Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 37

ความผิดวินัยการเงินการคลัง

นางสาวนิชาพัฒน์ รุ่งนิธิชัยวงศ์
นิติกรชานาญการ
สานักวินิจฉัยความผิดวินัยการเงินการคลัง
ความผิดวินัยการเงินการคลัง

ร ็ นมา
ความเป

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐


ม.๓๑๒ การตรวจเงินแผ่นดินกระทาโดยคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
(คตง.) และผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน
ม.๓๓๓ กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน อย่างน้อย
ต้องมีสาระสาคัญดังนี้
“อานาจหน้าที่ของ คตง. เกี่ยวกับ การวางนโยบาย การให้คาปรึกษาและคาแนะนา การกาหนด
หลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน การกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาใน
เรื่องวินัยทางงบประมาณและการคลัง การกาหนดโทษปรับทางปกครอง การพิจารณา
วินิจฉัยความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังในฐานะที่เป็นองค์กรสูงสุด”
ความผิดวินัยการเงินการคลัง

ร ็ นมา
ความเป

พ.ร.ป.ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๔๒
มาตรา ๑๙ เพื่อให้ระบบการควบคุมการตรวจสอบการเงินแผ่นดิน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมี
วินัย ให้มีคณะกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลังคณะหนึ่งซึ่ง คตง. แต่งตั้งขึ้น มีอานาจหน้าที่
พิจารณาและกาหนดโทษปรับทางปกครองเบื้องต้นแก่เจ้าหน้าที่หรือพนักงาน ของหน่วยรับตรวจที่
ฝ่าฝืนมาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการเงินของรัฐที่ คตง. กาหนด
มาตรา ๒๐ วรรคสาม “วิธีพิจารณาของคณะกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลัง การคัดค้าน
กรรมการวินัยทางงบประมาณและ การคลัง และเรื่องอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ของ
คณะกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลัง ให้เป็นไปตาม ระเบียบที่ คตง. กาหนด แต่ทั้งนี้ต้องให้
โอกาสแก่ผู้ถูกกล่าวหาว่าต้องรับผิดทางวินัยมีสิทธิชี้แจงและนาสืบแก้ ข้อกล่าวหาและต้องมีเจ้าหน้าที่
ผู้รับผิดชอบสานวนคนหนึ่งมีหน้าที่ในการทาสานวน รวบรวมข้อเท็จจริงและเสนอ ความเห็นโดยอิสระ
แก่คณะกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลัง”
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
ร ็ นมา
ความเป

มาตรการเกี่ยวกับการควบคุมการเงินของรัฐที่ คตง. กาหนด


 ระเบียบ คตง.ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. ๒๕๔๔
- กาหนดอัตราโทษปรับทางปกครองไว้ ๔ ชั้น ได้แก่
(๑) ชั้นที่ ๑ ปรับไม่เกินเงินเดือน ๑ เดือน (๒) ชั้นที่ ๒ ปรับเท่ากับเงินเดือน ๒–๔ เดือน
(๓) ชั้นที่ ๓ ปรับเท่ากับเงินเดือน ๕–๘ เดือน (๔) ชั้นที่ ๔ ปรับเท่ากับเงินเดือน ๙–๑๒ เดือน
- หมวด ๒ ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลัง (ความผิดเกี่ยวกับการรับเงิน เก็บรักษาเงิน
และนาเงินส่ง ความผิดเกี่ยวกับการเบิกเงินและการจ่ายเงิน ความผิดเกี่ยวกับการบริหาร
งบประมาณและการก่อหนี้ผูกพัน ความผิดเกี่ยวกับการจัดเก็บรายได้ ความผิดเกี่ยวกับการยืมเงิน
ความผิด เกี่ยวกับการพัสดุ และความผิดอื่น)
วิธีพิจารณาของคณะกรรมการวินัยทางงบประมาณและการคลังที่ คตง. กาหนด
 ระเบียบ คตง. ว่าด้วยวิธีพิจารณาความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ.๒๕๔๔
(การเสนอเรื่อง การสั่งรับพิจารณา การสอบสวนหาข้อเท็จจริง/แจ้งข้อกล่าวหา ไต่สวน/สรุป
สานวน คระกรรมการวินัยฯ พิจารณา คตง.วินิจฉัยชี้ขาด การบังคับตามคาวินิจฉัย)
ความผิดวินัยการเงินการคลัง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๖๐
ความผิดวินัยการเงินการคลัง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช
ร ๒๕๖๐

หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ

มาตรา ๖๒ รัฐต้องรักษาวินัยการเงินการคลังอย่างเคร่งครัดเพื่อให้ฐานะทางการเงินการคลัง
ของรัฐมีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างยั่งยืนตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐและ
จัดระบบภาษีให้เกิดความเป็นธรรมแก่สังคม
กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐอย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับ
กรอบการดาเนินการทางการคลังและงบประมาณของรัฐ การกาหนดวินัยทางการคลัง
ด้านรายได้และรายจ่ายทั้งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ การบริหารทรัพย์สิน
ของรัฐและเงินคงคลัง และการบริหารหนี้สาธารณะ
ความผิดวินัยการเงินการคลัง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช
ร ๒๕๖๐

หมวด ๗ รัฐสภา

มาตรา ๑๔๐ การจ่ายเงินแผ่นดิน จะกระทาได้เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วย


งบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ หรือกฎหมายเกี่ยวด้วยการโอน
งบประมาณ กฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง หรือ กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
เว้นแต่ในกรณีจาเป็นรีบด่วน จะจ่ายไปก่อนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่
กฎหมายบัญญัติ ในกรณีเช่นว่านี้ ต้องตั้งงบประมาณรายจ่ายชดใช้ในพระราชบัญญัติโอน
งบประมาณรายจ่ายหรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณถัดไป
ความผิดวินัยการเงินการคลัง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช
ร ๒๕๖๐

หมวด ๑๒ องค์กรอิสระ

มาตรา ๒๓๘ คตง. ประกอบด้วยกรรมการจานวนเจ็ดคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตัง้ ตาม


คาแนะนาของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งได้รับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา
ผู้ซึ่งได้รับการสรรหาต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ มีความรู้ ความ
เชี่ยวชาญ และประสบการณ์เกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน กฎหมาย การบัญชี การ
ตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง และด้านอื่นที่เป็นประโยชน์ตอ่ การตรวจเงินแผ่นดิน ทั้งนี้
เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสิบปี
ความผิดวินัยการเงินการคลัง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช ๒๕๖๐
หมวด ๑๒ องค์กรอิสระ

มาตรา ๒๔๐ คตง. มีหน้าที่และอานาจ ดังต่อไปนี้


(๑) วางนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน
(๒) กาหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงินแผ่นดิน
(๓) กากั บการตรวจเงิน แผ่น ดิ นให้ เป็ น ไปตาม (๑) และ (๒) และกฎหมายว่า ด้ วยวิ นั ย
การเงินการคลังของรัฐ
(๔) ให้ ค าปรึ ก ษา แนะน า หรื อ เสนอแนะเกี่ ย วกั บ ารใช้ จ่ า ยเงิ น แผ่ น ดิ น ให้ เ ป็ น ไปตาม
กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ รวมทั้งการให้คาแนะนาแก่หน่วยงานของ
รัฐในการแก้ไขข้อบกพร่องเกี่ยวกับการใช้จ่ายเงินแผ่นดิน
(๕) สั่งลงโทษทางปกครองกรณีมีการกระทาผิดกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
ความผิดวินัยการเงินการคลัง

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช ๒๕๖๐
หมวด ๑๒ องค์กรอิสระ

มาตรา ๒๔๐ (ต่อ)


“การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
ผู้ถูกสั่งลงโทษตาม (๕) อาจอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุดได้ภายใน ๙๐
วัน นับแต่วันที่ได้รับคาสั่ง ในการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุดต้อง
คานึงถึงนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน และหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับ
การตรวจเงินแผ่นดินตาม (๑) และ (๒) ประกอบด้วย”
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช ๒๕๖๐
หมวด ๑๒ องค์กรอิสระ

