Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

2

การเรียกชื่อพืช(สมุนไพร)

(Nomenclature of (medicinal) plants)


ภญ.ศิ ริ ว ดี บุ ญ มโหตม

หลักการเรียกชื่อพืช (Principles of botanical nomenclature)


หลักการเรียกชื่อพฤกษศาสตรตามกฎของสภาพฤษศาสตรสากล (International Code of
Nomenclature for algae, fungi, and plants ;ICN) กําหนดใหชื่อพันธุพืช (taxonomic unit) มีชื่อที่
ถูกตองที่สุดเพียงชื่อเดียว (correct name) และเรียกชื่อพันธุพืชเปนภาษาละติน ดวยเหตุผลคือภาษา
ละตินเปนภาษาเกาแกที่ทุกชาติรูจัก และเปนภาษาที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงการกําหนดชื่อใชยอนหลังได แต
ลาสุดไดยินยอมใหใชเปนภาษาอังกฤษหรือละตินก็ได โดยมีนักพฤกษศาสตรชาวสวีเดนชื่อ คาโรลัส ลิน
เนียส (Carolus Linnaeus) จัดจําแนกพันธุพืชและวางหลักเกณฑไว คือการตั้งชื่อตองเปนอิสระไมขึ้นกับ
กฎเกณฑการตั้งชื่อวิทยาศาสตรของสัตว
การกําหนดชื่อหมวดหมู (Taxon or taxa : พหูพจน) ตั้งแตระดับวงศลงไปตองมีตัวอยางพืชเปน
ตนแบบ (nomenclature type) ในการพิจารณาประกอบการกําหนดชื่อพืช และตองพิจารณาตามลําดับ
กอนหลังของการตีพิมพ (prionity of publication) จึงเปนชื่อที่ถูกตอง ชื่อที่บัญญัติขนึ้ จะตองเปนตามที่
กําหนดในหนังสือ Species Plantarum ของ Carolus Linnaeus ตีพิมพเมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2296
ประกอบดวย
1) Minor taxa (minor categories)
หมายถึง scientific name หรือ species name แบงเปน generic name (Gerus) และ
specific epithet อนุกรมวิธานหนวยเล็กที่สุดคือ ชื่อพันธุหรือชื่อชนิด (species) ลักษณะพันธุหลาย
พันธุรวมกันคือสกุล (genus : พหูพจน genera)
ชื่อชนิดพืช (สมุนไพร) : species ประกอบดวย คําวรรคแรก คําวรรคกลาง และคําวรรคสุดทาย
คําวรรคแรก - เปนชื่อสกุล (genus) ตองเปนภาษาละติน (กรีกหรือโรมัน),
- เปนคํานามและอธิบายลักษณะเฉพาะพันธุพืช
- เปนเอกพจน เปนคําไมยาวเกินไป
- เขียนหรือพิมพขึ้นตนดวยอักษรตัวใหญ
- เขียนหรือพิมพดวยตัวเอน ตัวหนัก หรือขีดเสนใต
3

คําวรรคกลาง - เปนคําแสดงลักษณะเฉพาะ (specific epithet) ประกอบความหมาย


วรรคแรก
- เปนคําคุณศัพท เขียนโดด ๆ ไมมีความหมายทางพฤกษศาสตร
- เขียนหรือพิมพขึ้นตนดวยอักษรตัวเล็ก และอักษรเนนเชนเดียวกับวรรคแรก
- เปนคําที่เสริมคําวรรคแรกจึงมีความหมายถึงพันธุพืช โดย
อธิบายลักษณะเดน เชน
alba แปลวา สีขาว fusta แปลวา สีน้ําตาล
nigra แปลวา สีดํา rubra แปลวา สีแดง
alta แปลวา ความสูง crassa แปลวา หนา
tenuis แปลวา บาง gigantea แปลวา ใหญ
nana แปลวา เล็กๆ scandens แปลวา ปนปาย
pendulus แปลวา หอย repens แปลวา เลื้อย
angustifolia แปลวา ใบแคบ latifolia แปลวา ใบกวาง
grandiflora แปลวา ดอกใหญ quadricularis แปลวา รังไขมี 4 ชอง
bignonoides หมายถึง คลายกับ bignona แปลวา ใหญ
Bignouia quercifolia หมายถึง มีใบคลายกับ Quercus
อธิบายถึงถิ่นอาศัย เชน
anglicus แปลวา อังกฤษ australiana แปลวา ออสเตรเลีย
chinensis แปลวา จีน japonica แปลวา ญี่ปุน
neplensis แปลวา เนปาล zeylanica แปลวา ลังกา
ชื่อชนิด (species name) สามารถอธิบายไดหลายความหมาย เชน
- ลักษณะเดน ของสี ของดอก ความสวยงาม ลักษณะความเปนพิษ เปนอาหาร เชน
เข็มแดง Ixora coccinia Linn. คําวา coccinia แปลวา สีแดง
อินทนิลน้ํา Lagerstroemia speciosa Pers. คําวา speciosa แปลวา สวย
ยางนอง Antiaris toxicaria Lesch. คําวา toxicaria แปลวา เปนพิษ
โสกเซนคาเบรียล Polyalthia longifolia Benth & Hk.f. คําวา longifolia แปลวา ใบยาว
ชาญี่ปุน Ehretia microphylla Lamk. คําวา microplhyla แปลวา ใบเล็ก
4

