Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 45

Week 2

หมดยุคของการสนับสนุนของกษัตริยแ์ ละขุนนาง งาน


ประเภท orchestra เข้าสูส่ าธารณชนมากขึน้
ผูจ้ ด
ั คอนเสิรต์ ได้รายได้จากการขายบัตร ใช้สถานที่ที่ใหญ่
ขึน้ เพื่อกาไรที่มากขึน้
คนฟั งจานวนมากขึน ้ และหอแสดงดนตรีมขี นาดใหญ่ขนึ้
ขนาดวงดนตรีใหญ่ขน ึ้
เครื่องดนตรีถก ู ดัดแปลงให้เสียงดังขึน้
มีหย่อง (bridge) ที่สงู ขึน้

Fingerboard ยาวขึน้

ตัวเครื่องแอ่นกว่าเดิม

คันชักยาวและหนักกว่าเดิม
ที่มา: http://www.stringplayergaming.com/wp-content/uploads/2014/10/Violin-
610x607.jpg
Flute ผลิตโดย Theobald Boehm (1794-
1881) เรียกว่า “Boehm flute” กลายเป็ น flute
ที่เป็ นมาตรฐานตัง้ แต่ทศวรรษ 1870s

มีรใู หญ่ขนึ้ มี padded


ตัวเครื่องเป็ นทรงกระบอก
keys ทัง้ หมดทาให้ flute เป็ นเครื่องดนตรีที่คล่องตัว
ขึน้
มี valves ซึ่งทาให้เล่น chromatic note ได้ใน
เครื่องดนตรีชนิ้ เดียว

ตัง
้ แต่ปี1850 valved instruments กลายเป็ น
มาตรฐาน และทาให้คีตกวีนาเครื่องดนตรีประเภท brass
มาใช้ใน orchestra อย่างจริงจัง
 Double winds (flutes, oboes, clarinets,
bassoons)
2 horns, 2 trumpets
 Timpani

 Strings

ในศตวรรษที่ 19 มี timbre ที่หลากหลายขึน้


 Woodwind  Percussion

2 flutes 2 timpani in C and G


2 oboes
2 clarinets in C  Strings
2 bassoons
1st violins
2nd violins
 Brass Violas
2 horns in C and F Cellos
2 trumpets in C Contrabasses
 Woodwind  Percussion

2 flutes timpani
2 oboes
2 clarinets in A  Strings
2 bassoons
1st violins
2nd violins
 Brass Violas
2 horns in D, E, and A Cellos
2 trumpets in D Contrabasses
 Woodwind  Percussion

2 flutes timpani
2 oboes
2 clarinets in Bb  Strings
2 bassoons
1st violins
2nd violins
 Brass Violas
3 horns Cellos
2 trumpets in Eb and C Contrabasses
 Woodwind  Percussion

