Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 128

บิ ด
าธ
าม
ลร
แผนการศึกษา
า บา
พย

สาหรับนักศึกษาแพทย์ปีที่ 4
์ โรง
ตร

รหัสวิชา RASU 406


าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

1
ตารางแผนการสอนเรียงตามตารางสอน (นศพ.)

ลาดับ เรื่อง อาจารย์ผู้สอน


1. Body response to injuries อ.ภาณุวัฒน์ (adult)
2. Wound healing อ.อัจฉริย (adult)
3. Fluid and blood components therapy อ.รณรัฐ (adult)
4. Pre-post op. Care อ.วิวัฒน์ ถิ.
5. Acute abdomen อ.จุมพล, อ.โฉมศรี


บิ ด
6. Diseases of esophagus อ.สุริยะ, อ.วีรพัฒน์
7. Surgical bleeding and hypovolemic อ.คณิต, อ.จักรพันธ์

าธ
8. GI bleeding อ.ภาณุวัฒน์, อ.วีรพัฒน์

าม
9. Colorectal อ.คณิต, อ.จักรพันธ์

ลร
10. Vascular diseases อ.ปิยนุช, อ.วิวัฒน์
11. Stomach diseases อ.ปรีดา, อ.จักรพันธ์
12.
13.
Minimal invasive surgery
Jaundice บา
อ.ธีรพล

อ.สิโรจน์, อ.อาภัสนี, อ.ราเมศร์
พย
14. Pancreatic disease อ.ภาณุวัฒน์, อ.จุมพล
์ โรง

15. Surgical infection อ.ภาณุวัฒน์, อ.วีรพัฒน์


16. Hepatobiliary อ.โสภณ, อ.สิโรจน์
ตร

17. Hernia อ.ธีรพล, อ.รณรัฐ


18. Breast อ.ภาณุวัฒน์, อ.เยาวนุช
าส

19. Surgical complication อ.จุมพล


ยศ

20. Obstructive uropathy อ.วชิร, อ.สมบุญ


21. Surgical endocrine อ.ธีรพล, อ.ยอดยิ่ง
ศลั

22. Ped : Pre-post op. Care อ.สุเมธ


ชิ า

23. Ped : Overview intestinaobstruction อ.สาธิต


24. Ped : GI bleeding อ.วิชัย พ.
คว

25. Congenital facial anomalies อ.ณรงค์


ภา

26. Nexk mass อ.อาทิ


27. Oliguria/anuria อ.วัชรินทร์,อ.สุชาติ,อ.วสันต์,อ.สมนึก,อ.บุษณีย์
28. Ped : common tumors อ.ศนิ
29. Ped : intest obstruction1 อ.สาธิต
30. Hematuria อ.เจริญ, อ.วิทย์
31. Ped : Surgical jaundice อ.สุเมธ
32. Common hand problems อ.อัจฉริย

2
33. Ped : intest obstruction 2 อ.สาธิต
34. Ped : intest obstruction 3 อ.สุเมธ
35. Ped : abdominal wall defects อ.ศนิ
36. Urinary tract infection อ.วิทย์
37. Acid/base disorder อ.รณรัฐ
38. Ped : acute abdomen อ.วิชัย พ.
39. Ped : diaphragmatic hernia & GER อ.วิชัย พ.
40. Facial injury อ.สุรเวช


บิ ด
41. Ped : ambulatory surg. Problems อ.ศนิ
42. Burns อ.สุรเวช

าธ
43. Principles of trauma management อ.สุรศักดิ์

าม
44. Thyroid อ.ธีรพล,อ.บุญส่ง
45. Soft tissue infection อ.รณรัฐ, อ.อัษฎา

ลร
46. Organ transplantation อ.โสภณ
47.
48.
Surgical oncology
Difficulty in urination and retention บา
อ.วีรพัฒน์

อ.วิทย์,อ.กฤษฎา
พย
49. Skin & soft tissue mass อ.เฉลิมพงษ์
50. Intraoral lesions อ.วิชัย ศ.
์ โรง

51. Urolithiasis อ.กฤษฎา,อ.สุชาติ


ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

3
1. Body response to injuries

เรื่อง : Metabolic Response to Injury and Sepsis

สาหรับ : นักศึกษาแพทย์ ปี 4

ระยะเวลา : 1 ชม.

ผู้รับผิดชอบ : ภาณุวัฒน์ เลิศสิทธิชัย


ภาควิชาศัลยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน : Core Lecture

าธ
าม
ความรู้พื้นฐาน : 1. Neuroendocrine physiology (ปี 2 และปี 3)
2. Elementary biochemistry and metabolism (ปี 1 และปี 2)

ลร
3. Elementary cellular physiology (ปี 1 และปี 2)
4. ความรู้ทางคลินิกเรื่อง Hypovolemia (ดูในแผนการศึกษาหัวข้อ “Gastrointestinal
tract hemorrhage”)
า บา
พย
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้นักศึกษาสามารถ
1. บรรยายถึงความคิดรวบยอดของ Metabolic response
์ โรง

2. บรรยายถึงการเปลี่ยนแปลงหลักๆ ที่เกิดขึ้นหลัง trauma หรือ sepsis ในแง่ของ


- Neuroendocrine system
- Immunologic system
ตร

- Intermediary metabolism
าส

- End organ systems


ยศ

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ :
1. ก่อนเข้าห้องเรียน
1.1 นักศึกษาอ่านเอกสารประกอบคาสอนเรื่อง “An introduction to metabolic response to
ศลั

injury and sepsis”


ชิ า

1.2 นักศึกษาอ่านบทความเรื่อง “ภาวะตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งกระตุ้นภายในและภายนอก


ร่างกาย” โดย อ.นพ.ธีรพล อังกูลภักดีกุล ในตาราศัลยศาสตร์รามาธิบดี เล่ม 2
คว

2. ในชั้นเรียน
ภา

2.1 แนะนาเรื่อง “Organ system response to stimuli”