Xanthoxylum sp. คําวา Xantho แปลวา สีเหลือง


คําวา xylum แปลวา เนื้อไม
Liliodendron sp. คําวา Lilio แปลวา lily
คําวา dendron แปลวา tree
- ถิ่นที่พบพันธุพืช เชน
ชาขอย Acalypha siamensis Oliv. ex Gage คําวา siamensis มาจากคําวา Siam (ไทย)
ชัยพฤกษ Cassia javanica Linn. คําวา javanica มาจากคําวา Java (ชะวา)
บัวหลวง Nelumbo nucifera Gaertn คําวา nelumbo มาจากภาษาลังกา
เตยหอม Pandanus amaryllifolius Roxb. คําวา pandanus มาจากภาษามาเลย
- เพื่อเปนเกียรติแกบุคคลสําคัญของวงการพฤกษศาสตร เชน
รางจืด Thunbergia laurifolia L. คําวา Thunbergia เปนเกียรติแก
C.P.Thunberg ศิษยของ Linnaeus ซึ่งเปน
นักพฤกษศาสตรชาวยุโรปคนแรกที่บุกเบิก
คนควาพืชในญี่ปุน
ใบตางดอก Mussaenda kerri Craib คําวา kerri เปนเกียรติแก Prof. Dr.Kerr
นักพฤกษศาสตรชาวอังกฤษที่ทํางานจัด
จําแนกพืชในประเทศไทย
ยาสูบ Nicotiana tabacum Linn. คําวา Nicotiana เปนเกียรติแก Jean
Nicot เปนผูนําตนยาสูบมาปลูกในยุโรปเปน
คนแรก
คําวา tabacum มาจาก คําวาTaino
แปลวา ยาสูบ
อรพิม Bauhinia winittii Craib คําวา Bauhinia เปนเกียรติแกสองพี่นอง
ตระกูล Bauhin
คําวา winitii เปนเกียรติแกพระยาวินิจ-
วนันดร นักพฤกษศาสตรชาวไทย
5

- เพื่อเปนเกียรติแกบุคคลในเทพนิยายและความคิดดานศิลปะ เชน
แอปเปล Pyrus malus Linn คําวา malus เปนภาษาโรมันโบราณ
แปลวา แอปเปล
มันเทศ Ipomoea batatus Lamk คําวา batatus เปนภาษาพื้นเมืองของอินเดีย
ตะวันตก แปลวา มันเทศ
โกโก Theobroma cacao L. คําวา cacao เปนภาษาพื้นเมืองเม็กซิโก
หมายถึง ช็อกโกแลต

คําวรรคสุดทาย เปนชื่อผูตงั้ ชื่อพันธุพืชขึ้นทําเนียบพืช (anthor's name) คือเปนชื่อผูคน


พบพันธุพืชชนิดใหมเปนคนแรก และจัดทําคําบรรยายลักษณะพันธุพืชนัน้ เชน
- เพื่อเปนเกียรติบุคคลสําคัญของวงการพฤกษศาสตร เชน
ขาว Oryza sativa L. คําวา L. มาจาก Linn. Linnaeus เปนผูตั้งชื่อและ
จัดทําคําบรรยายลักษณะของตนขาว

วิธีการเขียนหรือพิมพคําวรรคสุดทายตองขึ้นตนดวยอักษรตัวใหญ ไมตองเนนตัวอักษร อาจเขียน


ยอหรือเต็ม เชน
Linnaeus ยอเปน L. หรือ Linn. De Candolle ยอเปน DC.
Ridley ยอเปน Ridl. Hooker ยอเปน Hook. หรือ Hk.
Craib, Kerr, Smitinand, Suvatabhandu ใสชื่อเต็ม
อาจมีนักพฤกษศาสตรชวยกันในการตั้งชื่อพืช 2 คน ตองใสชื่อนักพฤกษศาสตรในวรรคสุดทาย
2 ชื่อ เชน
กวาวเครือ Pueraria mirifica Airy Show et Suvatabhandu ใชคําวา et หรือ & คั่นระหวาง
2 ชื่อ โดยทั้ง 2 คนชวยกันทําพรอม ๆ กัน
การะเกด Pandanus tectorius Soland ex Park ใชคําวา ex คั่นระหวาง 2 ชื่อ โดยคนแรกชื่อ
Soland ตั้งชื่อยังไมถกู ตองสมบูรณตามกฎเกณฑของสภาพฤกษศาสตรสากล คนหลังชื่อ
Park ชวยทําใหสมบูรณ จําเปนตองใสชื่อพฤกษศาสตรในวรรคสุดทายนี้ไวดวยเมื่อเขียน
ชื่อพันธุ (species) เพื่อประกอบการเรียกชื่อพืชสมุนไพรที่ถูกตองมากที่สุด และปองกัน
การสับสน
Vernonia acaulis (Walter) Gleason แสดงวา Gleason เปนผูตั้งชื่อพืชนี้ที่หลัง Walter โดยที่
Walter ตั้งชื่อ Genus เปนชื่ออื่นไวกอนแลว
6

