ 52
4) มัธยฐานคือ 46.5

เฉลย
1. 1) 2. 1) 3. 3) 4. 2) 5. 4) 6. 2) 7. 4) 8. 2) 9. 1) 10. 3)
BOBBYtutor Mathematic Note

ชุดที่ 2
1. กําหนดให p, q, r และ s เปนประพจน โดยที่ q และ r ตางมีคาความจริงเปนเท็จ
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. [p ∨ (q → r)] ∧ (∼q) มีคาความจริงเปนจริง
ข. (p → ∼q) ↔ (r → s) มีคาความจริงเปนจริง
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
2. ขอความตอไปนี้ขอใดถูก
1) p ↔ ∼q ≡ (p ∨ ∼q) ∧ (∼p ∨ q)
2) ถา (p ∧ q) → p มีคาความจริงเปนจริง และ p มีคาความจริงเปนเท็จ แลวสรุปไดวา q มีคาความจริง
เปนเท็จ
3) นิเสธของ ∃x [P(x) ∨ ∼Q(x)] คือ ∀x [P(x) ∨ ∼Q(x)]
4) ∼q ∨ (p ∧ q) ≡ ∼p → ∼q
3. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธ U = {x ∈ I | x ≥ 0} ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
1) ∃x [x3 = 3x] 2) ∀x [|x| = x]
 
3) ∀x [3x + 1 > 2] 4) ∃x  2x > . x 
 

4. กําหนดให A เปนเซตคําตอบของสมการ logx 28 + logx 325 - logx 91 = log x


B เปนเซตคําตอบของสมการ log2 x + 4 logx 2 = 5
A U B จะมีสมาชิกกี่ตัว
1) 2 2) 3 3) 4 4) 5
5. กําหนดให log7 3 = a จงเขียน log7 63 - log21 3 ในรูปของ a
2 2
1) 3a a-+3a1 - 1 2) 2a a++2a1 + 1 3) 3a2 + 3a + 1 4) 2a2 - 2a - 1
o o o
6. sin 150 o- cos 210 o + tan 405o มีคาเทากับขอใด
sin 300 ⋅ sec 180 ⋅ tan 330
1) 3 + 3 2) - 3 - 3 3) 3 - 3 4) - 3 + 3
θ ∈  π, 32π 
 
7. ถา 
และ 6 cos2 θ + sin θ = 5 แลว (cos θ + tan θ)2 มีคา เทากับขอใด

1) 2527 2) 49
72 3) 64
72 4) 72 81
8. กําหนดให A และ B เปนเมตริกซขนาด 2 × 2
2 2  0 2
ถา A + B = 3 2  และ A - B = -1 0  และ C = A + 2B แลว C-1 คือเมตริกซในขอใด
   
 3 -5  -3 5   3 -2  -3 2 
1) -2 3 2)  2 -3 3) -5 3 4)  5 -3
       
BOBBYtutor Mathematic Note

 a -1 
9. กําหนดให A =  เมื่อ a ∈ R ถา det (2A2) + (1 - a)3 det (A-1)t = 45 แลวผลบวกของ a
 1 - a 

ที่เปนไปไดทั้งหมดมีคาเทากับขอใด
1) 0 2) 2 3) 4 4) 6
10. คะแนนการสอบวิชาคณิตศาสตร 2 ของนักเรียน 12 คน เปนดังนี้ 60, 65, 54, 50, 55, 50, 60, 60, 55, 65,
52, 58 ให xi เปนคะแนนของนักเรียนคนที่ i และ a เปนจํานวนจริงใดๆ
พิจารณาขอความตอไปนี้
12 2
ก. ∑ (x i - a) มีคานอยที่สุด เมื่อ a = 57
i =1
12
ข. ∑ | x i - a| มีคานอยที่สุด เมื่อ a = 56.5
i =1
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด

เฉลย
1. 1) 2. 4) 3. 3) 4. 3) 5. 2) 6. 2) 7. 1) 8. 4) 9. 3) 10. 1)

————————————————————
BOBBYtutor Mathematic Note

วิเคราะหขอสอบคัดเลือกเขามหาวิทยาลัย
วิชาคณิตศาสตร 2 ม.6
ขอสอบวิชาคณิตศาสตร 2 มี 2 ตอน
ตอนที่ ลักษณะขอสอบ จํานวนขอ คะแนน/ขอ คะแนนรวม
1 อัตนัย (เติมคําตอบ) 8 2 16
2 ปรนัย (เลือกคําตอบ) 28 3 84
รวม 36 100
การสอบครั้งที่แลว ขอสอบใหนํ้าหนักเนื้อหาในระดับชั้น ม.6 ประมาณ 37.5% โจทยบางขอตองใชความรูหลาย
เรื่องประกอบกันในการแกปญหา การแกโจทยสวนมากจะตองทําเปนหลายขั้นตอน เนื้อหาขอสอบเฉพาะในระดับชั้น ม.6
จําแนกเปนเรื่องตางๆ ไดดังนี้
จํานวนขอสอบ (ขอ)
เนื้อหา รวม (ขอ) [คะแนน]
ตอนที่ 1 ตอนที่ 2
1. แคลคูลัส 1 4 5 [14]
2. วิธีเรียงสับเปลี่ยน, วิธีจัดหมู, ความนาจะเปน 1 3 4 [11]
3. การวัดตําแหนง, การวัดการกระจาย, เลขดัชนี 1 3.5 4.5 [12.5]
รวม 3 10.5 13.5 [37.5]
BOBBYtutor Mathematic Note

ประเด็นที่ออกขอสอบ
แคลคูลัส
- ลิมิตและความตอเนื่อง (การหาลิมิตของฟงกชัน ลิมิตดานซายและลิมิตดานขวา การตรวจสอบความตอเนื่อง
และเงื่อนไขของความตอเนื่อง)
- อนุพันธของฟงกชัน (การหาอนุพันธ การหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟงกชัน และการหาความชันของเสนโคง
หรือเสนสัมผัสของเสนโคงที่กําหนดให)
- คาสูงสุดและคาตํ่าสุดของฟงกชัน
.

- การหาปฏิยานุพันธ (การอินทิเกรต)
- การหาฟงกชันเมื่อกําหนดอนุพันธของฟงกชันและเงื่อนไขเพิ่มเติมบางอยาง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู
- หลักมูลฐานของการนับ (กฎการคูณและกฎการบวก)
- วิธีเรียงสับเปลี่ยน (วิธีเรียงสับเปลี่ยนแบบเสนตรงและแบบวงกลมของสิ่งตางๆ ทั้งกรณีที่แตกตางกันทุกสิ่ง และ
กรณีที่มีบางสิ่งเหมือนกัน มักมีเงื่อนไขอื่นๆ เพิ่มเติม ซึ่งตองหายุทธวิธีที่จะดําเนินการตามเงื่อนไขที่กําหนด อาจตองใช
กฎคอมพลีเมนต)
- วิธีจัดหมู (วิธีจัดหมูหรือวิธีเลือกสิ่งของตางๆ ตามเงื่อนไขที่กําหนด ซึ่งตองหายุทธวิธีที่จะดําเนินการตามเงื่อนไข
ที่กําหนดเชนเดียวกับเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยน)
ความนาจะเปน
- การหาความนาจะเปนโดยใชกฎของความนาจะเปน (กฎการบวกและกฎคอมพลีเมนตของความนาจะเปน
การแกโจทยบางขออาจจะทําไดงายยิ่งขึ้นเมื่อเขียนแผนภาพของเวนน-ออยเลอรแทนเหตุการณตางๆ)
- การหาความนาจะเปนโดยใชเทคนิคการนับ (การแกโจทยจะตองนับจํานวนวิธีเกิดเหตุการณที่สนใจและจํานวน
วิธีเกิดผลลัพธตางๆ ทั้งหมดที่เปนไปไดโดยใชเทคนิคการนับ)
การวัดตําแหนงและการกระจาย
- การวัดตําแหนง (การคํานวณและแปลความหมายมาตรวัดตําแหนงตางๆ ไดแก เปอรเซ็นไทล เดไซล ควอไทล
และโดยเฉพาะอยางยิ่งคามาตรฐาน)
- การวัดการกระจาย (การคํานวณมาตรวัดการกระจาย โดยเฉพาะคาเบีย่ งเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์การแปรผัน
รวมทั้งการนําไปใช ปญหาเกี่ยวกับสมบัติของคาเบี่ยงเบนมาตรฐานและความแปรปรวน)
เลขดัชนี
- การคํานวณและแปลความหมายดัชนีราคา
- การคํานวณรายไดที่แทจริงและการนําไปใช
BOBBYtutor Mathematic Note

เตรียมสอบเรงดวน คณิตศาสตร 2 ม.6


สวนนี้จะเสนอประเด็นและเทคนิคการทําขอสอบเอนทรานซ คณิตศาสตร 2 ม.6 สําหรับผูที่มีพื้นฐานความรู
แมนยําพอสมควรแลว และมีเวลานอย ในการเตรียมตัวสอบ สิ่งสําคัญที่สุดหลังจากเขาใจเนื้อหาตางๆ อยางดีแลว คือ
ฝกแกปญหาดวยตนเอง การฝกแกปญหาโจทยขอสอบเกา เปนประสบการณที่นําไปสูความสําเร็จไดอยางดี
ลิมิตและความตอเนื่อง
1. การหาลิมิตของ f(x) ในบางกรณีอาจตองแปลง f(x) ใหอยูในรูปที่สามารถหาลิมิตโดยวิธีแทนคา

ตัวอยางที่ 1 จงหา lim  1
x →-3  x + 3 + 2 
6 
 x -9
แนะนํา เขียน x +1 3 + 2 6 ในรูปแบบอยางงายได x -1 3
x -9
ตอบ -9 1

ตัวอยางที่ 2 จงหา xlim x4 - 1


→1
x+3-2
2
แนะนํา ขั้นแรกเขียน x - 1 ใหมโดยคูณทั้งตัวเศษและตัวสวนดวย x + 3 + 2 เพื่อใหตัวเศษอยูใน
x+3-2
รูปแบบตรรกยะ แลวทอนเศษสวนใหอยูในรูปแบบอยางงาย
ตอบ 8
y-4 y + 3
ตัวอยางที่ 3 จงหา ylim→1
y2 - 1
y-4 y + 3
แนะนํา ทอน โดยใชวิธีตัดตัวประกอบรวม
y2 - 1
ตอบ - 21
3 x -1
ตัวอยางที่ 4 จงหา xlim
→1
x -1
1
แนะนํา เขียน 3 x - 1 = x 3 - 1 ในรูปแบบ x -? 1
1
เขียน x - 1 = x 2 - 1 ในรูปแบบ x -? 1
1
จะได
3 x - 1 = ... = x 2 + 1
2 2
x -1 x3 + x 3 + 1
ตอบ 2
3
BOBBYtutor Mathematic Note

2. ฟงกชันจะมีลิมิต เมื่อ x → a ก็ตอเมื่อ ฟงกชันมีทั้งลิมิตจากดานซาย (x → a-) และลิมิตจากดานขวา


(x → a+)

ตัวอยางที่ 5 จงหา lim f(x) เมื่อ f(x) = | xx ++ 33|


x →- 3
แนะนํา หาลิมิตของ f(x) เมื่อ x → -3- และเมื่อ x → -3+
ลิมิตทางซายเทากับลิมิตทางขวาหรือไม ถาเทากันจึงจะมีลิมิต
ตอบ ไมมีลิมิต
 x2 - 1
 2 ,x≤0
x - x - 2
ตัวอยางที่ 6 กําหนดให f(x) = 
 2+x- 2-x
 ,x>0
 x
จงหา lim f(x)
x →0 +

แนะนํา เมื่อ x → 0+, f(x) = 2 + x - 2-x


x
ตอบ 1
2

3. ฟงกชัน f ตอเนื่องที่ x = a ถา lim f(x) = f(a)


x→a
 
4. ฟงกชันพหุนามเปนฟงกชันตอเนื่อง และหาลิมิตได โดยวิธีแทนคา  lim f(x) = f(a)
 x → a 

5. ฟงกชันตรรกยะ  พหุนาม  ไมตอเนื่องที่จุด x ซึ่งทําใหตัวหารเทากับศูนย


พหุนาม
 

2
ตัวอยางที่ 7 ฟงกชัน f(x) = xx --24 ไมตอเนื่องที่จุดใด
แนะนํา ฟงกชันตรรกยะไมตอเนื่องที่จุดซึ่งทําใหตัวสวนเทากับ 0
ตอบ x=2
6. ฟงกชันที่กําหนดคาของ f(x) ขึ้นอยูกับวา x อยูบนชวงใด อาจไมตอเนื่องที่จุดแบงชวงของคาของ x หรือ
อาจไมตอเนื่องที่บางจุดภายในชวงก็ได
BOBBYtutor Mathematic Note

 x2 - x - 6
 , x<4
ตัวอยางที่ 8 ฟงกชัน f(x) =  x+2
6 - x 2 , x≥4

ฟงกชัน f ไมตอเนื่องที่จุดใด
แนะนํา ฟงกชันตรรกยะไมตอเนื่องที่จุดซึ่งตัวสวนเทากับ 0
ฟงกชันพหุนามเปนฟงกชันตอเนื่อง
ฟงกชันที่นิยามเปนชวงๆ อาจไมตอเนื่องที่จุดแบงชวง
ตอบ x = 2, 4
7. ฟงกชันที่ไมตอเนื่องที่จุด a บางกรณีแกไขใหตอเนื่องได ถาฟงกชันมีลิมิตที่ x = a วิธีแกไข คือ
กําหนดคาของ f(a) ใหเทากับ lim f(x)
x→a
y y
L f f
L

0 a x a x
0
f ไมตอเนื่องที่ x = a กําหนดเพิ่มเติมวา f(a) = L = lim f(x)
x→a
lim f(x) = L
x→a จะทําให f ตอเนื่องที่ x = a
[กราฟของ f มีชองวางที่ x = a] [ชองวางที่ x = a ถูกเติมเต็ม]

 x
2 , x<0

ตัวอยางที่ 9 กําหนดให f(x) =  k , x=0

 2x - 1

, x>0
เมื่อ k เปนคาคงตัว
มีคาของ k ที่ทําให f เปนฟงกชันตอเนื่องหรือไม
แนะนํา ฟงกชัน f อาจไมตอเนื่องที่ x = 0 ลองตรวจสอบดูวาจะแกไขใหตอเนื่องไดหรือไม
ตอบ ไมมี
 3 , x < -1
ตัวอยางที่ 10 กําหนดให f(x) = |x2x| ++ ax , x ≥ -1
 b
ถา f เปนฟงกชันตอเนื่องแลว a + b เทากับเทาใด
แนะนํา หาคาของ a + b ไดจากเงื่อนไขของความตอเนื่องของ f
ตอบ -3
BOBBYtutor Mathematic Note

อนุพันธ
8. สูตรสําหรับหาอนุพันธมีหลายสูตร ควรจําใหแมน ในบางกรณีอาจตองแปลงฟงกชันใหอยูในรูปแบบที่ตรงกับ
สูตร
1. d
dx (คาคงตัว) = 0
2. ถา y = x จะได dy dx
dx = dx = 1
3. ถา y = kf(x) เมื่อ k เปนคาคงตัว จะได dydx = kf′(x)
4. ถา y = xn เมื่อ n เปนคาคงตัวใดๆ แลว dy dx = nx
n-1

5. ถา y = f(x) + g(x) แลว dy dx = f′(x) + g′(x)


6. ถา y = f(x) - g(x) แลว dy dx = f′(x) - g′(x)
7. ถา y = f(x) ⋅ g(x) แลว dy
dx = f(x)g′(x) + g(x)f′(x)
8. f(x) แลว dy = g(x)f ′(x) - f(x)g′(x)
ถา y = g(x) dx [g(x)]2
9. ถา y = [f(x)]n เมื่อ n เปนคาคงตัวใดๆ แลว dydx = n[f(x)] f′(x)
n-1

10. กฎลูกโซ ถา y = (fog)(x) = f(g(x)) แลว


dy = f′(g(x))g′(x)
dx
หรือ ถา y = f(u) และ u = g(x) แลว
dy = dy ⋅ du
dx du dx

ตัวอยางที่ 11 กําหนดให f(x) = e-3 + 1 จงหา f′(1)


3x
1
แนะนํา e-3 เปนคาคงตัว และ 1 = 1 x- 2
3x 3
d (คาคงตัว) = 0 และ d (xn) = nxn-1
ใชสูตร dx dx
ตอบ - 1
2 3
ตัวอยางที่ 12 กําหนดให f(x) = 3 x2 + x จงหา f′(1)
แนะนํา ใชกฎลูกโซ
ตอบ 5
634
BOBBYtutor Mathematic Note

ตัวอยางที่ 13 กําหนดให f(x) = x5 และ h(x) = (fog)(x)


.

ถา g(2) = -1 และ g′(2) = 12 แลว จงหา h′(2)


แนะนํา ใชกฎลูกโซ ถา h(x) = (fog)(x) และ h′(x) = f′(g(x)) ⋅ g′(x)
ตอบ 60
ตัวอยางที่ 14 กําหนดให f(x) = (5x3 – 4x)4 g(x)
ถา g เปนฟงกชันที่หาอนุพันธได และ g(1) = 4 และ g′(1) = -4 จงหา f′(1)
แนะนํา หา f′(x) โดยใชสูตรผลคูณและกฎลูกโซแลวแทนคา x = 1, g(x) = 4 และ g′(1) = 4
ตอบ 87
9. f′(x) มีความหมายในเชิงเรขาคณิตเปนความชัน (ของเสนสัมผัส) ของเสนโคง y = f(x) ที่จุด x ใดๆ

ตัวอยางที่ 15 จงหาสมการของเสนตั้งฉากกับเสนสัมผัสของเสนโคง f(x) = x +x 4 ที่จุดในควอดรันตที่สี่ซึ่ง f(x) = x


แนะนํา หาจุดสัมผัสโดยแกสมการ f(x) = x จะได (-3, -3) เปนจุดสัมผัส
เสนตั้งฉากที่ตองการหามีความชัน m = - 1
f ′(-3)
ตอบ x + 4y + 15 = 0
10. ฟงกชัน f มีคาเพิ่มขึ้นบนชวงที่ f′(x) > 0 และมีคาลดลงบนชวงที่ f′(x) < 0
11. ให a เปนคาวิกฤติของฟงกชันตอเนื่อง f จะได f(a) เปนคาสูงสุดสัมพัทธ ถา f″(a) < 0 และ f(a) เปน
คาตํ่าสุดสัมพัทธ ถา f″(a) > 0
4
ตัวอยางที่ 16 กําหนดให f(x) = x4 + x3 - 2x2 - 12
จงหาชวงที่ฟงกชัน f มีคาเพิ่มขึ้นและคาตํ่าสุดสัมพัทธ
แนะนํา ฟงกชัน f มีคาเพิ่มขึ้นบนชวงที่ f′(x) > 0
สําหรับฟงกชันตอเนื่อง f ซึ่งมีคาวิกฤติ x0 จะได f(x0) เปนคาตํ่าสุดสัมพัทธ ถา f″(x0) > 0
ตอบ ฟงกชัน f มีคาเพิ่มขึ้นบนชวง (-4, 0) และ (1, ∞) คาตํ่าสุดสัมพัทธของ f คือ f(-4) = -44 และ
f(1) = -12.75
ปฏิยานุพันธ
12. การหาปฏิยานุพนั ธ ∫f(x)dx โดยใชสตู รตางๆ ในบางกรณีตองเขียน f(x) ใหมใหอยูในรูปแบบที่จะใชสูตรได
1. ∫kdf = kx + C เมื่อ k เปนคาคงตัว
n +1
2. ∫xndx = xn + 1 + C , n ≠ -1
3. ∫kf(x)dx = k∫f(x)dx เมื่อ k เปนคาคงตัว
4. ∫[f(x) + g(x)]dx = ∫f(x)dx + ∫g(x)dx
5. ∫[f(x) - g(x)]dx = ∫f(x)dx - ∫g(x)dx
BOBBYtutor Mathematic Note

ขอควรระวัง (1) ∫f(x)g(x)dx ≠ (∫f(x)dx)(∫g(x)dx)


f(x) dx ≠ ∫ f(x)dx
(2) ∫ g(x)
∫ g(x)dx

 
ตัวอยางที่ 17 จงหาคาของ ∫  13 - 5 3 x 2  dx

x 

แนะนํา เขียน 13 - 5 3 x 2 ใหมในรูปผลตางของ xn แลวอินทิเกรตโดยใชสูตร


x
n +1
∫xndx = xn + 1 + C , n ≠ -1

ตอบ - 12 - 3 3 x 5 + C
2x
4 3
ตัวอยางที่ 18 จงหาคาของ ∫ 5 + 2 x dx
x
4 3
แนะนํา เขียน 5 + 2 x ใหมในรูปผลบวกของ xn
x
ตอบ 10 x + 58 x 4 x + C
13. ปฏิยานุพันธกับอนุพันธมีความสัมพันธกัน
f(x) = ∫ f ′(x)dx
หาอนุพันธ
f(x) f ′(x)
หาปฏิยานุพันธ
ตัวอยางที่ 19 ถา f′(x) = 3x2 + 2 และกราฟของ f ผานจุด (0, 1) แลว จงหา f(1)
แนะนํา f(x) = ∫f′(x)dx
ตอบ 4
BOBBYtutor Mathematic Note

วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู
14. การแกปญหาเกี่ยวกับการนับจํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนหรือวิธีจัดหมูภายใตเงื่อนไขที่กําหนด ความสําเร็จ
ขึ้นอยูกับวาเรามียุทธวิธีที่จะใชแกปญหา นอกเหนือจากการใชสูตรตางๆ ซึ่งตองจําไดและใชไดถูกตอง
1. กฎการคูณ ถาตองการทํางาน 2 อยาง โดยที่งานอยางแรกทําได n1 วิธี และในแตละวิธีที่ทํางาน
อยางแรกนี้มีวิธีที่จะทํางานอยางที่สองได n2 วิธี จํานวนวิธีที่จะเลือกทํางานทั้งสองอยางเทากับ n1n2 วิธี
2. กฎการบวก ถาตองการทํางานอยางใดอยางหนึ่งใน 2 อยาง โดยที่งานอยางแรกทําได n1 วิธี และ
งานอยางที่สองทําได n2 วิธี แตกตางจากวิธีตางๆ ที่ทํางานอยางแรก แลวจํานวนวิธีทํางานอยางแรกหรืออยางที่สอง
อยางใดอยางหนึ่งเทากับ n1 + n2 วิธี
3. วิธีเรียงสับเปลี่ยนแบบเสนตรงของสิ่งของที่แตกตางกันทั้งหมด
3.1 จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมดโดยใชทีละ r สิ่ง ไมซํ้ากัน
เทากับ Pn, r = (n n! - r)! วิธี เมื่อ 0 ≤ r ≤ n ในกรณีที่ r = n จะได Pn, n = n!
3.2 จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมดโดยใชทีละ r สิ่ง ซํ้ากันได
เทากับ Pn, r = nr วิธี
4. วิธีเรียงสับเปลี่ยนแบบเสนตรงของสิ่งของซึ่งมีบางสิ่งซํ้ากัน
ถามีสิ่งของจํานวน n สิ่ง ในจํานวนนี้มีบางสิ่งซํ้ากัน สมมติวาสิ่งที่ซํ้ากันมี k พวก พวกที่ 1 มี n1 สิ่ง
ซํ้ากัน, พวกที่ 2 มี n2 สิ่งซํ้ากัน, ... , พวกที่ k มี nk สิ่งซํ้ากัน แลวจํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของสิ่งของทั้ง n สิ่ง
เทากับ n1!n2n!!...n k! วิธี
5. วิธีเรียงสับเปลี่ยนแบบวงกลมของสิ่งของที่แตกตางกันทั้งหมด
จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนแบบวงกลมของสิ่งของ n สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมด โดยใชทุกสิ่งเทากับ
(n - 1)! วิธี เมื่อมองไดดานเดียว แตถามองไดสองดาน (พลิกกลับไดเชนเดียวกับวิธีรอยพวงมาลัย) จํานวนวิธีเรียง
สับเปลี่ยนจะลดลงครึ่งหนึ่งเหลือ (n -2 1)! วิธี
6. วิธีจัดหมูของสิ่งของที่แตกตางกันทั้งหมด ถามีสิ่งของแตกตางกันทั้งหมด n สิ่ง
6.1 จํานวนวิธีจัดหมูหรือวิธีเลือกสิ่งของ r สิ่งไมซํ้ากัน (ไมคืนที่) เทากับ
.

n
Cn, r =  r  = r!(nn!- r)! วิธี
 
6.2 จํานวนวิธีจดั หมูห รือวิธเี ลือกสิง่ ของอยางนอย 1 สิ่งไมซํ้ากัน (ไมคืนที่) หรือไมเลือกเลย เทากับ
Cn, 0 + Cn, 1 + Cn, 2 + ... + Cn, n = 2n วิธี
ซึ่งก็คือ จํานวนสับเซตทั้งหมดของเซตที่มีสมาชิก n ตัว
6.3 จํานวนวิธีจัดหมูหรือวิธีเลือกสิ่งของอยางนอย 1 สิ่งไมซํ้ากัน (ไมคืนที่) เทากับ
Cn, 1 + Cn, 2 + ... + Cn, n = 2n - 1 วิธี
6.4 จํานวนวิธีจัดหมูหรือวิธีเลือกสิ่งของ r สิ่งซํ้ากันได (คืนที่) เทากับ
 n + r - 1 (n + r - 1)!

 r  = r!(n - 1)! วิธี
BOBBYtutor Mathematic Note

ตัวอยางที่ 20 ชาย 4 คน และหญิง 5 คน นั่งเรียงกันเปนแถวเดียวไดทั้งหมดกี่วิธีโดยชายไมนั่งติดกัน


แนะนํา จัดหญิง 5 คน นั่งเรียงกันเปนแถวเดียวกอน แลวจึงจัดชาย 4 คน นั่งแทรกในตําแหนงที่มีเครื่องหมาย ×
ดังแสดงในแผนภาพ
×ญ×ญ×ญ×ญ×ญ×
ตอบ 120 × 360 = 43200 วิธี
ตัวอยางที่ 21 ชาย 4 คน และหญิง 5 คน นั่งลอมวงไดทั้งหมดกี่วิธีโดยชายไมนั่งติดกัน
แนะนํา จัดหญิงนั่งลอมวงกอนแลวจึงจัดชายนั่งแทรกระหวางหญิง
ตอบ 24 × 120 = 2880 วิธี
ตัวอยางที่ 22 มีตนกุหลาบ 3 กระถาง ตนมะลิ 2 กระถาง ตนแกวและตนดาวเรืองอยางละกระถาง จะมีวิธีเรียง
กระถางตนไมทั้ง 7 กระถางเปนแถวเดียวไดทั้งหมดกี่วิธีโดยใหตนแกวและตนดาวเรืองอยูติดกัน
แนะนํา นําตนแกวออกมากอน จัดเรียงตนไม 6 กระถางไดทั้งหมดกี่วิธี สําหรับแตละวิธีที่จัดไดสามารถแทรก
ตนดาวเรืองไวขางตนแกวได 2 วิธี
ตอบ 120 วิธี
ตัวอยางที่ 23 กําหนดให A = {a, b, c, d, e} และ B = {m, n}
สามารถสรางฟงกชันจาก A ไปทั่วถึง B ไดทั้งหมดกี่ฟงกชัน
แนะนํา เรนจของฟงกชันตองเทากับ B
ตอบ 30
ตัวอยางที่ 24 มีตนแบบตุกตาอยู 4 แบบแตกตางกัน มีวิธีเลือกทําตุกตา 7 ตัวจากแบบที่มีอยูไดทั้งหมดกี่วิธี
แนะนํา ใชสูตรในขอ 6.4
ตอบ 120 วิธี
ตัวอยางที่ 25 มีตนแบบตุกตาอยู 4 แบบแตกตางกัน มีวิธีเลือกทําตุกตา 4 ตัวจากแบบที่มีอยูไดทั้งหมดกี่วิธีโดยใหมี
แบบที่ซํ้ากันบาง
แนะนํา ใชสูตรในขอ 6.4 อยาลืมหักจํานวนวิธีที่ตุกตาไมซํ้าแบบออกจากจํานวนวิธีที่เปนไปไดทั้งหมด
ตอบ 34 วิธี
15. การแกปญหาเกี่ยวกับการนับจํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนหรือวิธีจัดหมูตามเงื่อนไขที่กําหนด อาจใชยุทธวิธี
หักจํานวนวิธีทั้งหมดที่ไมสอดคลองกับเงื่อนไขที่กําหนดออกจากจํานวนวิธีทั้งหมดที่เปนไปได
ตัวอยางที่ 26 ในการชุมนุมของพี่นองฝาแฝด 10 คู มีการเลือกคน 4 คนโดยสุมจากฝาแฝด 10 คูนี้เพื่อรวมเลนเกม
อยางหนึ่ง จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดที่ไดพี่นองฝาแฝดอยางนอยหนึ่งคู
แนะนํา จํานวนวิธีที่ไดพี่นองฝาแฝดอยางนอย 1 คูเทากับจํานวนวิธีเลือกคน 4 คนจาก 20 คนโดยไมมีเงื่อนไข
ใดๆ ลบดวยจํานวนวิธีที่ไมมีพี่นองฝาแฝดเลยในจํานวน 4 คนที่เลือกได
ตอบ 1485 วิธี
BOBBYtutor Mathematic Note

ความนาจะเปน
16. ในการแกปญหาเกี่ยวกับความนาจะเปน กฎที่ใชบอยๆ ไดแก
1. P(A U B) = P(A) + P(B) - P(A I B)
2. P(A) = 1 - P(A′)
3. (A U B)′ = A′ I B′ และ (A I B)′ = A′ U B′
โดยเฉพาะกฎขอ 2 เราใชเมื่อรูสึกวา เหตุการณ A ซับซอนกวาเหตุการณ A′
ตัวอยางที่ 27 ภารดรเขารวมการแขงขันเทนนิส 2 รายการในเดือนหนา โดยมีโอกาสชนะ 0.8 และ 0.7 ตามลําดับ ถา
โอกาสที่ภารดรจะแพทั้งสองรายการเทากับ 0.06 จงหาโอกาสที่ภารดรจะชนะทั้งสองรายการ
แนะนํา โอกาสที่จะชนะอยางนอย 1 รายการเทากับ 1 ลบดวยโอกาสที่จะแพทั้งสองรายการ
ตอบ 0.56
ตัวอยางที่ 28 มีสมโอ 8 ผล ในจํานวนนี้เปนสมโอกลายพันธุ 4 ผล เลือกซื้อโดยสุม 3 ผล จงหาความนาจะเปนที่จะ
ไดสมโอกลายพันธุ 1 หรือ 2 ผล
แนะนํา ให A และ B แทนเหตุการณที่เลือกไดสมกลายพันธุ 1 ผล และ 2 ผล ตามลําดับ
A และ B ไมเกิดรวมกัน ดังนั้น P(A U B) = P(A) + P(B)
ตอบ 6
7
ตัวอยางที่ 29 ในการเลือกคน 5 คน จากพี่นอง 8 คู จงหาความนาจะเปนที่จะไดพี่นอง 2 คูใน 5 คนที่เลือก
แนะนํา จํานวนวิธที ี่เลือกไดพี่นอง 2 คูใน 5 คนที่เลือกได เทากับจํานวนวิธีเลือกพี่นอง 2 คูจาก 8 คูคูณดวย
จํานวนวิธีเลือกอีก 1 คนจาก 12 คนที่เหลือ
ตอบ 1
13
ตัวอยางที่ 30 ชาย 3 คนและหญิง 4 คน นัง่ ลอมวงโดยสุม ใน 7 คนนี้มีสมศักดิ์และยุพาอยูดวย จงหาความนาจะเปน
ที่สมศักดิ์ไมไดนั่งติดกับยุพา
แนะนํา P(สมศักดิ์ไมไดนั่งติดกับยุพา) = 1 - P(สัมศักดิ์นั่งติดกับยุพา)
ตอบ 2
3
การวัดการกระจาย
17. การแปลงขอมูลโดยเพิ่มขึ้น (บวก) หรือลดลง (ลบ) เทากันทุกคา ขอมูลที่ไดมีการกระจายเทาเดิม
ถา yi = xi + k , i = 1, 2, ... , n เมื่อ k เปนคาคงตัว
แลว พิสัยของ y = พิสัยของ x
คาเบี่ยงเบนเฉลี่ยของ y = คาเบี่ยงเบนเฉลี่ยของ x
คาเบี่ยงเบนควอไทลของ y = คาเบี่ยงเบนควอไทลของ x
คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของ y = คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของ x
BOBBYtutor Mathematic Note

18. ถาคูณทุกคาของขอมูลชุดหนึ่งดวยคาคงตัวที่ไมเทากับ ±1 ขอมูลที่ไดจะมีการกระจายเปลี่ยนแปลงจาก


เดิม
ถา yi = kxi , i = 1, 2, ... , n เมื่อ k ≠ ±1 เปนคาคงตัว
แลว คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของ y = | k | ⋅ คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของ x
และ ความแปรปรวนของ y = k2 ⋅ ความแปรปรวนของ x
ตัวอยางที่ 31 ในชวงสอบเอนทรานซ 4 วัน วัดอุณหภูมิเวลาเที่ยงของแตละวันแลวคํานวณอุณหภูมิเฉลี่ย (คาเฉลี่ยเลข
คณิต) ได 86 องศาฟาหเรนไฮต และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานได 4.5 องศาฟาหเรนไฮต ถาวัดอุณหภูมิเปน
องศาเซลเซียสจะไดอุณหภูมิเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานกี่องศาเซลเซียส
แนะนํา C = 59 (F - 32) เมื่อ C และ F แทนอุณหภูมิวัดเปนองศาเซลเซียสและองศาฟาหเรนไฮต ตามลําดับ
ตอบ 30 และ 2.5 องศาเซลเซียส ตามลําดับ
n 1s12 + n 2 s 22
19. การใชสูตรของความแปรปรวนรวม s2 = n1 + n 2 มีเงื่อนไขวา คาเฉลี่ยของขอมูลทั้งสองกลุมตอง
เทากัน
ตัวอยางที่ 32 ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 2 หองไดผลดังนี้
หอง คาเฉลี่ยเลขคณิต ความแปรปรวน จํานวนนักเรียน
1 53 91 20
2 48 196 30
ถาคิดคะแนนของทั้ง 2 หองรวมกัน จะไดความแปรปรวนเทากับเทาใด
แนะนํา ให x แทนคะแนนเฉลี่ยของนักเรียน 2 หองรวมกัน
ให ∑ x 2 แทนผลบวกของกําลังสองของคะแนนของนักเรียนทั้ง 2 หอง
∑ x 2 - nx 2
สามารถคํานวณความแปรปรวนของคะแนนของ 2 หองรวมกันโดยใชสูตร s 2 = n
ตอบ 160
20. การเปรียบเทียบการกระจายของขอมูล 2 ชุด (หรือมากกวา 2 ชุด) ซึ่งมีคากลางแตกตางกันชัดเจน ตองใช
มาตรวัดการกระจายสัมพัทธ ซึ่งมีอยูหลายตัว ที่นิยมใชมากที่สุดคือ สัมประสิทธิ์ของการแปรผัน
ตัวอยางที่ 33 ชั่งนํ้าหนักเด็กชาย 10 คน และเด็กหญิง 15 คน พบวานํ้าหนักเฉลี่ยของเด็กชายและเด็กหญิงเทากับ
40 กิโลกรัมทั้ง 2 กลุม นํ้าหนักของเด็กชายมีความแปรปรวน 9 (กิโลกรัม)2 และเมื่อคํานวณความ
แปรปรวนของนํ้าหนักเด็กชายและเด็กหญิงรวมกันทั้ง 25 คน พบวาความแปรปรวนเทากับ 6 จงหา
สัมประสิทธิ์การแปรผันของนํ้าหนักของเด็กหญิง
n s2 + n s2
แนะนํา หาความแปรปรวนของนํ้าหนักของเด็กหญิงจากสูตร s2 = 1n11 + n 22 2
ตอบ 0.05 หรือ 5%
BOBBYtutor Mathematic Note

คามาตรฐาน
21. การบอกตําแหนงของบางคาที่สนใจในขอมูลชุดหนึ่งๆ อาจใชเปอรเซ็นไทล (ควอไทลหรือเดไซล) หรือ
คามาตรฐาน โดยเฉพาะอยางยิ่งคามาตรฐานสามารถใชในกรณีที่ทราบเพียงคาเฉลี่ยเลขคณิตและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ตัวอยางที่ 34 ในการสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนกลุมหนึ่ง พบวาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันเทากับ 0.25 นายสิน
สอบได 40 คะแนน คํานวณเปนคะแนนมาตรฐานได 0 ถานายสรรพสอบได 70 คะแนน คํานวณเปนคะแนนมาตรฐาน
ไดเทาใด
แนะนํา คาเฉลี่ยเลขคณิต คํานวณเปนคามาตรฐานได 0
ตอบ 3
เลขดัชนี
22. เลขดัชนีใชบอกวาตัวแปรที่สนใจ เชน x ซึ่งมีคาเปน xn ในเวลา n มีคาเปลี่ยนแปลง (เพิ่มขึ้นหรือลดลง)
กี่เปอรเซ็นต จากคาเดิม xo ในเวลา o ที่ใชเปนฐานของการเปรียบเทียบ
x
เลขดัชนีของตัวแปร x ในเวลา n เทียบกับเวลา o = xno × 100

ตัวอยางที่ 35 เมื่อใชป พ.ศ. 2540 เปนปฐาน ดัชนีราคาหลอดประหยัดไฟชนิดหนึ่งตั้งแตป พ.ศ. 2540 ถึง พ.ศ. 2545
เปนดังนี้
ป พ.ศ. 2540 2541 2542 2543 2544 2545
ดัชนีราคา 100 110 105 90 95 85
ถาในป พ.ศ. 2543 หลอดไฟชนิดนี้ราคา 135 บาท แลวในป พ.ศ. 2545 หลอดไฟชนิดนี้ราคาประมาณ
กี่บาท
แนะนํา ให P40, P43 และ P45 แทนราคาของหลอดไฟชนิดนี้ในป พ.ศ. 2540, 2543 และ 2545 ตามลําดับ
จะไดวา
P43
P40 × 100 = 90 ...(1)
P45
P40 × 100 = 85 ...(2)
แทนคา P43 = 135 แลวแกสมการ (1) และ (2) เพื่อหาคาของ P45
ตอบ 127.50 บาท
BOBBYtutor Mathematic Note

23. การเปรียบเทียบรายไดซงึ่ เปลีย่ นแปลงไปวาแทจริงแลวรายไดเพิม่ ขึน้ หรือลดลง ตองเปรียบเทียบจากรายได


ทีแ่ ทจริง ไมใชรายไดที่เปนตัวเงิน
รายไดที่แทจริงของปที่สนใจเทียบกับปฐาน = รายไดทเ่ี ปนตัวเงินของปนน้ั × 100
ดัชนีราคาผูบ ริโภคของปนน้ั เทียบกับปฐาน

ตัวอยางที่ 36 ในป พ.ศ 2545 นาย ก ทํางานที่เชียงใหมไดเงินเดือน 19,200 บาท นาย ข ทํางานที่สงขลาไดเงินเดือน
20,000 บาท ถาดัชนีราคาผูบริโภคในป พ.ศ. 2545 (พ.ศ. 2540 = 100) ของคนในจังหวัดเชียงใหมและ
สงขลาเทากับ 96 และ 103 ตามลําดับ ถาตองการใหรายไดที่แทจริง (จากเงินเดือน) ของนาย ก และ
นาย ข เทากันแลว นาย ข ควรไดเงินเดือนเพิ่มขึ้นหรือลดลงเทาใด
แนะนํา ให x แทนเงินเดือนของนาย ข ซึ่งเมื่อคํานวณเปนรายไดที่แทจริงแลวเทากับรายไดที่แทจริงของนาย ข
หาคาของ x จากสมการ
รายไดที่แทจริงของนาย ข = รายไดที่แทจริงของนาย ก
ตอบ นาย ข ควรไดเงินเดือนเพิ่มขึ้น 600 บาท

แนวขอสอบชุดที่ 1

x2 + 7 - 4 , x ≠ 3


1. กําหนดให f(x) = x 2 - 5x + 6
k  ,x=3

ถา f เปนฟงกชันตอเนื่องที่ x = 3 แลว k มีคาเทาใด (ตอบ 0.75)
2. ให f และ g เปนฟงกชันที่สามารถหาอนุพันธได ซึ่ง g(x) = 2f(x)
x +1
1
ถา f′(3) = 1 และ g′(3) = - 2 แลว f(3) มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 10)
3. จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะสรางจํานวนที่มี 3 หลัก โดยแตละหลักมีตัวเลขซํ้ากันไดจากตัวเลขขางตน
และจํานวนเหลานี้หารลงตัวดวย 5 ไดทั้งหมดกี่จํานวน (ตอบ 60)
4. ชางกอสรางกลุมหนึ่งมี 10 คน ประกอบดวยชางปูน 6 คน และชางไม 4 คน ถาตองการเลือกชาง 7 คน จากชาง
กลุมนี้ ความนาจะเปนที่จะไดชางปูน 4 คน และชางไม 3 คน เทากับเทาใด (ตอบ 0.50)
5. ถา f เปนฟงกชันตอเนื่อง ซึ่ง f(4) = -4 และ lim f(4 + hh) + 4 = 4 แลว ความชันของเสนสัมผัสเสนโคง
h →0
2
g(x) = x + 4 x + f(x) ที่จุด (4, 20) เทากับขอใดตอไปนี้
1) 5 *2) 13 3) 16 4) 20
6. กําหนดให f(x) = (2x + a)5, เมื่อ a เปนจํานวนจริง และ g(x) = f′(x) ถา g′(0) = -80 แลว g′(a) มีคาเทากับ
ขอใดตอไปนี้
*1) -2160 2) -540 3) 540 4) 2160
BOBBYtutor Mathematic Note

7. กําหนดให f และ F เปนฟงกชันที่มีอนุพันธสําหรับทุก x โดย f′(x) = 3x2 + 1 และ F′(x) = 4f(x)


ถา f(1) = 0 แลว F(a) - F(0) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) a4 + 2a2 - 2a 2) a4 + 2a2 + 2a *3) a4 - 2a2 - 8a 4) a4 + 2a2 + 8a
8. มีเทปเพลงทั้งหมด 7 ตลับ เปนเทปเพลงไทยสากลเหมือนกัน 3 ตลับ เพลงไทยลูกทุงเหมือนกัน 2 ตลับ
เพลงภาษาอังกฤษ 1 ตลับ และเพลงภาษาญี่ปุน 1 ตลับ จํานวนวิธีการจัดเรียงเทปทั้งหมดบนชั้นเดียวกัน โดยให
เทปเพลงภาษาอังกฤษและภาษาญี่ปุนติดกันเสมอ มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 60 *2) 120 3) 240 4) 720
9. คนกลุมหนึ่งมี 10 คน โดยมีนายมานะและนายวิริยะรวมอยูดวย ในการเลือกตัวแทน 3 คน จากคนกลุมนี้
ความนาจะเปนทีน่ ายมานะไดรบั เลือกแตนายวิรยิ ะไมไดรับเลือก หรือนายมานะและนายวิริยะไดรับเลือกทั้งคูเทากับ
ขอใดตอไปนี้
1) 103 *2) 152 3) 157 11
4) 30
10. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 2 หอง ไดผลดังนี้
ผลรวมของคะแนนกําลังสอง
หอง คาเฉลี่ยเลขคณิต ( xi )  n  จํานวนนักเรียน (n)
 2
 ∑ x 1
i = 1 
หองที่ 1 53 50,800 20
หองที่ 2 48 75,000 30
ให x = คาเฉลี่ยเลขคณิต และ S = สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบวิชานี้ของนักเรียนทั้งสองหอง
รวมกัน ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
*1) x = 50, S = 4 2) x = 50, S = 5 3) x = 50, S = 4 4) x = 50, S = 5
11. จากขอมูลอายุของคน 9 คน ปรากฏวาผลบวกของอายุเทากับ 117 ป และความแปรปรวนของอายุเทากับ 36
ถาคามาตรฐานของอายุชายคนหนึ่งในกลุมนี้เทากับ 1.5 แลวเขาจะมีอายุเทากับขอใดตอไปนี้
1) 16 ป 2) 18 ป 3) 20 ป *4) 22 ป
12. เมื่อกําหนดใหป พ.ศ. 2539 เปนปฐาน ดัชนีราคาสินคาชนิดหนึ่งตั้งแตป พ.ศ. 2540-2543 เปนดังนี้
ป พ.ศ. 2540 2541 2542 2543
ดัชนีราคา 120 110 90 130
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถาซื้อสินคาชนิดนี้ในป พ.ศ. 2542 ราคา 225 บาท เราจะตองใชเงิน 325 บาท เพื่อซื้อสินคาชนิดเดียวกัน
ในป พ.ศ. 2543
ข. ในป พ.ศ. 2543 สินคาชนิดนี้จะมีราคาเพิ่มขึ้นรอยละ 10 จากป พ.ศ. 2540
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
BOBBYtutor Mathematic Note