flute timpani
2 oboes
2 clarinets in Bb  Strings
2 bassoons
1st violins
2nd violins
 Brass Violas
2 horns in Bb and Eb Cellos
2 trumpets in Bb and Eb Contrabasses
 Woodwind  Percussion
Piccolo (4th mov.) timpani
2 flutes
2 oboes  Strings
2 clarinets in Bb and C
2 bassoons 1st violins
Contrabassoon (4th mov.) 2nd violins
Violas
Cellos
 Brass Contrabasses
2 horns in Eb and C
2 trumpets
3 trombones (4th mov.)
 Woodwind  Percussion
Piccolo (4th mov.) Timpani (4th mov.)
2 flutes
2 oboes
2 clarinets in Bb  Strings
2 bassoons 1st violins
2nd violins
 Brass Violas
2 horns in F and Bb Cellos
2 trumpets (3rd, 4th, and 5th movs.) Contrabasses
2 trombones (4th and 5th movs.)
I. “Awakening of happy thoughts upon
arriving in the countryside”
II. “Scene by the brook”
III. “Happy gathering of country folk”
IV. “Thunderstorm; storm”
V. “Shepherds’ song; cheerful and thankful
feelings after the storm”
 Woodwind  Percussion
Piccolo (4th mov.) Timpani
2 flutes Bass drum (4th mov.)
2 oboes Triangle (4th mov.)
2 clarinets in A, Bb, and C Cymbals (4th mov.)
2 bassoons
 Voices (4th mov.)
Contrabassoon (4th mov.)
Soprano solo
Alto solo
 Brass
Tenor solo
2 horns (1 and 2)
Baritone solo
2 horns (3 and 4)
Choir
2 trumpets
3 trombones (2nd and 4th movs.)  Strings
 Schlacht-Sinfonie (1814)
 Winter ใส่คอรัสลงไปในซิมโฟนีบทนี้ (ประมาณ 1
ทศวรรษก่อนซิมโฟนีหมายเลข 9 ของเบโธเฟน) แต่งานชิน้ นี้
มีเพียงแค่ movement เดียว
เกิดที่Bonn ในครอบครัวนักดนตรี
พ่อเป็ นนักร้องในวัง ปู่ เป็ น Kapellmeister
ทางานในตาแหน่ง assistant organist ที่วง ั ในปี
1782 และเล่น viola ในวง orchestra
Elector of Bonn เห็ นความสามารถในการแต่งเพลง
ของ Beethoven ส่งให้เขาไปเรียนกับ Haydn ที่
เวียนนาในปี 1792
 Count Ferdinand Waldstein เขียนในสมุดบันทึก
ของ Beethoven ก่อนที่เขาจะออกเดินทางไปเวียนนา “With
the help of assiduous labor, you shall
receive Mozart’s spirit from Haydn’s
hands.”
 ที่เวียนนา Beethoven เป็ นที่รจู้ ก
ั ของขุนนางซึ่งเสนอที่จะ
สนับสนุนการเงินแก่ Beethoven ไปตลอด
 ดนตรีของ Beethoven ในช่วงที่เขามีชว ี ิตอยู่ ถือว่ามีชอื่ เสียง
มาก ปี 1810 เป็ นที่ยอมรับว่าเป็ นคีตกวีที่ยิ่งใหญ่สาหรับบท
เพลงประเภทเพลงบรรเลง
 ตายปี 1827 ผูค ้ นเข้าร่วมขบวนศพเป็ นจานวนมาก ถือได้ว่าเป็ น
วีรบุรษุ ของประเทศ
 CarlCzerny ได้เล่าสิ่งที่ Beethoven ได้พดู ไว้ในปี
1803 ว่า “I am not satisfied with what I have
composed up to now. From now on I
intend to embark on a new path.” (Wright
and Simms 2006, 456)
ช่วงที่แต่งเพลงนีค
้ ือปี 1803 Beethoven ชืน่ ชอบ
นโปเลียน และตัง้ ชือ่ เพลงนีว้ ่า “Grand Symphony
Entitled Bonaparte” แต่ในปี 1804 นโปเลียน
สถาปนาตัวเองเป็ นจักรพรรดิ์ Beethoven โกรธและ
ฆ่าชือ่ เพลงนีท้ ิ้ง

 Eroica = heroic
ที่มา: https://courses.lumenlearning.com/musicapp_historical/chapter/1030/

Sinfonia grande intitolata Buonaparte (Grand Symphony


entitled Bonaparte) Louis van Beethoven
 I. Allegro con brio

 II. Marcia funebre: Adagio assai

 III. Scherzo: Allegro vivace

 IV. Finale: Allegro molto


ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Sonata_form
 I. Allegro con brio
 อยู่ใน sonata form แต่เป็ น sonata form ที่ยาว
มาก
 Fugato = passage ที่เริ่มต้นเหมือน fugue แต่
ไม่ได้ดาเนินต่อไปเป็ น fugue เป็ นแค่ passage หนึง่ ใน
เพลง
 Beethoven นาเสนอทานองใหม่ใน development
 Recapitulation เริ่มต้นโดยที่ tonic key ยังไม่
มัน่ คง
 Coda ยาวมาก และมี development ในนีด้ ว้ ย
ที่มา: www.beethovenseroica.com
 บรรเลงโดยHanover band ควบคุมวงโดย Roy
Goodman เล่นบนเครื่องดนตรีแบบเดียวกับในยุคของ
Beethoven
 Strings ใช้จานวนน้อยกว่าปั จจุบน
ั เครื่องดนตรีเสียงเบากว่า ใช้
vibrato น้อยกว่าปั จจุบนั
 Flute ทามาจากไม้ ลาตัวรูปทรงกรวย
 Wind players ใช้ vibrato น้อยกว่าปั จจุบน ั
 Horns, trumpets ไม่มี valves
 Timpani เครื่องเล็กกว่า หัวไม้ตเี ป็ นไม้ หรือหุม
้ ด้วยหนัง
 Motif