2.2 นิยาม “Metabolic response”
2.3 แนะนาเป้าหมายทางชีวภาพของการมี “Response to injury and sepsis”
2.4 แนะนา “ebb phase” และ “flow phase” ของ metabolic response
2.5 แนะนา neuroendocrine response, cytokine response และ metabolic consequences
2.6 แนะนา end organ response, inflammatory และ antiflammatory mediators
2.7 แนะนาการประยุกต์ใช้ความรู้ที่กล่าวถึงในทางคลินิก

4
สื่อการสอน :
1. เครื่องฉาย Slide หรือ
2. เครือ่ ง computer (Powerpoint presentation) และ LCD projector

แหล่งเรียนรู้ :
1. เอกสารประกอบการบรรยายเรื่อง “An introduction to metabolic response to injury and sepsis”
2. บทความ “ภาวะตอบสนองของร่างกายต่อสิ่งกระตุ้นภายในและภายนอกร่างกาย” โดย อ.นพ.ธีรพล
อังกูลภักดีกุล ในตาราศัลยศาสตร์รามาธิบดี เล่ม 2 ผศ.นพ.สาวิตร โฆษิตชัยวัฒน์ บรรณาธิการ. เรือน
แก้วการพิมพ์, กรุงเทพฯ 2544 หน้า 110 – 122


บิ ด
3. บทความทุกเรื่องในวารสาร World Journal of Surgery เล่มที่ 24 ฉบับที่ 6 ปี ค.ศ. 2000 โดยเฉพาะ
หน้า 624 – 647; 655 – 663; 705 – 711

าธ
4. บทความที่แนะนาในเอกสารบรรยายในข้อ 1

าม
การประเมินผล :

ลร
1. จากการซักถามและการตอบในห้องเรียน
2. การสอบ MCQ เมื่อจบ rotation
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

5
2. Wound Healing

เรื่อง Wound Healing

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 50 นาที

ผู้รับผิดชอบ นายแพทย์อัจฉริย สาโรวาท


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  Core based lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Process and mechanism of wound healing
2. Phase of wound healing

ลร
3. Wound contracture
- Epithelization
4. Types of wound closure
5. Cytokines and wound Healing า บา
พย
6. Drug and nutrient aspect of wound healing
7. Chonic wound (unhealed wound)
์ โรง

8. The problem scar (Hypertrophic scar , keloid)


9. Management of wound
10. Examples of clinical
ตร
าส

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


1. เข้าใจและอธิบาย process และ mechanism ของ wound healing ได้
ยศ

2. Local wound care ทั้ง chronic และ acute wound ได้


3. รู้วิธีปิดแผลและใช้ Suture material ได้เหมาะสม (Method of wound closure)
4. เข้าใจสาเหตุและการรักษา chronic wound ได้
ศลั

5. เข้าใจสาเหตุและการรักษา Problem scar ได้


ชิ า

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
คว

1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
ภา

- นักศึกษาอ่านทบทวนเรื่อง Wound Healing จากเอกสารประกอบคาสอนเรื่อง


Wound Healing และตามตาราที่อ้างอิงไว้
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน 5 นาที
2.2 Mechanism of wound Healing 10 นาที
- Phase of wound healing
- Wound contracture
- Epithelization
2.3 Type of wound closure 5 นาที

6
2.4 Cytokine in wound Healing 5 นาที
2.5 Nutrition in wound healing 5 นาที
2.6 Drug in wound healing
2.7 Chronic wound 5 นาที
2.8 Hypertrophic scar + keloid
2.9 Wound Dressing 5 นาที
2.10 Method of wound closure 5 นาที
2.11 สรุปการเรียนรู้ 5 นาที
2.12 ให้นักศึกษาซักถาม นาที
รวม 50 นาที


บิ ด
สื่อการสอน
- Computer Notebook

าธ
- เครื่อง Projector LCD ต่อกับ Computer

าม
- โปรแกรม Power Point

ลร
แหล่งเรียนรู้
- เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง “Wound Healing ” โดย นายแพทย์อัจฉริย สาโรวาท
- Schwartz’s principle of surgery
- Sabiston’s textbook of surgery า บา
พย
- Grabb and smith’s plastic surgery
์ โรง

การประเมินผล
1. การซักถามนักศึกษาในห้องตรวจผู้ป่วยนอก ตึกผู้ป่วยใน
2. การสอบลงกอง :-
ตร

2.1 MCQ
าส

2.2 Slide test


3. การสอบรวบยอด
ยศ

3.1 MCQ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

7
3. Fluid and Blood component Therapy

เรื่อง Fluid and Blood component Therapy

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4

ระยะเวลา 90 นาที

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์รณรัฐ สุวิกะปกรณ์กุล


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Core Lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. นิยามของ Fluid ชนิดต่างๆในร่างกาย ได้แก่ Extracellular Fluid, Intracellular Fluid, Interstitial Fluid
2. Blood component ชนิดต่างๆ

ลร
3. Parenteral Solution ชนิดต่างๆ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถบอก Anatomy of body fluid า บา
พย
2. สามารถบอก Normal exchange of fluid and electrolyte
3. สามารถจาแนกชนิดของ fluid change ได้เป็น volume change, concentration change composition
์ โรง

change
4. สามารถบอกชนิดของ parenteral solution ได้
5. สามารถบอกหลักการของการให้ fluid ในระยะต่างๆของการผ่าตัดได้ ( Preoperative Fluid Therapy,
ตร

Intraoperative Fluid Therapy และ postoperative Fluid Manangement)


าส

6. ระบุ Blood component ชนิดต่างๆได้


7. ระบุข้อบ่งชี้ของการให้ blood Transfusion ได้
ยศ

8. ระบุ complication ของการให้ Fluid และ Blood Transfusion ได้


9. ตระหนักถึงความสาคัญของการสื่อสาร อธิบายให้ญาติและผู้ป่วยเข้าใจถึงสาเหตุการพยากรณ์โรค
ศลั

การจัดประสบการการเรียนรู้
ชิ า

1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนชนิดของ Fluid ต่างๆในร่างกาย Blood Component และ parenteral solution
คว

1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้า (เอกสารประกอบการเรียนรู้ หมายเลข 1)