สวนที่สําคัญที่สุดของชื่อพันธุพืช (species name) ประกอบดวย 2 วรรค เรียก ทวินาม


(binomial nomenclature) เชน มะคาโมง Afzelia xylocarpa Craib
และตติยนาม (trinomial nomenclature) เชน รังขาว Pentacme suavis var. siamensis
หรือเขียนเปน Pentacme suavis ssp. suavis var. siamensis Kurz
หากชื่อพันธุพืช (species name) ประกอบดวย 3 คําขึ้นไป เรียกวา polynomial
nomenclature เชน หลิว Salix pumila angustifolia altera เปนชื่อที่ยาวมาก ไมคอยใชกันในปจจุบัน
ชื่อถูกตอง (Correct name) คือชื่อพืช (species) ที่นักพฤกษศาสตรตั้งขึ้นอยางถูกตองตามกฎ
ขอบังคับของสภาพฤกษศาสตรสากล (ICBN) และตีพิมพกอน
ชื่อพอง (Synonym) คือ ชื่อพืช (species) ที่นักพฤกศาสตรตั้งขึน้ อยางถูกตางตามกฎขอบังคับของ
สภาพฤกษศาสตรสากล (ICN) แตตีพิมพหลังชื่อถูกตอง (Correct name)
นอกจากชื่อตามกฎของสภาพฤกษศาสตรสากลแลวยังมีชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) และชื่อ
สามัญ (Common name)
ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) หมายถึง ชื่อเฉพาะทองถิ่นใดทองถิ่นหนึ่ง หรือประเทศใด
ประเทศหนึ่ง อาจเรียก local name หรือ native name
ชื่อสามัญ (Common name) คือชื่อภาษาอังกฤษของพืชที่ใชอยางแพรหลาย ซึ่งเปนภาษากลาง
คอนขางรูจักกันทั่วโลก เชน
กุหลาบ มี common name เปน rose
กลวย มี เปน banana
ขนุน มี common name เปน Jack fruit
นอยหนา มี common name เปน custard apple)
สับปะรด มี common name เปน pineapple)
สาเก มี conmon name เปน brade fruit
2) Major taxa (major categories)
คือ ลําดับขัน้ ตั้งแต family ขึ้นไป ตามกฎสภาพฤกษศาสตรสากล (ICN) ซึง่ มีขอบังคับเรื่องการลง
ทายชื่อแตละขั้นดังนี้คือ
ลําดับขั้น Family (ชื่อวงศ) ใชชื่อ genus ที่เปนตนแบบในการกําหนดชื่อโดยลงทายตัว -aceae
เชน genus Rosa เปนตนแบบในการกําหนดชี่อ family Rosaceae
ลําดับชั้น Suborder ใชชื่อ family เปนหลัก แลวเปลี่ยนคําลงทายเปน -ineae
7

ลําดับขั้น Order พืธไมดอกใชชื่อ family เปนหลัก แลวเปลี่ยนคําลงทายเปน -ales


ลําดับขั้น Subclass พืชไมดอก ใชคําลงทายดวย -ideae
ลําดับขั้น Class พืชไมดอก ใชคําลงทายดวย -opsida
ลําดับขั้น Subdivision พืชไมดอก ใชคําลงทายดวย -phytina
ลําดับขั้น Division พืชไมดอก ใชคําลงทายดวย -phyta
ลําดับขั้นตั้งแต order ถึง tamily การลงทายชื่อหมวดหมูเปนไปตามกฏสภาพฤกษศาสตรสากล
(ICN) อยางเครงครัด มีขอยกเวนสําหรับชื่อพืชบางวงศที่ไมไดลงทายดวย –aceae โดยชื่อเหลานี้ถูกใชมา
เปนเวลานานและเปนที่คุนเคยหรือนิยมมากกวา ICN จึงอนุญาตใหใชชื่อวงศเหลานี้ไดเรียก alternative
names ซึ่งหมายถึงชื่อที่สามารถถูกเลือกใชแทนชื่อวงศที่ถูกตองตามกฎได ชื่อวงศเหลานี้ไดแก
ALTERNATIVE NAME ชื่อตามกฎ ICN สกุลตนแบบ ตัวอยาง
(TYPE GENUS)
Compositae Asteraceae Aster L. สาบเสือ ทานตะวัน โดไมรูลม
Cruciferae Brassicaceae Brassica L. ผักกาด คะนา กะหล่ําปลี
หญาไผ แขม ออย ขาว
ติ้ว รง ชะมวง มังคุด กระทิง
สัก ซอ ตีนนก กะเพรา
แดง ประดู มะคาโมง ถั่ว
หมาก ปาลม หวาย มะพราว
ผักชี ผักชีฝรั่ง

You might also like