Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 43

บทที่ 4

ผลการปฏิบัตงิ านตามโครงงาน
เป็ นการศึกษา ข้อมูลเรื่ อง หน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรแต่ละแผนก มีข้นั ตอนและ
ระบบการทางานอย่างไร ศึกษาถึง ประเภทของสินค้าแต่ละประเภท ว่ามีแบบไหนบ้าง และศึกษา
ขั้นตอนการนาเข้าสินค้าจนถึงขั้นตอนในการส่งมอบสินค้า มีข้นั ตอนการดาเนินงานแบบไหน

4.1 หน้ าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรแต่ละแผนก


แผนกคลังสินค้านาเข้าสายการบินลูกค้า(Cargo Customer Airlines Import Warehouse/F3)
ควบคุมดูแลงานปฏิบตั ิการสินค้านาเข้าของสายการบินลูกค้าที่บริ ษทั การบินไทย จากัด
(มหาชน ) ให้บริ การ เริ่ มตั้งแต่การตรวจรับสินค้าจากหน่วยงาน F5-I จัดแยก และจั ดเก็บตาม
Location และจัดหาสินค้าที่ได้จดั เก็บไว้เพื่อจัดส่งเมื่อมีลกู ค้ามาขอรับสินค้า ดาเนินก ารสารวจและ
ออกรายงานสินค้าเสียหา ย ตลอดจนดาเนินการเกี่ยวกับสินค้าตกค้าง แผนก F3 มีหน้าที่การ
ปฏิบตั ิงานแบ่งออกได้ดงั ต่อไปนี้
1. Division Manager ผูจ้ ดั การแผนก F3 มีหน้าที่ กากับดูแลการปฏิบตั ิงานของ
ขั้นตอนการดาเนินการที่เกี่ยวกับสินค้าปลายทางท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ให้เป็ นไปตาม
วัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพ
2. Administrative Assistant (F3-a) ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การแผนกแผนกคลังสินค้านาเข้าสาย
การบินลูกค้า มีหน้าที่ ช่วยผูจ้ ดั การดูแลงานปฏิบตั ิการของหน่วยงานในแผนก และควบคุมคุณภาพ
การปฏิบตั ิงานให้เป็ นไปตามขั้นตอน
3. Office Administrative (F3-x) มีหน้าที่ ดาเนินการด้านงานธุรการของแผนก
4. Warehouse Operation Control (F3-w) หน่วยงานปฏิบตั ิการสินค้านาเข้า มีหน้าที่
ตรวจสอบและแยกประเภทสินค้าที่ได้รับจากห น่วยงาน F5-I แล้วส่งสิน ค้าไปจัดเก็บตามพื้นที่ที่
เหมาะส มกับสินค้าประเภทนั้น ๆ ทั้งสินค้าทัว่ ไป สินค้าอันตราย (DGR), สินค้าต้องควบคุม
อุณหภูมิ (RFZ), สินค้าเน่าเสียง่าย (PER), สินค้าที่มีมลู ค่าและเสี่ยงต่อการสูญหาย (VUN), เอกสาร
ทางการฑูต (DIP) และดูแลสินค้าดังกล่าวไม่ให้เกิดความเสียหาย จนกระทัง่ จัดเตรี ยมสินค้าเพื่อส่ง
มอบให้ลกู ค้า รวมทั้งทาการสารวจสินค้าคงคลัง Inventory สินค้าดังกล่าวทุก ๆ 1 เดือน
5. Valuable Cargo Control (F3-g) หน่วยงานจัดเก็บและส่งมอบสินค้ามีค่า มีหน้าที่
ตรวจสอบ บันทึกข้อมูล จัดเก็บและเตรี ยมสิ นค้าเพื่อส่งมอบสาหรับสินค้าที่มีมลู ค่าสูง ตลอดจน
ดูแลสินค้าดังกล่าวไม่ให้เกิดความเสียหาย จนกระทัง่ จัดเตรี ยมสินค้าเพื่อส่งมอบให้ลกู ค้า รวมทั้งทา
การสารวจสินค้าคงคลัง Inventory สินค้าดังกล่าวทุก ๆ 1 เดือน
6. Location Control and Arrange Cargo for Delivery (F3-s) หน่วยงานควบคุมและ
จัดเตรี ยมสินค้า มีหน้าที่ ดาเนินการจัดเตรี ยมสินค้าที่ผนู้ าเข้าหรื อตัวแทนผ่านพิธีการศุลกากรนาเข้า
แล้วเพื่อส่งมอบและดาเนินการสารวจสินค้าคงคลัง Inventory สินค้าดังกล่าวทุก ๆ 1 เดือน
7. Damage Survey and Irregularity (F3-t) หน่วยงานตรวจสอบและรายง านความ
เสียหายของสินค้า มีหน้าที่
ก. รับแจ้งและตรวจสภาพสินค้าที่เสียหายหรื อสูญหาย ตามที่ลกู ค้าได้ร้องขอ
ก่อนนาสินค้าออกจากคลังสินค้า
ข. บันทึกการรับแจ้งข้อมูลสินค้า/หรื อภาพสินค้าที่เสียหายหรื อสูญหายลงใน
ระบบ Orchids หรื อคอมพิวเตอร์ (Personal computer)
ค. พิมพ์รายงาน สินค้าที่เกิดความเสียหายหรื อสูญหาย (Damage Report-
DMC) ให้กบั ลูกค้าเพื่อเป็ นเอกสารประกอบการเรี ยกร้องค่าเสียหาย
8. Overtime Goods (F3-k) หน่วยงานสินค้าตกค้าง มีหน้าที่ สารวจบัญชีและจัดเก็บ
สินค้าที่ส่งมาจาก F3-w, F3-g (ไม่มีผมู้ ารับสินค้าเกินกว่า 2 เดือน 15 วัน ) โดยประสานงานกับ
หน่วยงานศุลกากรเพื่อให้มีการจัดเก็บรักษา ส่งมอบ ทาลาย ขายทอดตลาด หรื ออื่น ๆ ตามกฎหมาย
ของศุลกากร
9. Cargo Documentation and Delivery (F3-c) หน่วยงานเอกสารผ่านพิธีการนาเข้า
ศุลการและส่งมอบสินค้า มีหน้าที่
ก. ตรวจสอบเอกสารที่ผา่ นพิธีการจากศุลกากร เพื่อติดต่อขอรับสินค้า ซึ่ง
เป็ นเอกสารประกอบด้วย Delivery Order, Copy AWB, Cargo Permit และบันทึกการจ่ายค่าเก็บ
รักษาสินค้าใน CAR Record หรื อในกรณี ที่สินค้าเป็ นของใช้เกี่ยวกับเครื่ องบิน (Bonded Store) ให้
ตรวจสอบใบแยกคลังเสบียงทัณฑ์บนหรื อ Customs Permit ในกรณี ที่เป็ นเอกสารทางการฑูต(DIP)
ข. บันทึกข้อมูลการรับสินค้านาเข้าลงใน CAR และพิมพ์ขอ้ มูลจาก CAR ส่ง
ให้หน่วยงาน F3-w เพื่อทาการจัดเตรี ยมสินค้าส่งมอบให้แก่ลกู ค้า
ค. ตรวจสอบความถูกต้องของสินค้ากับเอกสาร เพื่อส่งมอบสินค้าให้กบั
ลูกค้าไปดาเนินการทางศุลกากรต่อไป
ง. ทาการ Final Delivery ในระบบ Orchids
จ. รวบรวมเอกสาร Delivery Order, Copy AWB, และ Cargo Permit ที่ผา่ น
การตรวจปล่อยจากเจ้าหน้าที่ศุลกากรแล้วส่งให้หน่วยงาน F3-t จัดเก็บต่อไป
Organization Chart Cargo Customer Airlines Import Warehouse Division (F3)
โครงสร้ างแผนกคลังสิ นค้านาเข้ าสายการบินลูกค้า