ภา

2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน 1 นาที
2.2 Fluid Therapy 40 นาที
2.3 Blood Therapy 40 นาที
2.4 สรุปบทเรียนการเรียนรู้ 5 นาที
2.4 ให้นักศึกษาซักถามและแจ้งให้เรียนรูด้ ้วยตนเองในวัตถุประสงค์ที่ไม่ได้สอน 4 นาที
รวมเวลา 90 นาที

8
3. หลังชั้นเรียน
ศึกษาเอกสารเพิ่มเติม

สื่อการสอน
1. เครื่องฉายภาพจากคอมพิวเตอร์ (Projector)
2. คอมพิวเตอร์

แหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรือ่ ง “Fluid and blood component Therapy”
2. ตาราเรื่อง Principle of Surgery, Schwartz 7th edition Vol. 1


บิ ด
3. ตาราเรื่อง Sabistan Textbook of Surgery 16th edition, Beaudramp evens Mattox
4. ตาราเรื่อง Surgery Scientific Principles and practice 13th edition Greenfield

าธ
าม
การประเมินผล
1. การซักถาม และตอบในชั้นเรียน

ลร
2. การสอบลงกอง MCQ

า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

9
4. Pre and Post Operative Care
เรื่อง : Pre and Post Operative Care
สาหรับ : นักศึกษาแพทย์ปี 4
ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง 30 นาที

ผู้รับผิดชอบ : นพ.วิวัฒน์ ถิระพานิช


กิจกรรมการเรียนการสอน : Lecture


บิ ด
ความรู้พื้นฐาน

าธ
1. สรีรวิทยาของระบบต่างๆของร่างกาย
2. พยาธิสรีรวิทยาและการดาเนินโรคของโรครักษาทางศัลยกรรม

าม
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ :

ลร
เมื่อผ่านการเรียนรูน้ ักศึกษาสามารถ

บา
1. อธิบายคาจากัดความของ Perioperative period
2. อธิบายหลักการประเมินความเสี่ยงและการตัดสินใจรักษาด้วยการผ่าตัด

3. อธิบายหลักการประเมินผู้ป่วยก่อนผ่าตัด ตามระบบต่างๆ
พย
4. อธิบายหลักการดูแลผู้ป่วยในช่วง Perioperative period
5. อธิบายการป้องกันการติดเชื้อและการเกิด Thromhoembolism หลังผ่าตัด
์ โรง

6. อธิบายการวินิจฉัยและการรักษาภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดที่พบบ่อย
ตร

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียนให้นักศึกษา
าส

1.1 ทบทวนความรู้ทางสรีระวิทยาของระบบต่างๆ และพยาธิสรีระวิทยา และการดาเนินโรค


ของโรคที่รักษาทางศัลยกรรม
ยศ

1.2 อ่านเอกสาร ที่แนะนาในแหล่งเรียนรู้


2. ในชั้นเรียน บรรยายโดยผูร้ ับผิดชอบประกอบการนาเสนอ Slides
ศลั

สื่อการสอน :
ชิ า

1. เครื่องฉายภาพจากคอมพิวเตอร์
2. เครื่องคอมพิวเตอร์
คว

แหล่งเรียนรู้ : Sabiston’s Text book of Surgery


ภา

การประเมินผล : การสอบลงกอง, MCQ

10
5. Acute abdomen
เรื่อง : Acute Abdomen

สาหรับ : นักศึกษาแพทย์ ปี 4

ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง 30 นาที

ผู้รับผิดชอบ อ.โสภณ, อ.จุมพล, อ.โฉมศรี


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Case Acute Abdomen

าธ
วัตถุประสงค์

าม
1. ให้คานิยามและเข้าใจความหมายของภาวะ Acute Abdomen
2. สามารถบอกแนวทางในการวินิจฉัย ผู้ป่วย Acute Abdomen

ลร
3. สามารถ Approach ผู้ป่วย Acute abdomen โดย แยกภาวะ Surgical และ Medical Condition ได้

ความรู้พื้นฐาน
1. กายวิภาคของอวัยวะในช่องท้อง า บา
พย
2. Anatomy และ physiology ของ Pain ชนิด ต่างๆ เช่น Somatic, Visceral, refer pain
์ โรง

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าเรียน
- ทบทวนภายวิภาค
ตร

2. ในชั้นเรียน
าส

- อธิบายคานิยามและ General Aspects ของ Acute Abdomen รวมไปถึงความจาเป็นของการ


วินิจฉัยและรักษาผูป้ ่วย
ยศ

- ยกตัวอย่างประวัติผู้ป่วยที่มาด้วยเรื่องปวดท้องเฉียบพลัน
- ถามนักศึกษาถึงประวัตผิ ู้ป่วยทีต่ อ้ งการเพิ่มเติม
- สรุปประวัติผปู้ ่วย
ศลั

- Approach ผู้ป่วย ตาม Grouping of Symptoms


ชิ า

: Location and organ pathology


: Associated symptoms เช่น Shock vomiting
คว

- วินิจฉัยสาเหตุของโรคจากประวัติ และเน้นการแยกโรคที่เป็น Surgical และ Medical condition


ภา

- สามารถศึกษาถึง การตรวจร่างกายเพิ่มเติม
- สรุปการตรวจร่างกายและ Pertinent Finding ที่สัมพันธ์กับประวัติ
- ระดมความคิดในแง่ของการวินจิ ฉัย และการวินิจฉัยแยกโรค
- อธิบาย Specific ในแง่ของ
: Steroid effect ใน Acute Abdomen
: Medical disease ใน Acute Abdomen เช่น Heart, pneumonia, nephritis, cirrhosis, T.B.
- แนวทางและการแปรผลของการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการที่ว่าเป็นในการวินิจฉัยและวินจิ ฉัยแยก
โรค เช่น CBC, UA
- การตรวจทาง X-ray : Plain Abdomen U/S, Ct Scan

11
- Invasive procedure เช่น Abdominal paracenthesis, laparoscopy
- สรุป General aspects ใน specific diseases : MED, Sv, X-ray
- Acute appendicitis
- Acute cholecystitis, acute cholangitis
- PO perforation
- Acute pancreatitis
- Gut obstruction
- Gynecolotic condition

