37 อัศวมุขี สู่ ยักษ์ขมูขี PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

พชรพล ลิขสิทธิ์วัฒนกุล เลขที่ ๓๗ ห้อง ๓๔๕

อัศวมุขี

“…พวกพยัคฆ์ก็หมอบเมียงเขม้นหมาย หมูม
่ ฤคคารามรนแล้วเร่ร้อง อัศวมุขกี ็คะนองพาคณาเที่ยวในเถื่อนทาง…”

เพื่อให้ผู้อ่านมีความเข้าใจโดยเบือ้ งต้นของคาศัพท์ที่จะมานาเสนอในวันนี้ จึงขอแปลคาศัพท์ไว้ก่อน คาว่า


อัศวมุขี แปลว่า “มีหน้าเป็นหน้าม้า, ในมหาชาติ กัณฑ์มหาพน มีศัพท์ อัสสมุขี แปลว่า ยักษิณีหน้าม้า” (อัศว หรือ
ม้า + มุข หรือ หน้า, มีการเติมปัจจัย อี เป็น มุขี แปลว่ามีหน้า)
ทุกคนคงเคยได้ยินคาว่า “ยักษ์ขมูขี” แต่อาจไม่รู้ที่มาของคาคานี้ ว่าเป็นคาที่มาจากภาษาใด หรือว่า
แปลว่าอะไร มีผู้สันนิษฐานว่า ยักษ์ขมูขี มาจาก ยักข+มุข แล้วพูดไปมากลายเป็นยักษ์ขมูขี แปลว่า หน้ายักษ์ ก็ดูมี
เหตุผลดี แต่คนไทยชาวบ้านโบราณไม่นิยมสร้างคาใหม่โดยใช้ระเบียบวิธีแบบภาษาดั้งเดิมเท่าไรนัก เพราะฉะนั้นที่
บอกว่ามาจาก ยักข ที่เป็นภาษาบาลี ซึ่งจะเห็นคนโบราณนิยมเขียนแบบสันสกฤตมากกว่า และคาว่า มุข (มีการ
เติมปัจจัย อี เป็น มุขี แปลว่ามีหน้า) เห็นจะไม่ใช่การสร้างคาแบบชาวบ้านทั่วไปนัก
ชาวบ้านทั่วไปจะใช้คาที่ มาจากภาษาอื่นได้ก็อาศัยจาคาหรือปะติดปะต่อความเอาจากผู้รู้ในสมัยนั้นซึ่งก็
ได้แก่พระภิกษุเสียเป็นส่วนใหญ่ ในมหาชาติ กัณฑ์มหาพน มีศัพท์ อัสสมุขี หรืออัศวมุขี (คาแปลคือมีหน้าเป็นม้า)
ดังนั้น คา อัศวมุขี หรืออัสสมุขี ซึ่งรู้กันว่าเป็นยักษ์ประเภทหนึ่ง และติดหูติดปากชาวบ้านสมัยก่อน อาจจะ
ถูกนามาขยายคายักษ์ เหมือนกับการขยายคายักษ์ในคาอื่นๆ เช่นยักษ์ปักหลั่น ยักษ์มักกะสันก็เป็นได้เป็นยักษ์อัศว
มุขี ซึ่งออกเสียงได้ยากแล้วอาจกล่าวเพี้ยนเป็นยักษ์ขมูขีในภายหลัง

อ้างอิง : สนธยา ศักดิ์กาพย์ ในกลุ่ม “ห้อง ๕๓” เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๕


https://www.facebook.com/groups/419136848117731/

You might also like