รู ปภาพที่ 4.1 Organization Chart Cargo Customer Airlines Import Warehouse Division (F3)
ขั้นตอนปฏิบัตงิ าน
1. F3-w รับสินค้าจากหน่วยงาน F5-i ตรวจสอบกับบัญชีสินค้า (Manifest) ของแต่ละเที่ยวบิน
ที่ F5-i ส่งมา
2. เจ้าหน้าที่ F3-w ซึ่งทาหน้าที่ Terminal Operator ทาการตรวจสอบสินค้า
2.1 ตรวจสอบสภาพหีบห่อสินค้าว่ามีความเสียหาย ถ้าเสียหายแจ้งกลับไปยัง F5-i เพื่อ
ออก DMC
2.2 ตรวจสอบ AWB ข้างหีบห่อ Manifest ว่าถูกต้องตรงกัน ถ้าไม่ถกู ต้องแจ้งกลับไป
ยัง F5-i เพื่อแก้ไข
2.3 ตรวจสอบจานวนสินค้าตาม Manifest ว่าครบตามจานวนที่ระบุไว้ใน Manifest ถ้า
ไม่ครบหรื อเกินแจ้งกลับไปยัง F5-i เพื่อแก้ไขและติดตาม
3. กรณี ไม่พบข้อบกพร่ อง เจ้าหน้าที่ F3-w ดาเนินการดังนี้
3.1 ถ้าเป็ นสินค้าของคลังสินค้าของตัวแทนผูน้ าเข้า จัดเตรี ยมสินค้าเพื่อส่งมอบให้
Warehouse Operation ทาการตรวจสอบ
 ถ้าไม่ผา่ น ทาการแจ้ง F3-t เพื่อออก DMC กรณี พบหีบห่อสินค้าเสียหาย
 ถ้าผ่าน ส่งมอบสินค้าให้ Warehouse Operation จัดเก็บและรายงานผลต่อ Free zone
Operator และด่านศุลกากรต่อไป
3.2 ถ้าเป็ นสินค้าที่ไม่ใช่ของ Warehouse Operator จะทาการแยกสินค้าโดยดูจาก
Manifest, Label และ Marking ต่าง ๆ ข้างหีบห่อเพื่อจัดเก็บตามพื้นที่และหน่วยงานที่กาหนด
ดังต่อไปนี้
 สินค้า VAL เป็ นสินค้ามีค่า จัดเก็บไว้ในห้องมัน่ คง โดยหน่วยงาน F3-w เป็ นผูร้ ับผิดชอบ
 สินค้า DIP เป็ นเอกสารทางการทูตจัดเก็บไว้ที่ location ในห้อง VUN โดยหน่วยงาน F3-w
เป็ นผูร้ ับผิดชอบ
 สินค้า VUN จัดเก็บไว้ในห้อง VUN โดยหน่วยงาน F3-w เป็ นผูร้ ับผิดชอบ
 สินค้า PER จัดเก็บตามอุณหภูมิที่สินค้าระบุไว้ โดยเก็บไว้ในห้องเย็นที่สามารถควบคุม
อุณหภูมิได้หน่วยงาน F3-w เป็ นผูร้ ับผิดชอบ
 สินค้า Dangerous Goods (สินค้าอันตรายหรื อสารเคมีอนั ตราย ) ให้แยกเก็บในพื้นที่ที่แยก
เฉพาะและในการจัดเก็บจะต้องจัดเก็บตาม กฎ IATA (DGR Regulation) โดยหน่วยงาน
F3-w เป็ นผูร้ ับผิดชอบ
 สินค้าทัว่ ไป (General Cargo) จัดเก็บตามลักษณะหีบห่อ ขนาดและจานวน เช่น Heavy
Cargo ที่เป็ นลังไม้จดั เก็บไว้พ้นื ที่เก็บ Heavy Cargo หรื อระบบจัดเก็บทางสูง (AS/RS)
3.3 เจ้าหน้าที่ F3-w เมื่อส่งสินค้าไปจัดเก็บตามพื้นที่และหน่วยงานที่รับผิดชอบแล้ว
ทาจะทาการบันทึก Location และรายงานละเอียดข้อมูลสินค้าด้วยระบบ Barcode ซึ่งเชื่อมโยงกับ
ระบบ ORCHIDS
4. เจ้าหน้าที่ F3-w, F3-g จะทาการดูแลรักษาสินค้าเพื่อรอการเบิ กจ่ายให้ลกู ค้า และรอการ
จัดการเก็บสินค้าตกค้าง
4.1 สินค้าแต่ละประเภทจะถูกจัดเก็บและรักษาไว้ในคลัง ให้อยูใ่ นสภาพที่ป ลอดภัย
จนกว่าลูกค้ามาขอรับสินค้าโดยสินค้าแต่ละประเภทจะมีหน่วยงานดูแลและทาหน้าที่จดั เตรี ยม
สินค้าเมื่อลูกค้ามาขอรับ
4.2 สินค้าประเภท VAL หน่วยงาน F3-g ทาหน้าที่ดูแลรักษาและคอยจัดเตรี ยมเมื่อ
ลูกค้ายืน่ เอกสารรับและทาหน้าที่ตรวจสินค้าคงคลัง ของสินค้าประเภทนี้และส่งมอบให้ F3-k ทา
บันทึกบัญชีตกค้างเพื่อมาขอรับนาไปเก็บยังคลังสินค้าตกค้าง
4.3 หน่วยงาน F3-k ทาน้าที่ดูแลรักษาและคอยจัดเตรี ยมสินค้าเมื่อลูกค้ามาขอยืน่
เอกสารรับสินค้าและทาหน้าที่ตรวจสอบสภาพสินค้าคงคลังตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ของสินค้า
ประเภทนี้และแยกสินค้าตกค้าง
4.4 สินค้าทัว่ ไป , PER, Dangerous Goods, RFZ, AVL หน่วยงาน F3-w ดูแลรักษา
จัดเตรี ยมสินค้าเมื่อลูกค้ายืน่ ขอรับและทาหน้าที่ตรวจสอบสภาพสินค้าคงคลังจามกาหนดเวลาแล ะ
ส่งมอบสินค้าตกค้างให้ F3-k ตามบัญชีตกค้าง
4.5 สินค้าที่จดั เก็บเกินกาหนดเวลาให้ดาเนินการแยกเป็ นสินค้าตามบัญชีสินค้าตกค้าง
แล้ว ทางศุลกากรดาเนินการขายทอดตลาดและทาลายต่อไป
5. ลูกค้าทาการยืน่ เอกสารเพื่อขอรับสินค้า
5.1 สินค้าปกติลกู ค้าจะยืน่ เอกสารซึ่งประกอบด้วย
 Cargo permit ซึ่งได้ผา่ นขั้นตอนทางศุลกากรมาแล้ว
 Delivery Order (D/O) และในกรณี ที่สินค้าส่งมาในนามธนาคาร ต้องให้ธนาคารที่ระบุ
ชื่อประทับตราธนาคารนั้น และเซ็นชื่ออนุญาตให้รับสินค้าได้
 สาเนา AWB
 ในกรณี ที่เป็ น Diplomatic คือเป็ นเอกสารทางการ ฑูต ทางแผนก FF-c จัดทาเอกสา รซึ่ง
ผ่านขั้นตอนทางศุลกากรแล้วมายืน่ ขอรับสินค้า
 ในกรณี ที่เป็ น HUM ทางหน่วยงาน F2 จัดทาเอกสารซึ่งผ่านขั้นตอนศุลกากรแล้วมายืน่
ขอรับสินค้า
 ในกรณี สินค้านาเข้าเป็ นอะไหล่เครื่ องบิน การบินไทยฯ และบริ ษทั ลูกค้าของบริ ษทั การ
บินไทยฯ ทางหน่วยงาน WP-S จะดาเนินการจัดทา เอกสารและผ่านขั้นตอนทางศุลกากร
แล้วนามาขอรับสินค้า
 ในกรณี เป็ นสินค้าฝาก ลูกค้าจะยืน่ Cargo Permit เพื่อขอรับสินค้า
 ในกรณี เป็ นสินค้าเป็ นสินค้าขาเข้าที่มาขอทาเรื่ อง Transit ภายหลังของตัวแทน (agent) ของ
ลูกค้าจะยืน่ เอกสาร Transshipment (ใบแนบ 9) เพื่อขอรับสินค้า แลส่งต่อไปยังเมือง
ปลายทางที่ระบุ
6. ขั้นตอนในการดาเนินงานของหน่วยงาน F3-c ทาการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร
และส่งมอบสินค้าให้แก่ลกู ค้า มีข้นั ตอนในการทางานดังต่อไปนี้
6.1 การตรวจสอบเอกสาร
 ในกรณี ที่ไม่ถกู ต้องหรื อไม่ครบถ้วน จะส่งคืนให้ลกู ค้าไปแก้ไขให้ถกู ต้อง
 ในกรณี ที่ถกู ต้อง ให้ทาการลงชื่อและบันทึกเวลาบน D/O เพื่อแสดงให้ทราบว่าได้ผา่ นการ
ตรวจสอบเอกสารแล้ว
 บันทึกข้อมูลการรับสินค้าลงในระบบ Orchids แล้ว Print CAR แนบกับเอกสาร Delivery
Order (D/O), Copy AWB, และ Cargo Permit แล้วส่งกลับ F3-w เพื่อจัดเตรี ยมสินค้าส่ง
มอบให้แก่ลกู ค้า
6.2 การตรวจสอบสินค้าและส่งมอบสินค้า
 ตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารที่หน่วยงาน F3-g, F3-w จัดเตรี ยมส่งมอบให้แก่ลกู ค้า
 ในกรณี ที่หมายเลข AWB ของสินค้ากับเอกสารไม่ตรงกันให้หาสาเหตุ ถ้าสินค้าถูกต้องให้
แก้แล้วส่งมอบให้ลกู ค้า หรื อส่งกลับไปที่หน่วยงาน F3-g, F3-w จัดเตรี ยมสินค้าใหม่ใน
กรณี ที่นาสินค้าออกมาไม่ถกู ต้อง
 กรณี ที่สินค้าไม่ครบให้แจ้งกลับไปที่หน่วยงาน F3-g, F3-w เพื่อจัดหาสินค้าให้ครบ
 เมื่อตรวจสอบสินค้าถูกต้องแล้ว ให้เซ็นชื่อและบันทึกเวลาบน D/O แล้วนาสินค้าไปวางใน
ลานส่งมอบเพื่อให้ลกู ค้าตรวจสอบ
 เมื่อลูกค้าตรวจ สอบความเรี ยบร้อยของสินค้าทั้งสภาพและจานวนถูกต้องแล้วให้ลกู ค้า
เซ็นชื่อรับสินค้า Copy AWBและเจ้าหน้าที่ F3-c เซ็นชื่อใน Cargo Permit และปล่อยสินค้า
ให้ลกู ค้าเพื่อไปดาเนินการด้านศุลกากรต่อไป
 เก็บเอกสาร Delivery Order (D/O), Copy AWB ที่ลกู ค้าลงชื่อรับสินค้าและ สาเนา Cargo
Permit มาทาการ Final Delivery ในระบบ Orchids แล้วรวบรวมส่งให้หน่วยงาน Ft-f
 ในกรณี ที่สินค้าไม่ผา่ นการตรวจปล่อยจากเจ้าหน้าที่ศุลกากร ทางเจ้าหน้าที่ศุลกากรจะให้
ลูกค้านามาฝากกับหน่วยงาน F3-c เพื่อทาการขอรับสินค้าในวันถัดไป
 ในกรณี ที่สินค้ามีสภาพหีบห่ อไม่เรี ยบร้อย เสียหาย สูญหาย หรื อหาได้ไม่ครบ จะแจ้งให้
ลูกค้าติดต่อกับหน่วยงาน F3-t เพื่อทาการตรวจสอบ บันทึก และทารายงานสินค้าเสียหาย
(DMC) เพื่อเป็ นหลักฐานในการเรี ยกร้องค่าเสียหายตามขั้นตอนการปฏิบตั ิงานเรื่ อง
เกี่ยวกับคาร้องของผูใ้ ช้บริ การและสาเนา DMC ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
7. หน่วยงาน F3-w, F3-g ทาการจัดเตรี ยมสินค้า
7.1 จัดหาสินค้าตามเอกสารที่ได้จากหน่วยงาน F3-c และนาส่งมอบให้กบั หน่วยงาน
ตรวจสอบสินค้าตามลาดับของเอกสารที่ส่งมอบในระยะเวลาที่เหมาะสม และเป็ นที่พอใจของลูกค้า
7.2 กรณี ที่สินค้าเป็ น VAL จะแจ้งให้ลกู ค้าเ ข้าไปเซ็นชื่อรับสินค้าที่หอ้ ง VAL เพื่อ
ความปลอดภัยของสินค้าและเพื่อผูร้ ับได้ทาการตรวจสอบความถูกต้องของสินค้าด้วย
7.3 กรณี จดั เตรี ยมสนค้าแล้วลูกค้ายังไม่ได้รับสินค้าในวันนั้น ให้นาเข้าเก็บรักษาไว้
และเมื่อลูกค้ามารับจะต้องจ่ายค่ารักษาเพิม่ เติมตามอัตราที่กาหนด
8. เจ้าหน้าที่ F3-k ทาการจัดการกับสินค้าตกค้าง ดังนี้
8.1 สินค้าทุกรายการ ในกรณี ที่ลกู ค้าไม่มาติดต่อรับครบกาหนด 2 เดือน 15 วัน ทาง
ศุลกากรจะจัดทาบัญชีสินค้าตกค้างแล้วแจ้งให้การบินไทย จัดเตรี ยมเพื่อดาเนินการตามระเบียบทาง
ศุลกากรต่อไป
8.2 จัดทาบัญชีสินค้าตกค้างโดยคดแยกมาจาก Import List Manifest จาการ Inventory
และ Over Time Goods Customs List
8.3 บัญชีสินค้าตกค้างเจ้าหน้าที่ศุลกากรนามาเปรี ยบเ ทียบกับบัญชีที่ F3-k ทาบันทึก
ไว้
8.4 ในกรณี ไม่ตรงกันคือ ทางการบินไทยแจ้งเจ้าหน้าที่ศุลกากรเพิ่มเติมหรื อตัดออก
โดยมอบเอกสารยืนยันเป็ นหลักฐาน
8.5 ในกรณี ที่สินค้าเป็ น AVI, PER เมื่อครบกาหนด 3 วันแล้วลูกค้าไม่ติดต่อรับสินค้า
เมื่อได้พิจารณาแล้วว่าเกิดการเสื่อมสภาพเน่าเสียหรื อตาย ทางบริ ษทั การบินไทยส ามารถแจ้งไปให้
ศุลกากรทรา บเพื่อขออนุญาตให้นาสินค้านั้นเป็ นสินค้าตกค้างและทาลายได้ก่อนครบกาหนด 2
เดือน 15 วัน
9. สิ นค้าเมื่อได้แยกเป็ นสินค้าตามบั ญชีสินค้าตกค้างแล้ว ทางศุ ลกากรดาเนินการขาย
ทอดตลาดและทาลายต่อไป
โครงสร้ างการส่ งมอบสินค้าขาเข้ าของแผนกคลังสินค้านาเข้ าสายการบินลูกค้า บริษัทการ
บินไทย จากัดที่ท่าอากาศยานสุ วรรณภูมิ