แนวขอสอบชุดที่ 2
1. กําหนดให A = {p, q, r} และ B = {a, b, c, d} ฟงกชันจาก A ไป B ชนิดหนึ่งตอหนึ่งมีทั้งหมดเปนจํานวน
เทาใด (ตอบ 24)
2
2. ถา g(x) = 1x+ x เมื่อ x ≠ -1 แลว g′(4) เทากับเทาใด (ตอบ 0.96)
 
3. lim  210  1 - 2x  มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 1.25)
x →2 x - 4 
4. มีหนังสือคณิตศาสตรเหมือนกัน 2 เลม หนังสือเคมีเหมือนกัน 2 เลม หนังสือฟสิกส 1 เลม และหนังสือชีววิทยา
1 เลม จํานวนวิธีจัดเรียงหนังสือ 6 เลมนี้บนชั้นเดียวกัน โดยที่หนังสือฟสิกสอยูติดกับหนังสือชีววิทยาเสมอเทากับ
เทาใด (ตอบ 60)
5. โรงงานแหงหนึ่งมีคนงาน 120 คน ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2543 โรงงานจางคนงานในอัตราเฉลี่ยคนละ 6,000 บาท
ถาในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2543 คาจางคนงานของโรงงานนี้เพิ่มขึ้นอีก 144,000 บาท แลวดัชนีคาจางคนงานของ
โรงงานนี้ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2543 เมื่อเทียบกับเดือนมกราคม พ.ศ. 2543 มีคาเทาใด (ตอบ 120)
6. ในการสอบครั้งหนึ่ง ก ไดคะแนน 30 คะแนน มีผูไดคะแนนนอยกวา ก อยูประมาณ 3 ใน 4 ของผูเขาสอบ
ทั้งหมด ถาสัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนควอไทลของคะแนนสอบนี้เทากับ 0.20 แลว ควอไทลที่ 1 ของคะแนน
สอบนี้มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 20)
7. กําหนดให f เปนฟงกชัน ซึ่ง f(3) = 2 และ f′(3) = 3 ถา g(x) = x2f(x) แลว g′(3) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 27 2) 31 3) 33 *4) 39
8. สมการของเสนตรงที่มีความชันเทากับ 7 และสัมผัสกับเสนโคง y = 3x2 + x คือขอใดตอไปนี้
1) 7x - y + 5 = 0 2) 7x - y - 5 = 0 3) 7x - y + 3 = 0 *4) 7x - y - 3 = 0
9. กําหนดให g และ h เปนฟงกชัน โดยที่ h′(x) = 20x3 + 6x และ g′(x) = h(x) ถา h(1) = -1 และ g(0) = -1
แลว g(2) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 40 2) 23 *3) 21 4) 15
10. มีเฟองฟา 6 กระถางตางๆ กัน และโกศล 5 กระถางตางๆ กัน ตองการจัดเฟองฟา 2 กระถาง และโกศล
3 กระถาง มาเรียงเปนวงกลม จํานวนวิธีของการจัดเรียงเทากับขอใดตอไปนี้
*1) 3600 2) 5400 3) 12400 4) 18000
11. กลองใบหนึ่งบรรจุหลอดไฟสีแดง 6 หลอด ซึ่งเปนหลอดสี 4 หลอด และหลอดไฟสีนํ้าเงิน 4 หลอด ซึ่งเปน
หลอดดี 2 หลอด ในการสุมหยิบหลอดไฟครั้งละ 1 หลอด 2 ครั้ง แบบไมใสคืน ความนาจะเปนที่จะไดหลอดไฟ
สีเดียวกัน และเปนหลอดดีทั้งสองครั้ง มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
*1) 457 2) 12 45 3) 14
45 4) 24
45
BOBBYtutor Mathematic Note

12. มีมะมวง 10 ผล ในจํานวนนี้เปนมะมวงเปรี้ยว 2 ผล สุมหยิบมะมวง 3 ผล ความนาจะเปนที่จะไดมะมวงเปรี้ยว


อยางนอย 1 ผล เทากับขอใดตอไปนี้
1) 157 *2) 158 3) 1511 4) 12
15
13. กําหนดขอมูลสถิติ 2 ชุด ดังนี้
ชุดที่ 1 มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 6 และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 12
ชุดที่ 2 มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 10 และมีสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 18
ถาเปรียบเทียบการกระจายของขอมูลทั้งสองชุดแลว ขอใดตอไปนี้ถูก
1) ขอมูลชุดที่หนึ่งกระจายนอยกวาชุดที่สอง
*2) ขอมูลชุดที่สองกระจายนอยกวาชุดที่หนึ่ง
3) ขอมูลทั้งสองชุดมีการกระจายเทากัน
4) สิ่งที่กําหนดใหไมเพียงพอที่จะเปรียบเทียบกับการกระจายของขอมูลทั้งสองชุดได
14. ในปการศึกษา 2542 นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปที่ 4 หองหนึ่งของโรงเรียนแหงหนึ่งมีจํานวน 40 คน มีอายุเฉลี่ย
15 ป และความแปรปรวนของอายุเทากับ 0.36 อีก 2 ปขางหนา ในปการศึกษา 2544 ถานักเรียนทั้ง 40 คนนี้
ยังคงเรียนอยูหองเดียวกัน จงพิจาราณาขอความตอไปนี้
ก. ในปการศึกษา 2544 อายุเฉลี่ยของนักเรียนเทากับ 17 ป
ข. ในปการศึกษา 2544 ความแปรปรวนของอายุเทากับ 0.36
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
*1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
15. ในการคัดเลือกนักกีฬาวิ่ง 100 เมตร ครั้งหนึ่ง มีผูสมัครจํานวนมาก เวลาที่ผูเขารับการคัดเลือกใชในการวิ่งมี
คาเฉลีย่ เลขคณิตและสวนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทากับ 15.6 และ 1.44 วินาที ตามลําดับ ถาคัดเลือกผูที่มีคามาตรฐาน
ของเวลาที่วิ่งไมเกิน -1.5 ไวฝกซอม คนสุดทายที่ไดรับการคัดเลือกใชเวลาวิ่งเทากับขอใดตอไปนี้
1) 11.75 วินาที 2) 12.9 วินาที 3) 13.8 วินาที *4) 13.44 วินาที

แนวขอสอบชุดที่ 3
1. กําหนดให f(x) = x2 + 5x + 2 และ g(x) = x -2 3 ถา h = fog แลว h′(5) เทากับเทาใด (ตอบ 3.50)
2. กําหนดให f(x) = ax4 + bx2 - 5x โดยที่ a, b เปนคาคงตัว ถา f′(-5) = -15 แลว f′(5) มีคาเทาใด
(ตอบ 5.00)
3. ในป พ.ศ. 2538 นายแดงไดเงินเดือน เดือนละ 18,000 บาท ในป พ.ศ. 2542 นายแดงไดเงินเดือน เดือนละ
26,000 บาท ถาดัชนีราคาผูบริโภคในป พ.ศ. 2542 เทียบกับป พ.ศ. 2538 เทากับ 130 แลวเงินเดือนที่แทจริงของ
นายแดงในป พ.ศ. 2542 เทียบกับป พ.ศ. 2538 เพิ่มขึ้นจากเงินเดือนในป พ.ศ. 2538 เทาใด (ตอบ 2000.00)
4. ถา f(x) = x1 - 41 และ g(x) = x -1 4 คาของ lim [ f(x) ⋅ g(x)] เทากับขอใดตอไปนี้
x→ 4
1
*1) - 16 2) 0 3) 161 4) หาคาไมได
BOBBYtutor Mathematic Note

5. สมมติวา f เปนฟงกชันที่สามารถหาอนุพันธไดสําหรับทุกๆ x ∈ R ถา f(2) = 4 และ y = (x2 - 3x + 2)f(x)


แลว dy
dx ที่ x = 2 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 0 *2) 4 3) 8 4) หาคาไมได
6. เสนตรงที่สัมผัสเสนโคง y = 3x - 13 ที่ x = 1 มีสมการตรงกับขอใดตอไปนี้
3x
1) y - 83 = 2(x - 1) 2) y - 103 = 2(x - 1)
*3) y - 83 = -2(x - 1) 4) y - 103 = -2(x - 1)
7. ถา g(x) = dx d (x3 - x2 + 5) และ h(x) = d ( x ) แลว ∫[g(x) ⋅ h(x)]dx คือขอใดตอไปนี้
dx
3 2
*1) 5 x5/2 - 3 x3/2 + C 2) x5/2 - x3/2 + C
3) 34 x3/2 - 34 x1/2 + C 4) 32 x3/2 - x1/2 + C
8. ในการประชุมตัวแทนนักเรียนชั้นหนึ่งซึ่งมี 4 หอง โดยที่มีตัวแทนหองละ 3 คน 2 หอง และมีตัวแทนหองละ
2 คน 2 หอง จํานวนวิธีจัดใหผูเขาประชุมนั่งรอบโตะกลมโดยที่ผูอยูหองเดียวกันนั่งติดกัน เทากับขอใดตอไปนี้
1) 144 2) 288 3) 432 *4) 864
9. แบงของ 7 ชิ้น ที่แตกตางกันใหแกคน 3 คน โดยที่แตละคนไดอยางนอย 2 ชิ้น จํานวนวิธีการแบงของดังกลาว
มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 210 2) 420 *3) 630 4) 1260
10. ในการเลือกประธาน รองประธาน และเลขานุการอยางละ 1 คน จากผูสมัคร 10 คน ซึ่งเปนชาย 6 คน และหญิง
4 คน ความนาจะเปนที่จะไดประธานเปนชายและเลขานุการเปนหญิงเทากับขอใดตอไปนี้
*1) 154 2) 153 3) 25 4) 51
11. กลองใบหนึ่งมีลูกอมชนิดหนึ่ง 10 เม็ด โดยเปนลูกอมรสสม 3 เม็ด ถาสุมหยิบลูกอมมา 2 เม็ด ความนาจะเปน
ที่จะไดลูกอมรสสมอยางนอย 1 เม็ด เทากับขอใดตอไปนี้
1) 151 2) 152 3) 157 *4) 158
12. ถาขอมูลชุดที่หนึ่ง คือ x1, x2, x3, ... , x10 มีคาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 10 และ 2
x x x x
ตามลําดับ แลวขอมูลชุดที่ 2 คือ 21 , 22 , 23 , ... , 210 มีคาเฉลี่ยเลขคณิตและความแปรปรวน (ตามลําดับ)
เทากับขอใดตอไปนี้
1) 5, 2 2) 10, 2 *3) 5, 1 4) 10, 1
13. ในการสอบของนักเรียน 52 คน ไดสัมประสิทธิ์ของการแปรผันเทากับ 0.3 ถานักเรียนที่สอบได 70 คะแนน
คิดเปนคะแนนมาตรฐานไดเทากับ 1 แลว ผลรวมของคะแนนของนักเรียนทั้ง 52 คน เทากับขอใดตอไปนี้
1) 3000 คะแนน *2) 2800 คะแนน 3) 2600 คะแนน 4) 2500 คะแนน
BOBBYtutor Mathematic Note

14. มีไพอยู 2 ใบ ใบหนึ่งเปนสีแดงทั้งสองดาน อีกใบหนึ่งเปนสีแดงดานหนึ่ง และสีนํ้าเงินดานหนึ่ง หลับตาเลือกไพ


ใบหนึ่งวางควํ่าลงบนโตะ เมื่อลืมตาพบวาดานบนของไพบนโตะเปนสีแดง ความนาจะเปนที่ดานลางจะเปนสีแดง
ดวยเทากับเทาใด
1) 41 2) 31 3) 21 *4) 23
15. กําหนดขอมูล {2, 5, 6, 8, 10} พิจารณาขอความตอไปนี้
5 5 5 5
ก. ∑ | X i - 6| < ∑ |X i - X| ข. ∑ (X i - 6) 2 < ∑ (X i - X) 2
i=1 i=1 i=1 i=1
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด

แนวขอสอบชุดที่ 4
- x , x<0 - x , x < 0
1. กําหนดให f(x) =  และ g(x) = 
 1 , x≥0  x , x ≥ 0
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. f(x) ไมตอเนื่องที่ x = 0 ข. g(x) ไมตอเนื่องที่ x = 0
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
2. อุณหภูมิเปนองศาเซลเซียสของตูแชเย็น 10 ตู ในโรงงานอุตสาหกรรมแหงหนึ่งเทากับ 3.0, 4.2, -1.1, 0.3, -2.0,
0.1, -0.6, 2.1, -0.2 และ 0.0 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอุณหภูมิของตูแชเย็นนี้เทากับ 1.83 องศาเซลเซียส
ขอใดตอไปนี้เปนคาของสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของอุณหภูมิของตูแชเย็นในโรงงานนี้
1) 31.55% 2) 31.69% *3) 315.5% 4) 316.9%
3. กําหนดให f(x) = 2x3 - 3x2 โดยที่ 0 ≤ x ≤ 3 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
*1) f(x) เปนฟงกชันที่มีคาลดลงในชวง (0, 1) และเปนฟงกชันที่มีคาเพิ่มขึ้นในชวง (1, 3)
2) f(x) เปนฟงกชันที่มีคาเพิ่มขึ้นในชวง (0, 1) และเปนฟงกชันที่มีคาลดลงในชวง (1, 3)
3) f(x) เปนฟงกชันที่มีคาลดลงตลอด
4) f(x) เปนฟงกชันที่มีคาเพิ่มขึ้นตลอด
4. เสนตรงเสนหนึ่งสัมผัสวงกลม x2 + y2 = 100 ที่จุด x = 6 และ y > 0 สมการเสนสัมผัสเสนนี้คือขอใดตอไปนี้
1) 4x + 3y = 48 2) y - 8 = 34 (x - 6)
3) y - 10 = - 43 (x - 6) *4) y - 8 = - 34 (x - 6)
2
5. lim 2 +2h--hh เทากับขอใดตอไปนี้
h →2
*1) 3 2) 2 3) 0 4) ∞
BOBBYtutor Mathematic Note

6. กําหนดใหกราฟของ y = x4 + ax3 + bx2 มีเสนสัมผัสขนานกับแกน x ที่จุด x = -2, 0, 1 แลว a + b มีคา


เทากับขอใดตอไปนี้
1) - 53 2) 53 3) 83 *4) - 83
7. ถาเสนโคง y = x2 + ax + b และเสนโคง y = cx - x2 สัมผัสกันที่จุด (1, 0) แลวคาของ b คือขอใดตอไปนี้
1) 4 2) 3 *3) 2 4) 1
5 3
8. ถา f′(x) = 2 x3/2 - 2 x1/2 + 1 แลวสมการของเสนโคง y = f(x) คือขอใดตอไปนี้
*1) f(x) = x5/2 - x3/2 + x + 2 2) f(x) = 52 x5/2 - 32 x3/2 + x + 2
3) f(x) = 52 x5/2 - 32 x3/2 + 2 4) f(x) = x5/2 - x3/2 + 2
9. กําหนด F(x) = ∫ (4x - 1)(x 2
+ 1) dx เซตคําตอบของ F′(x) < 0 คือขอใดตอไปนี้
x
1) {x | x < -1} 2)  x x > 41 

3)  x - 1 < x < 41  *4)  x - 1 < x < 0 หรือ 0 < x < 41 
10. หางสรรพสินคาแหงหนึ่งตองการออกบัตรสมนาคุณแกลูกคาโดยมีหมายเลขตั้งแต 00001 ถึง 10000 และ
หมายเลขบัตรจะไดรับรางวัลตองเปนหมายเลขที่มีตัวเลขในตําแหนงที่ 3 เปนเลข 5 และมีตัวเลขในตําแหนง
สุดทายเปนเลขคี่ จํานวนบัตรที่ลูกคาจะไดรับรางวัลคือขอใดตอไปนี้
1) 324 2) 450 3) 499 *4) 500
11. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรมีการแจกแจงแบบปกติ มีคะแนนเฉลี่ย 60 คะแนน และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
10 คะแนน คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษมีการแจกแจงแบบปกติ มีคะแนนเฉลี่ย 70 คะแนน และสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน 15 คะแนน ถานาย ก มีคะแนนมาตรฐานของผลสอบสองวิชานี้เทากันและสอบวิชาคณิตศาสตรได
72 คะแนน แลวคะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนาย ก เทากับขอใดตอไปนี้
1) 82 คะแนน 2) 84 คะแนน 3) 86 คะแนน *4) 88 คะแนน
12. กําหนดใหวันหมายถึง วันอาทิตย วันจันทร วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัส วันศุกร และวันเสาร ความนาจะเปนที่คน
2 คน จะเกิดวันตางกันมีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 491 2) 71 3) 496 *4) 67
4
13. ถากราฟของสมการเสนตรง y = f(x) ผานจุด (0, 0) และจุด (4, 6) แลวคาของ ∫ 0 f(x)dx เทากับเทาใด
(ตอบ 12)
14. ในป พ.ศ. 2542 สบูราคากอนละ 12.25 บาท ถาดัชนีราคาสบูในป พ.ศ. 2542 เทียบกับป พ.ศ. 2541 เทากับ
140% แลวราคาสบูในป พ.ศ. 2541 มีคาเทากับกี่บาท (ตอบ 8.75 บาท)
BOBBYtutor Mathematic Note

15. คะแนนสอบของนักเรียนกลุมหนึ่งมีการแจกแจงความถี่สะสมดังตารางตอไปนี้
ชวงคะแนน ความถี่สะสม
1-5 3
6-10 7
11-15 15
16-20 18
21-25 20
ถาสุมนักเรียนมา 1 คน ความนาจะเปนที่นักเรียนคนนี้จะไดคะแนนอยูในชวง 11-15 คะแนน เทากับเทาใด
(ตอบ 0.40)

แนวขอสอบชุดที่ 5
1. ดัชนีราคาเนื้อไกสด ในป พ.ศ. 2541 คาดวาสูงกวาป พ.ศ. 2540 อยู 20 เปอรเซ็นต ผูประกอบอาหารสําเร็จรูป
กําหนดวิธีตั้งราคาขายใหเปน 2 เทาของราคาเนื้อไกสด ถาราคาเนื้อไกสด ในป พ.ศ. 2540 เทากับ 40 บาท
ตอกิโลกรัม ผูประกอบอาหารสําเร็จรูปจะตั้งราคาขายเนื้อไกปรุงแลวสําหรับป พ.ศ. 2541 เทากับขอใดตอไปนี้
1) 70 บาทตอกิโลกรัม 2) 80 บาทตอกิโลกรัม *3) 96 บาทตอกิโลกรัม 4) 100 บาทตอกิโลกรัม
2. กําหนดให k(x) = 3x2 - 1 + f(x) ถา f′(2) = -1 แลว k′(2) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 10 *2) 11 3) 12 4) 13
 x 2 - 2x
 เมื่อ x ≤ 0 หรือ x > 2
3. กําหนดให f(x) =  x - 2
 2 เมื่อ 0 < x ≤ 2

f เปนฟงกชันไมตอเนื่องที่ x เมื่อ x สอดคลองกับขอใดตอไปนี้
1) x < 0 *2) x = 0 3) 0 < x < 2 4) x = 2
4. อักษรภาษาอังกฤษ 5 ตัว แตกตางกัน ประกอบดวยพยัญชนะ 2 ตัว และสระ 3 ตัว นํามาจัดเรียงโดยไมให
พยัญชนะอยูติดกัน และสระอยูติดกัน จํานวนวิธีการจัดเทากับขอใดตอไปนี้
1) 8 2) 10 3) 11 *4) 12
5. สมการของเสนสัมผัสเสนโคง y = x + 2x ที่จุด (1, 3) คือขอใดตอไปนี้
*1) y = -x + 4 2) y = x + 2 3) y = 2x + 1 4) y = 5 - 2x
6. กําหนดให A เปนเหตุการณในแซมเปลสเปซ S ถา 2P(A) = 3P(A′) แลว P(A) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 0.3 2) 0.4 3) 0.5 *4) 0.6
BOBBYtutor Mathematic Note

7. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรครั้งหนึ่ง มีนักเรียนเขาสอบจํานวน 20 คน ผลการสอบดังตาราง


คะแนน ความถี่
5-10 3
11-15 13
16-20 4
ความนาจะเปนที่นักเรียนคนหนึ่งจะไดคะแนนไมตํ่ากวา 16 คะแนน คือขอใดตอไปนี้
1) 31 2) 41 *3) 51 4) 131
8. เงินเดือนคนงานของโรงงานแหงหนึ่ง เฉลี่ยตอคนมีคาเทากับ 6,000 บาทตอเดือน สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของ
เงินเดือนเทากับ 12 เปอรเซ็นต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของเงินเดือนของคนงานมีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 600 บาท 2) 650 บาท 3) 700 บาท *4) 720 บาท
9. หลอดไฟฟาหลอดหนึ่งจากโรงงาน มีอายุการใชงาน 1020 ชั่วโมง คามาตรฐาน z = 2 ถาคาเฉลี่ยอายุการใชงาน
ของหลอดไฟฟาเทากับ 796.88 ชั่วโมง แลวสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุการใชงานของหลอดไฟฟาที่ผลิตจาก
โรงงานนี้มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 111.56)

3x - 1.5
, x<0

10. กําหนดให f(x) = 1.6
, x=0

 2x + 2.25
, x>0
จงหาคาของ lim f(x) (ตอบ 2.25)
x → 0+

แนวขอสอบชุดที่ 6
1. โรงงานผลิตเครื่องโทรทัศนแหงหนึ่ง สามารถผลิตได 20 เครื่องตอวัน สมมติวา เครื่องโทรทัศนที่ผลิตไดใน
วันหนึ่งมีเครื่องชํารุด 10 เปอรเซ็นต ถาหยิบเครื่องโทรทัศน 3 เครื่องโดยการสุม จํานวนวิธีที่จะไมไดเครื่องที่ชํารุด
เทากับขอใดตอไปนี้
*1) 816 วิธี 2) 646 วิธี 3) 464 วิธี 4) 326 วิธี
2. จากการขนสงเครื่องดับเพลิง 200 เครื่อง จากโรงงานไปยังรานขายเครื่องดับเพลิง ทําใหเครื่องดับเพลิงชํารุด
4 เครือ่ ง ผูจ ดั การรานสุม ตัวอยางเครือ่ งดับเพลิง 20 เครือ่ ง เพือ่ ตรวจสอบ แซมเปลสเปซของจํานวนเครื่องดับเพลิง
ที่ชํารุดคือขอใดตอไปนี้
1) {0, 1, 2} *2) {0, 1, 2, 3, 4} 3) {0, 1, 2, 3, ... , 10} 4) {0, 1, 2, 3, ... , 20}
BOBBYtutor Mathematic Note