สื่อการสอน


บิ ด
1. Power point presentation
2. เครื่องฉายภาพ ข้ามศรีษะ

าธ
3. X-ray

าม
แหล่งเรียนรู้

ลร
1. ตาราเรื่อง Principle of Surgery, Schwartz 7th edition
2. ตาราเรื่อง Sabistan Textbook of Surgery 16th edition

การประเมินผล า บา
พย
1. จากการซักถามและตอบในชั้นเรียน
2. การสอบลงกอง
์ โรง

- MCQ
- OSCE
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

12
6. Surgery of the Esophagus

เรื่อง Esophageal disease

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 3 ชั่วโมง

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์นายแพทย์ สุริยะ จักกะพาก


อาจารย์นายแพทย์วีรพัฒน์ สุวรรณธรรมา


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Seminar

าธ
าม
ความรู้พื้นฐาน
1. กายวิภาคของหลอดอาหาร

ลร
2. สรีรวิทยาของหลอดอาหาร

วัตถุประสงค์การเรียนรู้
บา
1. ระบุอาการและอาการแสดงทีพ่ บบ่อยของ Esophageal disease ดังนี้

พย
1.1 Dysphagia
1.2 Odenophagia
์ โรง

2. วินิจฉัยและวินิจฉัยจาแนกสาเหตุของ esophageal disease ที่พบบ่อย จากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย


และการตรวจทางห้องปฏิบัตกิ าร ดังนี้
2.1 Gastroesophageal reflux disease
ตร

2.2 Motility disorder of esophagus


าส

2.2.1 Achalasia
2.2.2 Zenker’s diverticulum
ยศ

2.2.3 Diffuse esophageal spasm


2.3 Carcinoma of esophagus
2.4 Benign tumor and cyst
ศลั

2.4.1 Leiomyoma
ชิ า

2.5 Caustic injury


2.6 Diaphragmatic hernias
คว

2.7 Miscellaneous lesions


ภา

2.7.1 Schatzki’s ring


2.7.2 Mallory-Weiss Syndrome
2.7.3 Plummer-Vinnson Syndrome
3. ส่งตรวจเพิ่มเติม และแปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและทางรังสีได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามโรค
ของ esophagus ดังกล่าว
4. อธิบายหลักการและแนวทางการรักษาของ Esophageal disease
5. ระบุข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดรักษาและระบุชื่อการผ่าตัดที่ต้องใช้ใน Esophageal disease
6. ประเมินขีดความสามารถในการดูแลผู้ป่วยด้วยตนเองและพิจารณาส่งต่อผู้ป่วยให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสม

13
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนความรู้ทางกายวิภาคและสรีรวิทยาของหลอดอาหาร
1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้า
2. ในชั้นเรียน นาที
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน 5
2.2 ทบทวนความรู้ทางวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 10
2.3 อธิบายอาการและอาการแสดงของ Esophageal disease 15
2.4 อธิบาย Esophageal disease ที่พบบ่อยตามโรคในแง่การวินิจฉัย 30


บิ ด
การวินิจฉัยแยกโรค การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ การตรวจทางรังสี
2.5 อธิบายหลักการรักษา Esophageal disease ที่พบบ่อย 30

าธ
รวม 90 นาที

าม
สื่อการสอน

ลร
1. เครื่องฉายวีดที ัศน์
2. เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
3. คอมพิวเตอร์
า บา
พย
แหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรูเ้ รื่อง Surgical Infection โดย อาจารย์นายแพทย์วีรพัฒน์ สุวรรณธรรมา
์ โรง

2. Peters JH, DeMeester TR. Esophageal and Diaphragmatic Hernia. In: Schwartz SI, Shires GT,
Spencer FC, Daly JM, Fischer JE, Galloway AC. Principle of Surgery. Seventh edition. Vol 1
:McGraw-Hill: 1999:1081-1179.
ตร
าส

การประเมินผล
1. จากการซักถามและการตอบในชั้นเรียน
ยศ

2. การสอบลงกอง
2.1 MCQ
2.2 Short answer
ศลั

3. การสอบรวบยอด
ชิ า

3.1 MCQ
คว
ภา

14
7. Surgical Bleeding

เรื่อง Surgical bleeding and hemorrhagic shock (พื้นฐานศัลยศาสตร์)

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง

ผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์คณิต สัมบุณณานนท์


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. สรีรวิทยาการแข็งตัวของเลือดและการละลายลิ่มเลือด
2. พยาธิสรีรวิทยาของภาวะ shock

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายกลไกของ normal hemostasis และ fibronolysis ได้
บา
2. บอกสาเหตุที่พบบ่อยที่ทาให้เกิดปัญหา Surgical bleeding ได้

พย
3. อธิบายหลักการวินิจฉัย Surgical bleeding ได้
4. อธิบายหลักการรักษา Surgical bleeding ได้
์ โรง

5. อธิบายพยาธิสรีรวิทยาของภาวะ hemorrhagic shock และผลกระทบต่ออวัยวะที่สาคัญได้


6. ระบุอาการและอาการแสดงที่สาคัญทางคลินิกของภาวะ hemorrhagic shock ที่มีระดับความรุนแรง
แตกต่างกันได้
ตร

7. อธิบายหลักการที่สาคัญในการรักษาภาวะ hemorrhagic shock และบอกแนวทางในการรักษาได้


าส

8. อธิบายชนิดและเลือก fluids ที่ใช้ในระยะแรกที่ใช้รักษาภาวะ hemorrhagic shock ได้


ยศ

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนกลไกการแข็งตัวของเลือดและการละลายลิ่มเลือดทีเ่ คยเรียนมา
ศลั

1.2 นักศึกษาทบทวนพยาธิสรีรวิทยาของภาวะ shock และผลกระทบต่ออวัยวะที่สาคัญตามที่เคยเรียนมา


ชิ า

1.3 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้ามาก่อน
2. ในชั้นเรียน
คว

