Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 52

การฝึกอบรมหลักสูตร

“การจัดการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง”

โดย ศูนย์ศึกษาการพัฒนาที่ยั่งยืนและเศรษฐกิจพอเพียง
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
มีนาคม – พฤษภาคม 2562
2
เป้าหมายการเรียนรู้ของหลักสูตร

1 เข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและนาไปใช้ได้ในชีวิตประจาวัน

2 บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการเรียนรู้

3 เชื่อมโยงการจัดการเรียนรู้กับโครงการประชารัฐ SCG และชุมชน


3
หลักสูตรฝึกอบรม
“การจัดการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง”
(3 กิจกรรม รวม 30 ชั่วโมง)
• 2 วัน 14 ชั่วโมง (บรรยาย ถาม-ตอบ ใบงาน)
1. ฝึกอบรม • เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการ
นา ปศพพ. ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้

 ปฏิบัติการ 4 ชั่วโมง (บุคคล/กลุ่ม)


2. ทำชิ้นงำน  จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะ
อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง 1 แผน

• ปฏิบัติการ 12 ชั่วโมง (พ.ค. – ส.ค.)


3. ฝึกปฏิบัติ • จัดกิจกรรมการเรียนรู้จริงตามแผน และ
บันทึกการสอน
กาหนดการฝึกอบรม 4
“การจัดการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง”
9 รุ่น 20 โรงเรียน 400 คน ระหว่างมีนาคม – พฤษภาคม 2562
วันที่ 1 ของการฝึกอบรม
08.30 – 9.00 พิธีเปิด พิธีการ
9.00 – 12.00 เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บรรยาย
การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ บรรยาย ถามตอบ
13.00 – 17.00
การจัดการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ อภิปราย ทาใบงาน
วันที่ 2 ของการฝึกอบรม
8.30 – 9.00 ทบทวนการเรียนรู้ ถามตอบ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ บรรยาย ถามตอบ
9.00 – 12.00
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ฐานการเรียนรู้ อภิปราย ใบงาน
แนวทางการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะอุปนิสัย แบ่งกลุ่มทาชิ้นงาน
13.00 -16.00
อยู่อย่างพอเพียง เชื่อมโยงกับโครงการประชารัฐ SCG และชุมชน วางแผนร่วมกัน
16.00 – 17.00 มอบหมายงาน และนัดหมายวัน วิทยากรพี่เลี้ยงลงพื้นที่ ถาม ตอบ
5

เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง :
ความเป็นมา ความหมาย การประยุกต์ใช้
6
พระบรมราโชวาท พระราชดารัสที่เกี่ยวข้อง

• พัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
2516-17 • คนส่วนใหญ่ พออยู่พอกิน

• วิกฤตเศรษฐกิจ –> เศรษฐกิจแบบพอเพียง


2540-42 • พอประมาณ ไม่โลภอย่างมาก ก็มีความสุข

• คานิยาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
2542-44 • ๒ เงื่อนไข ๓ ห่วง สมดุล ๔ มิติ
7
พื้นฐานของการพัฒนาประเทศ
“...ในการพัฒนาประเทศนั้นจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้นตอน
เริ่มด้วยการสร้างพื้นฐาน คือความมีกินมีใช้ของประชาชนก่อน
ด้วยวิธีการที่ประหยัดระมัดระวัง แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อ
พื้นฐานเกิดขึ้นมั่นคงพอควรแล้ว จึงค่อยสร้างเสริมความเจริญให้
ค่อยเป็นค่อยไปตามลาดับ ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง และ
ประหยัดนั้น ก็เพื่อป้องกันความผิดพลาดล้มเหลว และเพื่อให้
บรรลุผลสาเร็จได้แน่นอนบริบูรณ์...”
พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 19 กรกฎาคม 2517
เรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 8

จากพระราชดารัส
9

พระราชดารัส “เศรษฐกิจพอเพียง”
“…คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย
เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย
... ถ้าทุกประเทศมีความคิด - อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ -
มีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า
พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข.
พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้
แต่ว่าต้องไม่ไปเบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ
พูดจาก็พอเพียง ทาอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง…”
พระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย 4 ธันวาคม 2541
10