 1- x เมื่อ x 2 < 1
3. กําหนดให f(x) =  3x - 2
 -5 เมื่อ x 2 > 1
 x
ขอใดตอไปนี้ผิด
1) lim f(x) = 0 2) lim f(x) = -4 3) lim f(x) = 0 *4) lim f(x) = 0
x → 1- x → 1+ x →-1 x→1
4. ถา f′(x) = g(x) และ g′(x) = h(x) แลวขอใดตอไปนี้ผิด
1) ∫g(x)d(x) = f(x) + c 2) ∫h(x)d(x) = f′(x) + c
* 3) ∫g′(x)d(x) = h(x) + c 4) ∫f″(x)d(x) = f′(x) + c
 x 2 + 2x เมื่อ x < 0
5. กําหนดให f(x) =  2
 x - 2x เมื่อ x > 0

f′  - 21  มีคาเทากับขอใดตอไปนี้


1) -3 2) 0 *3) 1 4) 2
6. กําหนดให ความนาจะเปนที่หลอดไฟฟาในหองนํ้าเสียเทากับ 0.2 ความนาจะเปนที่หลอดไฟฟาในหองครัวเสีย
เทากับ 0.1 ความนาจะเปนที่หลอดไฟฟาในหองนํ้าหรือหองครัวเสียเทากับ 0.25 แลว ความนาจะเปนที่หลอดไฟฟา
ในหองนํ้าและหองครัวเสียพรอมกัน เทากับขอใดตอไปนี้
*1) 0.05 2) 0.1 3) 0.3 4) 0.75
7. มีคุกกี้ 3 ยี่หอ ยี่หอ ก มี 5 กระปอง ยี่หอ ข มี 3 กระปอง และยี่หอ ค มี 2 กระปอง โดยที่คุกกี้ยี่หอเดียวกัน
ไมแตกตางกัน จํานวนวิธีแจกคุกกี้ใหคน 10 คน คนละหนึ่งกระปองเทากับขอใดตอไปนี้
1) 144 วิธี 2) 252 วิธี 3) 1440 วิธี *4) 2520 วิธี
8. ดัชนีราคายาสีฟน ป พ.ศ. 2534 และป พ.ศ. 2535 เทียบกับป พ.ศ. 2529 เทากับ 160 เปอรเซ็นต และ
176 เปอรเซ็นต ตามลําดับ ถาในป พ.ศ. 2535 ราคายาสีฟนหลอดละ 22 บาท ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ยาสีฟนในป พ.ศ. 2535 ราคาแพงกวายาสีฟนในป พ.ศ. 2534 หลอดละ 5.50 บาท
* 2) ยาสีฟนในป พ.ศ. 2529 ราคาถูกกวายาสีฟนในป พ.ศ. 2535 หลอดละ 9.50 บาท
3) ยาสีฟนในป พ.ศ. 2534 ราคาหลอดละ 19.50 บาท
4) ยาสีฟนในป พ.ศ. 2529 ราคาหลอดละ 12 บาท
9. นักเรียน 100 คน ไดเขาสอบแขงขันเพื่อศึกษาตอที่สถาบันการศึกษาแหงหนึ่ง คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบ
ครั้งนี้เทากับ 500 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนสอบเทากับ 100 คะแนน นาย ก และนาย ข
ไดคะแนนมาตรฐานรวมกันเทากับ 2 นาย ก และนาย ข ไดคะแนนสอบรวมกันเทากับขอใดตอไปนี้
*1) 1200 2) 1250 3) 1300 4) 1350
BOBBYtutor Mathematic Note

10. ตารางตอไปนี้ เปนตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร นักเรียน 100 คน


คะแนน ความถี่
20-29 2
30-39 9
40-49 13
50-59 20
60-69 30
70-79 15
80-89 10
90-99 1
จงหาเปอรเซ็นไทลที่ 80 ของคะแนนของนักเรียน (ตอบ 73.50)

แนวขอสอบชุดที่ 7
 2
 3x เมื่อ x < -1

1. กําหนดให f(x) =  2x + 5 เมื่อ - 1 ≤ x < 3

 3x - 2 เมื่อ x ≥ 3


ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
*1) f ตอเนื่องที่ x = -1 แตไมตอเนื่องที่ x = 3 2) f ตอเนื่องที่ x = -1 และ x = 3
3) f ไมตอเนื่องที่ x = -1 แตตอเนื่องที่ x = 3 4) f ไมตอเนื่องที่ x = -1 และ x = 3
2. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) dxd ( 2 + x) = d 2 + d x
dx dx
d
2) dx (2x + 1)4 = 4(2x + 1)3
3) dxd (x - 1)(2x + 1) = d (x - 1) ⋅ d (2x + 1)
dx dx
*4) dxd  6  = 6 d (x-3/2)
  dx
 x3 
x + x1
3. คาของ lim 1 เทากับขอใดตอไปนี้
x →0 x - x
1) 0 2) 1 * 3) -1 4) หาคาไมได
BOBBYtutor Mathematic Note

4. กําหนดให f(x) = -1 แลว ∫ f(x)dx เทากับขอใดตอไปนี้


2 x
*1) - x + c 2) x + c 3) 1 + c 4) -1 + c
x x
1 โดยที่ c > 0 ถา f(x) มีคาสูงสุดที่ x = - 3 แลว c มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
5. กําหนดให f(x) = 2x + 2cx 2
1
*1) 9 1
2) 3 3) 3 4) 9
6. ตารางตอไปนี้เปนตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 100 คน
คะแนน ความถี่
20-29 2
30-39 9
40-49 13
50-59 20
60-69 30
70-79 18
80-89 7
90-99 1
คะแนนสอบที่มีจํานวนนักเรียน 5 เปอรเซ็นตสอบไดสูงกวาคะแนนนี้ คือคะแนนในขอใดตอไปนี้
1) 83.29 คะแนน *2) 83.79 คะแนน 3) 84.29 คะแนน 4) 84.79 คะแนน
7. ในการเลือกทําแบบฝกหัด 8 ขอ จากทั้งหมด 10 ขอ ถาตองการเลือกทําขอคู 4 ขอ จํานวนวิธีเลือกทําแบบฝกหัด
จะเทากับขอใดตอไปนี้
1) 10 วิธี *2) 25 วิธี 3) 35 วิธี 4) 45 วิธี
8. ป พ.ศ. 2529 นาย ก และนาย ข ไดรับเงินเดือนเทากัน คือ เดือนละ 6,500 บาท ป พ.ศ. 2534 นาย ก
ไปทํางานที่ภาคเหนือ และนาย ข ไปทํางานที่ภาคใต ถาบริษัทจายเงินเดือนตามดัชนีราคาผูบริโภค โดยดัชนีราคา
ผูบริโภค พ.ศ. 2534 (พ.ศ. 2529 = 100) ที่ภาคเหนือเทากับ 121.4 และที่ภาคใตเทากับ 124.7
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
*1) ป พ.ศ. 2534 บริษัทตองจายเงินเดือนใหนาย ก และนาย ข เพิ่มขึ้นรวมเปน 23.05 เปอรเซ็นต เมื่อ
เปรียบเทียบกับป พ.ศ. 2529
2) ป พ.ศ. 2534 นาย ก ไดรับเงินเดือนนอยกวานาย ข เดือนละ 200 บาท
3) ป พ.ศ. 2534 บริษัทจายเงินเดือนใหนาย ก และนาย ข รวมเปนเงิน 16,211 บาทตอเดือน
4) ป พ.ศ. 2534 บริษัทจายเงินเดือนใหนาย ก และนาย ข เพิ่มขึ้นเทากัน จากป พ.ศ. 2529
BOBBYtutor Mathematic Note

9. อุณหภูมิหองทํางาน 4 หอง เมื่อวันจันทรตั้งอุณหภูมิไวที่ 27°C, 26°C, 25°C และ 24°C ไดปรับอุณหภูมิให


ตํ่าลง 3°C ทุกหองในวันอังคาร ขอใดตอไปนี้ผิด
1) สวนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของอุณหภูมิหองในวันจันทรเทากับวันอังคารมีคาเทากับ 1°C
2) สัมประสิทธิ์ของพิสัยของอุณหภูมิหองในวันจันทรมีคาตางจากวันอังคาร
3) คาเฉลี่ยเลขคณิตของอุณหภูมิหองในวันจันทรสูงกวาวันอังคารอยู 3°C
*4) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอุณหภูมิหองในวันจันทรมีคาตํ่ากวาวันอังคาร
3 - 3x 2
10. สมมติวา g เปนฟงกชนั ทีส่ ามารถหาอนุพนั ธได ถา g(3) = 2, g′(3) = 3 และ y = x g(x) แลว dy
dx ที่ x = 3
มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 4.50)

แนวขอสอบชุดที่ 8
1. กําหนดให y = f(x) เปนสมการเสนโคงที่มีความชัน ณ จุด (x, y) ใดๆ เปน 3 x - 2 แลว f(4) - f(0)
x
เทากับเทาใด (ตอบ 8.00)
2. กําหนดให f(x) = 3x2 + 2 และ g(x) = x แลว (fg)′(1) +  gf ′ (1) มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 12.00)
 

3. มีธงแบบตางๆ 6 ผืน เปนสีขาว 2 ผืน สีแดง 2 ผืน นอกนั้นเปนสีเขียวและฟา นําธงทั้งหมดมาประดับรอบ


วงเวียน โดยธงสีเดียวกันตองไมอยูติดกัน จํานวนวิธีจัดธงดังกลาวมีกี่วิธี (ตอบ 96.00)
4. ถาผลการสอบของนักเรียนหองหนึ่งเปนดังนี้
วิชา คาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ภาษาไทย 65 15
ภาษาอังกฤษ 59 10
เด็กชายวิทยเปนนักเรียนหองนี้ที่เรียนวิชาภาษาไทยไดดีเทากับวิชาภาษาอังกฤษ ถาในการสอบครั้งนี้เด็กชายวิทย
สอบวิชาภาษาไทยได 80 คะแนน แลวเขาสอบวิชาภาษาอังกฤษไดคะแนนเทากับเทาใด (ตอบ 69.00)
 x-9 , x>9

5. กําหนดฟงกชัน f(x) =  3 - 2x
3 - kx

, x≤9
โดยที่ k เปนจํานวนจริง
ถา f เปนฟงกชันตอเนื่อง แลว f(27k) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 4 *2) 2 3) -2 4) -4
BOBBYtutor Mathematic Note

6. ถา x, y เปนจํานวนจริงบวก ซึง่ x + y = 10 และ xy2 มีคา มากทีส่ ดุ แลวคาของ x, y อยูในชวงตามขอใดตอไปนี้


1) x ∈ (0, 2) และ y ∈ (7, 9) 2) x ∈ (1, 3) และ y ∈ (6, 8)
*3) x ∈ (2, 4) และ y ∈ (5, 7) 4) x ∈ (3, 5) และ y ∈ (4, 6)
7. กลองใบหนึ่งมีลูกบอลอยู 15 ลูก โดยที่ลูกบอลแตละลูกมีหมายเลขกํากับอยูหนึ่งหมายเลข เปนเลข 1 ถึง 15
สุมหยิบลูกบอลมา 2 ลูก โดยหยิบทีละลูกแบบไมใสคืน จํานวนวิธีที่หยิบไดลูกบอลลูกแรกมีหมายเลขซึ่งหารดวย
3 ลงตัว และลูกบอลลูกที่สองมีหมายเลขซึ่งหารดวย 5 ลงตัว เทากับขอใดตอไปนี้
1) 7 2) 8 *3) 14 4) 15
8. มีตนไม 6 กระถาง เปนกุหลาบตางๆ กัน 3 กระถาง และเปนตนไมอนื่ ๆ ตางกันอีก 3 กระถาง ความนาจะเปนที่จะ
จัดเรียงกระถางตนไมทั้งหมดเปนแถวเดียวกันโดยไมมีกระถางกุหลาบอยูติดกันเลย มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
*1) 51 2) 151 3) 201 4) 301
9. สมชายมีเสื้อ 5 ตัว เปนสีขาว 3 ตัว สีฟา 2 ตัว มีกางเกง 4 ตัว เปนสีขาว 1 ตัว และสีเทา 3 ตัว ถาสมชายแตงตัว
ออกจากบานโดยไมเจาะจงแลว ความนาจะเปนที่เขาสวมเสื้อและกางเกงสีตางกันเทากับขอใดตอไปนี้
1) 34 2) 45 3) 109 *4) 17
20
10. สมมติตารางดัชนีราคาผูบริโภค ดังนี้
ป พ.ศ. 2542 2543 2544
ดัชนี 100 98 98
ถาพนักงานคนหนึ่งมีรายไดเดือนละ 12,000 บาท ในป พ.ศ. 2542 และไดเงินเดือนขึ้นปละ 5% เขาจะมีรายได
ที่แทจริงตอเดือนในป พ.ศ. 2544 เมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2542 เทากับขอใดตอไปนี้
1) 12,970.59 2) 13,230.00 3) 13,469.39 *4) 13,500.00
11. ในการพิจารณาการกระจายของขอมูลแสดงปริมาณนํ้านม (ลิตรตอวัน) ของแมวัวจํานวน 50 ตัว พบวา
สวนเบี่ยงเบนควอไทลเทากับ 4.5 และสัมประสิทธิ์ของสวนเบี่ยงเบนควอไทลเทากับ 30% คาของควอไทลที่หนึ่ง
และควอไทลที่สามเทากับขอใดตอไปนี้ ตามลําดับ
1) 3.5 และ 12.5 2) 5.5 และ 14.5 *3) 10.5 และ 19.5 4) 12.5 และ 21.5
BOBBYtutor Mathematic Note

12. ขอมูลตอไปนี้คือคะแนนการสอบครั้งหนึ่งของนักเรียนหองหนึ่ง จํานวน 40 คน


นักเรียนชาย นักเรียนหญิง
จํานวน (คน) 22 18
คาเฉลี่ยเลขคณิต 18 11
คาความแปรปรวน 9 4
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของคะแนนของนักเรียนชายมากกวาของนักเรียนหญิง
ข. คะแนนการสอบของนักเรียนทั้งหองมีคาเฉลี่ยเลขคณิตและความแปรปรวนเทากับ 14.85 และ 6.75
ตามลําดับ
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด

แนวขอสอบชุดที่ 9
1. กําหนดให f(x) = (x2 + 2)2 และ g(x) = lim f(x + h)h - f(x) แลว g′(1) มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 20.00)
h→0
2. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอล 20 ลูก ซึ่งมีหมายเลขกํากับลูกละหนึ่งหมายเลขทุกลูกตั้งแตเลข 1-20 จํานวนวิธีที่จะ
หยิบลูกบอล 2 ลูก แบบสุม เพื่อใหไดลูกบอลที่มีหมายเลขซึ่งหารดวย 4 หรือ 5 ลงตัวทั้งสองลูก เทากับเทาใด
(ตอบ 28.00)
3. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 2 กลุม ปรากฏวาไดคะแนนเฉลี่ย (X ) เทากัน แตความแปรปรวน (S2)
ตางกัน
ถานักเรียนกลุมที่หนึ่งมี 15 คน ได X = 45, S2 = 20
n n
และนักเรียนกลุมที่สองได ∑ Xi = 450 และ ∑ X 2i = 20500
i=1 i=1
โดยที่ Xi แทนคะแนนของนักเรียนคนที่ i, i = 1, 2, ... , n
แลวความแปรปรวนรวมของคะแนนของทั้งสองกลุมเทากับเทาใด (ตอบ 22.00)
 a 2 x2 , x ≤ 2
4. ให a เปนจํานวนจริงบวก ซึ่งทําใหฟงกชัน f ที่กําหนดโดย f(x) = (5a + 3)x , x > 2

เปนฟงกชันตอเนื่อง ณ จุด x = 2
f(a) + f(-a) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 27 2) 54 3) 81 *4) 135
BOBBYtutor Mathematic Note

5. ให f และ g เปนฟงกชันซึ่ง g(x) = 3x2 - xf(x) และ f ′(x) = x-1/2 + 1 ถา g′(1) = 5 แลว f(9) มีคาเทากับ
ขอใดตอไปนี้
1) 8 *2) 11 3) 15 4) 20
6. กําหนดฟงกชัน f(x) = 2| x + 1 | และ g(x) = x2 + 2x + 3
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา f และ g มีคาตํ่าสุดสัมพัทธที่ x = a และ x = b ตามลําดับ แลว a = b
ข. คาตํ่าสุดสัมพัทธของฟงกชัน (f + g) เทากับ 2
ขอใดตอไปนี้ถูก
*1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
7. กําหนดให f(x) = x , g(x) = 2x + 3 ถา F(x) = (fog-1)(x) แลว ∫F(x)dx คือขอใดตอไปนี้
2x + 3
x x
*1) 3 - 3 x + c 2) x 2 x + 23 x + c
3) x 2 x - 23 x + c 4) 43 x x + 3x + c
8. ในการเลือกหัวหนา รองหัวหนา และเลขานุการ จากพนักงานกลุมหนึ่งซึ่งเปนชาย 10 คน และหญิง 3 คน
ถาจํานวนวิธีการเลือกสามตําแหนงนี้จากพนักงานทั้งหมดเทากับ M วิธี และจํานวนวิธีการเลือกโดยที่ทั้งสาม
ตําแหนงนี้เปนชายทั้งหมด หรือเปนหญิงทั้งหมดเทากับ N วิธี แลว M - N มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 495 *2) 990 3) 1704 4) 1710
9. สมมติวามีถนน 4 สาย เชื่อมอําเภอ A กับอําเภอ B และมีถนน 5 สายเชือ่ มอําเภอ B กับอําเภอ C ความนาจะเปน
ที่ชายคนหนึ่งจะเดินทางจากอําเภอ A ผานอําเภอ B ไปอําเภอ C และเดินทางกลับจากอําเภอ C ผานอําเภอ B ไป
อําเภอ A โดยไมซํ้าเสนทางเดิมทั้งในการเดินทางจากอําเภอ C ไปอําเภอ B และอําเภอ B ไปอําเภอ A มีคาเทากับ
ขอใดตอไปนี้
1) 0.2 2) 0.4 *3) 0.6 4) 0.8
10. ทอดลูกเตา 2 ลูกสองครั้ง ความนาจะเปนที่จะไดแตมรวมเปน 7 ในครั้งแรก และไดแตมรวมเปน 10 ในครั้งที่สอง
เทากับขอใดตอไปนี้
*1) 721 2) 1081 1
3) 144 4) 2161
11. บริษัทแหงหนึ่งจําหนายสินคา 3 ชนิด ในป พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2544 ดังราคาตอไปนี้
ราคาตอหนวย (บาท)
รายการสินคา
พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2544
โทรทัศน 15,000 a
ตูเย็น 12,000 12,000
เครื่องซักผา 20,000 25,000
BOBBYtutor Mathematic Note

ถาดัชนีราคาอยางงายแบบใชคา เฉลีย่ ราคาสัมพัทธของ พ.ศ. 2544 โดยใช พ.ศ. 2543 เปนฐาน เทากับ 105%
แลว a มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
*1) 13,500 2) 14,250 3) 15,000 4) 15,750
12. ขอมูลชุดหนึ่งมี 11 จํานวน เรียงจากนอยไปหามากไดดังนี้
117 154 195 211 225 248 281 314 a 348 397
ถาสัมประสิทธิ์สวนเบี่ยงเบนควอไทล = 0.25 และสวนเบี่ยงเบนควอไทล = b แลว ขอใดตอไปนี้ถูก
1) a = 325, b = 70 *2) a = 325, b = 65
3) a = 335, b = 70 4) a = 335, b = 65
13. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนหองหนึ่งไดคาความแปรปรวนเทากับ 9 ถานายคณิตเปนนักเรียนในหองนี้
และสอบได 53 คะแนน คิดเปนคะแนนมาตรฐานเทากับ 1 แลว สัมประสิทธิ์การแปรผันของคะแนนสอบครั้งนี้
มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ใชทศนิยม 2 ตําแหนง)
1) 0.02 *2) 0.06 3) 0.07 4) 0.18

แนวขอสอบชุดที่ 10
1. มีกลองใบหนึ่งบรรจุดินสอ 4 แทง สีตางกันหมด ถาหยิบดินสอจากกลองนี้ 4 ครั้ง ครั้งละ 1 แทง โดยหยิบแลว
ใสคืน จํานวนวิธีที่จะหยิบไดดินสอสีเดียวกันอยางนอย 2 ครั้ง เทากับเทาใด (ตอบ 34.00)
2
2. ถา f(x) = xx -+11 และ a เปนจํานวนจริง ซึ่ง f(a) = a แลว ความชันของเสนสัมผัสเสนโคง y = f(x) ที่จุด
x = a เทากับเทาใด (ตอบ 0.50)
3. นักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 5 สองหองทําขอสอบวิชาคณิตศาสตรฉบับเดียวกัน ปรากฏผลดังนี้
จํานวนนักเรียน
ชวงคะแนน
หอง ก หอง ข
1-10 3 4
11-20 9 14
21-30 18 20
31-40 5 7
41-50 5 5
รวม 40 50
นักเรียนคนหนึ่งในหอง ก สอบไดคะแนนเทากับเปอรเซ็นไทลที่ 75 ของหอง ก ถาเทียบกับหอง ข คะแนน
ของเขาจะเทากับเปอรเซ็นไทลที่เทาใดของหอง ข (ตอบ 76.00)
BOBBYtutor Mathematic Note