 Cyclical coherence
 Méhul, Rossini, Cherubini, Hérold,
Czerny, Clementi, Weber, Moscheles,
Ferdinand Ries, Peter von Winter, Paul
Wranitzky, Adalbert Gyrowetz, Friedrich
Witt, Franz Danzi, Friedrich Fesca, Franz
Krommer, Johann Wilms, Andreas and
Bernhard Romberg, Joseph Küffner,
Norbert Burgmüller, Johann Wenzel
Kalliwoda, Spohr
 The crisis of the 1830s
 ในปี 1835 สานักพิมพ์ของ Tobias Haslinger ที่เวียนนา
สนับสนุนการประกวดซิมโฟนีบทใหม่ขนึ้ มีซิมโฟนี 57 บทที่เข้าร่วม
การประกวด ผูช้ นะคือ Franz Lachner แม้ว่าซิมโฟนีบทนีจ้ ะ
ได้รบั รางวัลแต่นกั วิจารณ์และคนฟังก็ยงั มีความเห็นที่หลากหลาย
ต่อซิมโฟนีบทนี้
เกิดในชนบท ภาคใต้ของฝรัง่ เศส
ถูกส่งให้ไปเรียนหมอที่ปารีส

เขียนจดหมายถึงบ้านรายงานเรื่องการเรียนอย่าง

สมา่ เสมอ ในขณะเดียวกันก็เขียนขอเงินค่าขนม


แต่จริงๆแล้ว เขาไม่ได้ไปเข้าเรียน เขาสนใจกิจกรรม
ดนตรีที่เกิดขึน้ ในปารีสมากกว่า
ปี 1826 ลงเรียนที่ Paris Conservatory
ที่ Conservatory มีการประกวดแต่งเพลงทุกปี
สาหรับนักเรียนวิชาประพันธ์เพลง รางวัลของผูช้ นะคือ
Prix de Rome ซึ่งเป็ นรางวัลที่เป็ นที่ปรารถนา
เพราะเป็ นเหมือนประตูที่เปิ ดไปสูโ่ อกาสมากมาย
Berlioz ต้องการชนะรางวัลนี้ แต่เขาแพ้หลายปี
ติดต่อกัน
ในที่สด
ุ เขาถอนใจและเขียนเพลงออกมาในแบบที่เขารูว้ ่า
กรรมการจะต้องชอบ และเขาก็ชนะรางวัลนีใ้ นที่สดุ ในปี
1830
 ปี 1830 นีเ้ ป็ นช่วงเวลาเดียวกันที่เขาเขียน Symphonie
fantastique ซึ่งได้แรงบันดาลใจจาก Harriet
Smithson นักแสดงละคร Shakespeare ชาว Irish
ซึ่งเข้ามาแสดงเรื่อง Hamlet ในปี 1827 เขาหลงรักผูห้ ญิง
คนนี้ ได้เจอและในที่สดุ ได้แต่งงานกัน แต่อยูด่ ว้ ยกันได้ไม่นาน
 รางวัล Prix de Rome กาหนดให้ผชู้ นะต้องไปอยูท ่ ี่อิตาลี
2 ปี เขาไม่อยากที่จะไปเพราะเขาต้องห่างจาก Smithson และ
พลาดงานสาคัญที่จะเกิดขึน้ ในปารีส คือ การแสดง
Symphony No. 9 ของ Beethoven ในปารีสเป็ น
ครัง้ แรก
 กลับมาที่ปารีส ปี 1832 เขาพยายามให้ได้รบั
commission จาก Opéra ซึ่งเป็ นสถาบันทาง
ดนตรีที่มชี อื่ เสียงในปารีส แต่ถกู กีดกันจากการ
สนับสนุน เขาจึงหันไปเขียนบทความในวารสารแทน
เพื่อเป็ นรายได้เสริม
ปี 1843 พิมพ์หนังสือตาราเกี่ยวกับ
orchestration หนังสือเล่มนีต้ อ่ มา Richard
Strauss นามาปรับปรุงใหม่ และเป็ นหนังสือที่ใช้
เรียนกันใน conservatories หลายๆแห่ง
Symphonies
• Symphonie fantastique (1830)
• Harold en Italie (1834) โปรแกรมมาจาก epic
poem ของ Byron ชือ่ ว่า Childe Harold’s
Pilgrimage
• Roméo et Juliette (1839) โปรแกรมมาจาก
Romeo and Juliet ของ Shakespeare
concert overture
ได้แรงบันดาลใจในการเขียน
จากงานของนักเขียนหลายคน ตัง้ แต่ Shakespeare
ไปจนถึง Sir Walter Scott
 Les francs-juges (1826)
 Waverley (1828)
 King Lear (1831)
 Rob Roy (1832)
 Le Corsaire (1844)
Benvenuto Cellini (1838)
Les Troyens (The Trojans, 1859)
 Requiem (1837)
 L’Enfance du Christ (The Infancy of
Christ, 1854)
 La Damnation de Faust (1846)
 Lélio, or the Return to Life (1831)
 Les nuits d’été (Summer Nights, 1841)
 I. Dreams–Passions
 II. A Ball
 III. Scene in the Countryside
 IV. March to the Scaffold
 V. Dream of a Witches’ Sabbath

