Abstract

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

ชื่อเรื่อง วงโปงลางสะออน : การปรับตัวทางวัฒนธรรมในกระแสโลกาภิวตั น

ผูศึกษาคนควา นางสาวดไนยา กอนแกว


อาจารยที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย วีณา วีสเพ็ญ
อาจารยปท มาวดี ชาญสุวรรณ
ปริญญา ศศ.ม. สาขาวิชา ไทยคดีศึกษา
มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปที่พิมพ 2551

บทคัดยอ

รายงานการศึกษาคนควาอิสระฉบับนี้ มีความมุงหมายเพื่อศึกษาการปรับตัวทาง
วัฒนธรรมในกระแสโลกาภิวัฒน ของวงโปงลางสะออน ซึ่งศึกษาจากองคประกอบทางดนตรี
รูปแบบการแสดง และเครือ่ งแตงกาย โดยศึกษาจากเอกสารและขอมูลภาคสนาม การเก็บรวบรวม
ขอมูลใชวิธีสังเกตและสัมภาษณแบบมีโครงสราง แลวนําเสนอผลการวิจัยโดยการพรรณนา
วิเคราะห
วงโปงลางไดรับการจัดตั้งและพัฒนาโดยสถานศึกษาตาง ๆ ในภาคอีสาน ทําใหมกี าร
ฟนฟู และเผยแพรศิลปะพื้นบานอีสานอยางแพรหลาย ป พ.ศ. 2522 กรมศิลปากรไดประกาศ
จัดตั้งวิทยาลัยนาฏศิลปะรอยเอ็ดขึ้นเปนแหงแรกของภาคอีสาน โดยมีหนาที่ศึกษาคนควา รวบรวม
ผดุงรักษา สงเสริมพัฒนา และเผยแพรดนตรี และนาฏศิลปพื้นบานอีสานไดนําภูมิปญ  ญาพื้นบาน
มาพัฒนาวงโปงลาง เชน การนําโหวดมาบรรเลงในวงโปงลางจนเปนที่ยอมรับโดยทั่วไป
การพัฒนารูปแบบของพิณ (ซุง) ใหมีรูปทรงสวยงาม พัฒนาใหเปนพิณไฟฟา เบสไฟฟา
การแตงทํานองเพลง (ลาย) การถายทอดลายเพลงแบบดัง้ เดิม เพื่อประกอบการสอนและการแสดง
การประดิษฐทาฟอนในวงโปงลางเปนการชุดการแสดงตาง ๆ อยางตอเนื่อง และเผยแพรจนเปน
ที่ยอมรับทั้งในและตางประเทศ พ.ศ. 2527 วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุไดกอตั้งขึน้ เพื่อให
การศึกษาเชนเดียวกันวิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ด และเปนการรองรับนักศึกษาที่อาศัยอยูในแถบ
อีสานตอนบนหลังจากทีว่ ิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอ็ดไดรับความสนใจจากผูปกครอง นายเปลื้อง
ฉายรัศมี ศิลปนแหงชาติ ป พ.ศ. 2537 ปจจุบันเสียชีวิตแลว ผูเชี่ยวชาญทางดานดนตรี และ
การแสดงพื้นบานเปนผูถายทอดความรูความสามารถใหลูกศิษยมากมาย เปนผูมีบทบาทตอวง
โปงลางสะออนอยางยิ่ง ทีก่ าํ ลังมีชื่อเสียงและไดรับความนิยมอยางสูงสุดในขณะนี้

Mahasarakham University
ผลการศึกษาพบวา การปรับตัวทางวัฒนธรรมในกระแสโลกาภิวัฒน ของวงโปงลาง
สะออน แบงเปน 2 ทาง คือ การผสมผสานทางวัฒนธรรม และการปรับเปลี่ยนองคประกอบ
การแสดง ดังตอไปนี้ วงโปงลางสะออนมีการปรับตัวทางวัฒนธรรมโดยการปรับเปลี่ยน
องคประกอบการแสดงและผสมผสานรูปแบบการแสดงระหวางดนตรีพื้นบานอีสานแบบดั้งเดิม
กับการแสดงสด ในรูปแบบของละครเวที เพื่อดึงดูดความสนใจจากผูชม ผลจากการศึกษา
ไดทราบถึงความเปลี่ยนแปลงในองคประกอบตาง ๆ เชน การนําเครือ่ งดนตรีสากลมาบรรเลง
ประกอบเพื่อความเราใจ คือ กลองชุด การนํารูปแบบการแสดงพื้นบานอีสานดั้งเดิมมาผสมผสาน
กับการแสดงมุขตลกทางภาษา การรองเพลงลูกทุง กิริยาทาทาง เชน นักแสดงพูดภาษาไทยไมชัด
นักแสดงพูดภาษาไทยผสมกับภาษาอังกฤษ กิริยาอาการดีใจหรือตกใจ สวนเครื่องแตงกายมีการ
ประยุกตจากการแตงกายแบบพื้นบานอีสานดั้งเดิมเพื่อตองการเรียกความสนใจจากผูชม ซึ่งเปน
เอกลักษณของวงโปงลางสะออน เชน การเกลาผมดวยการหวีผมปาดหนาผากแลวรวบตึงกลาง
ศีรษะแลวติดดอกไมดอกใหญทางซายของมวยผม สวมเสื้อเกาะอกกับผาถุงสั้นเหนือหัวเขาปก
เลื่อมใหเกิดความนาสนใจมากขึ้น
นอกจากนี้ยังพบวาไดมีการประยุกตเครื่องแตงกายมากเกินงามทําใหทาํ ลายวัฒนธรรม
อีสาน การแสดงออกทางกิรยิ าของนักแสดงบางครั้งผิดจารีตของผูหญิงอีสาน การใชภาษาแหวก
ขนบทางภาษาไทย เชน การใชคําผวน และการลอเลียนภาษาชาวเขา การประยุกตรูปแบบการ
แสดงตลกบางครั้งมากไป อีกมุมหนึ่งพบวาไดนําการแสดงพื้นบานมาประยุกตเพื่อดึงดูด
ความสนใจจากผูชม โดยสามารถนําความรูทางการแสดงมาประยุกตสรางเปนอาชีพ การนําเสนอ
รูปแบบการแสดงวงโปงลางสะออนมีวิธผี สมผสานการแสดงแบบดัง้ เดิม และแบบใหมได
อยางเหมาะสม มีสวนในการอนุรักษวงโปงลางและการแสดงพื้นบานอีสานใหเปนที่รูจักแก
ประชาชนทั่วไป
โดยสรุปผลของการศึกษาบางอยางสามารถนําไปประยุกตเพื่อใชเปนแนวทางในการ
พัฒนาวงดนตรีพื้นบานซึ่งเปนการอนุรักษและเผยแพรใหการแสดงพืน้ บานไดคงอยูสืบไป

Mahasarakham University

You might also like