4. กําหนดฟงกชัน
x - 8 , x≤0

f(x) =  x 2 - 2x + a , 0 < x < 1

8 - x
 , x≥1
เมื่อ a เปนจํานวนจริง ถา f ตอเนื่องที่ x = 1 ขอใดตอไปนี้ถูก
1) a = 8 และ f ตอเนื่องที่ x = 0 *2) a = 8 และ f ไมตอเนื่องที่ x = 0
3) a = -8 และ f ตอเนื่องที่ x = 0 4) a = -8 และ f ไมตอเนื่องที่ x = 0
5. พิจารณาสวนโคงที่กําหนดดวยสมการ
4
f(x) = x4 + x3 - 2x2 – 12
ขอใดตอไปนี้ผิด
1) ความชันของเสนสัมผัสเสนโคงที่ x = 0 เปนศูนย
2) คาสูงสุดสัมพัทธของฟงกชัน f เทากับ -12
*3) f(x) มีคาเพิ่มขึ้นตลอดชวง (-4, 1)
4) f(x) มีคาลดลงตลอดชวง (-∞, -4)
1
6. กําหนดให h(x) = [f(x)]2 x 2
ถา f′(x) = 2x และ f(0) = -6 แลว h′(4) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 295 2) 320 *3) 345 4) 420
7. สมการเสนโคง y = f(x) มีความชันที่จุด (x, y) ใดๆ เทากับ 3x2 – 12
ถาคาตํ่าสุดสัมพัทธของ f เทากับ –17 แลว คาสูงสุดสัมพัทธของ f เทากับขอใดตอไปนี้
*1) 15 2) 19 3) 26 4) 31
8. ในการจัดหลอดไฟสีตางๆ เพื่อประดับตามแนวเสนตรงจํานวน 8 หลอด ถามีหลอดไฟสีแดง 3 หลอด สีเหลือง 3
หลอด สีเขียว 1 หลอด และสีนํ้าเงิน 1 หลอด
จํานวนวิธีการจัดเรียงหลอดไฟสีดังกลาวโดยไมใหหลอดไฟสีเขียวและสีนํ้าเงินติดกัน มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
*1) 840 วิธี 2) 980 วิธี 3) 1080 วิธี 4) 1120 วิธี
9. จากการสํารวจนักเรียนหองหนึ่ง ซึ่งแตละคนตองเรียนวิชาภาษาอังกฤษ คณิตศาสตรหรือสังคม อยางนอย 1 วิชา
ปรากฏวามีผูเรียนวิชาตางๆ ดังนี้
อังกฤษ 25 คน คณิตศาสตร 20 คน สังคม 24 คน
อังกฤษและคณิตศาสตร 7 คน อังกฤษและสังคม 9 คน
คณิตศาสตรและสังคม 8 คน เรียนทั้งสามวิชา 5 คน
ถาสุมเลือกนักเรียน 1 คน จากนักเรียนหองนี้ ความนาจะเปนที่นักเรียนคนนี้เรียนคณิตศาสตรหรือภาษาอังกฤษ
แตไมเรียนสังคม เทากับขอใดตอไปนี้
1) 0.48 *2) 0.52 3) 0.66 4) 0.76
BOBBYtutor Mathematic Note

10. ในการสุมเลือกคน 5 คน จากสามีภรรยา 6 คู ความนาจะเปนที่จะเลือกไดคนที่เปนสามีภรรยากัน 2 คู จาก 5 คน


ที่เลือก มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
1) 224 2) 225 3) 334 *4) 335
11. ขอมูลชุดหนึ่งมี 7 จํานวน เรียงจากนอยไปมากเปนดังนี้ 12, a, 25, 26, 42, 48, b
ถาขอมูลชุดดังกลาวมีคา สัมประสิทธิข์ องสวนเบีย่ งเบนควอไทลเทากับ 0.5 และพิสยั เทากับ 36 แลวคาเฉลี่ยเลขคณิต
ขอมูลชุดนี้เทากับขอใดตอไปนี้
*1) 31 2) 32 3) 33 4) 34
12. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนกลุมหนึ่ง นายวิทยาสอบไดคะแนน 65 คะแนน และนายคณิตสอบได
คะแนน 40 คะแนน ถาคะแนนมาตรฐานของนายวิทยาและนายคณิตเปน 2.5 และ 0 ตามลําดับแลว สัมประสิทธิ์
ของการแปรผันของคะแนนครั้งนี้เทากับขอใดตอไปนี้
1) 0.15 2) 0.2 *3) 0.25 4) 0.3
13. คาเฉลี่ยเลขคณิตและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูล x1, x2, x3 เปน 8 และ 3 ตามลําดับ คาเฉลี่ยเลขคณิต
6 2
ของขอมูล x4, x5, x6 เปน 10 และ ∑ xi = 567 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของขอมูล x4, x5, x6 เทากับขอใด
i=1
ตอไปนี้
1) 6 2) 5 *3) 4 4) 3
14. ในป พ.ศ 2545 นาย ก ทํางานที่จังหวัดเชียงใหม ไดเงินเดือน 18,600 บาท นาย ข ทํางานที่จังหวัดภูเก็ต ได
เงินเดือน 20,000 บาท
ถาดัชนีราคาผูบริโภคในป พ.ศ. 2545 (พ.ศ. 2540 = 100) ของคนในจังหวัดเชียงใหมและจังหวัดภูเก็ต
เทากับ 93 และ 103 ตามลําดับแลว
จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ป พ.ศ. 2545 รายไดที่แทจริงของนาย ก เทากับ 20,000 บาท
ข. ป พ.ศ. 2545 ถาตองการใหรายไดที่แทจริงของนาย ก และนาย ข เทากัน นาย ข ตองไดเงินเดือนเพิ่มอีก
เดือนละ 600 บาท
ขอใดตอไปนี้ถูก
*1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
BOBBYtutor Mathematic Note

เตรียมสอบมั่นใจเต็ม 100 คณิตศาสตร 2 ม.6


สวนนี้จะเสนอแบบฝกหัดเพิ่มเติมเพื่อเสริมทักษะใหพรอมเต็มที่สําหรับการสอบครั้งนี้

แคลคูลัสเบื้องตน
 3x - 6 , x < 2

1. กําหนดให f(x) = 
 x-1 , x ≥ 2
ขอใดตอไปนี้ผิด (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (2 คะแนน)
1) lim f(x) = 0 2) lim f(x) = 1
x → 2- x → 2+
*3) lim f(x) = f(2) 4) ฟงกชัน f(x) ไมตอเนื่องที่ x = 2
x→2

(x - 2) 2 , x > 2


x2 - 4


2. กําหนดให f(x) = h , x = 2


2x + k , x < 2

ถาฟงกชัน f มีความตอเนื่องที่ x = 2 แลว h + k มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540)


(2 คะแนน)
*1) -4 2) -2 3) 0 4) 2
3. กําหนดให f(x) = 3x2 - 2x - 1 และ
a แทน อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ f เทียบกับ x เมื่อ x เปลี่ยนจาก 1 ไปเปน 2
b แทน อัตราการเปลี่ยนแปลงของ f เทียบกับ x ขณะที่ x = 2
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (1 คะแนน)
*1) a = 7, b = 10 2) a = 10, b = 7 3) a = 72 , b = 10 4) a = 72 , b = 7
4. กําหนดให f(x) = 2x + 4 คาของ f′(0) คือขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (1 คะแนน)
1) 41 *2) 21 3) 1 4) 2
5. ถาจุดบนเสนโคง y = 2x3 - x2 ทําใหเสนสัมผัสเสนโคงที่จุดนั้นตั้งฉากกับเสนตรง x + 4y = 10 แลว
จุดนั้นมีพิกัด x เทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (2 คะแนน)
*1) 1, - 23 2) 1, 23 3) -1, - 23 4) -1, 23
BOBBYtutor Mathematic Note

6. กําหนดให f(x) = x4 - 2x2 ; f(x) มีคาลดลงในชวงใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (1 คะแนน)


1) (-1, 0) *2) (0, 1) 3) (1, 2) 4) (2, +∞)
7. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา f(x) เปนฟงกชันเพิ่มเมื่อ a < x < b แลว f′(x) < 0 สําหรับทุกๆ x เมื่อ a < x < b
ข. ถา f(x) มีคาสูงสุดสัมพัทธที่ x = c และ f′(c) หาคาได แลว f′(c) = 0
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (1 คะแนน)
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
*3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
8. มีไมทํารั้วยาว 1600 เมตร ตองการกั้นรั้วรอบคอกมาเปนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากใหมีพื้นที่มากที่สุด จะไดพื้นที่เทากับ
คาในขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (2 คะแนน)
1) 80,000 ตารางเมตร *2) 160,000 ตารางเมตร
3) 360,000 ตารางเมตร 4) 480,000 ตารางเมตร
9. ถาจํานวนจริงสองจํานวนบวกกันได 15 แลว ผลคูณของสองจํานวนนี้จะมีคาสูงสุดเทากับเทาใด (ตอบ 56.25)
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (3 คะแนน)
10. ∫ x - 9 dx เทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (1 คะแนน)
x
1) 21 x x - 18 x + C 2) 21 x x + 18 x + C
*3) 23 x x - 18 x + C 4) 23 x x + 18 x + C
11. ถาฟงกชัน y = f(x) มีอนุพันธที่จุด x ใดๆ เปน dy dx = 2x + 1 และ f(1) = 3 แลวคาของ f(2) เทากับ
ขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (2 คะแนน)
1) 4 2) 5 3) 6 *4) 7

1.998 เมื่อ x < 0



12. กําหนดให f(x) = 2 เมือ่ 0 ≤ x < 1



2x เมือ่ 1 < x


พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. lim f(x) = 2
x →0
ข. lim f(x) หาคาไมได
x →1
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก *4) ก. ผิด และ ข. ผิด
BOBBYtutor Mathematic Note


x 2 + 4 เมื่อ x < 2




13. กําหนดให f(x) = 5 เมื่อ x = 2


x 3 เมื่อ x > 2


ขอใดตอไปนี้ผิด (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (1 คะแนน)


1) lim f(x) = 8 2) lim f(x) = 8
x → 2- x → 2+
*3) f(2) = หาคาได 4) f ตอเนื่องที่ x = 2

2 เมื่อ x ≤ -1
x -
2
14. กําหนดให f(x) = 
x - 3 เมื่อ x > -1

1


พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. f เปนฟงกชันตอเนื่องที่จุด x = -1
ข. f เปนฟงกชันตอเนื่องที่จุด x = 2
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
*1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด
3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
 x2 , x < 3
15. กําหนดให f(x) =  2x , x ≥ 3


ขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)


*1) lim f(x) > lim f(x) 2) lim f(x) < lim f(x)
x → 3- x → 3+ x → 3- x → 3+
3) lim f(x) = lim f(x) 4) lim f(x) = 75
x → 3- x → 3+ x→3

3x + a เมื่อ x = 1

16. กําหนดให f(x) = x 2 - 4 
x - 2 เมื่อ x ≠ 1



โดยที่ a เปนจํานวนจริงคาของ a ที่ทําใหฟงกชัน f ตอเนื่องที่ x = 2 คือขอใดตอไปนี้


(ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
*1) -2 2) 0 3) 1 4) 2
BOBBYtutor Mathematic Note


ax , x < 1


17. กําหนดให f(x) = 
4 , x = 1 เมื่อ a และ b เปนจํานวนจริง


x+b ,x>1

ถา f เปนฟงกชันตอเนื่องที่จุด x = 1 แลว (a + b) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539)


(2 คะแนน)
1) -1 2) 1 *3) 7 4) 9
18. กําหนดให f(x) = 2x + 1 และให g เปนอนุพันธของ f ขอความใดตอไปนี้ถูกตอง
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (1 คะแนน)
1) Df = Dg *2) Dg ⊂ Df และ Dg ≠ Df
3) Df ⊂ Dg และ Df ≠ Dg 4) Df I Dg = - 21 
19. ถาเสนตรงผานจุดกําเนิดและสัมผัสเสนโคง y = x2 + 2 ในควอดรันตที่หนึ่ง แลวสมการของเสนตรงนี้คือสมการ
ในขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (2 คะแนน)
1) y = 3x 2) y = 4x *3) y = 2 2 x 4) y = 3 2 x
2 2
20. กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริงที่ไมใชศูนย และ y = x x -- ba ถาเมื่อ x = 0, y = 1 และ y′ = 1 แลว a
เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (2 คะแนน)
1) a = b 2) a = -b 3) a = | b | *4) | a | = b
1 - x เมื่อ - ∞ < x < 1
21. ถา b เปนจํานวนจริงที่ทําใหฟงกชัน f(x) = 
x + b เมื่อ 1 ≤ x < +∞
มีความตอเนื่องที่จุด x = 1 แลวอนุพันธของ f ที่จุด x = b เปนจริงตามขอใดตอไปนี้
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (2 คะแนน)
1) f′(b) = 0 2) f′(b) = 1 *3) f′(b) = 2 4) ไมมีอนุพันธ
22. กําหนดให f เปนฟงกชันที่หาอนุพันธได โดยที่ f(-1) = 2 และ f′(-1) = -5 ถา y = (x3 - 2x2) f(x) แลวคาของ
dy ที่จุด x = -1 มีคาเทากับเทาใด (ตอบ 29) (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (3 คะแนน)
dx
23. กําหนด f(x) = x3 + 3 และ g(x) = 4 - 3 ความชันของเสนโคงที่จุดซึ่ง x = 1 ของฟงกชันในขอใดตอไปนี้
x
มีคามากที่สุด (ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
1) f(x) 2) g(x) 3) (f ⋅ g)(x) *4)  gf (x)
24. กําหนดเสนโคง y = x3 + 32 x2 - 6x + 4 เสนสัมผัสเสนโคงที่จุด x = 23 จะขนานกับเสนตรงในขอใดตอไปนี้
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
1) 6x + 3y - 7 = 0 *2) 8x + 3y + 5 = 0 3) 8x - 3y - 4 = 0 4) 4x + 3y - 11 = 0
BOBBYtutor Mathematic Note

25. กําหนดให g(x) = [f(x)]4 ถา f(1) = 2 และ f′(x) = 5x แลวคาของ g′(1) เทากับขอใดตอไปนี้
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (1 คะแนน)
1) 100 2) 120 3) 140 *4) 160
26. กําหนดให f(x) = x2/3 - x3 สมการของเสนตรงที่ผานจุด (1, 2) และมีความชันเทากับความชันของเสนสัมผัส
เสนโคง y = f(x) ที่จุด x = -1 คือสมการในขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
1) 7x + 3y - 13 = 0 *2) 11x + 3y - 17 = 0
3) -7x + 3y + 1 = 0 4) -11x + 3y + 5 = 0
27. กําหนดให f(x) = x3 + Ax2 + Bx + 4 เมื่อ A, B เปนจํานวนจริง ถา f(1) = 4 และ f′(0) = 1 แลว f มีคาตํ่าสุด
สัมพัทธ เมื่อ x มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
1) 31 *2) 1 3) 43 4) 2
28. พอคาผลิตสินคาชนิดหนึ่ง x กิโลกรัม ตองลงทุนทั้งหมด 2x2 + 6x + 300 บาท และขายไปกิโลกรัมละ
310 - 2x บาท ถาพอคาตองการขายใหไดกาไรมากที
ํ ส่ ดุ แลวเขาตองผลิตสินคาชนิดนีก้ กี่ โิ ลกรัม (ตอบ 38 กิโลกรัม)
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (3 คะแนน)
29. ชาวสวนผูหนึ่งสังเกตวา ถาเขาปลูกมะมวง 80 ตน ในพื้นที่หนึ่งจะไดผลเฉลี่ย 150 ผลตอตน แตถาเขาปลูกให
นอยลง จะไดผลเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตนละ 5 ผลตอจํานวนตนมะมวงที่ลดลง 1 ตน ถา N เปนจํานวนตนมะมวง
ที่ปลูกในพื้นที่นี้เพื่อใหไดผลผลิตมากที่สุด แลว N เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
1) 25 ≤ N < 40 2) 40 ≤ N < 55 *3) 55 ≤ N < 70 4) 70 ≤ N < 80
30. ขอใดตอไปนี้เปนปฏิยานุพันธของ 2x2(2x - 3) (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (1 คะแนน)
1) (x3 - 2)x 2) (2 - x3)x 3) (2 - x)x3 *4) (x - 2)x3
31. ถา f(x) = 3x2 + 2x และ ∫[f(x) + g(x)]dx = x5 + C แลว ∫g(x)dx คือขอใดตอไปนี้
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (1 คะแนน)
*1) x5 - x3 - x2 + C1 2) x5 + x3 + x2 + C1
6 6
3) x6 - x3 - x2 + C1 4) x6 + x3 + x2 + C1
32. กําหนดให f(x) = (x - 1)2 และ g(x) = ∫f(x)dx โดยที่ (fg)(2) = 0 ถา (fg)(0) = a และ (f + g)(0) = b
แลวขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
1) a = 31 , b = 23 2) a = 31 , b = 31 3) a = - 23 , b = 23 *4) a = - 23 , b = 31
33. กําหนดให f(x) = px2 + qx + r เมื่อ p, q, r เปนจํานวนจริง ถา F(x) เปนปฏิยานุพันธของ f(x) และ F(0) = 0
แลว F(1) + F(-1) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
1) 0 2) p *3) q 4) r
34. กําหนดให f(x) = 3x2 - 3 และ F เปนปฏิยานุพันธของฟงกชัน f ถา F(0) = 4 แลว F(1) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (1 คะแนน)
1) 0 2) 1 *3) 2 4) 3
BOBBYtutor Mathematic Note

35. นายแดงตองการจะกั้นรั้วรอบที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผาไวปลูกสม โดยใชรั้วบานเปนรั้วดานหนึ่งของที่ดินแปลงนี้


ถาเขามีลวดหนามยาว 400 เมตร และตองการปลูกสม 1 ตนตอที่ดินทุกๆ 5 ตารางเมตร เขาจะปลูกสมไดมาก
ที่สุดกี่ตน
1) 100 ตน 2) 200 ตน *3) 4,000 ตน 4) 2,000 ตน
36. ให f′(x) เปนอนุพันธของ f(x) ถา f(0) = 0 แลว f(1) ในขอใดตอไปนี้ตางจาก f(1) ในขออื่น
*1) f′(x) = (4x2 + 1)(x - 1) 2) f′(x) = 4 - 5
x
3) f′(x) = 4 x 3 4) f′(x) = 4x(x2 + 1)
37. ถาเสนสัมผัสกับเสนโคง y = 31 (x3 - 3x2 + 6x + 4) ที่จุด P ขนานกับเสนตรง 2x - y + 3 = 0 ขอใดตอไปนี้
เปนสมการของเสนตรงที่ตั้งฉากกับเสนสัมผัสที่จุด P
*1) 3x + 6y - 8 = 0 และ x + 2y - 10 = 0 2) 3x + 6y - 14 = 0 และ x + 2y - 8 = 0
3) 6x + 3y - 4 = 0 และ 2x + y - 8 = 0 4) ไมมีคําตอบถูก
38. กําหนดฟงกชัน f(x) = x - 1 ขอความใดตอไปนี้เปนจริง
x
1) f(x) มีคาสูงสุด 2) f(x) มีคาตํ่าสุด
3) f(x) มีทั้งคาสูงสุด และคาตํ่าสุด *4) f(x) ไมมีคาสูงสุด และไมมีคาตํ่าสุด
39. ในการโยนลูกบอลตรงขึ้นไปในอากาศจากยอดตึกสูง 34.3 เมตร มีสมการของการเคลื่อนที่ของลูกบอลเปน
s = 29.4t - 4.9t2 เมื่อ s เปนระยะทางมีหนวยเปนเมตร และ t เปนเวลามีหนวยเปนวินาที ขอความใดตอไปนี้
ไมจริง
1) อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ s เทียบกับ t ในชวงเวลา t = 2 ถึง t = 3 มีคานอยกวาอัตราการ
เปลี่ยนแปลงของ s เทียบกับ t ที่ขณะเวลา t = 2
*2) ลูกบอลขึ้นไปไดสูงสุด 44.1 เมตร จากพื้นดิน
3) ลูกบอลจะตกถึงยอดตึกในเวลา 6 วินาที
4) ขณะที่ตกถึงยอดตึก ลูกบอลมีอัตราเร็ว 29.4 เมตร/วินาที
40. ในการประมาณการปลูกมันสําปะหลัง พบวาถาขุดมันสําปะหลังขณะนี้ ไดมันสําปะหลัง 100 กิโลกรัม และขายได
กิโลกรัมละ 1.50 บาท ถายังไมขุดและรอตอไปจะไดมันสําปะหลังเพิ่มขึ้นสัปดาหละ 10 กิโลกรัม แตราคาขาย
จะลดลงไปสัปดาหละ 0.05 บาทตอกิโลกรัม ดังนั้นควรขายมันสําปะหลังเมื่อใดจึงจะมีรายไดจากการขายมากที่สุด
1) ขายทันที 2) ขายเมื่อสิ้นสัปดาหที่หา
*3) ขายเมื่อสิ้นสัปดาหที่สิบ 4) ขายเมื่อสิ้นสัปดาหที่สิบหา
41. จากการวิเคราะหเกี่ยวกับกําลังคน และเครือ่ งมือในการผลิตของบริษทั แหงหนึ่ง ปรากฏวาดวยกําลังคนและเครื่องมือ
ในการผลิตที่บริษัทมีอยูขณะนี้ บริษัทจะมีผลผลิต 3,000 ตันตอวัน ถาไมมีการเปลี่ยนแปลงในการลงทุนแลว
อัตราการเปลี่ยนแปลงของผลผลิตตอวันเทียบกับกําลังคนที่เพิ่มขึ้นจะเทากับ 80 - 6 x เมื่อ x เปนจํานวนคน
ที่เพิ่มขึ้น อยากทราบวาผลผลิตตอวันของบริษัทนี้จะเปนกี่หนวย เมื่อมีจํานวนคนเพิ่มขึ้น 25 คน
1) 3,000 หนวย *2) 4,500 หนวย 3) 4,625 หนวย 4) 4,985 หนวย
BOBBYtutor Mathematic Note

42. ความชันของเสนสัมผัสกับเสนโคง y = f(x) ณ จุดใดๆ เทากับ 3x2 - 2x ถาเสนโคงนี้ผานจุด (0, 2) แลวขอใด