รู ปภาพที่ 4.2 โครงสร้างการส่งมอบสินค้าขาเข้าของแผนกคลังสินค้านาเข้าสายการบินลูกค้า บริ ษทั


การบินไทย จากัด มหาชน ที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
4.2 ประเภทของสิ นค้ า
4.2 ประเภทของสินค้า
ประเภทของสินค้าในการให้ บริการแบ่ งออกเป็ น 5 ประเภท
1. สินค้าทัว่ ไป (General Cargo)
2. สินค้าพิเศษ (Special Cargo)
3. สินค้าอันตราย (Dangerous Goods)
4. เอกสารทางการฑูต (Diplomatic Pouch)
5. Service Cargo

1. สินค้าทั่วไป (General Cargo)

สินค้าทั่วไป (General Cargo) เป็ นสินค้าทัว่ ไปที่ไม่มีความจาเป็ นต้องได้รับการดูแลเป็ น


พิเศษ และไม่เป็ นอันตรายต่อสินค้าอื่น นอกเหนือจากการปฏิบตั ิตาม เช่น เสื้อผ้า รองเท้า ของ
ตกแต่งบ้าน ของเล่นเด็ก

รู ปภาพที่ 4.3 ลักษณะการบรรจุสินค้าทัว่ ไป

รู ปภาพที่ 4.4 ลักษณะการบรรจุสินค้าทัว่ ไป


2. สินค้าพิเศษ (Special Cargo)
สินค้าพิเศษ (Special Cargo) เป็ นสินค้าที่ตอ้ งการการดูแลเป็ นพิเศษตามคุณลัก ษณะของ
สินค้าแต่ละชนิด มิฉะนั้นอาจเกิดการเสียหาย และนามาซึ่งการไม่ได้รับชาระเงินค่าสินค้าหรื อต้อง
เสียค่าใช้จ่ายเพื่อส่งสินค้าไปทดแทนสินค้าประเภทนี้ได้แก่
2.1 Fragile Cargo-VUN สินค้าที่แตกหักง่าย
2.2 Heavy Cargo-HEA สินค้าน้ าหนักมาก
2.3 Human Remains-HUM ศพมนุษย์
2.4 Live Animals-AVI สิ่งมีชีวิต
2.5 Magnetized Materials-MAG วัตถุที่มีลกั ษณะเป็ นแม่เหล็ก
2.6 Outsized Cargo-BIG สินค้าที่มีขนาดใหญ่มาก
2.7 Perishable Cargo-PER สินค้าของสดหรื อเสียง่าย
2.8 Valuable Cargo-VAL สินค้าของมีค่า
2.9 Wet Cargo-WETสินค้าที่มีน้ าเป็ นองค์ประกอบ
ทั้งนี้สินค้าที่ส่งทางอากาศจะต้องมีหีบห่อที่แข็งแรงทนต่อสภาพการขนส่ง ไม่ว่าจะอยูใ่ น
รู ปแบบของ กล่องกระดาษ กระเป๋ าเดินทาง ซอง ถุง กระสอบ กรง ลัง เป็ นต้น โดยต้องมีฉลากติ ด
อยูบ่ นหีบห่อสินค้า ซึ่งฉลากที่ตอ้ งมีน้ นั มีอยู่ 2 ชนิด คือ
1. ฉลากจาเป็ น เป็ นฉลากที่ใช้ตรวจสอ บว่าสินค้าที่ทาการขนส่งเป็ นของผูใ้ ด โดยจะต้องมี
ข้อมูลชื่อ ที่อยูข่ องผูส้ ่งและผูร้ ับตลอดจนชนิดและปริ มาณของสินค้าที่ชดั เจน
2. ฉลากเพิ่มเติม เป็ นฉลากที่ติดเพิ่มเติมเพื่อให้พนักงานของสายการบินหรื อผูท้ ี่เ กี่ยวข้อง
ทราบว่าสินค้าที่ผสู้ ่งออกทาการขนส่งนั้นควรจะต้องดูแลในระดับใดจึงจะเหมาะสม ตัวอย่างของ
ฉลากเพิ่มเติม เช่น

รู ปภาพที่ 4.5 รู ป fragile หรื อฉลากแก้วแตก ฉลากในลักษณะนี้จะชี้ให้เห็นว่าสินค้าภายในหีบ ห่อ


นั้นสามารถแตกเสียหายหรื อชารุ ดได้โดยง่าย
รู ปภาพที่ 4.6 Live Animal หรื อฉลากสัตว์มีชีวิต

This Side up

รู ปภาพที่ 4.7 This Side up แสดงว่าผูด้ ูแลควรจะตั้งหีบห่อสินค้าขึ้นตามลูกศรที่ช้ ีข้ ึน

รู ปภาพที่ 4.8 Dangerous Goods หรื อสินค้าอันตราย แสดงให้เห็นว่าต้องดูแลเป็ นพิเศษ เพราะเป็ น


สินค้าจาพวกของเหลวที่อาจติดไฟได้ วัตถุเป็ นพิษ หรื อวัตถุที่ สามารถระเบิดได้
Fragile Cargo-VUN สินค้าที่แตกหักง่ าย

สินค้าแตกหักง่าย หมายถึง สินค้าที่มีลกั ษณะบอบบาง เปราะ หรื อแตกหักเสียหายง่าย หาก


เกิดการกระทบ กระแทก ถูกทับ หรื อตกในระหว่างที่ทาการนส่ง ได้แก่ เครื่ องแก้ว เครื่ องปั้นดินเผา
เครื่ องลายคราม เป็ นต้น การขนส่งต้องบรรจุ ในหีบห่อที่แข็ งแรง เช่น ลังไม้ และควรเป็ นหีบห่อ
ใหม่หากเคยใช้แล้วต้องอยูใ่ นสภาพดีที่แข็งแรง ภายในวัสดุกนั สะเทือนอย่างเหมาะสม ภาชนะ
บรรจุ ของเหลวที่ทาจากวัสดุแตกหักง่าย เช่น แก้ว จะต้องใช้วสั ดุกนั กระแทก ที่สามารถดูดซับ
ของเหลวได้หมด ในกรณี ที่เกิดการแตกขึ้น หีบห่อของสินค้าแ ตกหักง่ายจะต้องติดป้ าย “ของ
แตกหักง่าย”และ “ป้ ายตั้งตามลูกศร”

รู ปภาพ 4.9 บรรจุภณ


ั ฑ์ของแตกหักง่าย
Heavy Cargo-HEA/Outsized Cargo-BIG สินค้านา้ หนักมากและสินค้าที่มขี นาดใหญ่

สินค้าน้ าหนักมาก หมายถึง สินค้าที่มีน้ าหนักตั้งแต่ 150 กิโลกรัมขึ้นไปต่อหนึ่ งหีบห่อ