มาตรา ๒๔๒ ให้ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดินปฏิบัติหน้าที่โดยเที่ยงธรรม เป็นกลาง และ


ปราศจากอคติทั้งปวดในการใช้ดุลพินจิ โดยมีหน้าที่และอานาจดังต่อไปนี้
(๑) ตรวจเงินแผ่นดินตามนโยบายการตรวจเงินแผ่นดินและหลักเกณฑ์มาตรฐานเกีย่ วกับ
การตรวจเงินแผ่นดินที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกาหนด และตามกฎหมายว่า
ด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
(๒) ตรวจผลสัมฤทธิแ์ ละประสิทธิภาพในการใช้จ่ายเงินของหน่วยงานของรัฐ
(๓) มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการตาม (๑) และ (๒)
(๔) กากับและรับผิดชอบในการปฏิบัตหิ น้าที่ของเจ้าหน้าที่ตาม (๓)
ความผิดวินัยการเงินการคลัง

พระราชบัญญัติ
วินัยการเงินการคลังของรัฐ
พ.ศ. ๒๕๖๑
พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรา ๖

รัฐต้องดาเนินนโยบายการคลัง การจัดทางบประมาณ การ


จัดหารายได้ การใช้จ่าย การบริหารการเงินการคลัง และการก่อหนี้
อย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใสและตรวจสอบได้ ทั้งนี้ ตามหลักการ
รักษาเสถียรภาพและการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และหลัก
ความเป็นธรรมในสังคมและต้องรักษาวินัยการเงินการคลังตามที่
บัญญัติในพระราชบัญญัตินี้และตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องอย่าง
เคร่งครัด
พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑

หมวด ๒
นโยบายการเงินการคลัง

ส่วนที่ ๑ คณะกรรมการนโยบายการเงินการคลังของรัฐ (ม. ๑๐ - ๑๒)

ส่วนที่ ๒ การดาเนินการทางการคลังและงบประมาณ (ม. ๑๓ - ๓๐)


พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
หมวด ๓ รายได้ภาษีอากร
วินัยการเงินการคลัง - การจัดเก็บ/การยกเว้น/ลดภาษีอากร ต้องเป็น
ส่วนที่ ๑
ไปตามกฎหมาย

รายได้ (ม. ๓๑-๓๖) รายได้ค่าธรรมเนียม


- การจัดเก็บ/ลด/ยกเว้นรายได้ค่าธรรมเนียมที่
หลักการ : รายได้ ไม่ใช่การเรียกเก็บเพื่อเป็นค่าตอบแทนการให้บริการ
แผ่นดินต้องนาส่งคลัง ต้องเป็นไปตามกฎหมาย

รายได้รัฐวิสาหกิจ
- ให้รัฐวิสาหกิจที่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจัดสรร
กาไรสุทธินาส่งคลังในอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
- ก.การคลังกาหนดให้รัฐวิสาหกิจนาส่งกาไรเพิ่มเติมได้
พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
หมวด ๓ รายจ่าย (ม.๓๗-๔๓)
วินัยการเงินการคลัง
ส่วนที่ ๒
หลักการ : การก่อหนี้ผูกพันหรือการจ่ายเงินของ
หน่วยงานของรัฐต้องอาศัยอานาจที่มีอยู่ตามกฎหมาย
โดยคานึงถึงความโปร่งใส คุ้มค่า และประหยัด

การจ่ายเงิน ข้อคานึงในการก่อหนี้
ผูกพัน
ส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐนอกจาก - ภาระทางการเงินที่
การเบิกเงิน/การรับเงิน/ ส่วนราชการ เกิดขึ้นและข้อผูกพัน
การเบิ ก เงิ น /การรั บ เงิ น /
ก า ร จ่ า ย เ งิ น /ก า ร เ ก็ บ
ก า ร จ่ า ย เ งิ น /ก า ร เ ก็ บ ในการชาระเงินตาม
รักษาเงิน / การนาเงินส่ ง
คลั ง / การรั บ จ่ า ยเงิ น ทด รักษาเงิน สัญญา
รองราชการ ให้ เ ป็ น ไป ต้ อ งวางหลั ก เกณฑ์ แ ละ - ประโยชน์ที่รัฐจะ
ตามระเบี ย บที่ รั ฐ มนตรี วิ ธี ก ารตามกฎหมายเพื่ อ
การนั้น ได้รับ
กาหนดโดยอนุมัติ ครม.
พระราชบัญญัติวนิ ัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
หมวด ๓ การจัดให้ได้มาซึ่งทรัพย์สินและการบริหารทรัพย์สินของรัฐ (ม.๔๔-๔๘)
วินัยการเงินการคลัง หลักการ : ต้องเป็นไปตามกฎหมาย โดยต้องพิจารณาประโยชน์ของรัฐและ
ส่วนที่ ๓
ประชาชน ความคุ้มค่า และประหยัด