ตอไปนี้ผิด
1) ขอมูลที่โจทยกําหนดใหเพียงพอที่จะหาสมการของเสนโคงได
2) คาสูงสุดสัมพัทธของ f(x) = 2
*3) คาตํ่าสุดสัมพัทธของ f(x) นอยกวา 0
4) คาตํ่าสุดสัมพัทธของ f(x) นอยกวาคาสูงสุดสัมพัทธของ f(x)
43. การผลิตสินคาชนิดหนึ่งของบริษัทแหงหนึ่งเสียคาใชจายหนวยละ 0.2x + 4 + 400 x บาท รัฐบาลเก็บภาษีอีก
หนวยละ 22 บาท บริษัทขายหนวยละ 400 - 2x บาท โดยที่ x หมายถึง จํานวนหนวยที่ผลิตตอเดือน ถาจะใหได
กําไรตอเดือนมากที่สุดบริษัทจะตองผลิตสินคานี้เปนจํานวนเทาใด
*1) 85 หนวย/เดือน 2) 90 หนวย/เดือน 3) 95 หนวย/เดือน 4) 100 หนวย/เดือน
44. กําหนดให v(t) = t2 - 4t + 10 เปนความเร็วของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ณ เวลา t และมีหนวยเปนเมตรตอวินาที
ขณะที่ t = 0 วัตถุเคลื่อนที่ไดระยะทาง 43 เมตร เมื่อความเรงของวัตถุเทากับ 0 เมตร/วินาที2 ความเร็วและ
ระยะทางมีคาเทาใด
*1) 6 เมตร/วินาที, 16 เมตร 2) 6 เมตร/วินาที, 8 เมตร
3) 16 เมตร/วินาที, 6 เมตร 4) 6 เมตร/วินาที, 443 เมตร
45. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
*1) ถา f′(x) = 3 x + 1 และ f(1) = 0 แลว f(0) = -3
2) ถา f(x) = 1 + 1 แลว f′(x) = 4 x-13 /2
2x
3) ถา f(x) = x - 21 แลวอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ f(x) เทียบกับ x ในชวง x = a ถึง x = a + h
เทากับ 1
a+h - a
4) ถา f(x) = 1 - x2 แลว f′(x) ≥ 0 เมื่อ x ≥ 0 และ f′(x) < 0 เมื่อ x < 0
46. สมการของเสนตรงที่สัมผัสเสนโคง y = x3 - x + 1 และตั้งฉากกับเสนตรง 2x + 4y - 5 = 0 คือสมการในขอใด
1) 2x - y + 1 = 0 , 2x - y - 3 = 0 2) 4x - 2y - 1 = 0 , 4x - 2y + 3 = 0
3) 2x - y - 1 = 0 , 2x - y - 3 = 0 *4) 2x - y - 1 = 0 , 2x - y + 3 = 0
47. กําหนดให m1 และ m2 เปนความชันของเสนสัมผัสของกราฟ y = 2x2 - 8x + 5 ณ จุดที่กราฟนี้ตัดกับเสนตรง
y + 9x = 6 คา m1 และ m2 เทากับเทาใด
*1) -12, -6 2) -10, -4 3) -10, -7 4) -9, -6
BOBBYtutor Mathematic Note

48. ยิงปนขึ้นไปในแนวดิ่งจากพื้นราบ ไดสมการของการเคลื่อนที่ของลูกปนเปน s = 128t - 16t2, t ≥ 0 โดยที่


t แทนเวลาที่มีหนวยเปนวินาที และ s แทนความสูงของลูกปนเมื่อเวลาผานไป t วินาที และมีหนวยเปนเมตร
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ลูกปนอยูสูงจากพื้นราบเปนระยะ 156 เมตร เมื่อ t = 1.5 วินาที เพียงเวลาเดียวเทานั้น
*2) ระยะที่ลูกปนขึ้นไปไดสูงสุดคือ 256 เมตร
3) เมื่อเวลาผานไป 4 วินาที ลูกปนจะอยูที่พื้นราบ
4) เมื่อเวลาผานไป 6 วินาที ลูกปนจะเดินทางไปไดเปนระยะทางทั้งหมด 192 เมตร
49. กําหนดให l เปนเสนตรงซึ่งมีความชัน 2 และสัมผัสโคง y = x2 + 2 ถา (a, b) เปนจุดบนเสนตรง l ที่อยูใกล
จุดกําเนิดมากที่สุด แลว a + b มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
*1) - 51 2) 51 3) - 25 4) 25
50. บริษัทหนึ่งขายสินคาได 100 ชิ้น ไดกําไร 6,800 บาท โดยมีอัตราการเปลี่ยนแปลงของกําไรเทียบกับจํานวนสินคา
ที่ขายไดของบริษัทเปน 78 - 0.08x เมื่อ x คือจํานวนสินคาที่ขายได ในการผลิตสินคานี้ บริษัทจะมีโอกาสทํากําไร
ไดมากที่สุดเทากับขอใดตอไปนี้
1) 17,421 บาท 2) 27,522 บาท *3) 37,425 บาท 4) 47,427 บาท
51. ถาอัตราการเปลี่ยนแปลงของความชันของเสนโคง y = f(x) ณ จุดใดๆ มีคาเปน x - 1 และเสนโคงมีความชันเปน
1 ที่จุด (-1, 0) แลวสมการของเสนโคงนี้คือขอใดตอไปนี้
2 2
1) y = x2 - x - 21 2) y = x2 - x + 32
3 2 2
*3) y = x6 - x2 - x2 + 61 4) y = x 3 - x2 - 3x2 - 136
52. กําหนด f(x) = 3x - 12x 2 - 24x คาของ lim f(x + h)h - f(x) เมื่อ x = 8 เทากับขอใดตอไปนี้
7/3 5/3 4/3
x h →0
1) 0 *2) 1 3) 2 4) 3
53. กําหนด y = f(x) ถาอัตราการเปลี่ยนแปลงของ y เทียบกับ x เทากับ kx3 - 10x + 6 เมื่อ x มีคาใดๆ และ k
เปนคาคงตัว และ f(0) = 1, f′(1) = 0 แลว f(-1) มีคาเทาใด
1) 6 *2) -9 3) 10 4) -13
3 2
54. กําหนดให f(x) = x - 2x2 - x + 2 ถาตองการให f เปนฟงกชันตอเนื่องบนเซตของจํานวนจริง แลวจะตอง
x -1
นิยามเพิ่มเติมตามขอใดตอไปนี้
1) f(-1) = 1 และ f(1) = -1 *2) f(-1) = -3 และ f(1) = -1
3) f(-1) = -1 และ f(1) = -3 4) f(-1) = -3 และ f(1) = 3
BOBBYtutor Mathematic Note

วิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธีจัดหมู
1. จํานวนวิธีจัดเลข 3 หลัก ที่มีคามากกวา 300 จากเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยตัวเลขเหลานี้สามารถนํามาใชได
ครั้งเดียวมีคาเทากับคาใดในขอตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (1 คะแนน)
1) 12 2) 24 *3) 60 4) 154
2. บริษัทหนึ่งมีตําแหนงงานวางอยู 2 ตําแหนง ที่แตกตางกัน ถามีผูมาสมัครเขาทํางาน 4 คน คือ ก ข ค
และ ง เมื่อทําการสัมภาษณแลว ปรากฏวาคนที่เหมาะสมกับตําแหนงที่ 1 คือ ก ข ค คนที่เหมาะสมกับตําแหนงที่ 2
คือ ข ค ง ขอใดตอไปนี้ เปนจํานวนวิธีที่แตกตางกัน ที่บริษัทจะบรรจุคนเขาทํางานโดยใหคนเหมาะสมกับงาน
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (2 คะแนน)
1) 9 2) 7 *3) 6 4) 3
3. ใชอักษร 3 ตัว จาก {A, B, ... , Z} เรียงกันเปนรหัสลับ จะมีรหัสลับซึ่งประกอบดวยสระอยางนอย 1 ตัว กี่วิธี
(ตอบ 7620 วิธี)
4. จํานวนวิธีจัดผูชาย 3 คน และผูหญิง 4 คน ใหนั่งในแถว โดยที่ผูชายจะนั่งในตําแหนงเลขคูเสมอ มีคาเทากับ
ขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (1 คะแนน)
1) 12 *2) 144 3) 288 4) 5040
5. สมศรีตองการเรียงกระถางตนไมไวบนระเบียงบานใหเปนแนวเสนตรงโดยมีตนกุหลาบ 3 ตน โปยเซียน 2 ตน
และมะลิ 4 ตน จํานวนวิธีที่จะเรียงตนไมทั้งหมดโดยใหตนมะลิทุกตนอยูติดกันเสมอ เทากับขอใดตอไปนี้
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
1) 36 *2) 60 3) 720 4) 1260
6. มีธงของชาติตางๆ 5 ผืน ชาติละ 1 ผืน และธงไทยขนาดไมเทากัน 2 ผืน นํามาจัดประดับรอบวงเวียน
โดยไมใหธงไทยอยูติดกันจํานวนวิธีจัดคือขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2535)
1) 120 2) 240 *3) 480 4) 600
7. ในการแขงขันฟุตบอลของทีมโรงเรียนตางๆ จํานวน 50 ทีม ถาจัดการแขงขันแบบพบกันหมด จํานวนครั้งของการ
แขงขันทั้งหมดเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (1 คะแนน)
1) 1176 *2) 1225 3) 2450 4) 2540
8. กําหนดจุด 15 จุด บนเสนรอบวง ถาลากเสนเชื่อมจุดแตละคู จํานวนจุดตัดภายในวงกลมของเสนตรงเหลานี้
ที่มากที่สุดที่เปนไปได มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (2 คะแนน)
 15   15   15   15   15   15 
1)  2  *2)  4  3)  2   2  4)  2   4 
         

9. ตองการจัดคน 7 คน ใหนั่งรอบโตะหกเหลี่ยมดานเทา ซึ่งจัดเกาอี้ไวรอบโตะ 6 ตัว โดยเกาอี้แตละตัววางหางกัน


เปนระยะเทากัน และเกาอี้หนึ่งตัวนั่งได 1 คน จะมีจํานวนวิธีจัดดังกลาวไดกี่วิธี (ตอบ 840)
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (3 คะแนน)
BOBBYtutor Mathematic Note

10. กลองใบหนึ่งมีลูกบอล 15 ลูก เปนสีแดง 1 ลูก สีขาว 2 ลูก นอกนั้นเปนสีอื่น ถาเลือกลูกบอล 3 ลูก
จากกลองใบนี้ใหไดสีแดง 1 ลูก และไมไดสีขาว จะมีวิธีเลือกไดเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539)
(1 คะแนน)
1) 54 วิธี *2) 66 วิธี 3) 78 วิธี 4) 94 วิธี
11. จํานวนวิธีเลือกผูแทน 3 คน จากผูสมัคร 9 คน ซึ่งประกอบดวยชาย 4 คน และหญิง 5 คน เขาไปรวม
ในคณะกรรมการชุดหนึ่งโดยอยางนอยตองมีชาย 1 คน มีกี่วิธี (ตอบ 74 วิธี)
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (3 คะแนน)
12. ในชมรมสงเสริมศีลธรรม มีสมาชิกเปนพอบาน 4 คน แมบาน 2 คน และเยาวชน 5 คน ตองการเลือกกรรมการ
ชุดหนึ่งที่มี 3 คน โดยจะตองมีเยาวชนอยางนอย 1 คน จํานวนวิธีเลือกเทากับขอใดตอไปนี้
1) 5 2) 31 3) 135 *4) 145
13. กําหนดรูปแปดเหลี่ยมดานเทามุมเทา 1 รูป ถาลากเสนตรงใหผานจุดอยางนอย 2 จุด ในบรรดาจุดยอดและ
จุดกึ่งกลางดานของรูปแปดเหลี่ยมที่กําหนดให จะสามารถนับเสนตรงที่ตางกันไดเทากับขอใดตอไปนี้ (ถามีจุดใด
อยูบนเสนตรงนั้นแลวจะนับเสนตรงนั้นเพียง 1 ครั้ง)
1) 96 *2) 104 3) 120 4) 125
14. ในการนั่งรับประทานอาหารรอบโตะกลมซึ่งมี 10 ที่นั่ง ถาในบรรดา 10 คน ที่นั่งโตะนี้สามีภรรยา 2 คู ตองการ
นั่งติดกัน โดยแตละคูตองนั่งเคียงขางกันเสมอ แลวจํานวนวิธีการจัดที่นั่งของคนทั้ง 10 คน เทากับขอใดตอไปนี้
1) 8 (6!) วิธี 2) 56 (6!) วิธี 3) 24 (6!) วิธี *4) 28 (6!) วิธี
15. มีปายเครื่องหมายอยูจํานวนหนึ่งเปนเครื่องหมาย + อยู 4 อัน และเครื่องหมาย × อยู 3 อัน สวนที่เหลือเปน
เครื่องหมายอื่น 1 อัน ถานําปายทั้งหมดมาวางเรียงแถวกัน แลวไดจํานวนวิธีการเรียงเปน a เทาของจํานวน
วิธีการหยิบปายมาครั้งละ 5 อัน จงหาคาของ a (ตอบ a = 5)
16. กําหนดจุด 6 จุด บนวงกลมวงหนึ่ง จํานวนวิธีที่จะสรางรูปเหลี่ยมบรรจุในวงกลมโดยใชจุดเหลานี้เปนจุดยอดมุม
เทากับขอใดตอไปนี้
1) 20 2) 35 *3) 42 4) 63
17. ถาเครื่องดื่มทีจ่ ดั ไวเปนนําอั
้ ดลม 4 ชนิด นํ้าผลไมสด 3 ชนิด จํานวนวิธที จี่ ะเลือกนําอั
้ ดลม 2 ชนิด และนํ้าผลไมสด
2 ชนิด แลวนํามาเสิรฟคนนั่งรอบโตะกลม 4 คน คนละ 1 แกว อยางไมเจาะจงเทากับขอใดตอไปนี้
1) 72 2) 108 3) 144 *4) 432
18. มีผาเช็ดหนาสีขาวลายตางกัน 3 ผืน สีฟาลายตางกัน 2 ผืน สีชมพูลายตางกัน 2 ผืน จํานวนวิธีเรียงผาเช็ดหนา
7 ผืนซอนกัน โดยที่ผาเช็ดหนาสีขาวอยูติดกันทั้งสามผืนไมได เทากับขอใดตอไปนี้
1) 2160 2) 3600 *3) 4320 4) 5040
19. จะสรางจํานวนที่มี 3 หลัก จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 โดยที่ตัวเลขแตละหลักจะตองไมซํ้ากัน
และจํานวนที่สรางขึ้นเปนจํานวนคี่ที่มีคามากกวา 300 แตนอยกวา 900 มีกี่จํานวน
1) 72 2) 200 *3) 216 4) 240
20. จะจัดคน 6 คน นั่งรอบโตะกลม 2 ตัว ตัวละ 3 คน ไดกี่วิธี
1) 20 2) 40 *3) 80 4) 160
BOBBYtutor Mathematic Note

21. กลองใบหนึ่งมีหนังสืออยู 4 เลม ปากกา 2 กลอง และดินสอ 3 กลอง หยิบของออกจากกลองครั้งหนึ่ง 3 ชิ้น


จํานวนวิธีที่จะหยิบไดดินสออยางนอย 1 กลองมีคาเปนเทาใด
1) 20 2) 28 3) 45 *4) 64
22. ถาใสยางลบ 3 แทง อยางไมเจาะจงลงในกลอง 3 ใบ จงหาจํานวนวิธีที่ไดยางลบ 2 แทง อยูในกลองใบเดียวกัน
สวนยางลบอีกแทงหนึ่งอยูในกลองอื่น
1) 3 2) 6 3) 9 *4) 18
23. การแสดงรําแบบหนึ่งใชผูแสดงชาย 4 หญิง 4 โดยจัดใหผูแสดงยืนเปนวงกลมซอนกัน 2 วง วงหนึ่งเปนชายลวน
อีกวงหนึ่งเปนหญิงลวน วงละ 3 คน จํานวนวิธีจัดผูแสดงยืนเปนวงกลมดังกลาวเทากับเทาใด
1) 36 2) 64 3) 72 *4) 128
24. มีนํ้าหอม 4 ขวด ขนาดตางกัน ครีมทาผิว 3 ขวด ขนาดตางกัน และแปงฝุน 2 กระปอง ขนาดตางกัน จํานวนวิธี
จัดเรียงของทั้งหมดบนชั้น โดยใหของชนิดเดียวกันอยูติดกัน และนํ้าหอมอยูระหวางแปงฝุนกับครีมทาผิว เทากับ
เทาใด
1) 288 *2) 576 3) 864 4) 1728
25. ถาตองการจัดใหเด็กชาย 4 คน เด็กหญิง 3 คน นั่งเปนวงกลม โดยไมใหเด็กหญิงนั่งติดกันจะจัดไดกี่วิธี
1) 30 2) 36 *3) 144 4) 288
26. ถาตองการเลือกผลไม 3 ชนิด จากผลไม 6 ชนิด คือ สม ชมพู มังคุด ละมุด มะมวง และนอยหนา โดยมีขอแมวา
สําหรับมังคุดกับละมุดนั้น ถาเลือกจะตองเลือกใหไดทั้ง 2 ชนิด จะเลือกไดกี่วิธี
1) 4 *2) 8 3) 16 4) 20
27. มีหนังสือคณิตศาสตรตางกัน 3 เลม หนังสือวิทยาศาสตรตางกัน 2 เลม และหนังสือภาษาอังกฤษตางกัน 3 เลม
ถาตองการจัดเรียงหนังสือทั้ง 8 เลมนี้ โดยใหหนังสือวิชาเดียวกันอยูติดกัน จะจัดไดกี่วิธี
1) 20 2) 72 *3) 342 4) 560
28. กลองใบหนึ่งมีปากกาสีขาว 5 ดาม และปากกาสีเหลือง 4 ดาม ปนกันอยู หยิบปากกามาสองดามอยางสุมๆ
จํานวนวิธีที่จะไดปากกาสองดามเปนสีเดียวกันเทากับเทาใด
1) 12 2) 60 *3) 16 4) 36
29. คนกลุมหนึ่งประกอบดวยพี่นอง 2 คน และเด็กอื่นอีก 6 คน ตองการจัดเด็กใหนั่งรอบโตะกลม โดยที่ไมใหพี่นอง
สองคนนั่งติดกัน จะจัดไดกี่วิธี
1) 72!! *2) 7! - 2! 6! 3) 8! - 2! 6! 4) ไมมีขอใดถูก
30. ถามีจานอยู 15 ใบ ซื้อจากสามประเทศ ประเทศ ก มี 5 ใบ แตกตางกัน ประเทศ ข มี 4 ใบ เหมือนกัน
และประเทศ ค มี 6 ใบ แตกตางกัน จะตั้งจานแสดงใหชมโดยจัดเรียงเปนวงกลมไดกี่วิธี
*1) 144!! 2) 514!6!! 3) 143!! 4) 314! 4!!
BOBBYtutor Mathematic Note

31. สมมติในงานเลี้ยงครั้งหนึ่งมีอาหารใหเลือกอยู 7 อยาง แตกตางกัน และมีอยูชนิดหนึ่งที่สมศรีรับประทานไมได


ถาเพื่อนของเธอตักอาหารใหเธอ 3 อยาง โดยที่เขาไมทราบวาเธอรับประทานอะไรไมได จงหาจํานวนวิธีที่อาหาร
ที่เขาตักมานั้นมีของที่สมศรีรับประทานไมไดรวมอยูดวย
*1) 15 2) 20 3) 21 4) 45
32. จํานวนวิธีจัดเรียงอักษรในคําวา ENTRANCE ซึ่งอักษร E ไมอยูติดกันเทากับเทาใด
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
1) 2520 *2) 7560 3) 8820 4) 10080
33. สามีภรรยาคูหนึ่งมีลูกอยู 2 คน มีทรัพยสินอยู 10 อยาง โดยที่ถาจัดกลุมตามมูลคาที่ใกลเคียงกันจะแบงไดเปน
สองกลุม กลุมที่หนึ่งมี 4 อยาง กลุมที่สองมี 6 อยาง และไดเขียนพินัยกรรมโดยระบุวา ลูกคนโตไดทรัพยสิน
จากกลุมที่หนึ่ง 2 อยาง และจากกลุมที่สอง 3 อยาง ผูจัดการมรดกจะแบงทรัพยสินใหแกลูกคนโตไดกี่วิธี
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
*1) 120 2) 240 3) 252 4) 1440
34. ในการเลือกคณะกรรมการ 5 คน จากผูสมัคร 11 คน ถาผูสมัครสองคนที่กําหนดใหจะไมถูกเลือกพรอมกัน
หรือไมถูกเลือกทั้งคู จํานวนวิธีการเลือกคือขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
1) 420 *2) 378 3) 252 4) 210
35. ในเขตเลือกตั้งหนึ่งมีผูแทนราษฎรได 3 คน มีผูสมัคร 4 พรรค พรรคละ 3 คน วิธีที่จะไดผูแทนราษฎรที่มาจาก
ตางพรรคกันคือขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2535)
1) 24 *2) 108 3) 114 4) 648
36. ในการเลือกคน 7 คน ไปทํางานชิ้นหนึ่งโดยใชคนอยางนอย 1 คน แตไมใชคน 3 คน จะมีวิธีเลือกทั้งหมดเปน
เทาใด (ตอบ 92) (ขอสอบเอนทรานซ ป 2535)
37. ตองการสรางรหัสจากตัวอักษร โดยกําหนดใหแตละรหัสอาจมีตัวอักษร 1 ตัว หรือ 2 ตัว หรือ 3 ตัว หรือ 4 ตัว
เทานั้น จะสรางรหัสไดทั้งหมดเทากับจํานวนในขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (1 คะแนน)
1) 16 2) 24 *3) 30 4) 32
38. ถาตองการเลือกมูลนิธิ 12 แหง จากที่มีอยูทั้งหมด 24 แหง เพื่อการบริจาคเงินตลอดป โดยบริจาคใหมูลนิธิ
เดือนละ 1 แหง ไมซํ้ากัน จํานวนวิธีบริจาคเทากับเทาใด (ขอสอบเอนทรานซ ป 2536)
*1) 24!12!
24!
2) 2!12! 3) 24!2 4) 24! 2
(12!) 2!(12!)
39. ครอบครัวๆ หนึ่ง ประกอบดวย พอ แม และลูก 2 คน ถาครอบครัวนี้ตองการขับรถไปชมงานบีโอไอแฟร โดยใช
รถยนตที่มี 4 ที่นั่ง โดยพอหรือแมเปนคนขับ จะมีจํานวนวิธีที่จะจัดสมาชิกในครอบครัวนั่งในรถยนตคันนี้ได
ทั้งหมดกี่วิธี (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (1 คะแนน)
*1) 12 2) 8 3) 6 4) 4
BOBBYtutor Mathematic Note