2.1 อธิบายคาจากัดความ ปัญหาและความสาคัญของ surgical bleeding


ภา

2.2 ทบทวนกลไกของ nomal hemostasis และ fibronolysis


2.3 อธิบายหลักการวินิจฉัยและสาเหตุที่พบบ่อยที่ทาให้เกิด surgical bleeding
2.4 อธิบายหลักการในการป้องกันและรักษา surgical bleeding ทั้งในช่วงเวลาก่อนผ่าตัดและในระหว่างผ่าตัด
2.5 อธิบายอาการและอาการแสดงที่สาคัญทางคลินิกของภาวะ hemorrhagic shock ที่มีระดับความรุนแรงที่แตก
ต่างกัน
2.6 อธิบายหลักการที่สาคัญในการรักษาภาวะ hemorrhagic shock และบอกแนวทางในการรักษา
2.7 อธิบายชนิดและการเลือกใช้ fluids ที่ใช้ในการรักษาภาวะ hemorrhagic shock
2.8 สรุปการเรียนรู้ในครั้งนี้
2.9 เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม

15
สื่อการสอน
1. Computer powerpoint
2. LCD Projector

แหล่งเรียนรู้
1. เอกสารคาสอนเรื่อง surgical bleeding และ management of hemorrhagic shock
2. Text book – Principle of surgery

การประเมินผล


บิ ด
1. การซักถาม - ตอบในชั้นเรียน
2. การสอบลงกอง MCQ

าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

16
8. Gastrointestinal bleeding (GI bleeding)

เรื่อง Gastrointestinal bleeding (GI bleeding)

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 3 ชั่วโมง

ผู้รับผิดชอบ ผศ.นพ.ภาณุวัฒน์ เลิศสิทธิชัย


อาจารย์นายแพทย์นรินทร์ อจละนันท์


บิ ด
อาจารย์นายแพทย์วีรพัฒน์ สุวรรณธรรมา
กิจกรรมการเรียนการสอน Core-based lecture

าธ
าม
ความรู้พื้นฐาน
1. กายวิภาคของระบบทางเดินอาหาร

ลร
2. พยาธิสรีรวิทยาของการเสียเลือดในระดับต่าง ๆ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 า บา
พย
1. สามารถระบุถึงหลักการวินิจฉัย
1.1 ว่ามี/ไม่มี GI bleeding ได้
์ โรง

1.2 แยกภาวะ GI bleeding ได้ว่าเป็น UGI bleeding หรือ LGI bleeding โดยข้อมูลทางคลินิกและ
การวินิจฉัยเพิ่มเติม
1.3 ว่าภาวะ GI bleeding ที่มีอยู่นั้น Active หรือไม่
ตร

1.4 ให้การตรวจวินจิ ฉัยเพิ่มเติมที่เมหาะสมเพื่อหาสาเหตุของ GI bleeding ดังกล่าวได้


าส

2. รู้และระบุสาเหตุที่พบบ่อยของ GI bleeding ต่าง ๆ เหล่านี้ได้


2.1 UGI bleeding
ยศ

2.1.1 Esophagus
2.1.1.1 Mallory-Weiss tear
2.1.1.2 Esophagitis
ศลั

2.1.1.3 Esophageal tumor


ชิ า

2.1.2 Stomach
2.1.2.1 Gastric ulcer
คว

2.1.2.2 Gastritis
ภา

2.1.2.3 Deulafoy ‘s lesion


2.1.2.4 Gastric tumor
2.1.3 Duodenum
2.1.3.1 Duodenal ulcer
2.1.3.2 Duodenitis
2.1.3.3 Hemobilia
2.1.3.4 Hemosuccus pancreaticus
2.1.3.5 Aortoenteric fistula

17
2.2 LGI bleeding
2.2.1 Small bowel
2.2.1.1 Meckel ‘s diverticulum
2.2.1.2 Angioma, angiodysplasia
2.2.1.3 Tumor (benign, malignant)
2.2.1.4 Small bowel diverticulum
2.2.2 Large bowel
2.2.2.1 Infectious colitis
2.2.2.2 Inflammatory bowel disease
2.2.2.3 Tumor (benign, malignant)


บิ ด
2.2.2.4 Angiodysplasia
2.2.2.5 Colonic diverticulosis

าธ
2.2.3 Ano-rectal

าม
2.2.3.1 Hemorrhoids
2.2.3.2 Anal fissure

ลร
2.2.3.3 Radiation proctitis
2.2.3.4 Tumor (benign, malignant)

3. บา
2.2.3.5 Solitary rectal ulcer syndrome
รู้และสามารถเลือกส่งตรวจเพิ่มเติม และแปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและทางรังสีได้อย่าง

พย
ถูกต้องเหมาะสมตามภาวะของ GI bleeding
3.1 UGI bleeding
์ โรง

3.1.1 Esophagogastroduodenoscopy
3.1.2 Angiography
3.1.3 Radionuclide scanning
ตร

3.2 LGI bleeding


าส

3.2.1 Colonoscopy
3.2.2 Radionuclide scanning
ยศ

3.2.3 Angiographt
3.2.4 Sigmoidoscope
3.2.5 Proctoscopy
ศลั

4. สามารถอธิบายหลักการดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วย GI bleeding ได้ในแง่ของ


ชิ า

4.1 Initial resuscitation


4.2 Detection ว่ามี Active bleeding หรือไม่
คว

4.3 Preparation for surgery


ภา

5. สามารถระบุข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดรักษาในผูป้ ่วย GI bleeding


6. สามารถระบุวิธีการประเมินขีดความสามารถในการดูแลผู้ป่วยด้วยตนเองและระบุหลักการพิจารณาส่ง
ต่อผู้ป่วยให้แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน ให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4
1.1 ทบทวนความรู้ทางกายวิภาคของระบบทางเดินอาหารและพยาธิสรีรวิทยาของการเสียเลือด
ในระดับต่าง ๆ
1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรูล้ ่วงหน้า

