Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

แก๊สเหลวกับแก๊สธรรมชาติตา่ งกันอย่างไร

ก๊าซธรรมชาติ
- เป็นก๊าซที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
- เกิดจากการสะสมและทับถมของซากสิ่งมีชีวิตตามชั้นหิน ดิน และในทะเล
หลายร้อยล้านปี ประกอบกับความร้อนและความกดดันของผิวโลก จน
ซากสัตว์และซากพืชหรือฟอสซิลนั้นกลายเป็นน้้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ
และถ่านหิน
- ส่วนประกอบหลักเป็นธาตุไฮโดรเจนและคาร์บอน จึงเรียกว่าสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอน
- ถูกน้ามาใช้แทนน้้ามันเชื้อเพลิง เพราะการเผาไหม้แก๊สธรรมชาติจะปล่อย
สารพิษออกมาน้อยกว่า

ก๊าซเหลว
แก๊สปิโตรเลียมเหลว หรือ แอลพีจี (liquefied petroleum gas: LPG)
- เป็นส่วนผสมของแก๊สโพรเพนและบิวเทน ใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน
ยานพาหนะ และโรงงานอุตสาหกรรม
- ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี ปราศจากพิษ หนักกว่าอากาศ ติดไฟได้ในช่วงของการติด
ไฟที่ 2–15 % ของปริมาณในอากาศ และอุณหภูมิที่ติดไฟได้เองคือ 400
องศาเซลเซียส
แก๊สธรรมชาติเหลว ( Liquefied natural gas : LNG)
- เป็นก๊าซธรรมชาติที่ถูกน้าไปท้าให้สถานะของก๊าซกลายเป็นของเหลว
- โดยท้าให้อุณหภูมิลดลงส่งผลให้ปริมาตรลดลงเหลือประมาณ 1/600 เท่า
ของปริมาตรเดิมด้วยการใช้ความเย็นที่ ลบ 162 องศาเซลเชียส หรือที่ลบ
260 องศาฟาเรนท์ไฮต์
- ท้าเพื่อความสะดวกในการจัดเก็บและการขนส่ง เมือ่ ต้องการน้าไป
ประโยชน์จะน้าเข้าสูก่ ระบวนการเพิ่มอุณหภูมิซึ่งกลายเป็นเชื้อเพลิงในรูป
ของแก๊สธรรมชาติอัด

กระบวนการแยกแก๊สธรรมชาติ

ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกแก๊สธรรมชาติ

แก๊สมีเทน (CH4)
- ใช้เป็นเชื้อเพลิงผลิตกระแสไฟฟ้าและให้ความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรม
- น้าไปอัดใส่ถังเรียกว่า แก๊สธรรมชาติอัด สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์
ที่ใช้แก๊สธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง (NGV) ได้
- เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตปุ๋ยเคมี

แก๊สอีเทน (C2H6)
- เป็นวัตถุดบิ ในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นเพื่อผลิตเอทิลีน ซึ่งเป็นสารตั้ง
ต้นในการผลิตเม็ดพลาสติก เส้นใยพลาสติก โพลีเอทิลีน (PE) เพื่อใช้ผลิต
ผลิตภัณฑ์พลาสติกชนิดต่าง ๆ
1. แยกแก๊สเหลวออกจากแก๊สธรรมชาติโดยผ่านหน่วยแยกของเหลว

2. ส่งแก๊สไปยังหน่วยก้าจัดปรอท (Mercury removal unit) เพราะไอ


ปรอทมีผลต่อการสึกกร่อนของระบบท่อแก๊สและเครื่องมื่อต่าง ๆ การ
ก้าจัดปรอทจะใช้สารดูดซับเพื่อดึงเอาปรอทออกมา

3. ผ่านแก๊สไปยังหน่วยก้าจัดความชื้น (Dehydration unit) ไอน้้าถูกก้าจัด


โดยกระบวนการกรองโมเลกุล ซึ่งใช้สารที่มีรูพรุนสูงสามารถดูดซับน้้าออก
จากแก๊ส

4. ผ่านแก๊สไปยังหน่วยก้าจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์โดยใช้สารละลาย
โพแทสเซียมคาร์บอเนต (K2CO3) ดูดซึมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจาก
แก๊สธรรมชาติ

5. ท้าให้แก๊สเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว โดยการเพิ่มความดันและลด
อุณหภูมิน้าแก๊สเหลวทีไ่ ด้ ไปรวมกับแก๊สเหลวที่แยกไว้ในขั้นตอนที่ 1

6. ผ่านไปยังหอกลั่นเพื่อแยกแก๊สมีเทน โพรเพน และบิวเทนตามล้าดับโดย


การเพิ่มอุณหภูมิ
แก๊สโพรเพน (C3H8)
- ใช้ผลิตโพรพิลีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เพื่อใช้ในการ
ผลิตเม็ดพลาสติกโพลีโพรพิลีน (PP) เช่น ยางในห้องเครื่องยนต์ หม้อ
แบตเตอรี่ กาว
- สารเพิ่มคุณภาพน้้ามันเครื่องรวมทั้งใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม
ได้อีกด้วย
แก๊สบิวเทน (C4H10)
- ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี และสามารถน้ามาผสมกับโพรเพน
อัดใส่ถังเป็นแก๊สปิโตรเลียม (แก๊สหุงต้ม) เพื่อน้ามาใช้เป็นเชื้อเพลิงใน
ครัวเรือน เป็นเชื้อเพลิงส้าหรับยานยนต์ใช้ในการเชือ่ มโลหะ และยัง
น้าไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภทได้ด้วย ได้อีกด้วย

แก๊สปิโตรเลียมเหลว (LPG)
- เป็นส่วนผสมของแก๊สโพรเพนและบิวเทน
- ใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน ยานพาหนะ และโรงงานอุตสาหกรรม

แก๊สธรรมชาติเหลว (LNG)
- วัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
- ตัวท้าละลาย ซึ่งน้าไปใช้ในอุตสาหกรรมบางประเภท
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
เป็นผลพลอยได้จากกระบวนการแยกแก๊ส

คอนเดนเสท
เป็นแก๊สธรรมชาติที่อยู่ในสถานะแก๊สเมือ่ อยู่ใต้ดิน แต่เปลี่ยนสถานะเป็น
ของเหลวเมื่ออยู่บนผิวดิน

You might also like