ทรัพย์สินของแผ่นดินและ
การจัดซื้อจัดจ้าง
การบริหารเงินคง ทรัพย์สินที่ตกเป็นของแผ่นดิน
และการบริหาร
คลัง ต้องเป็นไป
พัสดุ ต้องเป็นไป
ตามกฎหมายว่า หน่วยงานของรัฐ
ตามกฎหมายว่า กระทรวงการคลัง
ด้วยเงินคงคลัง - ดูแลรักษา/บริหาร
ด้วยการจัดซื้อจัด - ดูแลรักษา/บริหาร
ทรัพย์สินของตนเอง
และให้รักษาไว้ใน - จัดทาบัญชีทรัพย์สิน
จ้างและการ ของแผ่นดิน
- จัดทาบัญชีทรัพย์สิน
ระดับที่จาเป็น ของแผ่นดิน/
บริหารพัสดุภาครัฐ - กค. มอบหมายให้
รายงานให้ กค.
หน่วยงานของรัฐอื่น
ทราบตาม
ทาแทนได้
หลักเกณฑ์
พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
หมวด ๓ การก่อหนี้และการบริหารหนี้ (ม.๔๙ – ๖๐)
วินัยการเงินการคลัง หลักการ : ต้องเป็นไปตามกฎหมายอยู่ภายใต้วัตถุประสงค์และอานาจ
ส่วนที่ ๔
หน้าที่ของผู้กู้ โดยต้องทาอย่างรอบคอบ

การกู้เงิน /การค้าประกันโดย
คณะกรรมการฯ กระทรวงการคลัง
รัฐบาล

กาหนดสัดส่วนหนี้/ภาระหนี้ รายงานสัดส่วนหนี้สาธารณะที่ เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารหนี้สาธารณะ


เกิดขึ้นจริงต่อ ครม./คณะ โดยเคร่งครัด
สาธารณะ
กรรมการฯ /ให้เปิดเผยต่อ
สาธารณชนทุก ๖ เดือน
รายงานสัดส่วนที่กาหนดให้ นอกเหนือจากกฎหมายว่าด้วยการบริหารหนี้
สาธารณะ
ครม.ทราบ กรณีที่ไม่สามารถดาเนินการได้
ตามสัดส่วนที่กาหนดไว้ ให้ รมว. - กค.สามารถดาเนินการได้โดยการตรากฎหมาย
รายงานเหตุผล วิธีการและ เป็นการเฉพาะ
ทบทวนสัดส่วนดังกล่าวทุก ระยะเวลาในการทาให้อยู่ใน - ต้องเป็นกรณีที่มีความจาเป็นเร่งด่วน/ไม่สามารถ
๓ ปี และรายงาน ครม. สัดส่วนต่อ ครม. และเปิดเผยต่อ ตั้ง งปม.ได้ทัน
สาธารณชนทราบ - หน่วนงานของรัฐมีความพร้อมในการดาเนินการ
พระราชบัญญัติวนิ ัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
หมวด ๓
วินัยการเงินการคลัง เงินนอกงบประมาณและเงินทุนหมุนเวียน (ม.๖๑-๖๓)
ส่วนที่ ๕ หลักการ : เงินนอกงบประมาณให้มีเท่าที่จาเป็น และให้นาเงินนอก
งบประมาณมาฝากไว้ที่ กค.