18
2. ในชั้นเรียน นาที
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน 5
2.2 ทบทวนความรู้ทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานและพยาธิสรีรวิทยาของการเสียเลือด 5
ในระดับต่าง ๆ
2.3 อธิบายการวินิจฉัย GI bleeding 10
2.3.1 การวินิจฉัยว่ามี/ไม่มี GI bleeding
2.3.2 การแยกว่าเป็น UGI/LGI bleeding
2.3.3 การบอกว่ามี active bleeding หรือไม่
2.4 อธิบายขั้นตอนการส่งตรวจเพิ่มเติมต่าง ๆ ทั้งในแง่ของ indication และ 5
contraindication


บิ ด
2.5 อธิบายขั้นตอนการดูแลรักษาเบื้องต้นของผูป้ ่วย GI bleeding 5
2.5.1 Resuscitation

าธ
2.5.2 Preparation for investigation or surgery

าม
2.6 อธิบายภาวะ/โรคที่พบบ่อยใน UGI bleeding และการดูแลรักษาทางอายุรกรรม 30
2.7 อธิบาย indication for surgery และ surgical management ของผู้ป่วย 10

ลร
UGI bleeding
2.8 ทดสอบหลังการสอน UGI bleeding 10
2.9 พักการบรรยาย
บา
2.10 อธิบายภาวะ/โรคที่พบบ่อยใน LGI bleeding และการดูแลรักษาทางอายุรกรรม 30
า 10
พย
2.11 อธิบาย indication for surgery และ surgical management ของผู้ปว่ ย 10
LGI bleeding
์ โรง

2.12 ทดสอบหลังการสอน LGI bleeding 10


2.13 เฉลยแบบทดสอบและซักถาม 40
รวม 180 นาที
ตร
าส

สื่อการสอน
1. เครื่องฉายวีดที ัศน์
ยศ

2. เครือ่ งฉายภาพข้ามศีรษะ
3. คอมพิวเตอร์
ศลั

แหล่งเรียนรู้
ชิ า

1. เอกสารประกอบการเรียนรูเ้ รื่อง GI bleeding โดย ผศ.นพ. ภานุวัฒน์ เลิศสิทธิชัย, อ.นพ. นรินทร์ อจ


ละนันท์ และ อ.นพ. วีรพัฒน์ สุวรรณธรรมา
คว

2. Fischer JE, Nussbaum MS, Chance WT, and Luchette F. Manifestation of Gastrointestinal
ภา

disease. In: Schwartz SI, Shires GT, Spencer FC, Daly JM, Fischer JE, Galloway AC eds. Principles
of Surgery. Seventh edition. Vol 1, McGraw-Hill. 1999: 1061-66
3. Stabile BE, Stamos ML. “Gastrointestinal bleeding”. In Zinner ML, Schwartz SE, Elis H eds.
Maingot’s Abdominal Operations. Tenth edition. Appleton & Lange, Stanford CT, 1997: 289-
313.
4. Geller ER Ed , “Shock and Resuscitation”. McGraw-Hill . New York, 1993.
5. Peitzman AB, Billiar TR, Harbrecht BG, et.al. “Hemorrhagic Shock.” Curr Probl Surg 1995, 32:
927-1004.

19
6. Gupta PK, Fleischer DE, “Nonvariceal upper gastrointestinal bleeding”, and Brewer TG., “Treatment
of acute gastroesophageal variceal hemorrhage” Med Clin North Am 1993;77: 963-1014.
7. DeMarkles MP, Murphy JR. “Acute lower gastrointestinal bleeding”. Med Clin N Am 1993; 77:
1085-1100.
8. The American Society for Gastrointestinal Endoscopy. “An annotated algorithmic approach to acute
lower gastrointestinal bleeding”. Gastrointest Endosc 2001; 53: 859-863.

การประเมินผล
1. จากการซักถามและการตอบในชั้นเรียน
2. การสอบลงกอง


บิ ด
2.1 MCQ
2.2 Short answer

าธ
3. การสอบรวบยอด

าม
3.1 MCQ
3.2 OSCE

ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

20
9. Colorectal (Common anorectal problems)

เรื่อง Colorectal Disease

วิชาที่สอน Common anorectal problems

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1.30 ชั่วโมง


บิ ด
ผู้รับผิดชอบ ผศ.คณิต สัมบุณณานนท์ / รศ.จักรพันธ์ เอื้อนรเศรษฐ์

าธ
กิจกรรมการเรียนการสอน  Lecture  Seminar

าม
ความรู้พื้นฐาน

ลร
1. กายวิภาคของอวัยวะขับถ่าย และลาไส้ใหญ่
2. การตรวจทางทวารหนักที่ถูกวิธี

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


า บา
พย
1. อธิบายกายวิภาคทางทวารหนัก ลาไส้ใหญ่ส่วนล่างได้
2. อธิบายและตระหนักถึงปัญหาที่พบบ่อยทางทวารหนักและลาไส้ตรงส่วนล่างในคนไทย
์ โรง

3. สามารถอธิบายสาเหตุที่ทาให้เกิดปัญหาหรือโรคที่พบบ่อยทางทวารหนัก และลาไส้ตรง
4. ระบุอาการและอาการแสดงของโรคทางทวารหนักและลาไส้ตรงส่วนล่างที่พบบ่อย
5. สามารถวินิจฉัยโรคที่พบบ่อยนี้ได้ถูกต้อง และวินิจฉัยจาแนกโรคเมื่อผู้ป่วยมาตรวจ ได้อย่างมีเหตุผล
ตร

ในกลุ่มอาการดังนี้
าส

5.1 Anorectal bleeding


5.2 Anorectal pain
ยศ

5.3 Anorectal Mass


5.4 Anorectal discharge
6. สามารถตรวจทางทวารหนักได้ถกู ต้อง
ศลั

7. สามารถอธิบายหลักการการรักษาผู้ป่วยที่มาด้วยปัญหาของทวารหนักและลาไส้ตรงได้
ชิ า

8. สามารถให้คาแนะนากับผู้ป่วยทัง้ ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน ก่อนถึงภาวะที่ต้อง


ผ่าตัดและการปฏิบัติตัวหลังการผ่าตัดได้
คว

9. ทราบถึงภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดที่อาจจะเกิดขึ้นได้พร้อมทั้งสามารถให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยได้
ภา

