Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 19

1

โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

บทที่ 1
การแยกตัวประกอบของพหุนามและสมการพหุนาม
1. พหุนามดีกรีสอง
พหุ นามดี กรี สอง เขียนได้ในรู ป ax2  bx  c เมื่อ a,b,c เป็ นค่าคงตัวที่ a  0

การแยกตัวประกอบของพหุ นามดีกรีสอง
การแยกตัวประกอบของพหุ นามดีกรี สอง เป็ นการเขียนพหุ นามให้อยูใ่ นรู ปผลคูณของพหุ นามดีกรี หนึ่ง
ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธี ขึ้นอยูก่ ับรู ปแบบของพหุ นามดี กรี สองที่ตอ้ งการจะแยกตัวประกอบ

1.1 เมื่อ c0 พหุ นาม ax2  bx  c  0 จะเขียนได้ในรู ป ax 2  bx ซึ่งสามารถทาได้ดงั นี้

แยกตัวประกอบโดยใช้ สมบัตแิ จกแจง ax 2  bx  ax  x  b 

ตัวอย่างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของพหุ นามในแต่ ละข้อต่อไปนี้

1) x2  3x  ........................ 2) x2  5x  ........................

3) 2 x2  6 x  ........................ 4) 3x2  9 x  ........................

5) 6x2  4 x  ........................ 6) 8x2  12 x  ........................

7) 3x2 y  6 xy 2  ........................ 8) 6xy 2  8x2 y  ........................

1.2 เมื่อ c0 และ b0 พหุ นาม ax2  bx  c  0 จะเขียนได้ในรู ป ax 2  c ซึ่งสามารถทาได้ดงั นี้

แยกตัวประกอบโดยใช้ สูตรผลต่างกาลังสอง x 2  y 2   x  y  x  y 

ตัวอย่างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของพหุ นามในแต่ละข้อต่อไปนี้

1) x2  4  ............................... 2) x2  25  ...............................

3) 4x2  9  ............................... 4) 81x2 16  ...............................

5)  
2
2 x  9  ............................... 6) 5x2 1  ...............................
2
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

7) 3x2 16  ............................... 8) 6x2  5  ...............................

9)  2 x 12  8  10)  4 x  2 
2
............................... 3  12  ...............................

1.3 เมื่อพหุ นาม ax2  bx  c อยูใ่ นรู ปกาลังสองสมบูรณ์ ซึ่งสามารถทาได้ดงั นี้


แยกตัวประกอบโดยใช้ กาลังสองสมบูรณ์
1. x2  2 xy  y 2   x  y  x  y    x  y 2
2. x2  2 xy  y 2   x  y  x  y    x  y 2

ตัวอย่างที่ 3 จงแยกตัวประกอบของพหุ นามในแต่ ละข้อต่อไปนี้

1) x2  4 x  4  ............................... 2) x2  8x  16  ...............................

3) x2  6 x  9  ............................... 4) 4x2  12x  9  ...............................

5) x2  10 x  25  ............................... 6) 9x2  6 x  1  ...............................

7) 4x2 12x  9  ............................... 8) 9x2  30 x  25  ...............................

9) x2  6 x  4  ……………………………………………………………………………………………..

10) x2  4 x  1  ……………………………………………………………………………………………..

11) x 2  3x  1  ……………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………..

12) x2  11x  25  ……………………………………………………………………………………………..

……………………………………………………………………………………………..
3
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

1.4 เมื่อพหุ นาม ax2  bx  c มี a  1 และ b , c เป็ นจานวนเต็ม จะเขียนได้ในรู ป x2  bx  c


แยกตัวประกอบโดยการหาจานวนเต็มสองจานวนที่คูณก ันได้ c และบวกกนั ได้ b ซึ่ง
ถ้า mn  c และ m  n  b แล้ว x2  bx  c   x  m x  n 

ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของพหุ นามในแต่ละข้อต่ อไปนี้

1) x2  5x  6  ............................ 2) x2  7 x  6  ............................

3) x2  7 x  12  ............................ 4) x2  12 x  35  ............................

5) x2  3x  2  ............................ 6) x2  8x  15  ............................

7) x2  15x  56  ............................ 8) x2  8x  12  ............................

9) x2  5x  6  ............................ 10) x2  5x  6  ............................

11) x2  2 x  8  ............................ 12) x2  2 x  3  ............................

13) x2  5x  24  ............................ 14) x2  4x  32  ............................

15) x2  2 x  24  ............................ 16) x2  3x  40  ............................