สินค้า สินค้าที่มีขนาดใหญ่ หมายถึง สินค้าที่มีขนาดกว้างหรื อยาวเกินขนาดของแผ่นบรรทุกสินค้า
88”x125”, 96”x125” หรื อมีขนาดที่ยากต่อการจัดบรรทุกในเครื่ องบิน แบบสาตัวแคบ สินค้า
น้ าหนักมากและสินค้าขนาดใหญ่จะต้องได้รับการยืนยันการทาสารองระวางบรรทุกก่อนการ รับ
ขนส่งทุกครั้ง

รู ปภาพ 4.10 สินค้านา้ หนักมาก

รู ปภาพ 4.11 สินค้าขนาดใหญ่


Human Remains-HUM ศพมนุษย์

การรับส่งศพมนุษย์จะต้องมีเอกสาร “ใบมรณะบัตร ” ประกอบการ ขนส่งศพจะต้องบรรจุ


อยูใ่ นโลงที่แข็งแรงและมีที่ยดึ จับ ภายนอกคลุมด้วยผ้าใบส่วนอัฐิจะต้องใส่ภาชนะที่ ไม่แตกง่ายมี
วัสดุกนั กระแทกและจะต้องมีเอกสาร “ใบฌาปณกิจ” แนบมาด้วย

รู ปภาพที่ 4.12 สัญลักษณ์สินค้าประเภทศพมนุษย์


Live Animals-AVI สิ่งมีชีวติ

การรับสินค้าที่ Live Animals ให้ตรวจสอบและปฏิบตั ิตามกาหนดใน IATA Live Animals


Regulations (LAR) และ TCM สาหรับบาง Shipment จะมีการออก IATA Live Animals
Acceptance Check List โดยต้นฉบับจะให้ Agent เพื่อแนบกับ AWB ฉบับที่จะส่งไปปลายทางและ
เก็บสาเนาไว้ ยกเว้นสินค้าที่เป็ นพืชและสัตว์น้ า ซึ่งถูกเพราะเลี้ยงโดยเกษตรกร และส่งมอบเพื่อ
การค้าขายและบริ โภค การรับขนส่งสัตว์มีชีวิตจะต้องเป็ นไปตามระเบียบว่าด้วยการขนส่งสิ่งมีชีวิต
ภายในเงื่อนไขดังนี้

 สุขภาพของสัตว์จะต้องไม่ป่วยหรื อเป็ นโรค ต้องได้รับการดูแลระหว่างการขนส่งเป็ น


อย่างดีและห้ามรับขนส่งสัตว์ที่กาลังท้องแก่

 กรงที่ใช้ขนส่งสัตว์ตอ้ งเหมาะสมกับสัตว์ประเภทนั้นๆ ต้องสะอาดแล ะกันน้ า รั่วซึม


ตลอดจนง่ายต่อการขนถ่ายพร้อมติดป้ าย สัตว์มีชีวิต

 อาหารที่นามาเพื่อเลี้ยงดูสตั ว์ตอ้ งรวมอยูใ่ นน้ าหนักที่ใช้คิดค่าระวางสินค้า

 การขนส่งสัตว์มีชีวิตจะต้องมีการทาสารองระวาง บรรทุกไว้ล่วงหน้าตลอด เส้นทาง


การบิน

 สัตว์มีชีวิตจะนามารวมกับสินค้าอื่น ๆ ภายใต้ใบตราส่งสินค้าชุดเดียวกันไม่ได้

 การขนส่งสัตว์มีชีวิตจะต้องมีใบตรวจสุขภาพสัตว์ ใบสาแดงสัตว์มีชีวิตและใบอนุญาต
อื่นๆสาหรับสัตว์บางประเภทที่ระบุไว้ ตามระเบียบว่าด้วยการขนส่งสัตว์มีชีวิต

รู ปภาพที่ 4.13 สัญลักษณ์สิ่งมีชีวิต


Magnetized Materials-MAG วัตถุที่มลี กั ษณะเป็ นแม่เหล็ก

สินค้าแม่เหล็กหมายถึงสินค้าที่มีคุณสมบัติสามารถเกิดสนามแม่เหล็ก ซึ่งมีผลกระทบต่อ
ระบบนาร่ องของเครื่ องบินเช่น เข็มทิศ เรดาร์ โดยหีบห่อสินค้าแม่เหล็กจะต้องติดป้ าย สินค้า
แม่เหล็กด้วย

รู ปภาพที่ 4.14 วัตถุที่มีลกั ษณะเป็ นแม่เหล็ก


Perishable Cargo-PER สินค้าของสดหรือเสียง่ าย

สินค้าของสดเสียง่ายหมายถึง สินค้าที่ง่ายต่อการเน่าเปื่ อย หรื อบูดเน่าได้ง่าย เช่น


ผลิตภัณฑ์จากนม เนื้อสัตว์ ปลาสด พืช ผักและผลไม้ เป็ นต้น การรับขนส่งสินค้าประเภทนี้จะต้อง
เตรี ยมการ ล่วงหน้าและมีการทาสารองระวางบรรทุกตลอดเส้นทางการบินและหีบห่อของสินค้า
ของสดเสียง่ายจะต้องติดป้ าย “ของสดเสียง่าย” และ “ป้ ายตั้งตามลูกศร”

รู ปภาพที่ 4.15 สัญลักษณ์ของสดหรื อเสียง่าย

รู ปภาพที่ 4.16 ป้ ายตั้งตาม


Valuable Cargo-VAL สินค้าของมีค่า

สินค้าของมีค่าหมายถึงสินค้าดังต่อไปนี้

 สินค้าที่มีการประเมินราคาเพื่อการขนส่งเกิน 1,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อน้ าหนักรวม 1


กิโลกรัม
 ทองคา หรื อทองคาขาวทั้งที่หลอมแล้ว หรื อยังไม่ได้หลอมในรู ปแบบต่าง ๆ
 ธนบัตร, ตัว๋ เงิน, เช็คเดินทาง, ใบหุน้ , ใบกู,้ ดวงตราไปรษณี ยแ์ ละบัตรเครดิต
 อัญมณี มีค่า ได้แก่ เพชร, ทับทิม, มรกต, พลอยไพลิน, มุกดา, ไข่มุกและไข่มุกเลี้ยง
 เครื่ องประดับที่ทาด้วยอัญมณี มีค่า
 เครื่ องประดับ และนาฬิกาข้อมือที่ทาจากเงินและ ทองคา หรื อทองคาขาว
การรับสินค้ามีค่าต้องมีการควบคุมดูแลการขนส่งอย่างรัดกุมปลอดภัยในทุกครั้งขั้นตอน
และต้องมีการทาสารองระวางบรรทุก ตลอดเส้นทางบินไม่ควรมีจุดเปลี่ยนเครื่ องถ้ามีก็มีให้นอ้ ย
ที่สุดและหีบห่อของสินค้ามีค่าต้อองมัน่ คงแข็งแรง

รู ปภาพที่ 4.17 สินค้าของมีค่า


Wet Cargo-WET สินค้าที่มนี า้ เป็ นองค์ประกอบ

สิ นค้าที่มีน้ าเป็ นองค์ประกอบต้องมีการบรรจุหีบห่อและการจัดบรรทุกอย่างระ มัดระวัง


เป็ นพิเศษ เพื่อป้ องกันน้ ารั่วซึมออกมาทาให้สินค้าอื่นเสียหาย หรื อกัดกร่ อนอุปกรณ์บรรทุกสินค้า
และห้องบรรทุกสินค้าภายนอกเครื่ องบิน ให้เกิดความเสียหายได้ โดยเฉพาะสินค้าที่มีองค์ประกอบ
ของน้ าเค็ม หรื อเป็ นน้ าที่ออกมาจากสินค้าประเภทอาหารทะเล หีบห่อสินค้าปร ะเภทนี้ จึงต้องกัน
น้ ารั่วซึมได้เป็ นอย่างดี ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้กล่องโฟม
กฎเกณฑ์ต่างๆที่เกีย่ วข้ องกับการขนส่ งสินค้าทางอากาศ ต้องปฏิบัติ มีดังนี้

 ต้องติดฉลากจาเป็ น แสดงชื่อ ที่อยูข่ องผูส้ ่งและผูร้ ับ ตลอดจนชนิดและปริ มาณ สินค้าโดย


ชัดเจน
 ต้องบรรจุสินค้าในหีบห่อและภาชนะที่แข็งแรงเหมาะสมกับการขนส่ง โดยต้องไม่ชารุ ด
เสียหายง่ายและต้องไม่เกิดความเสียหายหรื อเป็ นอันตรายต่อชีวิต ทรัพย์สินหรื อสินค้าอื่นๆ
ที่ไปพร้อมกับเที่ยวบินต้องจัดหาและส่งมอบเอกสารที่จาเป็ นไปกับสินค้าด้วย โดยบรรจุ
ในซอง ที่จดั เตรี ยมไว้ให้และติดไปกับหีบห่อของสินค้า
 ต้องยินยอมให้บริ ษทั การบินตรวจสอบสินค้าและเอกสารที่ส่งไปพร้อมกับสินค้า
 หากเป็ นสินค้าอันตราย (Dangerous Goods) ต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไขของ Dangerous Goods
Regulation อย่างเคร่ งครัด

