สารละลาย-ม 1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

สารละลาย; ม.

1. สารละลายจัดเป็นสารประเภทใด

1. สารเนื้อเดียว 2. สารเนื้อผสม

3. สารบริสุทธิ์ 4. คอลลอยด์

2. ข้อใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง

ก. สารละลายประกอบด้วย ตัวทาลายและตัวถูกละลาย

ข. สารละลายมีได้ทั้งสถานะ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส

โดยตัวถูกละลายต้องมีเพียงชนิดเดียว

ค. ถ้าสารที่มาละลายรวมกันมีสถานะเหมือนกัน สารที่มีปริมาณมากกว่า

ถูกจัดเป็นตัวทาละลาย ปริมาณน้อยกว่าเป็นตัวถูกละลาย

ง. ถ้าสารที่มาละลายรวมกันมีสถานะต่างกัน สารทีม
่ ีสถานะเหมือนสารละลาย

ถูกจัดเป็นตัวทาละลาย สารที่สถานะต่างจากสารละลายถูกจัดเป็นตัวถูกละลาย

1. ก,ข 2. ก,ข,ค 3. ก,ค,ง 4. ถูกทุกข้อ

3. สารละลายชนิดหนึ่งประกอบด้วยสาร 3 ชนิดดังนี้

สาร A 40 % สาร B 30 % สาร C 30 %

ถ้าสาร A , B , C มีสถานะเหมือนกัน สารใดเป็นตัวทาละลาย

1. สาร A 2. สาร B 3. สาร C 4. สาร B,C

4. น้าอัดลม มีสารใดเป็นตัวทาละลาย

1. น้า 2. น้าตาล 3. สี 4. CO2

5. ข้อใดไม่ใช่สารละลาย

1. ทองเหลือง 2. ทองแดง 3. ทองขาว 4. ทองสาริด

~1~
6. ข้อใดมีทองแดงเป็นส่วนประกอบมากที่สด

1. ทองเหลือง 2. ทองสาริด 3. พิวเตอร์ 4. ทองขาว

7. อากาศรอบตัวเรามีแก๊สใดเป็นตัวทาละลาย

1. ไนโตรเจน (N2) 2. ออกซิเจน (O2)

3. อาร์กอน (Ar) 4. คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)

8. ความเข้มข้นของสารละลายคือ

1. การบอกปริมาณตัวถูกละลายที่มีอยู่ในสารละลาย

2. การบอกปริมาณตัวถูกละลายที่มีอยู่ในตัวทาละลาย

3. การบอกปริมาณตัวทาละลายที่มีอยู่ในสารละลาย

4. ถูกทั้ง 1,2

9. ข้อความใดกล่าวถึง น้าเกลือความเข้มข้นร้อยละ 5 โดยมวลต่อปริมาตร ได้ถก


ู ต้อง

1. มีเกลือมวล 5 กรัม ละลายอยู่ในน้าเกลือปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร

2. มีเกลือมวล 5 กรัม ละลายอยู่ในน้าปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร

3. มีเกลือมวล 5 กรัม ละลายอยู่ในน้าเกลือปริมาตร 95 ลูกบาศก์เซนติเมตร

4. มีเกลือมวล 5 กรัม ละลายอยู่ในน้าปริมาตร 95 ลูกบาศก์เซนติเมตร

10. ข้อความใดกล่าวถึง สารละลายเอทานอล ความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยปริมาตร

ได้ถก
ู ต้อง

1. มีเอทานอลมวล 15 g ละลายในสารละลายเอทานอลปริมาตร 100 cm3

2. มีเอทานอลปริมาตร 15 cm3 ละลายในสารละลายเอทานอลปริมาตร 100 cm3

3. มีเอทานอลปริมาตร 15 cm3 ละลายในน้าปริมาตร 85 cm3

4. ถูกทั้ง 2 และ 3

~2~
11. ข้อความใดกล่าวถึง สารละลายน้าตาล ความเข้มข้นร้อยละ 10 โดยมวล ได้ถก
ู ต้อง

1. มีน้าตาลมวล 10 g ละลายในสารละลายน้าตาลมวล 100 g

2. มีน้าตาลมวล 10 g ละลายในน้ามวล 90 g

3. มีน้าตาลมวล 10 g ละลายในสารละลายน้าตาลปริมาตร 100 cm3

4. ถูกทั้ง 1 และ 2

12. สารละลายเข้มข้น มีความหมายตรงกับข้อใดต่อไปนี้

1. สารละลายที่มีตว
ั ถูกละลายอยู่น้อย

2. สารละลายที่มีตวั ถูกละลายอยู่มาก

3. สารละลายที่มีตว
ั ถูกละลายได้มากที่สุด จนไม่สามารถละลายได้ ณ อุณหภูมินั้นๆ

4. สารละลายที่มีตว
ั ถูกละลายจานวนหนึ่ง ยังรับตัวถูกละลายเพิ่มได้ ณ อุณหภูมินั้นๆ