17) x2  3x  54  ............................ 18) x2  x  6  ............................

19) x2  4 x  21  ............................ 20) x2  7 x  60  ............................


4
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

1.5 เมื่อพหุ นาม ax2  bx  c และ a , b , c เป็ นจานวนเต็ม


แยกตัวประกอบโดยนา ax 2 และ c มาแยกตัวประกอบใส่วงเล็บแล้วตรวจสอบค่า ของ b และ c

ax2  bx  c   mx  k  nx  r 
เมื่อ a  mn , c  kr และ b  mr  kn

ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของพหุ นามในแต่ละข้อต่ อไปนี้


1) 2x2  3x  1

2) 3x2  4 x  1

3) 2x2  5x  2

4) 2 x2  5x  2

5) 2x2  5x  3
5
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

6) 3x2  2x  5

7) 2x2  5x  3

8) 2 x2  x 1

9) 3x2  4x 15

10) 4 x2  4x  15

11) 6x2  13x  15

12) 4x2  8x  3
6
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

13) 6x2  13x  6

14) 8x2  10x  3

15) 12x2  x  6

16) 12 x2  3x  15

17) 18x2  3x 10

โดยวิธีทาให้ เป็ นกาลังสองสมบูรณ์


18) 2 x2  10 x  5 = 19) 2 x2  5x  3 =
7
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

20) 3x2  x  2 = 21) 3 12 x  2 x2

22) 1  x  2 x2 =

2. พหุนามดีกรีสูงกว่ าสอง
เมื่อ A และ เป็ นพหุ นาม เรี ยกพหุ นามที่อยู่ในรู ป
B
A3  B3 ว่า ผลบวกกาลังสาม
และเรี ยก A3  B3 ว่า ผลต่างกาลังสาม
ซึ่งแยกตัวประกอบได้ดงั นี้
1. A3  B3   A  B   A2  AB  B2 
2. A3  B3   A  B   A2  AB  B2 
8
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

ตัวอย่างที่ 6 จงแยกตัวประกอบของพหุ นามในแต่ ละข้อต่อไปนี้

1) x3  27 =

2) x3  64 =

3) 8x3  27

4) 27 x3  8 =

5) 64 y3 125x3 =

6)  5x  23   2 x  53 =

7)  4 x  13   x  43 =
9
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

8) x 4  16 =

9) y4  9 =

3. การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้ ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ทฤษฎีบทเศษเหลือ
ถ้าหารพหุ นาม P( x) ด้วยพหุ นาม xc ที่ c เป็ นค่าคงตัว แล้วจะได้เศษเหลือเท่าก ับ P (c )

ตัวอย่างที่ 1 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร x3  5 x 2  x  7 ด้วย x 1

ตัวอย่างที่ 2 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร x3  2 x2  16 x  32 ด้วย x2

ตัวอย่างที่ 3 จงใช้ทฤษฎีบทเศษเหลือหาเศษที่เหลือจากการหาร x3  8x2  19 x 12 ด้วย x 1


10
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

ถ้าเศษเหลือจากการพหุ นาม P( x) ด้วย x  c เท่าก ับ 0 แล้ว จะได้ว่า


1. x  c หาร P( x) ลงตัว
2. x  c เป็ นตัวประกอบหนึ่งของ P( x)
3. P( x)   x  c  Q( x) เมื่อ Q( x) เป็ นผลหารซึ่งมีดีกรี นอ้ ยกว่า P( x) อยู่ 1

ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของ x3  8x2  19 x 12

ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของ x3  4 x2  11x  30

ตัวอย่างที่ 6 จงแยกตัวประกอบของ x3  19 x  30
11
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

ตัวอย่างที่ 7 จงแยกตัวประกอบของ x4  2 x3  17 x2  18x  72

4. สมการพหุนาม
4.1. สมการพหุนามกาลังสอง
สมการพหุ นามกาลังสองตัวแปรเดียวที่มี x เป็ นตัวแปรมีรูปทัว่ ไปเป็ น ax2  bx  c  0
เมื่อ a , b , c เป็ นค่าคงตัว และ a  0 สามารถทาได้ดงั นี้

กรณีที่ 1 แยกตัวประกอบได้ ง่าย


ตัวอย่างที่ 1 จงแก ้สมการในแต่ละข้อต่ อไปนี้
1) x2  5x  0 2) x 2  3x  4  0

3) x2  x  6 4) x2  4 x  6  x

5) 3x2  x  2 6)  x  22  5
12
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