รูปภาพที่ 4.18 สินค้าที่มีน้ าเป็ นองค์ประกอบและการบรรจุภัณฑ์


3. สินค้าอันตราย (Dangerous Goods)
สินค้าอันตราย (Dangerous Goods) หมายถึง สิ่งของ หรื อวัตถุที่มีคุณสมบัติทางเคมีหรื อ
ทางกายภาพโดยตัวของมันเอง หรื อเมื่อสัมผัสกับสารอื่น (อากาศ หรื อ น้ า ฯลฯ) ทาให้เกิดอันตราย
ต่อมนุษย์ ทรัพย์สิน หรื อต่อสภาพแวดล้อม
ในปัจจุบนั นี้สารเคมีเป็ นจานวนมากที่ตรวจพบว่าเป็ นอันตราย และได้มีการขนส่งทาง
ทะเล ทางอากาศ และทางบก ดังนั้นการดาเนินการและการขนส่งสินค้าเคมีที่เป็ นอันตรายจะต้องทา
ด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้ องกันอุบตั ิภยั ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ และถือว่าเป็ นภาระหน้าที่และความ
รับผิดชอบของทุกคนที่ทางานเกี่ ยวข้องกับสินค้าอันตรายที่จะต้องเรี ยนรู้เรื่ องสินค้าอันตรายและ
สามารถดาเนินการได้โดยปลอดภัย
ทุกคนที่เกี่ยวข้องกับสินค้าอันตรายจะต้องปฏิบตั ิตามกฎระเบียน หรื อข้อบังคับ เกี่ยวกับ
ความปลอดภัยในการยกขนสินค้าอันตรายที่การท่าเรื อแห่งประเทศไทยได้กาหนดไว้ และใช้ปฏิบั ติ
อยูซ่ ่ึงกฎระเบียนต่างๆ นี้มีพ้นื ฐานสอดคล้องกับข้อแนะนาและวิธีปฏิบตั ิที่เหมือนกันและร่ วมกัน
ระหว่างประเทศ
สหประชาชาติ (United Nations) ได้จดั ทาข้อแนะนาในการขนส่งสินค้าอันตราย
(Recommendations on the Transport of Dangerous Goods) มีรายละเอียดเกี่ยวกับ

 การจาแนกประเภทสินค้าอันตราย (Classification)
 การบรรจุหีบห่อ (Packaging)
 การติดป้ าย, ฉลาก (Labeling) และ
 การขนส่งสินค้าอันตรายที่บรรจุในถัง (Tank Transport)
ในข้อแนะนานี้ได้มีบญั ชีวตั ถุหรื อสารอันตราย ซึ่งส่วนใหญ่ทาการขนส่งกันเป็ นประจา
โดยสหประชาชาติ ได้กาหนดตัวเลขสี่หลักเรี ยกว่า UN Number (UN NO.) ใช้แทนชื่อสินค้าแต่ละ
ตัว องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization) หรื อ IMO ได้จดั ทา
ข้อบังคับและข้อที่ควรปฏิบตั ิระหว่างประเทศ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการขนส่งสินค้าอันตราย
ทางทะเล เรี ยกว่า International Maritime Dangerous Goods Code หรื อ IMDG-Code ได้กาหนด
กฎเกณฑ์ไว้เป็ นการเฉพาะ ในเรื่ องของ

 การจาแนกประเภทสินค้าอันตราย (Classification)
 การแสดงสินค้าอันตราย โดยใช้เครื่ องหมายและการปิ ดฉลาก (Identification,
Marking, Labeling and Pleading)
 เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (Documentation)
 การบรรจุหีบห่อ (Packaging)
 การแยกเก็บ (Segregation)
 สินค้าอันตรายที่ขนส่งในลักษณะสินค้าทัว่ ไป (General Cargo)
 สินค้าอันตรายในระบบตูส้ ินค้า (Containerized Cargo)
 สินค้าอันตรายที่ขนส่งในลักษณะสินค้ากอง (Bulk Transport)
 สารที่ทาให้เกิดมลภาวะทางทะเล (Marine Pollutant)
ประเภทสินค้าอันตราย (Dangerous Goods/DGR)
สาหรับการจาแนกประเภทของวัตถุอนั ตรายในประเทศไทยกรมการขนส่งทางบกได้ออก
ประกาศกรมการขนส่งทางบก เรื่ องกาหนดประเภทหรื อชนิดของวัตถุอนั ตราย ซึ่งประกาศใช้เมื่อ
วันที่ 29มีนาคม 2543 ได้นิยามว่า “วัตถุอนั ตราย” หมายถึง สาร สิ่งของวัตถุ หรื อวัสดุใดๆ ที่อาจเกิด
อันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของคน สัตว์ ทรัพย์สิน หรื อสิ่งแวดล้อม ระหว่างทาการ
ขนส่ง โดยประกาศนี้ กรมการขนส่งทางบกได้แบ่งประเภทของวัตถุอนั ตรายออกเป็ น 9 ประเภท
(Classes) ตามข้อก าหนดขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งแบ่งประเภทวัตถุอนั ตรายตามคุณสมบัติ
ความเป็ นอันตรายของสารและได้กาหนดให้รายชื่อหรื อเกณฑ์การพิจารณาความเป็ นอันตรายของ
วัตถุอนั ตรายเป็ นไปตามเอกสารคาแนะนาขององค์การสหประชาชาติ (UN Number) ว่าด้วยการ
ขนส่งสินค้าอันตรา ย (United Nations.“Recommendations on the Transportation of Dangerous
Goods, Manual of tests and Criteria” United Nations New York and Geneva, 1996) ด้วย

ประเภทของวัตถุอนั ตรายทั้ง 9 ประเภท ตามประกาศของกรมการขนส่ งทางบก ได่ แก่


ประเภทที่ 1 วัตถุระเบิด (Explosives) หมายถึง ของแข็งของเหลวหรื อสารผสม ที่สามารถ
เกิดปฏิกิริยาทางเคมีดว้ ยตัวเองทาให้เกิดก๊าซที่มีความดัน และความร้อนอย่างรวดเร็ ว ก่อให้เกิดการ
ระเบิดสร้างความเสียหายบริ เวณโดยรอบได้ และให้ รวมถึงสารที่ใช้ ทาดอกไม้ เพลิงและสิ่งของที่
ระเบิดได้ดว้ ย แยกเป็ น 6 ประเภทย่อย คือ
1. สารหรื อสิ่งของที่ก่ อให้ เกิดอันตรายจากการระเบิดรุ นแรงทันทีทนั ใดทั้งหมด (mass
explosive)
2. สารหรื อสิ่งของที่มีอนั ตรายจากการระเบิดแตกกระจายแต่ไม่ระเบิดทันทีทนั ใดทั้งหมด
3. สารหรื อสิ่งของที่เสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้ และอาจมีอนั ตรายบ้างจากการระเบิดหรื อการ
ระเบิดแตกกระจายแต่ไม่ระเบิดทันทีทนั ใดทั้งหมด
4. สารหรื อสิ่งของที่ไม่แสดงความเป็ นอันตรายอย่างเด่นชัดหากเกิดการประทุหรื อประทุใน
ระหว่างการขนส่ งจะเกิดความเสียหายเฉพาะภาชนะบรรจุ
5. สารที่ไม่ไวต่อการระเบิด แต่หากมีการระเบิดจะมีอนั ตรายจากการระเบิดทั้งหมด
6. สิ่งของที่ไวต่อการระเบิดน้อยมาก และไม่ระเบิดทันทีท้งั หมด มีความเสี่ยงต่อการระเบิดอยู่
ในวงจากัดเฉพาะในตัวสิ่งของนั้นๆ ไม่ มีโอกาสที่จะเกิดการประทุหรื อแผ่ กระจายใน
ระหว่างทาการขนส่ ง

ประเภทที่ 2 ก๊าซ (Gases) หมายถึง สารที่อุณหภูมิ 50องศาเซลเซียส มีความดันไอมากกว่ า


300 กิโลปาสกาล หรื อ มีสภาพเป็ นก๊ าซอย่ างสมบูรณ์ ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และมีความดัน
101.3 กิโลปาสกาล ซึ่งได้ แก่ ก๊าซอัด ก๊ าซพิษ ก๊ าซอยู่ ในสภาพของเหลวก๊ าซในสภาพของเหลว
อุณหภูมิต่าและให้รวมถึงก๊าซที่ละลายในสารละลายภายใต้ความดันด้วยแยกเป็ น 3 ประเภทย่อย คือ
1. ก๊าซไวไฟ (Flammable Gas) หมายถึง ก๊ าซที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสและมีความดัน
101.3 กิโลปาสกาลสามารถติดไฟได้ เมื่อผสมกับอากาศ 13 เปอร์ เซ็นต์ หรื อต่ากว่ า โดย
ปริ มาตรหรื อมีช่วงกว้างที่สามารถติดไฟได้ 12 เปอร์ เซ็นต์ ขึ้นไป เมื่อผสมกับอากาศโดย
ไม่คานึงถึงความเข้มข้นต่าสุดของการผสม
2. ก๊าซไม่ไวไฟและไม่เป็ นพิษ (Non–Flammable, nontoxic gas) หมายถึง ก๊าซที่ขณะขนส่ งมี
ความดันไม่ น้อยกว่ า 280 กิโลปาสกาล ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสหรื ออยู่ ในสภาพ
ของเหลวอุณหภูมิต่า
3. ก๊าซพิษ (Toxic Gas) หมายถึง ก๊าซที่มีคุณสมบัติเป็ นที่ทราบกันทัว่ ไปหรื อได้ มีการสรุ ปว่ า
เป็ นพิษหรื อกัดกร่ อนหรื อเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids) หมายถึง ของเหลวหรื อของเหลวผสม
หรื อของเหลวที่มีสารแขวนลอยผสม ที่มีจุดวาบไฟไม่เกิน 60.5 องศาเซลเซียส กรณี ทดสอบด้วยวิธี
ถ้วยปิ ด (Closed–cup test) หรื อไม่เกิน 65.6 องศาเซลเซียส กรณี ทดสอบด้วยวิธีถว้ ยเปิ ด (Open–cup
test) และให้ รวมถึงของเหลวที่ขณะขนส่ งถูกทาให้ มีอุณหภูมิเท่ ากับหรื อมากกว่ าจุดวาบไฟของ
ของเหลวนั้นและสารหรื อสิ่งของที่ทาให้ มีอุณหภูมิจนเป็ นของเหลวขณะทาการขนส่ ง ซึ่งเกิดไอ
ระเหยไวไฟที่อุณหภูมิไม่มากกว่าอุณหภูมิสูงสุ ดที่ใช้ในการขนส่ ง

ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) สารที่มีความเสี่ยงต่ อการลุกไหม้ ได้เอง