เงิ น นอกงบประมาณที่ ยั ง
เงินนอกงบประมาณ
ไม่ได้ใช้จ่าย/เงินคงเหลือ
ฝาก นาส่ง

ทุนหมุนเวียน
หลักการ : การจัดตั้งให้
กระทรวงการคลัง
เป็นไปตามกฎหมายเฉพาะ
พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑
หมวด ๓
วินัยการเงินการคลัง การคลังท้องถิ่น (ม.๖๔-๖๗)
ส่วนที่ ๖ หลักการ : อปท. ต้องจัดเก็บรายได้ให้เพียงพอในการจัดทา
บริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะ

วินัยการคลัง การก่อหนี้ของ อปท.


- การจัดทางบประมาณ - ตามอานาจที่มีอยู่ตามกฎหมาย
- การใช้จ่าย - การกู้เงิน / ออกพันธบัตร/ ค้า
- การก่อหนี้ผูกพัน ประกั น ให้ อ ยู่ ภ ายใต้ บั ง คั บ
- การบริหารทรัพย์สินของ อปท. กฎหมายนี้ และหลั ก เกณฑ์ ที่
ต้อ งโปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ โดย เกี่ยวข้องตามกฎหมายว่าด้วย
พิจารณาผลสัมฤทธิ์ ความคุ้มค่า การบริหารหนี้สาธารณะ
ความประหยั ด และภาระการ - การกู้เงินตราต่างประเทศ ต้อง
คลังในอนาคต ได้รับความเห็นชอบจาก ครม.
พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ๒๕๖๑

มาตรา ๘๐

การตรวจเงินแผ่นดินต้องกระทาด้วยความสุจริต รอบคอบ โปร่งใส


เที่ยงธรรม กล้าหาญ ปราศจากอคติ และเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โดย
ให้เป็นไปตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
ในกรณีมีการกระทาผิดวินัยการเงินการคลังของรัฐตามที่กาหนดไว้
ในพระราชบัญญัตินี้ การสั่ งลงโทษทางปกครองให้เ ป็ นไปตามกฎหมาย
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๖๑
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
(๑) วางนโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน

(๒) กาหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับ
การตรวจเงินแผ่นดิน

(๓) กากับการตรวจเงินแผ่นดินให้เป็นไปตาม (๑) (๒)


และตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ

(๔) ให้คาปรึกษา แนะนา หรือเสนอแนะเกี่ยวกับ


การใช้จ่ายเงินแผ่นดินให้เป็นไปตาม พรบ.
วินัยการเงินการคลังของรัฐ

(๕) สั่งลงโทษทางปกครองกรณีมีการกระทาผิด
ตาม พรบ.วินัยการเงินการคลังของรัฐ
(๖) หน้าที่และอานาจอื่นตาม พรป.นี้
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
(๑) ตรวจเงินแผ่นดินตาม นโยบายการตรวจเงินแผ่นดิน
หลักเกณฑ์มาตรฐาน และตามกฎหมายว่าด้วยวินัย
การเงินการคลังของรัฐ

(๒) ตรวจผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภาพในการ
ใช้จ่ายเงินของหน่วยงานของรัฐ

(๓) มอบหมายให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการตาม ๑
และ ๒

๔. กากับและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่
ของเจ้าหน้าที่
ความผิดวินัยการเงินการคลัง

ในการตรวจสอบ

ผู้ว่าการฯ
มีอานาจ (ม.๙๓)

๑. ตรวจสอบเงินเงิน ทรัพย์สินอื่น และหลักฐานในการใช้จ่าย


๒. ให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจ มีหนังสือชี้แจงข้อเท็จจริง
มาให้ถ้อยคา หรือส่งมอบบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานอื่น
๓. อายัดบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานอื่น
๔. ให้บุคคลใดมาให้ถ้อยคา หรือส่งมอบบัญชีเอกสาร
หรือหลักฐานอื่น
๕. เข้าไปในสถานที่ใดๆ เพื่อตรวจสอบ ค้น ยึด หรืออายัด
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
หมวด ๗