13. ความเข้มข้นสารละลายในหน่วย ppm (part per million) หมายถึง

1. การบอกปริมาณตัวถูกละลายในสารละลาย 1,000 ส่วน

2. การบอกปริมาณตัวถูกละลายในสารละลาย 1,000,000 ส่วน

3. การบอกปริมาณตัวทาละลายในสารละลาย 1,000,000 ส่วน

4. การบอกปริมาณตัวถูกละลายในสารละลาย 1,000,000,000 ส่วน

14. ในการเตรียมสารละลายเกลือแกง เข้มข้นร้อยละ 10.5 โดยมวลต่อปริมาตร จานวน


200 cm3 จะต้องเตรียมโดยการ ชั่งเกลือแกงมวล...............กรัม เติมน้ากลั่นลงไปละลาย

เกลือแกงจนกระทัง่ ได้...................................ปริมาตร 200 cm3

15. ในการเตรียมสารละลายเอทานอล เข้มข้นร้อยละ 50 โดยปริมาตร จานวน 250 cm3


จะต้องเตรียมโดยการ ตวงเอทานอลปริมาตร..........cm3 เติมน้ากลัน
่ ลงไปอีก............ cm3

จนกระทั่งได้ สารละลายเอทานอล ปริมาตร 250 cm3

~3~
16. น้าเกลือเข้มข้นร้อยละ 5 โดยมวลต่อปริมาตรจานวน 300 cm3 มีมวลเกลืออยู่เท่าใด