และสารที่สมั ผัสกับน้ าแล้ วทาให้ เกิดก๊ าซไวไฟ (Flammable Solids, Substances liable to
spontaneous combustion, Substances which in contact with water emit flammable gases) แยกเป็ น
3 ประเภทย่ อย คือ ของแข็งไวไฟ (Flammable solid) หมายถึง ของแข็งที่ระหว่ างทาการขนส่ ง
สามารถที่จะติดไฟได้ ง่ าย หรื ออาจทาให้ เกิดการลุกไหม้ ขึ้นได้ จากการเสียดสีสารหรื อสารที่
เกี่ยวข้ องที่มีแนวโน้ มที่จะเกิดปฏิกิริยาคายความร้ อนที่รุนแรง และให้ รวมถึงวัตถุระเบิดที่ถกู ลด
ความไวต่อการระเบิดซึ่งอาจจะระเบิดได้ถา้ หากไม่ทาให้เจือจางเพียงพอ
สารที่มีความเสี่ยงต่ อการลุกไหม้ ได้เอง (Substances liable to spontaneous combustion)
หมายถึงสารที่มีแนวโน้มจะเกิดความร้อนขึ้นได้เองในสภาวะการขนส่ งตามปกติหรื อเกิด
ความร้อนสูงขึ้นได้ เมื่อสัมผัสกับอากาศและมีแนวโน้มที่จะลุกไหม้ได้
สารที่สมั ผัสกับน้ าแล้ วทาให้ เกิดก๊ าซไวไฟ (Substances which in contact with water emit
flammable gases) หมายถึง สารที่ทาปฏิกิริยากับน้ าแล้วมีแนวโน้มที่จะเกิดการติดไฟได้เอง
หรื อทาให้เกิดก๊าซไวไฟในปริ มาณที่เป็ นอันตราย
ประเภทที่ 5 สารออกซิไดส์ และสารเปอร์ ออกไซด์ อนิ ทรีย์ (Oxidizing Substances and
Organic Peroxides) แยกเป็ น 2 ประเภทย่ อย คือ
สารออกซิไดส์ (Oxidizing Substances) หมายถึง สารที่ตวั ของสารเองอาจไม่ ติดไฟ
โดยทัว่ ไปจะปล่อยออกซิเจนหรื อเป็ นเหตุหรื อช่วยให้วตั ถุอื่นเกิดการลุกไหม้
สารอินทรี ย ์ เปอร์ ออกไซด์ (Organic peroxides) หมายถึง สารอินทรี ย ์ ที่มีโครงสร้ าง
ออกซิเจน 2 อะตอม -O-O- และอาจถือได้ ว่าเป็ นสารที่มีอนุพนั ธุ์ ของ Hydrogen peroxide
ซึ่งอะตอมของ Hydrogen 1 หรื อทั้ง 2 อะตอม ถูกแทนที่ด ้ วย Organic radicals สารนี้ไม่
เสถียรความร้อนซึ่งอาจเกิดปฏิกิริยาคายความร้อนและเร่ งการแตกตัวด้วยตัวเอง และอาจมี
คุณสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลายอย่างดังต่อไปนี้ร่วมด้วย
 แนวโน้มที่จะระเบิดสลายตัว
 เผาไหม้อย่างรวดเร็ ว
 ไวต่อการกระแทก หรื อการเสียดสี
 ทาปฏิกิริยากับสารอื่นก่อให้เกิดอันตรายได้
 เป็ นอันตรายต่อตา
ประเภทที่ 6 สารพิษและสารติดเชื้อ (Poisonous Substances and Infectious Substances)
แยกเป็ น 2 ประเภทย่อย คือ
1. สารพิษ (Toxic Substances) หมายถึง สารที่มีแนวโน้มจะทาให้เสียชีวิตหรื อบาดเจ็บรุ นแรง
หรื อเป็ นอันตรายต่อสุขภาพ หากกลืนหรื อสูดดมหรื อสัมผัสทางผิวหนัง
2. สารติดเชื้อ (Infectious Substances) หมายถึง สารที่ทราบว่าหรื อคาดว่ามีเชื้อโรคปนอยู่ดว้ ย
เชื้อโรค คือจุลินทรี ย ์ (ซึ่งรวมถึง แบคทีเรี ย ไวรัส Rickettsia พยาธิ เชื้อรา ) หรื อจุลินทรี ยท์ ี่
เกิดขึ้นใหม่หรื อเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม ซึ่งรู้กนั โดยทัว่ ไปหรื อมีข ้ อสรุ ปที่
เชื่อถือได้วา่ เป็ นเหตุให้เกิดโรคต่อมนุษย์หรื อสัตว์
ประเภทที่ 7 วัสดุกมั มันตรังสี (Radioactive Materials) หมายถึง วัสดุที่สามารถแผ่ รังสีที่
มองไม่เห็น ซึ่งเป็ นอันตรายต่อร่ างกาย การพิจารณาความเป็ นอันตรายให้เป็ นไปตามมาตรฐานแล ะ
ข้อกาหนดต่ าง ๆ ด้ านการขนส่ งสารกัมมันตรังสีของทบวงการพัฒนาปรมาณูระหว่ างประเทศ
(International Atomic Energy Agency หรื อ IAEA)

ประเภทที่ 8 สารกัดกร่ อน (Corrosive Substances) หมายถึง สารซึ่งโดยปฏิกิริย าเคมีจะ


ก่อให้ เกิดความเสียหายต่ อเนื้อเยือ่ ของสิ่ งมีชีวิตอย่ างรุ นแรง หรื อกรณี ของการรั่วจะเกิดความ
เสียหาย หรื อทาลายสิ่งของอื่น หรื อยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่ ง หรื อเกิดอันตรายอื่นได้ดว้ ย
ประเภทที่ 9 วัตถุอนั ตรายเบ็ดเตล็ด (Miscellaneous Products or Substances) หมายถึง
สารและสิ่งของที่ในขณะขนส่ งมีความเป็ นอันตราย ซึ่งไม่จดั อยูใ่ นประเภทที่ 1 ถึง ประเภทที่ 8 และ
ให้รวมถึงสารที่ในระหว่างทาการขนส่ งหรื อระบุว่าในการขนส่ งต้องควบคุมให้มีอุณหภูมิไม่ต่ากว่ า
100 องศาเซลเซียส ในสภาพของเหลวหรื อมีอุณหภูมิไม่ ต่ากว่ า 240 องศาเซลเซียส ในสภาพ
ของแข็ง
การติดเครื่องหมาย ฉลาก และป้าย
บนบรรจุภณ
ั ฑ์ และรถขนส่ งวัตถุอนั ตรายจะต้ องมีข ้ อมูลแสดงความเป็ นอันตรายและ
ประเภทหรื อประเภทย่อยของวัตถุอนั ตรายเหล่ านั้นให้ ชดั เจน โดยใช้ สัญลักษณ์ ภาพ สีและตัวเลข
ซึ่งประกอบกันเป็ นเครื่ องหมาย ฉลากและป้ ายบ่ งชี้ประเภทของวัตถุอนั ตรายตามฉลากบ่ งชี้วตั ถุ
อันตรายตามตารางที่กาหนด
รูปภาพที่ 4.19 ตารางฉลากบ่ งชี้ประเภทวัตถุอนั ตรายทั้ง 9 ประเภท

ประเภท บรรยายภาพสั ญลักษณ์

1. วัตถุระเบิด สัญลักษณ์ (ระเบิดที่ กาลังแตก


) พื้น: สี ส้ม หมายเลข1มุม
ข้างล่าง พื้น: สี ส้ม หมายเลขสี
ดาตัวเลขต้องสู ง ประมาณ 30
ม.. หนา ประมาณ 5 ม.ม.
ประเภทย่อย 1.1, 1.2 และ 1.3 หมายเลข 1มุมข้างล่าง

พื้น: สี ส้ม
หมายเลขสี ดาตัวเลขต้องสู ง
ประมาณ 30 ม. หนา
ประมาณ 5 ม.ม. หมายเลข
1 มุมข้างล่าง

ประเภทย่อย 1.4 , 1.5 และ 1.6

2. ก๊ าซ สัญลักษณ์ (เปลวไฟ)
สี ดาหรื อสี ขาว
พื้น: สี แดง
หมายเลข 2 มุมข้างล่าง

ประเภทย่อย 2.1
สัญลักษณ์ (หลอดก๊าซ):
สี ดาหรื อสี ขาว
พื้น: สี เขียว
หมายเลข 2 มุมข้างล่าง

ประเภทย่อย 2.2
สัญลักษณ์(หัวกะโหลก
และกระดูกไขว้) สี ดา
พื้น: สี ขาว
หมายเลข 2 มุมข้างล่าง
ประเภทย่อย 2.3
ประเภท บรรยายภาพสั ญลักษณ์

3.ของเหลวไวไฟ สัญลักษณ์ (เปลวไฟ):


สี ดาหรื อสี ขาว
พื้น: สี แดง
ประเภท 3 หมายเลข 3 มุมข้างล่าง

4. ของแข็งไวไฟ สัญลักษณ์ (เปลวไฟ):


สี ดา พื้น: สี ขาวสลับลายทาง
ยาว
ประเภทย่อย 4.1 แนวตั้ง 7 แถบ
หมายเลข 4 มุมข้างล่าง

สัญลักษณ์ (เปลวไฟ):
สี ดา พื้ น: ค รึ่ งบน สี ข า ว
ประเภทย่อย 4.2 ครึ่ งล่างสี แดง
หมายเลข 4 มุมข้างล่าง

สัญลักษณ์ (เปลวไฟ):
สี ดาหรื อสี ขาว พื้น: สี น้ าเงิน
หมายเลข 4 มุมข้างล่าง
ประเภทย่อย 4.3

5. สารออกซิ ไดส์ และ สัญลักษณ์ (เปลวไฟเหนือ


สารเปอร์ ออกไซด์ วงกลม):สี ดา
อินทรี ย พื้น: สี เหลือง
หมายเลข 5.1 มุมข้างล่าง
ประเภทย่อย 5.1 ประเภทย่อย 5.2 หมายเลข5.2มุมข้างล่าง
ประเภท บรรยายภาพสั ญลักษณ์
6. ส า รพิษ แ ล ะ สัญลักษณ์ (หัวกะโหลก
สารติดเชื้อ และกระดูกไขว้): สี ดา
พื้น: สี ขาว
หมายเลข 6 มุมข้างล่าง
ประเภทย่อย 6.1
สัญลักษณ์ (รู ปจันทร์
เสี้ ยว 3 อัน วางบน
วงกลม) เขียนข้อความ
เป็ นสี ดา พื้น: สี ขาว
ประเภทย่อย 6.1 หมายเลข 6 มุมข้างล่าง