ความจาเป็นที่ต้องมี คาจากัดความของ
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
เพื่อให้เข้าใจตรงกัน และมีทิศทางเดียวกันใน
การนาไปใช้เป็นแนวทางพัฒนาในระดับต่างๆ
11

11

สาเนาหนังสือ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ
ดุลยเดช บรมนาถบพิตร
พระราชทานพระบรมราชานุญาต
ให้เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(29 พฤศจิกายน 2542)
(หนังสือตามรอยพ่อ : หน้า ค)
12
องค์ประกอบของ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไป
ในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
หลักการ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็น
ที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
เงื่อนไขพื้นฐาน (คุณธรรมนาความรู้) จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ
ระมัดระวัง อย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และการดาเนินการทุก
ขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะ
เจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์
สุจริต และให้มีความรอบรูท้ ี่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา
และความรอบคอบ
เป้าหมาย เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลีย่ นแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
ทั้งทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
13
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เป็นหลักในการบริหารจัดการ ที่นาไปสู่ความสาเร็จและการพัฒนาที่ยั่งยืน

วัตถุ/เศรษฐกิจ
ความรู้
Knowledge
พอประมาณ Economy
สังคม
Society
มีเหตุผล สิ่งแวดล้อม
คุณธรรม Environment
Virtues
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี วัฒนธรรม
Culture
หลักในการวางแผน
คนมีคุณภาพ และตัดสินใจ พัฒนาให้ก้าวหน้าไปอย่างสมดุล
และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
Quality Foundations Management Principles Sustainable Well-being
14
เงื่อนไขของความสาเร็จ : คนที่มีคุณภาพ
การทางานใดๆ ที่มุ่งให้ประสบผลสาเร็จอย่างราบรื่น
แต่ละบุคคลจาเป็นต้องใช้ความรู้ควบคู่กับคุณธรรมเป็นพื้นฐาน

ความรู้ คุณธรรม
มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจ
ที่เกี่ยวข้อง + ใช้ความรอบคอบที่จะ
ให้ตระหนักในคุณธรรม
นาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้
เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน มีความซื่อสัตย์สุจริต และมี
+ และระมัดระวังใน ความอดทน มีความเพียร ใช้
ทุกขั้นตอนการปฏิบัติ สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
15
หลักพอเพียง คือ หลักคิดและหลักปฏิบัติในการดาเนินงาน
การตัดสินใจและการดาเนินการใดๆ จาเป็นต้องยึด
ทั้ง 3 หลักการพอเพียงทุกครั้ง เพื่อนาไปสู่ความสาเร็จ

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี


 พอเหมาะพอดีกับอัตภาพ รู้สาเหตุทาไม / เพราะเหตุใด  เตรียมความพร้อมรับการ
(ปัจจัยภายใน) รูป้ ัจจัยที่เกี่ยวข้องวิชาการ เปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
 สอดคล้องกับภูมิสังคม กฎหมาย ความเชื่อ ประเพณี
รูผ้ ลกระทบที่จะเกิดขึ้นใน  วางแผน รอบคอบ
(ปัจจัยภายนอก)
 ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า ด้านต่างๆ กว้างแคบใกล้ไกล ไม่ประมาท เพื่อป้องกัน
ถูกต้องตามหลักวิชาการ อันตรายหรือปัญหาที่
อาจจะเกิดขึ้น
16
เป้าหมาย=มุ่งให้เกิดความสมดุล+มั่นคงใน 4 มิติ ยั่งยืน
การทางานทุกอย่างควรมุ่งให้เกิดความสมดุลและ
พร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
วัตถุ/เศรษฐกิจ สังคม
เห็นคุณค่า และใช้ วัตถุ สิ่งของ เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
เงินทอง ทรัพยากรที่มีอยู่ โดยไม่เบียดเบียนกัน
อย่างประหยัด คุ้มค่า สมดุลและพร้อมรับ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน
ต่อการ
วัฒนธรรม เปลี่ยนแปลง
สิ่งแวดล้อม
เห็นคุณค่าและร่วมอนุรักษ์วัฒนธรรม
มีจิตสานึก รู้วิธีการ และมีส่วนร่วม
ค่านิยม เอกลักษณ์ท้องถิ่น
ในการอนุรักษ์ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
ความเป็นไทย
17
การพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก(สหประชาชาติ)
มุ่งให้เกิดความสมดุล มั่นคง และยั่งยืน
มุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมรับ 2030 AGENDA : 17 SDGs (193 ประเทศ)
การเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ล่าสุด ไทยเป็นอันดับ 59 จาก 156 ประเทศ

วัตถุ/
เศรษฐกิจ สังคม

สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
18

ใบงานคู่ - ถอดบทเรียน ปศพพ.