วินัยการเงินการคลัง

การตรวจสอบตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ (ม.๙๕)
๑. กรณีข้อบกพร่องทีต่ รวจพบ ไม่มีลักษณะเป็นการทุจริตและไม่ก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่รัฐ
 ผู้ว่าการฯ จะแจ้งให้ผู้รับตรวจทราบเพือ่ กากับดูแลมิให้เกิด
ข้อบกพร่องอีกก็ได้ (ม.๙๕ ว.๑ ไม่อยู่ในเงื่อนไขที่จะเสนอให้ คตง.
สั่งลงโทษทางปกครอง)
๒. กรณีข้อบกพร่องทีต่ รวจพบ มีลักษณะเป็นการทุจริต
 ให้ผู้ว่าการฯ ส่งเรื่องให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. ดาเนินการต่อไป (ม.
๙๕ ว.๒)
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
หมวด ๗

วินัยการเงินการคลัง

๓. กรณีข้อบกพร่องที่ตรวจพบ มีลักษณะก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ หรือ


เป็นการจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ
 ให้ผู้ว่าการฯ แจ้งผู้รับตรวจดาเนินการเพื่อให้มีการชดใช้ค่าเสียหาย
หรือดาเนินการทางวินยั แล้วแต่กรณี และเมื่อผู้รับตรวจดาเนินการ
แล้วให้แจ้งให้ผู้ว่าการฯ ทราบ (ม.๙๕ ว.๓)
๔. ในกรณีที่ผู้รับตรวจไม่ดาเนินการตามที่ได้รับแจ้งตามวรรคสาม ภายใน
เวลาอันสมควร
ผู้ว่าการฯ จะแจ้งให้ดาเนินการภายในระยะเวลาที่กาหนดก็ได้ (ม.๙๕
ว.๔)
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
หมวด ๗ ผู้ว่าการฯ จะเสนอต่อ คตง. ให้ลงโทษ
วินัยการเงิร นการคลัง ทางปกครองกับผู้รับตรวจ (หัวหน้า
(การเสนอเรื่อง) ส่วนราชการ) ตาม ม.๙๖ ก็ได้

ใน ๒ กรณี ดังนี้
๑. กรณีผู้รับตรวจไม่ดาเนินการเพื่อให้มีการชดใช้ค่าเสียหายแก่รัฐ หรือไม่ดาเนินการ
ทางวินัย ภายในเวลาที่ผู้ว่าการฯ กาหนดโดยไม่มีเหตุอันสมควร (กรณีที่เจ้าหน้าที่
ของหน่วยรับตรวจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบที่ไม่เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยวินัย
การเงินการคลังของรัฐและก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ) (ม. ๘๕ ว.๒)
๒. กรณีผู้รับตรวจไม่ดาเนินการเพื่อให้มีการชดใช้ค่าเสียหายแก่รัฐ หรือไม่ดาเนินการ
ทางวินัย ภายในเวลาที่ผู้ว่าการฯ กาหนดโดยไม่มีเหตุอันสมควร (กรณีมี
ข้อบกพร่องและก่อให้เกิดความเสียหายแก่รัฐ หรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจ
จงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ) (ม. ๙๕ ว.๔)
วินัยการเงินการคลัง

หมวด ๗
วินัยการเงิร นการคลัง

การเสนอเรื่องต่อ คตง. เพื่อให้ลงโทษทางปกครองแก่ผู้รับตรวจ


หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ
๑. ผู้ว่าการฯ เป็นผู้เสนอเรื่อง
๒. เรื่องที่เสนอต้องประกอบด้วย
 สรุปข้อเท็จจริงและพฤติการณ์ที่เป็นเหตุอันควรลงโทษทาง
ปกครอง
 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโทษทางปกครองที่สมควรลง
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
หมวด ๗
วินัยการเงิร นการคลัง

การพิจารณาวินิจฉัยเพื่อลงโทษทางปกครองของ คตง. (ม. ๙๙)


๑. ให้ คตง. ใช้รายงานผลการตรวจสอบของผู้ว่าการฯ เป็นหลัก
๒. แต่ต้องเปิดโอกาสให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงแสดงหลักฐาน
ประกอบการพิจารณาด้วย
การแจ้งข้อกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ และการยื่นคาชี้แจง
ของผู้ถูกกล่าวหา ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ คตง.
กาหนด
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
หมวด ๗
วินัยการเงิร นการคลัง