7)  2 x  12   x  12  8

8) 3x  x  2  x  x  2  6  0

9) 4  x  12   x  22

10)  x  12  3  0
13
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

กรณีที่ 2 แยกตัวประกอบได้ ยาก


1) อาจใช้วิธีทาให้เป็ นกาลังสองสมบูรณ์ แล้วใช้ผลต่างกาลังสองมาช่วยในการแยกตัวประกอบ

ตัวอย่างที่ 2 จงแก ้สมการในแต่ ละข้อต่อไปนี้


1) x2  4x  3  0

2) x2  2 x  2  0

3) x2  2 x  2

4) x2  2 x  6  5  x
14
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

2) ใช้สูตร
b  b 2  4ac
จากสมการกาลังสอง ax2  bx  c  0 จะได้ว่า x
2a
b
1) ถ้า b2  4ac  0 แล้วสมการมีคาตอบเดียว คือ x  
2a
2) ถ้า b  4ac  0 แล้วสมการมีคาตอบเป็ นจานวนจริง
2

3) ถ้า b2  4ac  0 แล้วสมการไม่ มคี าตอบหรื อมีคาตอบเป็ นจานวนจินตภาพ

ตัวอย่างที่ 3 จงแก ้สมการสมการในแต่ละข้อต่ อไปนี้


1) x 2  2x  5  0 2) 2x 2  3x  1

3) x 2  3x  7  4  x 4) 2x2  x  4  x2  3x

5) x2  x  1  x  4 6) x 2  5x  6  5  2 x  x 2
15
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

1
ตัวอย่างที่ 4 ถ้า x เป็ นรากของสมการ ax 2  7 x  3  0 แล้ว รากอีกรากหนึ่งของสมการนี้
2
มีค่าเท่าก ับข้อใดต่อไปนี้
ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4

2
ตัวอย่างที่ 5 ถ้า x เป็ นคาตอบของสมการ 3x2  ax  10  0 แล้ว คาตอบอีกคาตอบหนึ่งของสมการนี้
3
มีค่าเท่าก ับข้อใดต่อไปนี้
ก. 5
ข. 3
ค. 3
ง. 5

3 1
ตัวอย่างที่ 6 ถ้า และ  เป็ นรากของสมการ ax2  bx  6  0 แล้ว ab มีค่าเท่าก ับข้อใดต่อไปนี้
2 2
ก. 4
ข. 8
ค. 16
ง. 32

ตัวอย่างที่ 7 ค่าของ c ที่ทาให้ 2 x2  4 x  c 1  0 มีคาตอบเดียวตรงก ับข้อใดต่อไปนี้


ก. 4
ข. 3 และ 2
ค. 3
ง. 0 และ 1
16
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

5. โจทย์ ปัญหาเกีย่ วกับสมการกาลังสอง


ขั้นตอนการแก ้ปั ญหา
1. สมมติตวั แปรแทนที่แทนสิ่งที่โจทย์ต ้องการหา
2. นาข้อมูลที่ได้จากโจทย์มาเขียนเป็ นประโยคสัญลักษณ์
3. แก ้สมการกาลังสอง

ตัวอย่างที่ 1 รู ปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารู ปหนึ่งมีดา้ นยาวยาวกว่าด้านกว้าง 6 เซนติเมตร และมีพ้ืนที่เท่าก ับ 216 ตารางเซนติเมตร


จงหาความยาวของเส้นรอบรู ปของรู ปสี่เหลี่ยมรู ปนี้

ตัวอย่างที่ 2 ส่วนของเส้นตรงเส้นหนึ่งยาว 6 เซนติเมตร ถ้าแบ่งส่วนของเส้นตรงนี้ ออกเป็ นสองส่วน ให้ส่ว นหนึ่งเท่า ก ับ


กาลังสองของอีกส่วนหนึ่ง จงหาความยาวของส่วนที่ส้ นั

ตัวอย่างที่ 3 รู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC มีดา้ นประกอบมุมฉาก AB และ BC ยาว x  9 นิ้ว และ x3 นิ้ว
ตามลาดับ และด้านตรงข้ามมุมฉากยาว 30 นิ้ว รู ปสามเหลี่ยมมุมฉากนี้มีพ้นื ที่ กตี่ ารางนิ้ว
17
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

ตัวอย่างที่ 4 สนามหญ้าแห่ งหนึ่งกว้าง 10 เมตร ยาว 12 เมตร รอบนอกของสนามมีถนนกว้างเท่าๆก ันทั้งสี่ดา้ น ถ้า พื้นที่
ของถนนเป็ น 104 ตารางเมตร จงหาว่าถนนนี้ กว้างกีเ่ มตร