19

กิจกรรมคู่ การถอดบทเรียน
การใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Think Pair Share


ใบงานที่ 1 จับคู่เรียนรู้ แบ่งปัน ความคิด
เลือกกิจกรรมที่ ช่วยกันถอดบทเรียน
สนใจร่วมกัน ปศพพ. บันทึกในใบงาน ในที่ประชุม
20
วงจรเรียนรู้ “คิด-พูด-ทา อย่างพอเพียง”

ถอด
บทเรียน หลักการ/
ปฏิบัติ ทฤษฎี
นาไปใช้
21
ตัวอย่างการใช้จ่ายอย่างพอเพียง
ประกอบอาชีพที่สุจริต ด้วยความขยันหมั่นเพียร
คุณธรรมนาความรู้ ใช้สติปัญญาในการทามาหาเลี้ยงชีพ รวมถึงการใช้จ่าย และ
การลงทุน อดออม แบ่งปัน ทาบุญ

พอประมาณ รายจ่ายสมดุลกับรายรับ / ใช้ของอย่างคุ้มค่าประหยัด


มีเหตุมีผล ใช้จ่ายอย่างมีเหตุผล / ตามความจาเป็น
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีเงินออม /แบ่งปันผู้อื่น /ทาบุญ
 มีรายได้เลี้ยงดูตนเองและครอบครัว ไม่ขัดสน
สมดุลและพร้อมรับ  มีครอบครัวที่อบอุ่น ชุมชนเข้มแข็ง สามัคคี ช่วยเหลือกัน
การเปลี่ยนแปลงใน  อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ร่มรื่น สะอาด ปลอดภัย
4 มิติ  ภูมิใจในรากเหง้าทางวัฒนธรรม ร่วมสืบสานประเพณีต่างๆ
22
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กับ ทฤษฎีใหม่
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่
ทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ

ความพอเพียง
ระดับประเทศ เศรษฐกิจ ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 3
พอเพียง
ความพอเพียง แบบก้าวหน้า ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 2
ระดับชุมชน/องค์กร

ความพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ทฤษฎีใหม่ขั้นที่ 1


ระดับบุคคล/ครอบครัว แบบพื้นฐาน
23
เกษตรทฤษฎีใหม่ กับหลักเศรษฐกิจพอเพียง
 ประกอบอาชีพที่สุจริต ด้วยความขยันหมั่นเพียร อดทน
คุณธรรม ซื่อสัตย์
กากับความรู้  ใช้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับ การจัดการดิน การจัดการน้า
พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ การทาบัญชี ต่างๆ
พอประมาณ จัดการพื้นที่สมดุลกับแรงงานในครอบครัว / ใช้จ่ายสมฐานะ
มีเหตุผล ใช้เหตุผลในการวางผังแบ่งพื้นที่เพื่อให้สัตว์/พืชเติบโตเอื้อต่อกัน
มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีความมั่นคงทางอาหาร ที่อยู่อาศัยปลอดภัย สุขภาพแข็งแรง

 พออยู่พอกินทั้งครอบครัว ไม่ขัดสน
สมดุลและพร้อมรับการ  มีครอบครัวที่อบอุ่น สามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
เปลี่ยนแปลง  อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ร่มรื่น ไม่ทาลายหน้าดิน
ใน 4 มิติ  อนุรักษ์พืชพื้นบ้าน สมุนไพร ภูมิปัญญาท้องถิ่น
24
การพัฒนาตามศาสตร์พระราชา ๙ สู่ความยั่งยืน
ผลที่เกิดขึ้น • สมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง
(Output/ ในด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และ
Outcomes) วัฒนธรรม
•การพัฒนาตามแนวพระราชดาริ 4000++
•พระบรมราโชวาท ฯลฯ
แนวปฏิบัติ •หลักการทรงงาน 23 ข้อ
•หลักพอเพียง (พอประมาณ + มีเหตุผล +
ภูมิคุ้มกัน)
พื้นฐาน • คุณธรรม
Foundation • ความรู้
25

การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การจัดการเรียนรู้ของ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 26

จุดหมาย เพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 ข้อ


1/5 มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง
มีวินัย และปฏิบัติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน
สังคม ได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ / ซื่อสัตย์สุจริต / มีวินัย / ใฝ่เรียนรู้ /
อยู่อย่างพอเพียง / มุ่งมั่นในการทางาน / รักความเป็นไทย / มีจิตสาธารณะ
มาตรฐานเรียนรู้ สาระสังคมฯ เศรษฐศาสตร์ ส.3.1
เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและบริโภค การใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการ
ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
27
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรมสาระเศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและ
บริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้ง
เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจ และความจาเป็นของ


การร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
แผนจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง มี 2 แบบ
 แผนจัดการเรียนรู้ฯ ส 3.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด ปศพพ. ตรงๆ
 แผนจัดการเรียนรู้ฯ ที่ครูนาหลัก ปศพพ. ไปใช้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ใน
กลุ่มสาระเรียนรู้ต่างๆ (หรือที่เรียกว่า แผนบูรณาการ ปศพพ.)
28
การจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะ “อยู่อย่างพอเพียง”
1. การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร 2551 โดยมีมาตรฐานตัวชี้วัด
ที่สอดคล้องกับหลักพอเพียง (พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดี)
เป็นเป้าหมายการเรียนรู้
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดแทรกกิจกรรมในขั้นตอนการเรียนรู้
ให้ผู้เรียนได้ฝึกคิดและปฏิบัติ (จัดการ) ตามหลักพอเพียง
การให้ผู้เรียนนาหลักพอเพียงไปใช้ในการทางาน โดยครูต้องมีบทบาทกระตุ้น
ให้ผู้เรียนคิด-พูด-ทา อย่างพอเพียง เช่น การตั้งคาถาม ก่อน/ระหว่าง/หลัง
การทางาน การออกแบบกิจกรรม หรือภาระงานชิ้นงาน เพื่อให้ผู้เรียน
สามารถนา ปศพพ. ไปใช้ในการตัดสินใจ และวางแผนในการทางาน
จนกระทั่งทาภารกิจได้สาเร็จ/สมบูรณ์
29
มาตรฐานตัวชี้วัด ส 3.1
ระดับชั้น ตัวชี้วัด
1. ระบุสินค้าและบริการที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
ป.1 2. ยกตัวอย่างการใช้จ่ายเงินในชีวิตประจาวันที่ไม่เกินตัวและเห็นประโยชน์ของการออม
3. ยกตัวอย่างการใช้ทรัพยากรในชีวิตประจาวันอย่างประหยัด
1. ระบุทรัพยากรที่นามาผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
2. บอกที่มาของรายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
ป.2
3. บันทึกรายรับ – รายจ่ายของตนเอง
4. สรุปผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้ และการออม
1.จาแนกความต้องการและความจาเป็นในการใช้สินค้าและบริการในการดารงชีวิต
ป.3 2. วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง
3. อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มีอยู่จากัดมีผลต่อการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการ
มาตรฐานตัวชี้วัด ส 3.1 (ต่อ) 30