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
3. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนการวิภาคของลาไส้ตรงและทวารหนัก วิธีการตรวจเบื้องต้นที่เคยเรียนมา
1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้ามาก่อน
4. ในชั้นเรียน
2.1ทบทวนความรู้โครงสร้างทางกายวิภาคของลาไส้ตรงและทวาร
2.5อธิบายถึงวิธีการตรวจร่างกาย โดยเน้นที่การตรวจทางทวารหนักและลาไส้ตรงส่วนล่างเพื่อให้ได้การวินิจฉัย
ในผูป้ ่วยที่มาด้วยกลุ่มอาการต่างๆ

21
2.2แสดงให้เห็นปัญหาที่พบบ่อยทางทวารหนักและลาไส้ตรง
2.4อธิบายถึงกลุ่มอาการต่างๆ ที่ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะมาหาแพทย์ได้ พร้อมทั้งฉายรูป Slide แสดงถึงโรคทีเ่ ป็น
common ano-rectal problems เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึน้
2.7การวินิจฉัยโรคที่พบบ่อยทางทวารหนักในคนไทยตามลาดับ
2.7.1Hemorrhoid
2.7.2Anorectal abcess and fistula
2.7.3Anal fissue
2.7.4Neoplastic tumor of anus
2.8อธิบายถึงแนวทางในการรักษาในโรคต่างๆ ที่พบบ่อยทางทวารหนักและลาไส้ตรง พร้อมทั้งการให้
คาแนะนาในการปฏิบัติตัวต่อผูป้ ว่ ยที่ยังเป็นโรคระยะแรกๆ เพื่อป้องกันไม่ให้โรคดาเนินไป


บิ ด
2.9อธิบายหลักการในการรักษาในแต่ละโรคทางทวารหนักและลาไส้ตรงที่พบบ่อย
2.10 ให้คาแนะนาต่อผูป้ ่วยเพื่อรณรงค์เชิงรุกเพื่อป้องกันการเกิดโรคและให้คาแนะการปฏิบัติตัว การรักษาที่ถูก

าธ
วิธี

าม
2.11 สรุปการเรียนรู้ในครั้งนี้
2.12 เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามและแจ้งให้นักศึกษาเรียนรูด้ ้วยตนเองเพิ่มเติมในโรคที่พบ

ลร
สื่อการสอน
1. สไลด์
2. เครื่องฉายสไลด์ า บา
พย
3. เลเซอร์พอยด์เตอร์ (Laser Pointer)
์ โรง

แหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ โรคที่พบบ่อยทางทวารหนักและลาไส้ใหญ่ ตาราศัลยศาสตร์เล่ม 1
2. Text book – Principle of Surgery – Schwartz edition หน้า
ตร
าส

การประเมินผล
1. การซักถาม – ตอบในชั้นเรียน และที่แผนกตรวจผูป้ ่วยนอกศัลยกรรม
ยศ

2. การทา ซักถามTeaching round


3. การสอบลงกอง MCQ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

22
11. Stomach and Duodenum

เรื่อง Stomach and Duodenum

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ ปี 4

ระยะเวลา 180 นาที

ผู้รับผิดชอบ ร.ศ.นพ. จักรพันธ์ เอื้อนรเศรษฐ์ / อ.ปรีดา สัมฤทธิ์ประดิษฐ์


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Developmental anatomy ของ Stomach + duodenum
2. Anatomy ของ Stomach & Duodenum

ลร
3. การซักประวัติโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร และ การตรวจร่างกาย Abdomen

วัตถุประสงค์เรียนรู้
เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาแพทย์ สามารถอธิบาย า บา
พย
1. Anatomy ของ
1.1 Stomach
์ โรง

1.2 Duodenum
2. Physiology ของ
2.1 Stomach
ตร

2.2 Duodenum
าส

3. Peptic ulcer disease


3.1 Symptom and sign
ยศ

3.2 Role of H. pylori infection and peptic ulcer disease


3.3 Complications of peptic ulcer disease
3.3.1 Bleeding
ศลั

3.3.2 Obstruction
ชิ า

3.3.3 Perforation
3.4 Role of surgical treatment
คว

3.5 Type of definitive surgical treatment for Peptic ulcer disease


ภา

4. Neoplasms of stomach
4.1 Benign neoplasms
4.2 Malignant neoplasms
4.2.1 Adenocarcinoma
4.2.1.1 Scope of the problem
4.2.1.2 Classification
1.2.3.1 TNM Classification
4.2.3.1 Japanese classification
4.2.1.3 Management

23
4.2.2 Lymphoma
4.2.3 Gastric stomach tumor

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาแพทย์ ทบทวน development anatomy ของ Stomach & Duodenum และ หลักการซัก
ประวัติของระบบทางเดินอาหาร และ การตรวจร่างกาย ของ Abdomen
1.2 ศึกษาวัตถุประสงค์การเรียนรู้
1.3 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรูล้ ่วงหน้า
1.4 นักศึกษาแพทย์ จัดกลุ่ม จัดเตรียมสื่อการสอน ตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ (สาหรับ นักศึกษา


บิ ด
แพทย์)
2. ในชั้นเรียน

าธ
2.1 Introduction โดย อาจารย์ 10 นาที

าม
2.2 นาเสนอเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ที่ 1 และ 2 30 นาที
2.3 สรุปบทเรียนการซักถาม โดยอาจารย์ 10 นาที

ลร
2.4 นักศึกษาแพทย์ ทาเสนอเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ที่ 3 45 นาที
2.5 สรุปบทเรียน และซักถาม โดยอาจารย์ 10 นาที
2.6 หยุดพัก
2.7 นักศึกษาแพทย์ ทาเสนอเนื้อหา ตามวัตถุประสงค์ 4
า บา 15 นาที
50 นาที
พย
2.8 สรุปบทเรียน และซักถาม โดยอาจารย์ 10 นาที
รวม 180 นาที
์ โรง