ตัวอย่างที่ 5 นักเรี ยนกลุ่มหนึ่งรวมเงินเพื่อซื้ออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ ราคา 1,400 บาท แต่ปรากฏว่ามีนกั เรี ยนในกลุ่มนี้


ถอนตัวออกจากกลุ่มไป 5 คน พวกที่เหลือจึงต้องเพิ่มเงิ นอีกคนละ 5 บาท จงหาว่าเดิมนักเรี ยนกลุ่มนี้ มีกคี่ น

ตัวอย่างที่ 6 บ่อน้ ารู ปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามีพ้นื ที่ 600 ตารางเมตร และมีความยาวรอบของบ่อเท่าก ับ 100 เมตร
จงหาความกว้างและความยาวของบ่อแห่ งนี้
18
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

ตัวอย่างที่ 7 ถังใบหนึ่งมีท่อเปิ ดน้ าเข้า 2 ท่อ ท่อใหญ่จ่ายน้ าเข้าเต็มถังเร็ว กว่าท่อเล็ก 18 นาที ถ้าเปิ ด 2 ท่อพร้อมกนั
น้ าจะเต็มถังในเวลา 12 นาที ถ้าเปิ ดท่อใหญ่ท่อเดียวจะใช้เวลานานกีน่ าทีน้ าจึงจะเต็มถัง
ก. 12 นาที
ข. 16 นาที
ค. 18 นาที
ง. 20 นาที

ตัวอย่างที่ 8 รถไฟขบวนหนึ่งแล่นในระยะทาง 180 กิโลเมตร หลังจากแล่นได้ครึ่ งทางในอัตราเร็วคงที่ เกิดเหตุการณ์


ทาให้ตอ้ งลดความเร็วลงชัว่ โมงละ 5 กิโลเมตร ทาให้ถึงปลายทางช้าไป 15 นาที เดิมรถไฟแล่นได้ชวั่ โมงละ
กีก่ โิ ลเมตร
ก. 40
ข. 45
ค. 50
ง. 60

ตัวอย่างที่ 9 นักเรี ยนกลุ่มหนึ่งมี 8 คน ตกลงก ันจะออกเงิ นซื้ อต้นไม้ตน้ หนึ่งราคา 300 บาท มาปลูกในโรงเรี ยน
ตามโครงการสวนสวยโรงเรี ยนงาม โดยนักเรี ยนชายและหญิงออกเงินฝ่ ายละครึ่ งแต่นักเรี ยนชายออกเงิน
มากกว่านักเรี ยนคนละ 20 บาท ดังนั้นนักเรี ยนกลุ่มนี้ มีผหู ้ ญิงมากกว่าผูช้ ายกีค่ น
ก. 1 คน
ข. 2 คน
ค. 3 คน
ง. 4 คน
19
โรงเรียนอุทกวิทยาคม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ปีการศึกษา 2557 ครูเสวตร

ตัวอย่างที่ 10 รถไฟขบวนหนึ่งแล่นออกจากสถานีกรุ งเทพมหานครไปยังสถานีปลายทาง คนขับรถพบว่า ถ้าเพิ่มความ


เร็วจากความเร็วปกติชวั่ โมงละ 6 กิโลเมตร จะถึงสถานีปลายทางเร็วขึ้น 3 นาที แต่ ถา้ ลดความเร็วจากความเร็วปกติ
ชัว่ โมงละ 5 กิโลเมตร จะถึงสถานีปลายทางช้าลง 3 นาที ระยะทางจากสถานีกรุ งเทพมหานคร ไปยังสถานีปลายทาง
ของรถไฟขบวนนี้ เท่าก ับกีก่ โิ ลเมตร(สมาคมฯ 2557)

ตัวอย่างที่ 11 ชาย 2 คนขี่จกั รยานด้วยความเร็ว 10 ไมล์ต่อชัว่ โมง วงล้อรถจักรยานคันหนึ่งยาวกว่าอีกคันหนึ่ง


8 นิ้ว วงล้อใหญ่หมุนช้า กว่าวงล้อเล็ก 1 รอบใน 5 วินาที จงหาความยาวของวงล้อจักรยาน 2 คันนี้
(กาหนดให้ 1 ไมล์ เท่าก ับ 1760 หลา และ 1 หลา เท่าก ับ 3 ฟุต )

You might also like