ระดับชั้น ตัวชี้วัด
1. อธิบายความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์
2. วิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคม ซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชน
ม.1 และประเทศ
3. อธิบายความเป็นมา หลักการและความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อ
สังคมไทย
1. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการลงทุนและการออม
2. อธิบายปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการ และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการผลิตสินค้าและบริการ
ม.2
3. เสนอแนวทางการพัฒนาการผลิตในท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. อภิปรายการคุ้มครองสิทธิของตนเองในฐานะผู้บริโภค
1. อธิบายกลไกราคาในระบบเศรษฐกิจ
ม.3 2.. มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์
31
ขั้นตอนการทางาน ใบงานที่ 2
การวิเคราะห์ความสอดคล้องของตัวชี้วัดกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 แต่ละคู่เลือกตัวชี้วัด 2 แบบ แบบที่มีคาสาคัญครบ 3 หลักการพอเพียง และแบบ
ที่ไม่ครบทั้ง 3 หลักการ แบบละ 1 ตัวชี้วัด
 แต่ละคู่ช่วยกันวิเคราะห์คาสาคัญของตัวชี้วัด ในหลักสูต รแกนกลาง 2551 กับ
หลัก ปศพพ. เชื่อมโยงกับ 3 หลักการ
 ในกรณีที่คาสาคัญของตัวชี้วัดไม่ครบ 3 หลักการ ครูจะจัดการเรียนรู้อย่างไรให้
ผู้เรียนได้ฝึกคิด-พูด-ทา ให้ครบทั้ง 3 หลักการ ได้อย่างไร
 ทุกคู่นาเสนอ ตัวชี้วัดและผลการวิเคราะห์ รวมถึงแนวทางการจัดการเรียนรู้ ให้
ภายในกลุ่มฟัง เพื่อร่วมกันเลือกตัวชี้วัดทั้ง 2 ประเภท ที่จะนาเสนอในที่ประชุม
 แต่ละกลุ่มเตรียมนาเสนอตัวอย่างการวิเคราะห์ตัวชี้วัด (ที่อธิบายชัดเจนที่สุด)
32
ชิ้นงานที่ 2
วิเคราะห์ความสอดคล้องมาตรฐานตัวชี้วัดกับ ปศพพ.

แบ่งสมาชิกเป็นคู่ แต่ละคู่เลือก ช่วยกันวิเคราะห์


แต่ละคู่เลือก 1 ตัวชี้วัด / แบบ ความสอดคล้องกับ SHARE
สาระการเรียนรู้ (แบบครบ และ หลักการพอเพียง งานกลุ่ม นาเสนอ
เพื่อวิเคราะห์ แบบไม่ครบ 3 รวมถึงแนวทางการ ที่ประชุม
ตัวชี้วัด หลักการพอเพียง) จัดการเรียนรู้
เป้าหมาย นักเรียนอยู่อย่างพอเพียง 33
สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ

• ปลูกฝังให้เด็กและ • ฝึกการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
เยาวชน รู้จักใช้วัตถุ/ อย่างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่/
สิ่งของ/ทรัพยากร วัตถุ/ แบ่งปัน/ไม่เบียดเบียน
อย่างพอเพียง เศรษฐ สังคม
กิจ

วัฒน สิ่งแวด
• สร้างความภูมิใจ เห็น ธรรม ล้อม
คุณค่าของวัฒนธรรม
ค่านิยม เอกลักษณ์ • ปลูกฝังจิตสานึกรักษ์
ความเป็นไทย ธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม
34

หลักสูตรการฝึกอบรม วันที่ 2
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ฐานการเรียนรู้
35
ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580
36
พระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ผู้สาเร็จการศึกษาจาก มศว.
(19 มิย. 2522)
...การให้การศึกษานั้น กล่าวสั้นๆ โดยความหมายรวบยอด คือ การช่วยให้บุคคลค้นพบ
วิธีการดาเนินชีวิตอย่างถูกต้อง เหมาะสม ไปสู่ความเจริญ และความสุขตามอัตภาพ...
...ผู้สอนมีหน้าที่ต้องหาความรู้ และวิธีการดาเนินชีวิต มาให้ศิษย์ได้รู้ได้ทราบ เพื่อให้
สามารถเรียนรู้ต่อไป และดาเนินชีวิตต่อไปได้ดว้ ยดี จนบรรลุจุดหมาย
หากผู้สอนมีอุบายอันแยบคาย ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดทั้งในการแสวงหาความรู้ ทั้งใน
การถ่ายทอดความรู้ เกิดจากความระลึกได้ถึงในความรู้ที่ผ่านพบมาแล้ว ประกอบกับ
ความรู้ตัวและความคิดอ่านที่ว่องไวเฉลียวฉลาด ซึ่งปกติชนทุกคน จะต้องฝึกฝนให้
เกิดขึ้นได้ ไม่เกินวิสัย แล้วนามาใช้ควบเข้ากับความรู้ความถนัด ของตนให้เป็น
ประโยชน์ได้ทุกโอกาส....”
37
สถานศึกษาพอเพียง : โรงเรียนบ่มเพาะอุปนิสัย “อยู่อย่างพอเพียง”

Character-building เป็นการขับเคลื่อนหลักสูตร
เป้าหมาย
หลักสูตร 2551 การศึกษาของชาติ
ให้บรรลุเป้าหมาย

