Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 1

ใบความรูท้ ี่ 3

เรือ
่ ง สมดุลต่อการเลือ ่ นที่
เมือ่ วัตถุอยูใ่ นสมดุลต่อการเลือ
่ นทีแ
่ ละอยูน
่ ิ่ง แรงลัพธ์ทก
ี่ ระทาต่อวัตถุมค
ี า่ เป็ นศูน ย์
เขียนแทนได้ ด้วยสมการ ∑ F = 0
ในการคานวณปริมาณทีเ่ กีย่ วข้องกับการทีว่ ตั ถุอยูใ่ นสมดุลต่อการเลือ ่ นทีแ
่ ละอยูน ่ ิ่งสามารถแยก
พิจารณาได้ดงั นี้ คือ
1. กรณี มแ ี รงสองแรงกระทา
กรณี
2. ม ีแรงสองแรง
กรณี มแ ี รงสามแรงกระทา
กระทา
เมือ่ มีแรงสองแรงโดยทีผ ่ ลรวมของแรงทัง้ สองเท่ากับศูนย์กระทากับวัตถุแล้ว
วัตถุจะยังคงนิ่งหรือเคลือ่ นที่ ด้วยความเร็วคงที่ ดังภาพ

สมดุ
กรณีลของแรงสองแรง
มีแรงสามแรง จะเกิดขึน ้ เมือ่ 1. แรงทัง้ สองต้องมีขนาดเท่ากันแต่มท
ี ศ
ิ ตรงข้ามกัน
และเกิดขึน้ บนวัตถุเดียวกัน
กระท า
2. แรงทัง้ สองต้องอยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน

เมือ่ มีแรงลัพธ์สามแรงทีเ่ ท่ากับศูนย์กระทากับวัตถุแล้ว


วัตถุจะยังคงหยุดนิ่งหรือเคลือ
่ นที่
ด้วยความเร็วคงที่
สมดุลของแรงทัง้ สามทีข
่ นานกัน สมดุลของแรงทัง้ สามทีไ่ ม่ขนานกัน
จากภาพ (ก) เมือ่ แรง ⃑F1 ⃑F2 และ ⃑F3
อยูใ่ นระนาบเดียวกัน
และแรงทัง้ สามเกิดสมดุล จะได้วา่
⃑ 1 +F
F ⃑ 2 +F
⃑ 3= 0 ⃑F1 +F
⃑ 2= -
⃑3
F
จากภาพ เมือ่ แรง ⃑F1 ⃑F2 และ ⃑F3 อยูใ่ นระนาบเดียวกัน
และแรงทัง้ สามเกิดสมดุล จะได้สมการว่า

้ ⃑F1 +F
ดังนัน ⃑ 2 +F
⃑ 3 = 0และเมือ่ นาแรงทัง้ สามมาต่อแบบหางต่อหัว
จะได้รูปสามเหลีย่ มปิ ด ดังภาพ (ข)
สมดุลของแรงสามแรง จะเกิดขึน ้ เมือ่ 1. แรงทัง้ สามต้องอยูใ่ นระนาบเดียวกัน เกิดทีว่ ตั ถุเดียวกัน
2. แนวแรงของแรงทัง้ สามแรงต้องพบกันทีจ่ ุด ๆ หนึ่ง
หรือแนวแรงทัง้ สามต้องขนานกันทัง้ หมด

You might also like