7.วัสดุกัมมันตรั งส สัญลักษณ์ (ใบพัด


สามใบ): สี ดา
พื้ น: ค รึ่ งบนสี เหลื อ ง
ครึ่ งล่างสี ขาว
ประเภท 7 หมายเลข 7 มุมข้างล่าง

8. สารกัดกร่ อน สัญลักษณ์ (ของเหลว


หยดจากหลอดแก้ว 2
หลอดและกาลังกัดมือ
และโลหะ): สี ดา
พื้น:ครึ่ งล่างสี ดาขอบขาว
ประเภท 8
หมายเลข 8 มุมข้างล่าง

9. วัตถุอันตราย สัญลักษณ์ (แถบแนว


เบ็ดเตล็ด ตั้ง 7 แถบในครึ่ งบน):
สี ดา พื้น: สี ขาว
หมายเลข 9 มุมข้างล่าง
ประเภท 9
การติดฉลากบรรจุภัณฑ์ (Labeling)
การติดฉลากบนบรรจุภณ ั ฑ์ (Labeling) แสดงความเสี่ยงหลัก (Primary risk label) (คอลัมน์
ที่ 3 ในตารางบัญชีรายชื่อสินค้าอันตราย)และ/หรื อฉลากแสดงความเสี่ยงรอง (Secondary risk หรื อ
Subsidiary risk labels) (คอลัมน์ที่ 4 ในตารางบัญชีรายชื่อสินค้าอันตราย) ที่แสดงความเป็ นอันตราย
ของวัตถุที่บรรจุ ฉลากจะต้องเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ทามุม 45 องศามีขนาดด้ านละ 100 มิลลิเมตร
มีเส้นขนาด 5 มิลลิเมตร สีเดียวกับสัญลักษณ์ในฉลากขนานกับกรอบฉลากการติดฉลากให้ ติดใกล้
กับบริ เวณ ที่ติดชื่อวัตถุอนั ตรายที่ขนส่ งโดยไม่ ติดทับข้ อมูลอื่นๆ และต้ องเห็นได้ ชดั เจน สาหรับ
บรรจุภณ ั ฑ์ แบบ IBCs ที่มีความจุมากกว่ า 450 ลิตร จะต้ องติดฉลาก 2 ด้านที่ตรงข้ ามกัน การติด
ฉลากความเสี่ยงหลักและฉลากความเสี่ยงรองให้ติดไว้ในแนวเดียวกัน โดยเริ่ มจากฉลากความเสี่ยง
หลักก่อน (อยูด่ า้ นซ้ายมือ) แล้วต่อด้วยฉลากความเสี่ยงรอง (อยู่ดา้ นขวามื อ) ซึ่งการติดฉลากหนึ่ง
สอง หรื อสามอัน มีความหมายดังนี้
ถ้าติดฉลากอันเดียว หมายความว่ า วัตถุอนั ตรายที่บรรจุภณ
ั ฑ์ นั้นมีอนั ตรายเพียงประเภท
เดียว ตามความหมายของสัญลักษณ์ วัตถุอนั ตรายที่ปรากฏบนฉลากนั้นๆ เช่นแสดงว่าวัตถุอนั ตราย
ในบรรจุภณ ั ฑ์น้ นั มีอนั ตรายเพียงประเภทเดียว คือ ของเหลวไวไฟ

รู ปภาพที่ 4.20 ถ้าติดฉลากอันเดียว


ติดฉลากสองอัน หมาย ความว่า วัตถุอนั ตรายในบรรจุภณ ั ฑ์น้ นั มีอนั ตรายสองประเภท ตาม
สัญลักษณ์ เช่ น แสดงว่าวัตถุอนั ตรายในบรรจุภณ
ั ฑ์น้ นั มี อันตรายสอง ประเภทคือสารพิษและ
ของเหลวไวไฟ

รู ปภาพที่ 4.21 ติดฉลากสองอัน


ติดฉลากสามอัน หมายความว่า วัตถุอนั ตรายในบรรจุภณ ั ฑ์น้ นั มีอนั ตรายสามประเภทตา ม
สัญลักษณ์ เช่ น แสดงว่ าวัตถุอนั ตรายในบรรจุภณ
ั ฑ์ นั้นมีอนั ตรายสามประเภท คือเป็ นสารพิษ
ของเหลวไวไฟและสารกัดกร่ อน

รู ปภาพที่ 4.22 ติดฉลากสามอัน

ตาแหน่ งที่ตดิ ฉลาก


1. ติดบนผิวเดียวกับหีบห่ อใกล้เครื่ องหมายแสดงชื่อที่ถกู ต้องในการขนส่ ง
2. ติดบนหีบห่ อในที่ที่ไม่ถกู ปกปิ ดหรื อปิ ดบัง
3. เมื่อมีการบังคับใช้ฉลากความเสี่ยงหลักและความเสี่ยงรองต้องติดไว้ใกล้กนั
4. กรณี ที่หีบห่ อเป็ นรู ปทรงที่ไม่เป็ นระเบียบหรื อขนาดเล็กไม่ สามารถติดฉลากได้ ให้ใช้ป้าย
ที่มีฉลากติดอยูผ่ กู ติดกับหีบห่ อให้แน่น
5. ถ้าเป็ นถุง IBCs ที่มีความจุมากกว่า 450 ลิตร ให้ติดฉลากทั้ง 2 ด้านที่อยูต่ รงข้ามกัน
6. ฉลากต้องติดบนผิวที่มีสีที่ตดั กับฉลาก

รู ปภาพที่ 4.23 ตัวอย่างป้ ายสาหรับวัตถุอนั ตราย


4. Diplomatic Pouch เอกสารการฑูต

ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของ
รัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิ ดประทับตราของทาง
ราชการ และผูใ้ ดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้า ที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้น
จากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่ องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสญ
ั ญากรุ งเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์
ทางการทูตได้บญั ญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้

1. ในรัฐผูร้ ับจะอนุญาตและคุม้ ครองการสื่อสารโดยเสรี ในส่วนของคณะผูแ้ ทน เพื่อ


ความมุ่งประสงค์ท้งั มวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผูแ้ ทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐ
ผูส้ ่งไม่ว่าตั้งอยูท่ ี่ใด คณะผูแ้ ทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผูส้ ื่อสารทางการทูต และ
สารเป็ นรหัสหรื อประมวล อย่างไรก็ดี คณะผูแ้ ทนอาจติดตั้งและใช้เครื่ องส่งวิทยุได้ดว้ ยความ
ยินยอมของรัฐผูร้ ับเท่านั้น
2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผูแ้ ทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบ
ทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผูแ้ ทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผูแ้ ทน
3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถกู เปิ ดหรื อถูกกักไว้
4. หีบห่อซึ่งรวมเป็ นถุงทางการทูตจะต้องมีเค รื่ องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็นชัดเจน
แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรื อสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ใน
ทางการเท่านั้น
5. ผูถ้ ือสารทางการทูต (Diplomatic courier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดง
สถานภาพของตนและจานวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็ นถุงทางทูตนั้น ให้ ได้รับความคุม้ ครองจากรัฐผูร้ ับ
ในการปฏิบตั ิการตามหน้าที่ของตน ให้ผถู้ ือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้อง
ไม่ถกู จับกุมหรื อกักในรู ปใด
6. รัฐผูส้ ่งหรื อคณะผูแ้ ทนอาจแต่งตั้งผูถ้ ือสารทางการทูตเฉพาะกรณี ได้ในกรณี ที่ว่านี้
ให้นาบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด ้ วย เว้นแต่ว่าความคุม้ กันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยตุ ิไม่ใช้
เมื่อผูถ้ ือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผรู้ ับแล้ว
7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผบู้ งั คับการของเครื่ องบินพาณิ ชย์ ซึ่งได้มี
พิกดั จะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผบู้ งั คับบัญชาของเครื่ องบินพาณิ ชย์รับเอกสาร
ทางการ แสดงจานวนหีบห่อซึ่งรวมเป็ นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผูบ้ งั คับการของเครื่ องบินพาณิ ชย์เป็ นผู้
ถือสารทางการทูต คณะผูแ้ ทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผูแ้ ทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง
และโดยเสรี จากผูบ้ งั คับการของเครื่ องบิน
5. Service Cargo

เป็ นการให้บริ การขนส่ง ด้านอุปกรณ์การช่าง อะไหล่เครื่ องบิน หรื อเครื่ องบินที่ไปเสียที่


ต่างประเทศแล้วต้องการนากลับมาประเทศไทย การให้บริ การขนส่ง Service Cargo ของการบิน
ไทยจะขนส่งอุปกรณ์การช่างหรื ออุปกรณ์เครื่ องบินของการบินไทยฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่ถา้ เป็ น
สายการบินอื่นจะเสียค่าบริ การตามน้ าหนักที่กาหนดไว้ การขนส่งอุปกรณ์การช่างหรื ออุปกรณ์
เครื่ องบินจะเป็ นสิ่งแรกที่สาคัญในการขนส่ง