อยู่อย่าง
พอเพียง สร้างเยาวชนที่มีหลักคิดและพฤติกรรม
“Sufficiency Thinking & Behavior”
Whole school approach สถานศึกษา ในการใช้ชีวิต
สภาพแวดล้อม – วัฒนธรรม
แบบอย่าง - กิจกรรมการเรียนรู้
พอเพียง
38
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียง

การบริหารสถานศึกษา การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน


- จัดสภาพแวดล้อมที่ - กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ แนะแนว กิจกรรมนักเรียน
เอื้อต่อการเรียนรู้วิถี ชั้นปี (รายวิชาพื้นฐาน) - ให้บริการแนะแนว - ลส.-นน. ยุวกาชาด
ผู้บาเพ็ญประโยชน์
พอเพียง - จัดทาหน่วย/แผนการเรียนรู้ - ระบบดูแลช่วยเหลือ - โครงงาน - ชุมนุม
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียน - ชมรม ฯลฯ
- สร้างวัฒนธรรม
- จัดทาสื่อ/แหล่งเรียนรู้
องค์กร
- จัดทาเครื่องมือวัด/ประเมินผล
- ปลูกฝังให้เป็นวิถีชีวิต กิจกรรมเพื่อสังคม/จิตสาธารณะ
- เกณฑ์การผ่านช่วงชั้น เน้นจิตอาสา การมีส่วนร่วม
- ชุมชนสัมพันธ์ การเห็นคุณค่าของการอยูร่ ่วมกัน
39
แนวทางการนาหลักปศพพ.ไปปรับใช้ในสถานศึกษา

การบริหารจัดการ
กาหนดเป็นนโยบาย –
งานวิชาการ
งบประมาณ บุคคล
บริหารทั่วไป
การเรียนการสอน
ชุมชนสัมพันธ์ สอนวิชา “เศรษฐกิจ
พอเพียง”ตาม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
นาหลักการทรงงาน มาตรฐาน ส ๓.๑ วางแผน
มาปรับใช้ในการบริหาร ต่อยอดหรือ ใช้หลักคิด อย่าง
สถานศึกษา บูรณาการหลัก รอบคอบ
ปศพพ. กับ สาระการ พัฒนา หลักปฏิบัติที่ คานึงถึง
กิจกรรมที่ สอดคล้องกับ ความเสี่ยง
เรียนรู้ สอดคล้อง ต่างๆ
บริหารทรัพยากรตาม หลักวิชาการ
หลัก ปศพพ. มีส่วนร่วม สร้างบรรยากาศที่ กับภูมิสังคม/ อย่าง
บริบท ส่งเสริมการ
รู้รักสามัคคี ไม่ประมาท ส่งเสริมการเรียนรู้ตาม สมเหตุสมผล เรียนรู้และ
หลัก ปศพพ. คุณธรรม
40
กลยุทธ์ขับเคลื่อนเพื่อความยั่งยืน :
ทาทั้งโรงเรียน เป็นระบบ อย่างมีคุณภาพ และต่อเนื่อง

ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงด้าน เป็นพี่เลี้ยง ขยายผลได้
การศึกษา (205)

สถานศึกษาพอเพียงที่มี
ผลการปฏิบัติเป็นเลิศ (742) คงสภาพ มีคุณภาพ

สถานศึกษาพอเพียง
(23,796 = 63%) รู้แนวทาง เริ่มเห็นผล

ข้อมูล ณ มกราคม 2561


41
เป้าหมายของการขับเคลื่อน ปศพพ.

สถานศึกษา นา ปศพพ. ไปใช้ในการ ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการ


บริหารจัดการศึกษา และดาเนิน ศึกษาที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ ความ
กิจกรรม ที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน/ เข้าใจ และปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง
สังคม ตาม ปศพพ.
ภาพความ
สาเร็จ
นักเรียน มีความรู้ ทักษะ
ปฏิบัติตน และดาเนินชีวิตตาม ผู้ปกครองดาเนินชีวิต และ
ปศพพ. “อยู่อย่างพอเพียง” ชุมชนมีการพัฒนาตาม ปศพพ.
42
ตัวอย่างการออกแบบการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะอุปนิสัย “อยู่อย่างพอเพียง”

กระตุ้นให้คิด
โดยการตั้ง
คาถาม

สะท้อน/
ฝึกคิดก่อนทา/
สรุปความรู้โดย
QPAR วางแผน
ผู้เรียนเสริมเติม
รอบคอบ
เต็มโดยผู้สอน