1. 5 g 2. 10 g 3. 15 g 4. 20 g

17. สารละลายน้าตาล 15% W/V จานวน 400 cm3 มีน้าตาลมวลกี่กรัมละลายอยู่

1. 15 g 2. 30 g 3. 45 g 4. 60 g

18. สารละลายน้าตาล 500 cm3 มีน้าตาลละลายอยู่ 40 g ละลายอยู่ อยากทราบว่า


สารละลายน้าตาลนี้ มีความเข้มข้นร้อยละเท่าใดโดยมวลต่อปริมาตร

1. 0.8 2. 8 3. 12.5 4. 13.5

19. สารละลายน้าเกลือ 200 cm3 มีเกลือละลายอยู่ 6 g ละลายอยู่ อยากทราบว่าสารละลาย


น้าเกลือนี้ มีความเข้มข้นร้อยละเท่าใดโดยมวลต่อปริมาตร

1. 0.03 2. 0.3 3. 3 4. 30

20. สารละลายจุนสีความเข้มข้น 12% โดยมวลต่อปริมาตร จานวน X cm3 มีจุนสีละลายอยู่

48 g จงหาว่า X มีค่าเท่าใด

1. 200 2. 400 3. 600 4.800

21. สารละลายด่างทับทิมความเข้มข้น 6% โดยมวลต่อปริมาตร จานวน X cm3 มีด่างทับทิม

ละลายอยู่ 30 g จงหาว่า X มีค่าเท่าใด

1. 100 2. 200 3. 500 4. 1,000

22. ถ้าตวงเกลือปริมาตร 50 cm3 ละลายลงในน้าอุ่น 200 cm3 สารละลายที่ได้มีความ


เข้มข้นเท่าใด

1. 4 % โดยมวลต่อปริมาตร 2. 20 % โดยมวลต่อปริมาตร

3. 4 % โดยปริมาตร 4. 20 % โดยปริมาตร

23. โลหะผสมชนิดหนึ่งทาด้วยทองแดง 75 % กับนิกเกิล 25 % โดยมวล ในโลหะผสม


จานวน 300 กรัม จะมีปริมาณทองแดงและนิกเกิลกีก
่ รัม ตามลาดับ

1. 225 , 75 2. 75 , 225 3. 60 , 20 4. 20 , 60

~4~
24. กระบวนการละลาย ประกอบด้วยขั้นตอนใดบ้าง

ก. ดูดพลังงานเข้าไป เพื่อแยกโมเลกุลตัวทาละลายออกจากกัน

ข. ดูดพลังงานเข้าไป เพื่อแยกโมเลกุลตัวถูกละลายออกจากกัน

ค. ดูดพลังงานเข้าไป เพื่อรวมโมเลกุลตัวทาละลายและตัวถูกละลายเข้าด้วยกัน

ง. คายพลังงานออกมา เพื่อรวมโมเลกุลตัวทาละลายและตัวถูกละลายเข้าด้วยกัน

1. ก,ข 2. ก,ค 3. ก,ข,ค 4. ก,ข,ง

25. ข้อใดกล่าวถึงการละลายแบบคายความร้อนได้ถก
ู ต้อง

1. พลังงานทีค
่ ายออกมา เพื่อแยกโมเลกุลตัวทาละลายและตัวถูกละลายน้อยกว่า
พลังงานทีด
่ ด
ู เข้าไป เพื่อยึดเหนี่ยวโมเลกุลตัวถูกละลายกับตัวทาละลาย

2. พลังงานทีค
่ ายออกมา เพื่อแยกโมเลกุลตัวทาละลายและตัวถูกละลายมากกว่า
พลังงานทีด
่ ด
ู เข้าไป เพื่อยึดเหนี่ยวโมเลกุลตัวถูกละลายกับตัวทาละลาย

3. พลังงานทีด
่ ด
ู เข้าไป เพื่อแยกโมเลกุลตัวทาละลายและตัวถูกละลาย น้อยกว่า
พลังงานทีค
่ ายออกมา เพื่อยึดเหนี่ยวโมเลกุลตัวถูกละลายกับตัวทาละลาย

4. พลังงานทีด
่ ด
ู เข้าไป เพื่อแยกโมเลกุลตัวทาละลายและตัวถูกละลาย มากกว่า
พลังงานทีค
่ ายออกมา เพื่อยึดเหนี่ยวโมเลกุลตัวถูกละลายกับตัวทาละลาย

26. ข้อใดเป็นปัจจัยทีม
่ ีผลต่อการละลายของสาร

1. ชนิดสาร 2. อุณหภูมิ 3. ความดัน 4. ถูกทุกข้อ

27. ถ้าตัวถูกละลายมีสถานะเป็นของแข็ง การกระทาในข้อใดที่เพิ่มการละลายได้มากที่สุด

1. บดตัวถูกละลายเป็นผงขนาดเล็ก

2. บดตัวถูกละลายเป็นผงขนาดเล็ก และใช้แท่งแก้วคนเพิ่ม

3. ใช้ตัวถูกละลายเป็นก้อนขนาดใหญ่

4. ใช้ตัวถูกละลายเป็นก้อนขนาดใหญ่ และใช้แท่งแก้วคนเพิ่ม

~5~
28. ค่าพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการละลายของสาร เป็นดังนี้

สาร พลังงานแลตทิซ (kJ/mol) พลังงานไฮเดรชัน


่ (kJ/mol)
A 550 590
B 750 745
C 700 690
ถ้านาสารแต่ละตัวจานวนโมลเท่ากัน ไปละลายในน้า 1,000 cm3 การเปรียบเทียบอุณหภูมิ
ของสารละลายข้อใดถูกต้อง

1. A>B>C 2. C>B>A 3. B>C>A 4. A>C>B

29. จากข้อมูลต่อไปนี้

ชนิดสาร สภาพการละลายได้เป็นกรัม ในน้า 100 กรัม ณ อุณหภูมต


ิ า่ งๆ (OC)
0 20 60 100
A 35.7 36.0 37.3 39.2
B 74.0 87.6 122.0 180.0
C 13.9 31.6 106.0 245.0
D 1.5 1.3 1.0 0.7
สภาพละลายได้ของสารใดจะเพิ่มขึ้น ถ้าอุณหภูมล
ิ ดลง

1. A 2. B 3. C 4. D

30. จากข้อ 29 ข้อใดถูกต้อง

1. นาสาร A จานวน 75 กรัม ละลายในน้า 200 กรัม ที่ 20oC จะละลายได้หมดพอดี

2. นาสาร B จานวน 75 กรัมละลายในน้า 100 กรัม ที่ 20oC จะเหลือตะกอน 1 กรัม

3. นาสาร C จานวน 245 กรัมละลายในน้า 100 กรัมที่ 100oC แล้วลดอุณหภูมล


ิ ง

เหลือ 60oC จะคายผลึกออกมา 106 กรัม

4. นาสาร D จานวน 13 กรัม ละลายน้า 1,000 กรัม ที่ 20oC จะเกิดสารละลายอิม


่ ตัว

~6~

You might also like