การพิจารณาวินิจฉัยเพื่อลงโทษทางปกครองของ คตง. (ต่อ)


๑. การพิจารณาวินิจฉัยเพื่อลงโทษทางปกครองกรณีมีการกระทาผิดกฎหมายวินัย
การเงินการคลัง เป็นกระบวนการพิจารณาของ คตง. เพื่อมีคาสั่งทางปกครอง
๒. หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาวินิจฉัยความผิดวินัยการเงินการคลังในการสั่ง
ลงโทษทางปกครองของ คตง. กาหนด ต้องมีมาตรฐานไม่ต่ากว่ากฎหมายว่าด้วยวิธี
ปฏิบัติราชการทางปกครอง
๓. มีการยกร่างระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการพิจารณา
วินิจฉัยความผิดวินัยการเงินการคลัง ในการสั่งลงโทษทางปกครอง พ.ศ. .... แล้ว
ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณา
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
หมวด ๗
วินัยการเงิร นการคลัง

ประเภทของโทษทางปกครอง (ม.๙๘)
๑. ภาคทัณฑ์
๒. ตาหนิโดยเปิดเผยต่อสาธารณะ
๓. ปรับทางปกครอง
- การลงโทษปรับทางปกครอง จะลงโทษปรับเป็นเงินเกินเงินเดือน ๑๒ เดือน
ของผู้ถูกลงโทษไม่ได้
ในการพิจารณากาหนดโทษทางปกครอง คตง. ต้องคานึงถึง
 ความร้ายแรงแห่งพฤติกรรมที่กระทาผิด และ
 ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการกระทานั้น
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
หมวด ๗
วินัยการเงิร นการคลัง

เหตุยกเว้นโทษ (ม.๑๐๐)
๑. ผู้รับตรวจ / เจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจ กระทาความผิดตามที่บัญญัติ
ให้ในหมวด ๗ วินัยการเงินการคลัง เพราะต้องปฏิบัติตามคาสัง่ ของ
ผู้บังคับบัญชา
๒. ปรากฏพยานหลักฐานว่า ผู้รับตรวจ / เจ้าหน้าที่ของหน่วยรับตรวจผู้
นั้น ได้โต้แย้งหรือคัดค้านคาสั่งนั้นไว้แล้ว
๓. ให้ได้รับยกเว้นโทษทางปกครอง
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
หมวด ๗
วินัยการเงิร นการคลัง

การระงับการดาเนินการเกี่ยวกับความผิดวินัยการเงินการ
คลังของรัฐ (ม.๑๐๑)
๑. ผู้ถูกกล่าวหาถึงแก่ความตาย
๒. ดาเนินการไม่แล้วเสร็จภายในกาหนด ๕ ปี นับแต่วัน
กระทาความผิด
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
หมวด ๗
วินัยการเงิร นการคลัง

การอุทธรณ์คาสั่งลงโทษทางปกครอง (ม.๑๐๓)
๑. ผู้ถูกสั่งลงโทษทางปกครองมีสิทธิอุทธรณ์คาสั่งลงโทษทาง
ปกครองอุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุดภายใน ๙๐ วันนับ แต่
วันที่ได้รับคาสั่งลงโทษทางปกครอง
๒. การพิจารณาของศาลปกครองสูงสุดต้องคานึงถึงนโยบายการ
ตรวจเงินแผ่นดินและหลักเกณฑ์มาตรฐานเกี่ยวกับการตรวจเงิน
แผ่นดินประกอบด้วย
ความผิดวินัยการเงินการคลัง
หมวด ๗
วินัยการเงิร นการคลัง

ผลของการวินิจฉัยลงโทษความผิดวินัยการเงินการคลังของรัฐของ
คตง. (ม.๑๐๒)
๑. ไม่ตัดอานาจของผู้บังคับบัญชาของผู้ถูกลงโทษ ที่จะพิจารณา
ลงโทษทางวินัย (ข้าราชการ) เพราะเหตุเดียวกันนี้อีก
๒. แต่โทษดังกล่าวต้องมิใช่โทษตัดเงินเดือนหรือลดขั้นเงินเดือน

You might also like