 Idée fixe= fixed idea, ทานองหนึง่ ที่ Berlioz เชี่อมโยงกับ


หญิงคนรัก (ในที่นคี้ ือ Harriet Smithson) ทานองนีก้ ลับมาในทุก
movement
ที่มา: https://en.wikipedia.org/wiki/Symphonie_fantastique
Berlioz ระบุลงไปชัดเจนว่าให้ใช้หวั ไม้ตแี บบไหน
Col legno – การใช้สว ่ นที่เป็ นไม้ของคันชักกระทบไปที่
สาย
Dies irae – เพลงสวด Mass ที่ใช้สาหรับพิธีศพ
Berlioz นาทานองของ Dies irae มาใช้ในท่อนนี้
Witches’ Round Dance
Idée fixe

Dies irae

Witches’ Round Dance

ที่มา: http://imslp.eu/files/imglnks/euimg/5/54/IMSLP522307-PMLP3653-NBE_-
_Symphonie_Fantastique_-_I._Reveries,_Passions_(etc).pdf
ทานองหนึง
่ ที่กลับมาอีก โดยแต่ละครั้งที่กลับมา
อาจมีการเปลี่ยนแปลงไม่มากก็นอ้ ย ใช้เพื่อให้คน
ฟั งระลึกถึงตัวละคร หรือบางเรื่องราวของตัว
ละคร
เป็ นบรรพบุรษ ุ สาคัญของ Leitmotif
 ซิมโฟนีบทที่ 2 ของ Berlioz
หลังจาก Paganini ได้วิโอล่าของ
Stradivarius มาไม่นานแต่ยงั ไม่มเี พลงที่เหมาะสม
สาหรับเครื่องดนตรีชนิ้ นีข้ องเขา เขาขอให้ Berlioz
แต่งเพลงให้สาหรับ viola solo และ Berlioz ก็
แต่งเพลงนีอ้ อกมา
ั แรงบันดาลใจจากกลอนของ Byron
บทเพลงนีไ้ ด้รบ
ชือ่ ว่า Childe Harold's Pilgrimage
 I. Adagio
(Harold in the Mountains. Scenes
of Melancholy, Happiness, and Joy)
 II. Allegretto
(March of the Pilgrims Singing
the evening Prayer)
 III. Allegro
assai (Serenade of an Abruzzi
Mountain-Dweller to his Mistress)
 IV. Allegro
frenetico (Orgy of Brigands,
Memories of Scenes Past)
 Berlioz’s third symphony
 Subtitled “symphonie dramatique”
 Text by Emile Deschamps

You might also like