รู ปภาพที่ 4.25 การบริ การเกี่ยวกับการขนส่งอุปกรณ์เครื่ องบิน


4.3 ขั้นตอนการนาเข้ าสิ นค้ า
4.3 ขั้นตอนการนาเข้ าสินค้า

Import 1. ตรวจสอบสิ นค้า 2.นาสิ นค้าจัดเก็บ


การนาเข้ าสิ นค้า ขาเข้ า เพือ่ รอลูกค้ามารับ

5.ลูกค้านาสิ นค้า 3.ติดต่อแจ้งลูกค้า


4.จัดส่ งมอบสิ นค้า
ผ่านพิธีการศุกากร มารับสิ นค้า

รู ปภาพที่ 4.26 ขั้นตอนในการนาเข้า

ขั้นตอนในการนาเข้ าสินค้าประกอบด้ วย 5 ขั้นตอนดังนี้

1. ตรวจสอบสินค้าขาเข้ากับเอกสารว่าตรงกันหรื อไม่
2. นาสินค้าจัดเก็บเพื่อรอลูกค้ามาติดต่อขอรับสินค้า กรณี Transit ก็จะจัดบรรทุกสินค้าต่อไป
ยังเมืองปลายทาง
3. ติดต่อแจ้งลูกค้าให้มารับสินค้าพร้อมทั้งแจ้งศุลกากรผ่านระบบ E-Customs
4. จัดส่งมอบสินค้าพร้อมพิมพ์ Custom Permit
5. ลูกค้านาสินค้าไปผ่านพิธีศุลกากร
4.4 ขั้นตอนในการส่ งมอบ
สิ นค้ า
4.4 ขั้นตอนในการส่ งมอบสินค้า
แผงผังขั้นตอนในการส่งมอบสินค้า

„ หลังจากลูกค้าผ่ านพิธีการกรมศุลกากร
1
„ ยื่นเอกสารที่แผนก F2 เพือ่ ออกใบ D/O และชาระค่ าการจัดเก็บ
2 หรือค่ าโกดังกับCashier
„ ลูกค้ านาเอกสารที่ได้ รับจากแผนกบริการสิ นค้ าขาเข้ าหรือ F3-c
แล้ วนาไปกดรหัสหาสิ นค้ าที่คอมพิวเตอร์ ในคลังสิ นค้ าเพือ่ รับ
3 สิ นค้ าที่แผนก F3-w

„ นาสิ นค้าที่ได้ รับพร้ อมเอกสารไปให้ เจ้าหน้ าที่หน้ าคลังสิ นค้าตรวจสอบ


4 โดยแผนก F3-c จะเรียกเก็บใบ D/O คืน หากสิ นค้าเสี ยหายแจ้ง F3-t

„ นาสิ นค้ าที่ได้ รับ ออกจากเขตปลอดอากร หรือออกจาก


5 คลังสิ นค้ า

„ ถ้ าสิ นค้า Redline เป็ นเปิ ดตรวจต้องไปพบศุลกากร


6 „ ถ้ าสิ นค้า Greenline เป็ นยกเว้นสามารถนาออกได้ เลย

รู ปภาพที่ 4.27 แผงผังขั้นตอนในการส่ งมอบ


ลักษณะการทางานในการพิมพ์เอกสารที่ใช้ ในการส่ งมอบสินค้าของแผนก F3-c
การพิมพ์เอกสารใบ Print Location --- ใบปะหน้ า
นาเอกสารดังนี้ D/O (Delivery Order) Print ออกจากห้อง D/O แผนก F2
Air Waybill เอกสารที่มาจากเครื่ องบินเมื่อสินค้านาเข้าจากต่างประเทศ
เอกสารกากับสินค้าขนส่งทางอากาศ Manifest เอกสารที่มากับเครื่ องบิน
เอกสารจะถูกส่งไปที่หอ้ ง D/O แผนก F2 ป้ อนข้อมูลส่งเข้ามากับเครื่ องสู่ระบบ Motive
และถูกสร้างเป็ นข้อมูลและสัง่ พิมพ์เป็ นใบ Print Location หรื อ ใบปะหน้า
ข้อมูลอีกส่วนจะถูกส่งไปให้กรมศุลกากรทราบ สินค้าทุกรายการต้องผ่านกรมศุลกากร
เมื่อมีขอ้ มูลแล้ว แผนก D/Oจะพิมพ์ใบ D/Oหรื อ Delivery Order ให้ เพื่อให้ตวั แทน Agent มารับ
เอกสารไปดาเนินพิธีการกับกรมศุลกากร
เมื่อ Agent ดาเนินพิธีการกับกรมศุลกากรแล้ว จะได้ใบขนสินค้าจะมีเลขกากับอยูล่ กู ค้า จะ
ทาการชาระค่าจัดเก็บสินค้าในโกดังของการบินไทย

รู ปภาพที่ 4.28 ระบบที่ใช้ในการพิมพ์ใบ Print Location หรื อใบปะหน้า


เอกสารประเภทสินค้ายกเว้น (Print ด้ านนอกตึกศุลกากร)
ลูกค้าจะนาเอกสารทั้งหมดได้แก่ ใบ D/O, AWB, ใบขนสินค้า, บัตรประชาชน จะมีเอกสาร
ทั้งหมด 4ใบ นามายืน่ ที่กบั พนักงานแผนก F3-C ที่อยูต่ ึกกรมศุลกากร เพื่อทาการพิมพ์ใบ Free
Zone Cargo Permit เพื่อแสดงตรงทางออก เพื่อนาสินค้าออกไปได้
นามายืน่ ที่แผนก F3-C ด้านใน เพื่อพิมพ์ใบ Print Location หรื อ ใบปะหน้า จากนั้นลู กค้า
จะนาเอกสารทั้งหมดไปยืน่ แผนก F3-S เพื่อหาสินค้าตาม Location
เมื่อได้สินค้าครบตามจานวนแล้ว ลูกค้าจะนาสินค้าและเอกสารมายืน่ เจ้าหน้าที่ Go down
keeper ด้านนอก เพื่อตรวจสอบสินค้าก่อนออกจากคลัง

รู ปภาพที่ 4.29 ระบบที่ใช้ในการพิมพ์ใบ Free Zone Cargo Permit

รู ปภาพที่ 4.30 เอกสารใบ Free Zone Cargo Permit


เอกสารประเภทสินค้ายกเว้น อ.ย
กรณี เอกสารประเภทสินค้ายกเว้น อ .ย จะไม่ตอ้ งพิมพ์ใบ Permit ให้ลกู ค้า แต่ใส่ Sample
ใบ Print Location ลูกค้าจะนาเอกสารทั้งหมดได้แก่ ใบ D/O, AWB, ใบขนสินค้า , บัตรประชาชน
จะมีเอกสารทั้งหมด 4ใบ
นามายืน่ ที่แผนก F3-C ด้านใน เพื่อพิมพ์ใบ Print Location หรื อ ใบปะหน้า จากนั้นลูกค้า
จะนาเอกสารทั้งหมดไปยืน่ แผนก F3-S เพื่อหาสินค้าตาม Location

เอกสารประเภทสินค้า เปิ ดตรวจ มี Permit แล้ว


ลูกค้าจะนาเอกสารทั้งหมดได้แก่ ใบ D/O, AWB, ใบขนสินค้ า, บัตรประชาชนและใบ
Permit จะมีเอกสารทั้งหมด 5ใบ
นามายืน่ ที่แผนก F3-C ด้านใน เพื่อพิมพ์ใบ Print Location หรื อ ใบปะหน้า จากนั้นลูกค้า
จะนาเอกสารทั้งหมดไปยืน่ แผนก F3-S เพื่อหาสินค้าตาม Location
เมื่อได้สินค้าครบตามจานวนแล้ว ลูกค้าจะนาสินค้าและเอกสารมายืน่ เจ้ าหน้าที่ Go down keeper
ด้านนอก เพื่อตรวจสอบสินค้าก่อนออกจากคลัง
เอกสารประเภทสินค้าเปิ ดตรวจ
ลูกค้าจะนาเอกสารทั้งหมดได้แก่ ใบ D/O, AWB, ใบขนสินค้า, บัตรประชาชนจะมีเอกสาร
ทั้งหมด 4ใบ
ลูกค้าจะนาเอกสารมายืน่ ที่แผนก F3-C เพื่อพิมพ์ใบสัง่ การตรวจ หรื อInspection Form และ
พิมพ์ใบ Print Location หรื อ ใบปะหน้า
จากนั้นลูกค้าจะนาเอกสารทั้งหมดนาไปแสดงต่อเจ้าหน้าที่กรมศุลกากรเพื่อตรวจสินค้า
เมื่อเสร็ จขั้นตอนลูกค้าจะนาใบสัง่ การตรวจ หรื อ Inspection มายืน่ ที่แผนก F3-C เพื่อพิมพ์ใบ Free
Zone Cargo Permit หรื อใบยกเว้นการตรวจสินค้า เพื่อนาสินค้าออกจาก Free Zone
เอกสารที่ใช้ ในการส่ งมอบสินค้า

รู ปภาพที่ 4.31 รู ปใบ D/O (Delivery Order)

ลูกค้าจะนาเอกสารชุดนี้มาติดต่อ F3- C เพื่อพิมพ์ใบปล่อยสินค้า เพื่อนาสินค้าออกจาก


คลังสินค้า พนักงาน F3 –C มีหน้าที่พิมพ์ใบปล่อยของให้ลกู ค้ า โดยพิมพ์เลขใบขนที่พิมพ์ไว้
ด้านบน
รู ปภาพที่ 4.32 ภาพเอกสารใบ Print Location หรื อใบหาสินค้า

เมื่อพนักงานพิมพ์รหัสสินค้าลงคอมพิวเตอร์เรี ยบร้อยแล้วใบปะหน้าหรื อใบ Print


Location จะได้ใบปล่อยสินค้า ลักษณะแบบรู ปที่ 4.31
รู ปภาพที่ 4.33 เอกสารใบขนสินค้า

สาหรับลูกค้าบางรายที่ไม่ได้ พิมพ์ใบ Permit มา เราต้อง พิมพ์ให้โดยกดเลขที่มุมขวาด้าน


บนสุด ดังภาพที่ ลงในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของเราแล้วกดพิมพ์ออกมา 2 ใบ
รู ปภาพที่ 4.34 เอกสารใบ Free Zone Cargo Permit ใบปล่อยสินค้า

เมื่อพิมพ์ออกมาแล้วเราจะได้ใบ Permit ในลักษณะดังภาพ 1.4 เพื่อนาเอกสารทั้งหมดนี้ไป


พิมพ์รับสินค้าในคลังสินค้า และนาเอกสารมาให้พนักงานตรวจว่าเลขใบขน กับสินค้าตรงกัน
หรื อไม่ แล้วนาสินค้ากลับบ้าน

You might also like