เรียนรู้ผ่าน
สถานการณ์จาลอง/
กิจกรรมปฏิบัติจริง
43

เรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยเชื่อมโยงกับโครงการ/กิจกรรม/ฐาน
ที่ได้รับงบสนับสนุนจาก เอสซีจี
44
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ Backward Design
(Wiggins & McTighe, “Understanding by Design”)

เป้าหมาย หลักฐาน กิจกรรม


การเรียนรู้ การเรียนรู้ การเรียนรู้
(ความรู้ฝังแน่น) (การแสดงออก) (คิด พูด ทา)

ถ้าผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ => ความรู้จะเป็นความรู้ที่ฝังแน่น และความเข้าใจที่คงทน


45
การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ BwD
ชื่อแผนการเรียนรู้ ……. ระดับชั้น ….

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ 7. ชิ้นงาน / 9. กิจกรรมการเรียนรู้


เป้าหมายการเรียนรู้

หลักฐานการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้
ตัวชี้วัด ภาระงาน (QPAR, PBL,
2. สาระสาคัญ/ความคิด think-pair-
รวบยอด 8. การวัดและ share,
3. จุดประสงค์การเรียนรู้ ประเมินผล 5 steps)
4. สาระการเรียนรู้ (ตามสภาพ 10. สื่อการเรียนรู้/
5. สมรรถนะสาคัญ จริง) แหล่งเรียนรู้
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 11. เวลา
ชิ้นงาน : แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ ปศพพ. (6 องค์ประกอบ) 46
1. ผังวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ “พอเพียง”
(โครงสร้างหน่วย –แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ ปศพพ.)
2. ผังแสดงการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (BwD)
(แสดงความสอดคล้องระหว่าง เป้าหมาย – หลักฐาน - กิจกรรมการเรียนรู้)
3. กิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ หลัก ปศพพ.
4. ชุดคาถามกระตุ้นคิดเพื่อปลูกฝังหลักคิดพอเพียงในกิจกรรมการเรียนรู้ (ก่อน –ระหว่ำง- หลัง)
5. แนวทางการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
(ครูผู้สอนครูใช้หลัก ปศพพ. ในการวางแผน/ออกแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร )
6. ผลที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรุ้ที่เสริมสร้างคุณลักษณะอยู่อย่าง
พอเพียง กิจกรรมการเรียนรู้ฝึกผู้เรียนให้ปฏิบัติ (คิด พูด ทา) ตามหลักพอเพียง (พอประมาณ
มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน) อย่างไร และส่งผลให้เกิด KPA ใน 4 มิติ (วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม) อย่างไรบ้าง
7 ขั้นตอนในการเขียน 47
แผนกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง
• เลือกฐานการเรียนรู้ เนื้อหา สาระการเรียนรู้ มาตรฐานและตัวชี้วัด และระดับชั้นปี
ขั้นที่ 1 สาหรับการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง

• สร้าง “ผังโครงสร้างหน่วยการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง” และ


คัดเลือก 1 แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อนามาบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
ขั้นที่ 2 พอเพียง

• นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เลือกไว้มาออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (BwD)
ขั้นที่ 3 ประกอบด้วย เป้าหมายการเรียนรู้ หลักฐานการเรียนรู้ และ กิจกรรมการเรียนรู้

• นาหลัก ปศพพ. มาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ตารางในแผ่นที่ 5 วางแผน เพื่อให้


ขั้นที่ 4 ผู้เรียนได้สร้างหลักฐานการเรียนรู้ที่บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้
7 ขั้นตอนในการเขียน 48
แผนกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อบ่มเพาะอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง (ต่อ)
• ใช้ข้อมูลจากตารางในแผ่นที่ 5 มาจัดทานารายละเอียดกิจกรรมการเรียนรู้ในแผ่นที่ 3 และ
ชุดคาถามแผ่นที่ 4 ครูควรให้ผู้เรียนใช้หลัก ปศพพ. อย่างน้อย 1 ครั้ง ในการวางแผนหรือ
ขั้นที่ 5 การถอดบทเรียน

• วิเคราะห์คาสาคัญของตัวชี้วัดของแผน ว่าจะทาให้ผู้เรียนได้ คิด/ปฏิบัติ ได้ครบ 3 หลักการ