ความนาจะเปน
1. ในการจับฉลากชื่อนักเรียน 1 คน จากนักเรียน 4 คน ซึ่งเปนชาย 2 คน หญิง 2 คน จากโรงเรียน
ในกรุงเทพฯ เพื่อเปนตัวแทนไปแขงขันตอบปญหา ความสนใจผลลัพธขอใดตอไปนี้ทําใหการทดลองนี้เปนการ
ทดลองสุม (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (1 คะแนน)
1) ไดตัวแทนเปนนักเรียนของโรงเรียนในกรุงเทพฯ 2) ไดตัวแทนเปนนักเรียนของโรงเรียนในตางจังหวัด
*3) ไดตัวแทนเปนนักเรียนชาย 4) ถูกทั้งขอ 1), 2) และ 3)
2. ในการทดลองสุมใดๆ ให P(A) แทนความนาจะเปนของเหตุการณ A ใดๆ ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (1 คะแนน)
1) มีอยางนอยหนึ่งเหตุการณ A ที่ P(A) = 0 2) มีอยางนอยหนึ่งเหตุการณ A ที่ P(A) = 1
*3) มีอยางนอยหนึ่งเหตุการณ A ที่ P(A) = 21 4) มีอยางนอยหนึ่งเหตุการณ A ที่ P(A) > 21
3. สมชายมีเสื้ออยู 5 ตัว เปนสีขาว 3 ตัว สีฟา 2 ตัว มีกางเกงขายาว 4 ตัว เปนสีขาว 1 ตัว และสีเทา 3 ตัว ถา
สมชายแตงตัวออกจากบานโดยไมเจาะจงแลว ความนาจะเปนที่เขาสวมเสื้อ และกางเกงสีตางกันคือขอใดตอไปนี้
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (2 คะแนน)
1) 15
20 2) 1620 *3) 1720 4) 18
20
4. ถาความนาจะเปนที่แดงจะอายุยืนถึง 20 ปขางหนา เทากับ 0.6 ความนาจะเปนที่ดําจะอายุยืนถึง 20 ปขางหนา
เทากับ 0.9 และความนาจะเปนที่แดงหรือดําจะมีอายุยืนถึง 20 ปขางหนาเทากับ 0.96 แลวขอใดตอไปนี้คือ
ความนาจะเปนที่แดงและดําจะมีอายุยืนถึง 20 ปขางหนา (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (2 คะแนน)
1) 0.04 2) 0.46 *3) 0.54 4) 0.96
5. ให A และ B เปนเหตุการณใดๆ ในแซมเปลสเปซ S ถา P(A′ I B) = P(A I B′) = P(A I B) = 0.2
แลว P((A U B)′) มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (1 คะแนน)
1) 0.3 *2) 0.4 3) 0.5 4) 0.6
6. ในงานชุมนุมครั้งหนึ่งมีบุคคลอาชีพตางๆ เขาชุมนุม 300 คน ในจํานวนนี้มีอาชีพทนายความ 160 คน
อาชีพขายประกัน 90 คน ทนายความและขายประกัน 40 คน ความนาจะเปนที่จะสุมเลือกไดตัวแทน 1 คน
ที่ไมเปนทนายความ และไมขายประกันมีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (1 คะแนน)
1) 61 2) 152 *3) 103 4) 17
30
7. ในการเลือกตัวเลขสามตัวโดยไมเจาะจงจาก {1, 2, 3, 4} โดยเลือกทีละตัวและไมซํ้ากัน ความนาจะเปนที่จะได
ตัวเลข 3 ตัว ที่มีผลบวกเปน 6 เทากับคาในขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
*1) 41 2) 31 3) 21 4) 34
BOBBYtutor Mathematic Note

8. จากประวัติของผูปวยของคลินิกแหงหนึ่งที่ปวยเปนโรคหัวใจหรือโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งมีจํานวน 50 คน โดยมี


ผูปวยโรคหัวใจ 20 คน มีผูปวยที่เปนทั้งโรคหัวใจและโรคความดันโลหิตสูง 15 คน ถาสุมหยิบประวัติผูปวย
1 ราย แลวความนาจะเปนที่จะไดผูปวยดวยโรคหัวใจอยางเดียวหรือปวยดวยโรคความดันโลหิตสูงอยางเดียว
เทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
1) 25 2) 35 *3) 107 4) 109
9. บานพักและโรงเรียนของสมศักดิ์อยูริมนํ้า เขาจึงเดินทางไปโรงเรียนและกลับบานโดยทางเรือ ถากําหนดวาเรือที่
สมศักดิ์จะใชบริการไดมีเรือดวน 10 ลํา และเรือหางยาว 8 ลํา ความนาจะเปนที่สมศักดิ์จะเดินทางไปโรงเรียนและ
กลับบานดวยเรือดวนลําเดียวกัน มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (2 คะแนน)
1) 181 2) 12 3) 1018 *4) 102
18 18
10. สําหรับเหตุการณ X ใดๆ ให P(X) แทนความนาจะเปนของ X ให A, B และ C เปนเหตุการณใดๆ
จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา P(A I B′) = P(A I B) = P(B I A′) แลว P(A U B) = 21
ข. ถา A I B = B I C = A I C = φ โดยที่ P(A U B) = P(A U C) = P(B U C) และ P(A U B U C) = 1
แลว P(A) = 31
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (2 คะแนน)
1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด *3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
11. จัดเด็กหญิง 3 คน และเด็กชาย 3 คน ใหยืนเรียงแถวตรง จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ความนาจะเปนที่เด็กชายจะยืนหัวแถวและทายแถว คือ 51
ข. ความนาจะเปนที่เด็กเพศเดียวกันจะยืนติดกัน คือ 81
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ก. ถูก และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
12. ให A, B และ C เปนสับเซตของแซมเปลสเปซ S ซึ่ง A I B = B I C = A I C = φ และ A U B U C = S
ถา P(A) = 0.24 และ P(B) = 0.36 แลวขอใดตอไปนี้เปนจริง
1) P(C) = 0.30 2) P(A U B) = 0.50 3) P(B U C) = 0.35 *4) P(A U C) = 0.64
13. จากการสํารวจใบสมัครของผูสมัครประกวดนางงามจักรวาล 100 คน พบวามีผูสมัครที่พูดภาษาอังกฤษได 50 คน
พูดภาษาฝรั่งเศสได 45 คน พูดภาษาสเปนได 30 คน ผูสมัครที่พูดภาษาอังกฤษและฝรั่งเศสได 15 คน พูดภาษา
อังกฤษและสเปนได 10 คน พูดฝรั่งเศสและสเปนได 10 คน และผูสมัครที่พูดไดทั้งสามภาษา 5 คน ถาสุม
ใบสมัครขึ้นมาหนึ่งใบ ความนาจะเปนที่จะไดใบสมัครของผูที่พูดภาษาอังกฤษหรือภาษาฝรั่งเศสหรือภาษาสเปนได
เทากับเทาใด
*1) 0.95 2) 0.90 3) 0.85 4) 0.80
BOBBYtutor Mathematic Note

14. ในกลองใบหนึ่งมีบัตร 10 ใบ เขียนเลขที่เปนจํานวนบวก 6 ใบ และจํานวนลบ 4 ใบ ถาหยิบบัตรขึ้นมาอยางสุม


3 ใบ และนําเลขบนบัตรมาแทนคา A, B, C ในสมการ D = AB C แลวความนาจะเปนที่จะได D เปนจํานวนบวก
คือขอใดตอไปนี้
1) 51 2) 154 3) 3011 *4) 157
15. ให A และ B เปน 2 เหตุการณใดๆ ถา P(A I B′) = 0.2 และ P(B′) = 0.5 แลว P(A U B) เทากับขอใดตอไปนี้
1) 0.6 *2) 0.7 3) 0.8 4) 0.9
16. กลองใบหนึ่งมีลูกบอลสีขาว 1 ลูก สีดํา 4 ลูก สีแดง 6 ลูก สีเขียว 6 ลูก ถาหยิบลูกบอลขึ้นมา 2 ลูก อยาง
ไมเจาะจง ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีตางกัน คือขอใดตอไปนี้
1) 349 25
*2) 34 72
3) 144 108
4) 144
17. ในการเลือกกรรมการชุดหนึ่งจากชาย 6 คน หญิง 4 คน จงหาความนาจะเปนที่จะเลือกกรรมการ 3 คน ใหมีทั้ง
หญิงและชาย (ตอบ 0.8)
18. เลขานุการคนหนึ่งพิมพจดหมาย 4 ฉบับ ถึงคน 4 คน พรอมจาหนาซอง ถาเขานําจดหมายใสซองอยางสุมโดย
ไมสนใจวาใสจดหมายในซองที่ถูกตองหรือไม ความนาจะเปนที่จะมีจดหมาย 2 ฉบับ ใสซองที่ถูกตองคือขอใด
ตอไปนี้
*1) 246 2) 247 12
3) 24 13
4) 24
19. กลองใบหนึ่งบรรจุสม 6 ผล เปนสมดี 4 ผล และสมเสีย 2 ผล สุมหยิบสมขึ้นมา 3 ผล ความนาจะเปนที่จะได
สมดี 2 ผล และสมเสีย 1 ผล เทากับขอใดตอไปนี้
1) 0.2 2) 0.3 3) 0.4 *4) 0.6
20. ให A และ B เปนเหตุการณ 2 เหตุการณ ถา P(A I B) = P(A I B′) = P(A′ I B) = 0.1 แลว P(A U B) เทากับ
ขอใดตอไปนี้
1) 0.1 2) 0.2 *3) 0.3 4) 0.4
21. สุดามีเสื้อ 10 ตัว เปนสีแดง 2 ตัว สีนํ้าเงิน 3 ตัว สีเขียว 1 ตัว และสีขาว 4 ตัว และมีกระโปรง 6 ตัว เปนสีแดง
2 ตัว สีนํ้าเงิน 3 ตัว และสีเขียว 1 ตัว สมมติวาสุดาแตงตัวออกจากบานอยางไมเจาะจง ความนาจะเปนที่สุดา
จะแตงตัวโดยสวมเสื้อและกระโปรงสีตางกันเทากับเทาใด
1) 307 2) 25 *3) 23
30 4) 53
60
22. แจกันใบหนึ่งมีดอกกุหลาบสีแดง 3 ดอก สีชมพู 3 ดอก สีสม 3 ดอก สีขาว 2 ดอก และสีเหลือง 2 ดอก สุมหยิบ
ดอกกุหลาบจากแจกันใบนี้มา 3 ดอก ความนาจะเปนที่จะหยิบไดดอกกุหลาบสีละดอกมีคาอยูในชวงใด
1) [0, 0.25] *2) (0.25, 0.50] 3) (0.50, 0.75] 4) (0.75, 1]
BOBBYtutor Mathematic Note

23. ผูจัดการฝายบุคคลของบริษัทหนึ่งคิดวา การจําแนกใบสมัครของผูสมัครตามวุฒิ หรือตามประสบการณในการ


ทํางานจะเปนประโยชนตอ การพิจารณาคัดเลือกบุคคลเขาทํางานเปนอยางมาก จากใบสมัครตําแหนงวิศวกรทั้งหมด
เขาพบวามีเพียง 10% เทานัน้ ทีเ่ ปนผูท มี่ ปี ระสบการณแตไมมปี ริญญา มี 20% เปนผูท จี่ บปริญญาแตไมมปี ระสบการณ
มีถึง 80% ที่มีประสบการณหรือมีปริญญา ถาสุมตัวอยางใบสมัครมา 1 ใบ ขอความตอไปนี้ขอใดถูกตอง
1) ความนาจะเปนที่จะไดผูสมัครที่มีปริญญา = 0.70
2) ความนาจะเปนที่จะไดผูสมัครที่มีประสบการณ = 0.60
3) ความนาจะเปนที่จะไดผูสมัครที่ไมมีทั้งปริญญาและประสบการณ = 0.20
*4) ถูกทุกขอ
24. ในการประกวดนางงามครั้งหนึ่งมีผูเขาประกวด 10 คน และไดหมายเลขคนละหนึ่งหมายเลขตั้งแต 1 ถึง 10
ในรอบแรกคณะกรรมการตองการคัดไว 7 คน ซึ่งจะกระทําโดยวิธีสุมหมายเลขสามหมายเลขออกไป ใน 3 คน
ที่คัดออกวิธีนี้ จงหาความนาจะเปนที่หมายเลข 5 จะเปนหมายเลขที่ใหญที่สุด (ตอบ 0.05)
25. คนกลุมหนึ่งเปนนักศึกษา 14 คน เปนกรรมกร 16 คน ในจํานวนนี้มีนักศึกษาและกรรมกรที่รูกฎหมายอยางละ
4 คน เทากัน ถาสุมเลือกตัวแทนจากคนกลุมนี้หนึ่งคน ความนาจะเปนที่จะไดตัวแทนเปนกรรมกรหรือเปนผูรู
กฎหมายจะเทากับเทาใด
1) 0.4 2) 0.53 3) 0.63 *4) 0.67
26. ถา A และ B เปนเหตุการณที่ไมเกิดรวมกัน แลวขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) ถา P(A) = P(B) = 0.3 แลว P(A′ I B′) = 0.7
2) ถา P(A) = 0.2 และ P(B) = 0.4 แลว P(A′ U B) = 0.4
*3) ถา P(A) = 0.3 และ P(B) = 0.5 แลว P(A′ I B) = 0.5
4) ถา P(A) = 0.2 และ P(B) = 0.3 แลว P(B′ U A′) = 0.5
27. ถาใชกระถางตนเฟองฟา 3 กระถาง และกระถางตนกุหลาบ 4 กระถาง แตงเวทีซึ่งเปนวงกลมโดยตองใชกระถาง
ตนไม 1 กระถาง วางบนกลางเวที และวางกระถางตนไมที่เหลือรอบเวที ความนาจะเปนที่จะไดตนกุหลาบอยูบน
กลางเวที และตนไมที่เหลือวางสลับชนิดกันรอบเวทีเทากับเทาใด
*1) 352 2) 25 3) 47 4) 356
28. ถาคนงานหญิง 4 คน หยิบรมอยางไมเจาะจงจากที่เก็บรม ซึ่งมีเฉพาะรมของทั้ง 4 คนนี้วางอยูคนละ 1 คัน
ความนาจะเปนที่มี 1 หรือ 2 คน หยิบไดรมของตนเองเทากับเทาใด
1) 125 2) 21 *3) 127 4) 56
29. กลองใบหนึ่งมีลูกบอลขนาดเดียวกัน 8 ลูก เปนสีขาว 3 ลูก และสีดํา 5 ลูก ถาสุมลูกบอลมาจากกลองนี้ 3 ลูก
ให p เปนความนาจะเปนที่จะไดลูกบอลเปนสีดําทั้ง 3 ลูก จงหาคาของ 7p (ตอบ 1.25)
30. กลองใบหนึ่งมีบัตรอยูหนึ่งพันใบ หมายเลข 000 ถึง 999 ถาสุมหยิบบัตรหนึ่งใบ ความนาจะเปนที่จะไดบัตรที่มี
หมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกันไปเทากับเทาใด
1) 1 2) 1251 2
*3) 125 4) ไมมีขอใดถูก
BOBBYtutor Mathematic Note

31. ในการแขงขันตอบปญหารายการหนึ่ง ผูเขาแขงขันแตละคนตองเลือกปญหา 4 ขอ ในแตละครั้ง ถาในกลองที่ใส


ปญหา มีปญหาอยางยากใหเลือกอยู 8 ขอ และมีปญหาอยางงายใหเลือกอยู 6 ขอ ความนาจะเปนที่ผูเขาแขงขัน
จะเลือกไดปญหาอยางยาก และอยางงายอยางละ 2 ขอ เทากับเทาใด (ขอสอบเอนทรานซ ป 2536)
1) 4 ! 8C!146!, 4 2) C814!6, !4 *3) 2 8! 4) 2 8!
(2!) 4!C14, 4 (2!) C14, 4
32. ชาย 3 คน และหญิง 4 คน เขาคิวในแถวเดียวกันเพื่อซื้อตั๋วรถไฟขบวนหนึ่ง ความนาจะเปนที่หญิงทั้ง 4 คน
จะยืนเรียงติดกันทั้งหมดในแถวเทากับเทาใด (ขอสอบเอนทรานซ ป 2536)
1) 2101 6
2) 210 12
3) 210 24
*4) 210
33. ถา A และ B เปนเหตุการณใดๆ โดยที่ P[(A U B)′] = 0.3 และ P(A I B′) = P(A′ I B) = 0.2 แลว P(A I B)
เทากับเทาใด (ขอสอบเอนทรานซ ป 2536)
1) 0.5 *2) 0.3 3) 0.2 4) 0.1
34. มีแคปซูลซึ่งบรรจุยาชนิดหนึ่งจํานวน 5 แคปซูล ปนกับแคปซูลซึ่งบรรจุแปงจํานวน 10 แคปซูล ถาหยิบมา
2 แคปซูล อยางสุม ความนาจะเปนที่จะไดแคปซูลซึ่งบรรจุยาทั้งสองแคปซูลเทากับเทาใด
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2536)
1) 152 2) 155 *3) 212 4) 1021
35. กลองใบหนึ่งมีบัตร n ใบ บัตรแตละใบเขียนเลขไมซํ้ากันกํากับไวเริ่มจาก 1 จนถึง n (n ≥ 3) ถาหยิบบัตร 2 ใบ
ออกมาโดยสุม ความนาจะเปนที่ไดบัตร 2 ใบ โดยที่ใบหนึ่งเปน 3 และอีกใบหนึ่งนอยกวา 3 คือขอใดตอไปนี้
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
*1) n(n2- 1) 2) 22 3) n(n4- 1) 4) 42
n n
36. ตะกราใบหนึ่งมีสม นอยหนา และมะมวงรวม 10 ผล โดยที่จํานวนสมเปนสองเทาของจํานวนนอยหนา และมี
มะมวงอยู 1 ผล ถาหยิบผลไมขึ้นมา 3 ลูก อยางไมเจาะจง ความนาจะเปนทีไ่ ดผลไมชนิดละ 1 ผล มีคาเปนเทาใด
(ตอบ 203 ) (ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
37. กําหนดให A, B, C เปนเหตุการณใดๆ
ถา P(A U B U C) = 0.9
โดยที่ P(A I B′ I C′) = P(B I A′ I C′) = P(C I A′ I B′) = 0.1
และ P(A I B) = P(B I C) = P(A I C) = 0.2 แลว P(A I B I C) เทากับเทาใด (ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
*1) 0 2) 0.05 3) 0.1 4) 0.15
38. โยนเหรียญบาท 1 อัน พรอมกับลูกเตา 2 ลูก ถาเหรียญขึ้นหัวจะไดเงินเทากับผลบวกของแตมจากลูกเตาทั้งสอง
ถาเหรียญขึ้นกอยจะไดเงินเทากับผลตางของแตมจากลูกเตาทั้งสอง ความนาจะเปนที่จะไดเงินอยางมาก 4 บาท
เทากับเทาใด (ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
1) 121 2) 91 3) 1736 *4) 59
BOBBYtutor Mathematic Note

การวัดตําแหนงที่ และการวัดการกระจายของขอมูล
1. จากผลการสอบวิชาสถิติของนักเรียน 40 คน พบวานาย ก สอบไดคะแนนอยูในตําแหนงเดไซลที่ 8 (D8) และ
นาย ข สอบไดคะแนนอยูในตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 60 (P60) จํานวนนักเรียนที่สอบไดคะแนนระหวางคะแนนของ
นาย ก และ นาย ข มีกี่คน (ขอสอบเอนทรานซ ป 2536)
1) 4 คน *2) 8 คน 3) 10 คน 4) 20 คน
2. ในการทดสอบขอเขียนของผูสมัครงานของบริษัทแหงหนึ่งจํานวน 33 คน ไดคะแนนดังนี้
71 70 69 69 69 64 64 63 61 60 59
58 58 57 56 55 54 54 54 54 53 52
52 51 50 50 49 47 40 39 34 30 29
บริษัทตองการคัดผูที่ไดคะแนนสูงจํานวน 4 ใน 10 ของผูเขาสอบทั้งหมดไวสอบสัมภาษณ ขอใดตอไปนี้เปน
.

คะแนนสูงสุดของผูที่ไมผานเขาสอบสัมภาษณ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (2 คะแนน)


1) 55 2) 56 *3) 57 4) 58
3. ในการสอบวิชาคณิตศาสตร และวิชาภาษาไทยของนักเรียนหองหนึง่ ปรากฏวานายสมชาติได 75 คะแนน
ทั้งสองวิชา ถาคาเฉลี่ยเลขคณิตและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของวิชาคณิตศาสตรเปน 60 และ 10 ตามลําดับ และ
ของวิชาภาษาไทยเปน 67.5 และ 5 ตามลําดับ ขอใดตอไปนี้เปนการเปรียบเทียบผลการเรียนของนายสมชาติ
ที่ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2541) (2 คะแนน)
1) คณิตศาสตรดีกวาภาษาไทย 2) ภาษาไทยดีกวาคณิตศาสตร
*3) ทั้งสองวิชาดีเทากัน 4) เปรียบเทียบกันไมไดเพราะขอมูลไมเพียงพอ
4. คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนหองหนึ่งเปนดังนี้ 25, 30, 32, 35, 25, 39, 45, 44, 40, 45
ถาคาเบี่ยงเบนมาตรฐานมีคาเทากับ 7.4 และคามาตรฐานของคะแนนสอบวิชานี้ของเด็กชายสดเปน 1.08 แลว
คะแนนสอบของเด็กชายสดเปนจริงตามขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
1) อยูระหวางควอไทลที่หนึ่งและควอไทลที่สอง 2) เทากับควอไทลที่สอง
*3) อยูระหวางควอไทลที่สองและควอรไทลที่สาม 4) เทากับควอไทลที่สาม
5. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียน 2 หอง คะแนนสอบของนักเรียนเปนดังนี้
หอง คาเฉลี่ยเลขคณิต คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
หองที่ 1 60 3.0
หองที่ 2 65 5.0
ถานาย ก เปนนักเรียนหองที่ 1 มีคะแนนมาตรฐานเทากับ 2.5
นาย ข เปนนักเรียนหองที่ 2 มีคะแนนมาตรฐานเทากับ -2.0
แลวคะแนนของนาย ก และนาย ข ตางกันเทากันเทาใด (ตอบ 12.5) (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (3 คะแนน)
BOBBYtutor Mathematic Note

6. ขอมูลชุดหนึ่งมีคากึ่งกลางพิสัยเทากับ 40 และคาพิสัยเทากับ 20 ดังนั้นคาตํ่าสุดและคาสูงสุดของขอมูลชุดนี้คือ


ขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (1 คะแนน)
1) 0 และ 40 2) 10 และ 30 3) 20 และ 60 *4) 30 และ 50
7. ในการสอบยอยครั้งหนึ่งคะแนนเต็ม 20 คะแนน คาเฉลี่ยเลขคณิตและความแปรปรวนของคะแนนที่นักเรียนสอบ
ไดเปน 12.5 และ 1.2 ตามลําดับ ถาครูจะปรับคะแนนเต็มเปน 60 คะแนน คาเฉลี่ยและความแปรปรวนของคะแนน
นักเรียนชุดใหมมีคาเทากับขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
1) 37.5, 3.6 *2) 37.5, 10.8 3) 52.5, 1.2 4) 52.5, 10.8
8. สําหรับขอมูลชุดหนึ่ง ประกอบดวยตัวเลข 5 จํานวน มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ a มัธยฐานเทากับ b
5 5
ถาให xi แทนคาที่สังเกตไดคาที่ i , i = 1, 2, 3, 4, 5 และ A = Σ (x i - a) 2 และ B = Σ (x i - b) 2
i=1 i=1
แลวขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (1 คะแนน)
*1) A ≤ B 2) A ≥ B 3) A < B 4) A > B
9. กําหนดขอมูล {4, 18, 10, 8, 15} จงพิจารณาขอความตอไปนี้
5
ก. Σ | x i - 10| มีคานอยที่สุด
i=1
5 5
ข. Σ (x i - x) 2 ≤ Σ (x i - 10) 2
i=1 i=1
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
*1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
10. นักเรียนหองหนึ่งมีนักเรียนชาย 30 คน นักเรียนหญิง 40 คน ปรากฏวาคาเฉลี่ยเลขคณิตของความสูงของนักเรียน
ชายและนักเรียนหญิงเทากัน โดยที่คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของความสูงของนักเรียนทั้งหองเทากับ 5 ถาความ
แปรปรวนของความสูงของนักเรียนชายเทากับ 15 ความแปรปรวนของความสูงของนักเรียนหญิงเทากับขอใด
ตอไปนี้
1) 23.5 2) 25.0 *3) 32.5 4) 35.0
11. กําหนดขอมูล x และขอมูล y ดังนี้
x : 10, 20, 25, 30, 40
y : 20, 30, 50, 70, 80
พิจารณาขอสรุปตอไปนี้
ก. สัมประสิทธิ์ของพิสัยของ x = สัมประสิทธิ์ของพิสัยของ y
ข. สัมประสิทธิ์ของคาเบี่ยงเบนเฉลี่ยของ x ≠ สัมประสิทธิ์ของคาเบี่ยงเบนเฉลี่ยของ y
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
*1) ก. ถูก และ ข. ถูก 2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
BOBBYtutor Mathematic Note

12. ในการทดสอบเวลาที่ใชในการวิ่งระยะทาง 100 เมตร ของนักเรียนในโรงเรียนหนึ่ง มีนักกีฬาเขาทดสอบ 9 คน


หาคาเฉลี่ยเลขคณิตและความแปรปรวนของเวลาที่ใชวิ่งของนักกีฬา 9 คนนี้ได 11.0 วินาที และ 1.0 วินาที2
ตามลําดับ มีนักกีฬาคนหนึ่งมาทดสอบภายหลังโดยเขาใชเวลาในการวิ่งเปน 12 วินาที คาเฉลี่ยเลขคณิตและ
ความแปรปรวนของเวลาที่ใชในการวิ่งของนักกีฬาทั้ง 10 คน ตามลําดับ คือขอใดตอไปนี้
1) 11.1, 1.01 *2) 11.1, 0.99 3) 11.5, 1.01 4) 11.5, 0.99
13. ในการสอบวิชาสถิติของนักเรียนกลุมหนึ่ง ปรากฏวาคะแนนเฉลี่ยเทากับ 60 ความแปรปรวนของคะแนนเทากับ 25
นักเรียนกลุมนี้สอบไดเกรด A และ B นักเรียนที่ไดเกรด A จะตองไดคะแนนมาตรฐานไมตํ่ากวา 3.0 ถา
นายจําลองเปนนักเรียนที่ไดเกรด B แลวคะแนนที่เปนไปไดของจําลองคือขอใดตอไปนี้
*1) 70-74 2) 75 3) 76-79 4) 80
14. ในการสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนกลุมหนึ่ง ปรากฏวาคะแนนสอบของนักเรียนชายมีคาเฉลี่ยเลขคณิต
เทากับ 25 และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนเทากับ 6.25 ถาสัมประสิทธิ์ของการแปรผันของคะแนนสอบของ
นักเรียนหญิง และนักเรียนชายเทากัน และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนของนักเรียนหญิงเทากับ 4 แลว
คาเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนหญิงเทากับขอใดตอไปนี้
1) 8 2) 12 *3) 16 4) 20
15. จากการสอบถามนักศึกษาชั้นปที่ 1 และชั้นปที่ 2 ของมหาวิทยาลัยแหงหนึ่งถึงคาใชจายในแตละวัน ปรากฏวา
คาเฉลี่ยเลขคณิตและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของคาใชจายในแตละวันของนักศึกษาในแตละชั้นเปนดังนี้
นักศึกษาชั้นปที่ 1 นักศึกษาชั้นปที่ 2
คาเฉลี่ยเลขคณิต 76 100
คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 13 15
เมื่อเปรียบเทียบการกระจายของคาใชจายในแตละวันของนักศึกษาแตละชั้นปแลว ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) คาใชจายในแตละวันของชั้นปที่ 1 มีการกระจายของคาใชจายนอยกวาคาใชจายในแตละวันของชั้นปที่ 2
*2) คาใชจายในแตละวันของชั้นปที่ 1 มีการกระจายของคาใชจายมากกวาคาใชจายในแตละวันของชั้นปที่ 2
3) คาใชจายในแตละวันของชั้นปที่ 1 มีการกระจายของคาใชจายเทากับคาใชจายในแตละวันของชั้นปที่ 2
4) จากขอมูลที่ใหไมสามารถเปรียบเทียบการกระจายได
16. ผลการสอบวิชาภาษาไทยของนายเกง ตลอดภาคการศึกษารวม 4 ครั้ง แตละครั้งมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน
ดังแสดงในตาราง
สอบยอยครั้งที่ 1 สอบยอยครั้งที่ 2 สอบยอยครั้งที่ 3 สอบปลายป
สอบได 50 75 80 75
คาเฉลี่ยเลขคณิต 55 61 70 60
คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5 7 5 5
ถาคามาตรฐานของคะแนนสอบปลายปมีความสําคัญเปน 2 เทาของคามาตรฐานของคะแนนสอบในครั้งอื่นๆ แลว
คามาตรฐานเฉลี่ยของคะแนนสอบวิชานี้เทากับเทาใด (ตอบ 2.25)
BOBBYtutor Mathematic Note

17. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1) มีขอมูลซึ่งประกอบดวย 10 จํานวน คือ x1, x2, ... , x10
10
ถา Σ x2 = 10 x 2 แลว x1 = x2 ... = x10 = 0
i=1 i
2) ในขอมูลชุดเดียวกัน ความแปรปรวนจะมากกวาคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3) ถาขอมูลชุดหนึ่งมีพิสัยเทากับ 50 และสัมประสิทธิ์ของพิสัยเทากับ 0.5 แลวขอมูลชุดนี้มีคาตํ่าสุดเทากับ 75
*4) มีขอมูลซึ่งประกอบดวยจํานวน 2 จํานวน ถาพิสัยเทากับ 6 และมัธยฐานเทากับ 12 แลวคาเบี่ยงเบนเฉลี่ย
เทากับ 3
18. ขอมูล 2 ชุด มีรายละเอียดดังนี้

ขอมูล ควอไทลที่หนึ่ง ควอไทลที่สาม


ชุดที่ 1 6.25 10.75
ชุดที่ 2 41.00 47.00
ให QD1 เปนคาเบี่ยงเบนควอไทลของขอมูลชุดที่ 1
QD2 เปนคาเบี่ยงเบนควอไทลของขอมูลชุดที่ 2
A1 เปนสัมประสิทธิ์ของคาเบี่ยงเบนควอไทลของขอมูลชุดที่ 1
A2 เปนสัมประสิทธิ์ของคาเบี่ยงเบนควอไทลของขอมูลชุดที่ 2
ตองการเปรียบเทียบการกระจายของขอมูล 2 ชุดนี้ ขอสรุปที่ถูกตองคือขอใด
*1) ขอมูลชุดที่ 1 มีการกระจายมากกวาขอมูลชุดที่ 2 ทั้งนี้เพราะ A1 > A2
2) ขอมูลชุดที่ 1 มีการกระจายมากกวาขอมูลชุดที่ 2 ทั้งนี้เพราะ QD1 > QD2
3) ขอมูลชุดที่ 2 มีการกระจายมากกวาขอมูลชุดที่ 1 ทั้งนี้เพราะ A2 > A1
4) ขอมูลชุดที่ 2 มีการกระจายมากกวาขอมูลชุดที่ 1 ทั้งนี้เพราะ QD2 > QD1
19. ขอมูลชุดหนึ่งมี 10 จํานวน และมีสมบัติตอไปนี้
10 10
Σ (x - 4) 2 = 40 และ Σ (x - a) 2 มีคานอยที่สุด เมื่อ a = 6
i=1 i i=1 i
คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) และคาเฉลี่ยเลขคณิต (x) ของขอมูลชุดนี้มีคาเทาใด
1) s = 0, x = 4 *2) s = 0, x = 6 3) s = 2, x = 6 4) s = 2, x = 4
BOBBYtutor Mathematic Note

20. ขอมูลชุดหนึ่งมี 50 จํานวน แตละจํานวนมีคาเปนบวก


50
กําหนด Σ (x - x) 2 = 450
i=1 i
50
และ Σ x2 = 1250
i=1 i
เมื่อ x เปนคาเฉลี่ยเลขคณิตของขอมูลชุดนี้
จงหาคา x และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) ของขอมูลชุดนี้
*1) x = 4, s = 3 2) x = 4, s = 9 3) x = 20 2 , s = 3 4) ไมมีขอใดถูก
21. ความสูงของนักเรียนกลุมหนึ่งมีสัมประสิทธของการแปรผันเทากับ 0.40 คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 125 เซนติเมตร
ถาเด็กชาย ก และเด็กหญิง ข มีความสูงเปน 140 และ 122 เซนติเมตร ตามลําดับ เด็กชาย ก จะมีความสูงเปน
คามาตรฐานมากกวาเด็กหญิง ข เทาใด
1) -2.14 2) -0.36 *3) 0.36 4) ไมมีขอใดถูก
10 10
22. กําหนด Σx = 60 และ Σ (x - 5) 2 = 46 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของ x คือขอใดตอไปนี้
i=1 i i=1 i
1) 0.6 *2) 1.9 3) 2.1 4) 3.6
23. ถาขอมูลชุดหนึ่งมีสัมประสิทธิ์ของคาเบี่ยงเบนควอไทลเทากับ 23 และคาเบี่ยงเบนควอไทลเทากับ 2 แลวควอไทล
ที่ 3 ของขอมูลชุดนี้มีคาเทากับเทาใด
1) 1.25 2) 2.50 3) 3.30 *4) 5.00
24. ถา {3, 6, 2, 1, 7, 5} และ {8, 6, 3, 7, 2, 4} เปนขอมูล 2 ชุด แลวคาเฉลี่ยเลขคณิต และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
มีลักษณะเปนจริงตามขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
1) คาเฉลี่ยเทากัน และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากัน 2) คาเฉลี่ยเทากัน และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานตางกัน
*3) คาเฉลี่ยตางกัน และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากัน 4) คาเฉลี่ยตางกัน และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานตางกัน
25. ขอมูลชุดหนึ่งมี 4 คา ถามัธยฐาน และฐานนิยมเทากัน และเทากับ 35 คาเฉลี่ยเลขคณิตเทากับ 40 และพิสัย
เทากับ 50 แลวความแปรปรวนของขอมูลชุดนี้เทากับเทาใด (ขอมูลชุดนี้มีเพียง 2 คาเทานั้นที่เทากัน)
(ตอบ 337.5) (ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
26. กําหนดขอมูลชุด ก และขอมูลชุด ข มีคาเฉลี่ยเลขคณิตเทากัน
10
จากขอมูลชุด ก คํานวณ Σ (x - x) 2 = 25
i=1 i
20
จากขอมูลชุด ข คํานวณ Σ (x i - x) 2 = 49
i=1
ถานําขอมูลทั้ง 2 ชุด มารวมกันเปนชุดเดียวกัน แลวความแปรปรวนของขอมูลชุดใหมนี้มีคาเทาใด
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2536)
1) 193 2) 123
3 *3) 37
15 4) 51
BOBBYtutor Mathematic Note

X -X X +X Q -Q
27. กําหนดให A = max 2 min , B = max 2 min , C = 3 2 1 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (1 คะแนน)
1) A ใชวัดคากลาง และ B ใชวัดการกระจาย 2) A ใชวัดคากลาง และ C ใชวัดการกระจาย
*3) B ใชวัดคากลาง และ A ใชวัดการกระจาย 4) C ใชวัดคากลาง และ B ใชวัดการกระจาย
28. ขอมูลชุดหนึ่งประกอบดวยคาที่สังเกตได 5 คา ที่แตกตางกันทั้งหมด คือ a, 6, 2, 5, 4 ขอมูลชุดนี้มีสมบัติดังนี้
พิสัย = คาเฉลี่ยเลขคณิต ; และ a < 2 หรือ a > 6
คาของ a ที่เปนไปได เปนจริงตามขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (2 คะแนน)
1) มี 1 คา โดยที่ a < 2 2) มี 1 คา โดยที่ a > 6
97
3) มี 2 คา ซึ่งผลรวมของคาทั้งสองเทากับ 12 *4) มี 2 คา ซึ่งผลรวมของคาทั้งสองเทากับ 107 12
29. ตารางตอไปนี้แสดงผลการวิเคราะหขอมูลนํ้าหนักและสวนสูงของเด็กแรกเกิด ณ โรงพยาบาลแหงหนึ่งในเดือน
มกราคม 2538
นํ้าหนัก (กรัม) ความยาว (เซนติเมตร)
คาเฉลี่ยเลขคณิต 3105 52
คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 345 13
ขอใดตอไปนี้เปนการเปรียบเทียบที่ถูกตอง สําหรับการกระจายของขอมูล 2 ชุด (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538)
(2 คะแนน)
*1) การกระจายของนํ้าหนักนอยกวาการกระจายของความยาว
.

2) การกระจายของนํ้าหนักมากกวาการกระจายของความยาว
3) การกระจายของนํ้าหนักเทากับการกระจายของความยาว
4) เปรียบเทียบการกระจายไมไดเพราะขอมูลมีหนวยตางกัน
30. ในการสอบแขงขันชิงทุนการศึกษาเพื่อไปศึกษาตอตางประเทศครั้งหนึ่ง สมชายสอบได 700 คะแนน สมศักดิ์
สอบได 650 คะแนน ถาคะแนนมาตรฐานของสมชายและสมศักดิ์คือ 3 และ 2.5 ตามลําดับ แลวคาเบี่ยงเบน
มาตรฐานในการสอบครั้งนี้มีคาเทาใด (ตอบ 100) (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (3 คะแนน)

เลขดัชนี
1. ถาดัชนีราคาผูบริโภคหมวดตางๆ ในป พ.ศ. 2529, 2532 และ 2536 โดยใชป พ.ศ. 2529 เปนปฐานเปนดังนี้
สินคาและบริการ พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2532 พ.ศ. 2536
หมวดอาหาร 100 117.7 130.2
หมวดเครื่องนุงหม 100 110.3 136.6
หมวดเคหสถาน เครื่องใชในบาน 100 111.4 119.6
หมวดบันเทิง การศึกษา 100 113.5 142.3
BOBBYtutor Mathematic Note

ขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (2 คะแนน)


1) ราคาเฉลี่ยของหมวดที่ไมใชอาหาร ป พ.ศ. 2532 แพงกวา ราคาหมวดอาหาร
2) ราคาเฉลี่ยของหมวดที่ไมใชอาหาร ป พ.ศ. 2536 ถูกกวา ราคาหมวดอาหาร
*3) เมื่อใช ป พ.ศ. 2529 เปนปฐาน ราคาหมวดเครื่องนุงหมในป พ.ศ. 2532 เพิ่มขึ้นเทากับ 10.3
4) เมื่อใช ป พ.ศ. 2529 เปนปฐาน ราคาหมวดเครื่องนุงหมในป พ.ศ. 2536 เพิ่มขึ้นเทากับ 26.3
2. ถาราคาของหมอหุงขาวยี่หอหนึ่ง 3 ขนาดที่รานสหการไฟฟาจําหนายในเวลา 3 ป เปนดังนี้
ราคาตอหนวย (รอยบาท)
ขนาดของหมอหุงขาว
พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2536
ขนาดเล็ก 5.5 5.0 4.0
ขนาดกลาง 7.0 6.5 6.0
ขนาดใหญ 11.5 11.0 10.0
เมื่อใชป พ.ศ. 2534 เปนปฐาน ดัชนีราคาอยางงายแบบใชราคารวมของป พ.ศ. 2535 เปนเทาใด (ตอบ 93.75)
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2537)
3. กําหนดดัชนีราคาผูบริโภคในป พ.ศ. 2537 เทียบกับป พ.ศ. 2534 เปน 120 ถานายวิบูลยไดรับเงินเดือน
8,400 บาท ในป พ.ศ. 2537 เขาจะมีรายไดที่แทจริงเมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2534 เทากับขอใดตอไปนี้
(ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)
1) 6,000 บาท 2) 6,720 บาท *3) 7,000 บาท 4) 10,080 บาท
4. ตารางตอไปนี้แสดงคาจางเฉลี่ยตอชั่วโมงของคนงานในโรงงานแหงหนึ่งในป พ.ศ. 2530-2533
พ.ศ. 2530 พ.ศ. 2531 พ.ศ. 2532 พ.ศ. 2533
คาจางเฉลี่ย (บาท/ชั่วโมง) 1.20 1.30 1.40 1.50
ดัชนีราคาผูบริโภค 100.00 113.00 114.00 116.00

คาจางเฉลี่ยที่แทจริงตอชั่วโมงเปนจริงตามขอใดตอไปนี้ (ขอสอบเอนทรานซ ป 2539) (2 คะแนน)


1) เพิ่มขึ้นปละ 0.10 บาท/ชั่วโมง 2) เพิ่มขึ้นปละ 0.15 บาท/ชั่วโมง
3) เพิ่มขึ้นปละ 0.02 บาท/ชั่วโมง *4) เพิ่มขึ้นปละไมเทากัน
5. พิจารณาขอความเกี่ยวกับเลขดัชนี ขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2540) (1 คะแนน)
*1) เลขดัชนีราคาผูบริโภคมีความสําคัญตอการครองชีพของประชาชนมากที่สุด
2) เลขดัชนีปริมาณมีความสําคัญตอการครองชีพของประชาชนมากที่สุด
3) เลขดัชนีมูลคามีความสําคัญตอการครองชีพของประชาชนมากที่สุด
4) เลขดัชนีทั้งสามชนิดมีความสําคัญตอผูผลิตเทานั้น
BOBBYtutor Mathematic Note

6. ถาดัชนีราคาผูบริโภคของป พ.ศ. 2536 เทียบกับป พ.ศ. 2530 เทากับ 127.7 แลวเงิน 1 บาท ในป พ.ศ. 2536
เมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2530 แลวมีคาเทาใด
*1) 0.78 บาท 2) 1.277 บาท 3) 1.00 บาท 4) 0.87 บาท
7. ในป พ.ศ. 2535 สินคา A ราคา 1.50 บาท และขายได 2 ลานหนวย สินคาเดียวกันนี้มีราคาเปน 2.00 บาท ใน
ป พ.ศ. 2536 และขายได 3 ลานหนวย สินคา B มีราคา 2.50 บาท และขายได 2 ลานหนวย ในป พ.ศ. 2535
ปตอมาสินคา B มีราคา 3.00 บาท และขายได 4 ลานหนวย ใชป พ.ศ. 2535 = 100 จงหาดัชนีราคาของป
พ.ศ. 2536 สําหรับกลุมสินคา 2 ชนิดนี้ โดยใชวิธีของลาสไพเยอเรส
1) 124 2) 133.33 3) 150 *4) 125
8. สมมติวารายไดประชาชาติของป พ.ศ. 2536 เทากับ 2,000 ลานบาท ถาดัชนีผูบริโภคในป พ.ศ. 2536 นั้นเทากับ
125 แลวรายไดประชาชาติที่แทจริงเมื่อเทียบกับปฐาน เทากับเทาใด
1) 1,500 ลานบาท 2) 2,500 ลานบาท *3) 1,600 ลานบาท 4) 2,000 ลานบาท
9. ใหสมการคาจางรายวันของคนงานกอสรางเปน y = 6.5(x - 2539) + 60 เมื่อ x เปนป พ.ศ. และ y เปน
คาจาง (บาท) ถาในป พ.ศ. 2536 ดัชนีราคาผูบริโภคเทากับ 110 เมื่อเทียบกับป พ.ศ. 2535 แลวคาจางรายวัน
ที่แทจริงในป พ.ศ. 2536 เมื่อเทียบกับคาจางรายวันในป พ.ศ. 2535 เปนจริงตามขอใดตอไปนี้
1) เพิ่มขึ้น 2.80 บาท 2) เพิ่มขึ้น 6.50 บาท *3) ลดลง 3.10 บาท 4) ลดลง 9.90 บาท
10. สมมติวาขอมูลที่กําหนดใหนี้เปนดัชนีราคาผูบริโภคของจังหวัดหนึ่ง โดยมีป พ.ศ. 2533 เปนปฐาน และเงินเดือน
ที่ศักดิ์ไดรับในแตละป
พ.ศ. 2533 พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2537
ดัชนีราคาผูบริโภค 100 108.9 114.8
เงินเดือน 1,950 2,100 2,350
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. คาของเงิน 114.8 บาท ในป พ.ศ. 2537 มีคาเทียบเทากับเงิน 100 บาท ในป พ.ศ. 2533
2,350 บาท เมื่อใชป พ.ศ. 2533 เปนปฐาน
ข. รายไดที่แทจริงของศักดิ์ ในป พ.ศ. 2537 เทากับ 114.8
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง (ขอสอบเอนทรานซ ป 2538) (1 คะแนน)
1) ก. ถูก และ ข. ถูก *2) ก. ถูก และ ข. ผิด 3) ก. ผิด และ ข. ถูก 4) ก. ผิด และ ข. ผิด
11. ในป พ.ศ. 2529 ชายคนหนึ่งมีรายไดเดือนละ 4,000 บาท ภรรยามีรายไดเดือนละ 3,500 บาท และลูกๆ ยังไมมี
รายไดตอมาในป พ.ศ. 2535 เขามีรายไดเดือนละ 5,050 บาท และภรรยามีรายไดเดือนละ 4,550 บาท และลูก
มีรายได 2,400 บาท ถาดัชนีราคาผูบริโภคของป พ.ศ. 2535 เทากับ 130.0 (ป พ.ศ. 2529 = 100) แลวรายได
ตอเดือนที่แทจริงของครอบครัวนี้ในป พ.ศ. 2535 เทากับขอใดตอไปนี้ (รายไดตอเดือนของครอบครัว หมายถึง
ผลรวมของรายไดตอเดือนของคนที่มีรายไดทุกคนในครอบครัว) (ขอสอบเอนทรานซ 2537)
*1) 9,230.77 บาท 2) 9,750.00 บาท 3) 10,961.54 บาท 4) 12,000.00 บาท

————————————————————

You might also like