หรือไม่
• ถ้าครบ 3 หลักการ ให้นากระบวนการคิด/ปฏิบัติที่จะเกิดกับผู้เรียน ใส่ลงในตารางในแผ่นที่ 6
ขั้นที่ 6 / ถ้าไม่ครบ ให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้คิด/ปฏิบัติห้ครบ คาถามกระตุ้นคิด หรือ
ออกแบบหลักฐานการเรียนรู้เพิ่ม แล้วบันทึกในนแผ่น 6

• วิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนดใน แผ่นที่ 2 (BwD) ว่า


ขั้นที่ 7 สอดคล้องกับ 4 มิติใดบ้าง และนาไปบันทึก แผ่นที่ 6
สรุปการเรียนรู้ 49

ความรู้ – ถูกต้อง ชัดเจน เทคนิควิธีการจัดกิจกรรม เครื่องมือช่วยคิด


การเรียนรู้
• ปศพพ. กับการจัด • สร้างความรู/้ แลกเปลี่ยน • KM : think-pair-share
การศึกษา เรียนรู้/สรุปความรู้โดยผู้ • ใช้คาถามกระตุ้นให้คิด
• Backward Design ปฏิบัติ + เติมเต็มความรู้ ง่าย ยาก
(3 ขั้นตอน) โดยครู/วิทยากร
• สรุปรวบยอดความคิด
• มาตรฐาน ตัวชี้วัด ส 3.1 • QPAR Place-mat
เศรษฐกิจพอเพียง (กระบวนการวิจัย)
• แผนปกติ-แผนบูรณาการ • จัดหมวดหมู่ สังเคราะห์
• เน้นปฏิบัติจริง / card & chart
ปศพพ. สถานการณ์จาลอง/PBL • คิดเชื่อมโยง – mind
โครงงานสารวจ mapping / web /
• ตอกย้าซ้าทวน ทาบ่อยๆ Flowchart
กิจกรรมปฏิบัติการ 50

จัดทาแผนการจัดการเรียนรูเ้ พื่อบ่มเพาะอุปนิสยั อยู่อย่างพอเพียง 1 แผน


และปรับปรุงชิ้นงานให้สมบูรณ์ พร้อมสอน
• เลือกที่จะเขียนแผนกับเพื่อนเป็นงานกลุ่ม หรือทาเดี่ยว
• แผนการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว จะต้องมี 4 องค์ประกอบ ดังนี้
1. เชื่อมโยงกับหลักสูตรของแต่ละสถานศึกษาปี 2562
2. บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
3. เชื่อมโยงกับโครงการ/กิจกรรม/ฐาน ที่ได้รับงบสนับสนุนจาก เอสซีจี
4. เชื่อมโยงกับชุมชน หรือหน่วยงานรอบๆ สถานศึกษา
• เวลาการจัดเรียนรู้ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง - ไม่รวมชั่วโมงปฏิบัติงานของนักเรียน
• วิทยากรพี่เลี้ยงจะลงพื้นที่ในช่วงเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 2562 เพื่อติดตามการ
จัดทาชิ้นงาน และให้ข้อชี้แนะเพื่อปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ฯ ให้สามารถนาไป
ปฏิบัติได้จริง
51
การฝึกปฏิบัติ (ทดลองจัดการเรียนรู้ตามแผน 12 ชั่วโมง)
• นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ปรับปรุงแล้วตามข้อชี้แนะของวิทยากรพี่เลี้ยง
ไปฝึกปฏิบัติ ระหว่าง พฤษภาคม–สิงหาคม 2562
• จัดกิจกรรมการเรียนรู้จริง จนครบทุกกิจกรรมตามที่ระบุในแผน และ
ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน รวมถึงบันทึกหลังสอน (ใช้เวลา
ปฏิบัติงาน 12 ชั่วโมง)
• School Partner เข้าเยี่ยมโรงเรียน สนับสนุนและให้คาปรึกษาในการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ ตามที่วางแผนไว้
• จัดส่งรายชื่อครูที่ผ่านหลักสูตรไปยัง เอสซีจี ภายในเดือนกันยายน
2562 เพื่อเสนอรับมอบประกาศนียบัตร จาก NIDA
52
www.sufficiency.nida.ac.th

You might also like