สื่อการสอน
1. เครื่องฉายแผ่นใส (สาหรับอาจารย์)
ตร

2. เครือ่ งฉายภาพจาก Computer (Projector)


าส

3. Computer
ยศ

แหล่งเรียนรู้
1. Gastric cancer โดย นพ.จักรพันธ์ เอื้อนรเศรษฐ์ : ศัลยศาสตร์วิวัฒน์ ฉบับที่
2. Principle of Surgery, Schwatz 7th edition 1999
ศลั

3. Sabiston Textbook of Surgery 16th edition 2001


ชิ า

การประเมินผล
คว

1. การซักถาม และตอบในชั้นเรียน
ภา

2. สังเกต & ประเมินผลระหว่างการปฏิบตั ิงานในหน่วยศัลยศาสตร์


3. การสอบลงกอง MCQ

24
12. Principle of Minimally invasive Surgery

เรื่อง Principle of Minimally invasive Surgery

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง

ผู้รับผิดชอบ อ.ธีรพล อังกูลภักดีกุล


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture
ความรู้พื้นฐาน

าธ
1. -

าม
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ

ลร
1. อธิบายคาจากัดความของ Minimally invasive Surgery
2. อธิบายถึงข้อดีและข้อเสียของ Minimally invasive Surgery
3. อธิบายส่วนประกอบของ Minimally invasive Surgery ดังนี้
3.1 Equipment า บา
พย
3.1.1 Image Production
3.1.2 Peritoneal access devices
์ โรง

3.1.3 Instromentation
3.2 Gases for Pneumoperitoneum
4. อธิบายและเข้าใจ Physiology of Pneumoperitoneum
ตร

4.1 Cuvarlatory effect


าส

4.2 Respiratomy effect


4.3 Metabolic and Immone effect
ยศ

4.4 Effect am Intentinal


4.5 Systemic oncologic effect
5. อธิบายได้ว่าปัจจุบันความก้าวหน้า Minimally invasive Surgery ว่า ได้มีการทาผ่าตัด
ศลั

อะไรกันบ้าย
ชิ า

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
5. ก่อนเข้าชั้นเรียน
คว

1.1 ให้นักศึกษาได้อ่านเอกสารประกอบคาสอนเรือ่ ง An Introduction of Minimally invavive


ภา

Surgery
6. ในชั้นเรียน
2.1 อธิบายคานิยามของ Minimally invasive Suegery
2.2 อธิบายข้อดีและข้อเสียของ Minimally invasive Surgery
2.3 ฉาย Slide ให้ดูรูปส่วนประกอบของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่จาเป็นที่ใช้ในการทาผ่าตัดชนิด
นี้ พร้อมกับบรรยายให้นักศึกษาเข้าใจ
2.4 อธิบาย Physiologic responges ของภาวะ Pneumoperitoneum ให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์

2.5 ยกตัวอย่างและอธิบายการผ่าตัดทีป่ ัจจุบนั นี้ใช้วิธี Minimally invasive Surgery พร้อมฉาย

25
Vedio ให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น

สื่อการสอน
1. คอมพิวเตอร์ Power point presentation
2. เครื่องฉายภาพจากจอคอมพิวเตอร์
3. Vedio presentation

แหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรือ่ ง An Introduction of Minimally invasive Surgery
2. Surgery, Basic science and clinical Evidence บทที่ 25 หน้า 429-453 เรื่อง General


บิ ด
Principle of Minimally invasive Surgery

าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

26
13. Jaundice

เรื่อง : เหลือง (Jaundice)

สาหรับ : นักศึกษาแพทย์ ปี 4

ระยะเวลา : 1 ชั่วโมง 30 นาที

ผู้รับผิดชอบ น.พ.สิโรจน์ กาญจนปัญจพล, น.พ. ราเมศร์ วัชรสินธุ,์ พ.ญ. อาภัสณี โสภณสฤษฎ์สุข


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Seminar :

าธ
ความรู้พื้นฐาน : - Normal and abnormal metabolism of bilirubin ในแต่ละระดับ

าม
- กายวิภาคของ Hepatobiliary system

ลร
บา
วัตถุประสงค์
ภายหลังจบการเรียนการสอน นักศึกษาแพทย์สามารถ า
พย
1. วินิจฉัยแยกอาการเหลือง (Janundice) เนื่องจากภาวะท่อน้าดีอุดตันจากอาการเหลืองเนื่องจากสาเหตุอื่น
เช่น Hemolysis, carotenemia ด้วยประวัติ การตรวจร่างกาย ได้แก่ อาการเหลืองหรือดีซ่าน, อ่อนเพลีย,
์ โรง

กันตามตัว, น้าหนักลดและการพบก้อนในท้อง
2. ระบุสาเหตุต่างๆ และอธิบายพยาธิกาเนิดของอาการเหลือง (Jaundice) ซึ่งจาแนกได้เป็น 2 ประเภท
ตร

ใหญ่ ๆ คือ
a. Modical jaundice เช่น ตับอักเสบจากไวรัสตับอักเสบเฉียบพลัน (acute viral hepatitis), แพ้ยา เป็น
าส

ต้น
ยศ

b. Surgical jaundice เช่น ท่อน้าดีอุดตัน (obstructive jaundice) จากนิ่วในท่อน้าดี, มะเร็งท่อน้าดี


(cholangocarcinoma) เป็นต้น
ศลั

3. อธิบายหลักการวินิจฉัยแยกสาเหตุของ nedical และ surgical jaundice โดยใช้ข้อมูลจากประวัติและการ


ชิ า

ตรวจร่างกาย
4. เลือกส่งตรวจพื้นฐานทางห้องปฏิบตั ิการเพื่อสนับสนุนการวินจิ ฉัยสาเหตุของอาการเหลือง (Jaundice)
คว

เช่น
ภา

a. Complete blood count


b. Liver function test
c. Urinary analysis
5. ตระหนักความสาคัญและการแปรผลข้อมูลการตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐาน ทีบ่ ่งถึงสาเหตุเฉพาะ
ของอาการเหลือง ได้แก่ ระดับของค่า serum transaminasases, direct and inditect bilirubin, alkaline
phosphatase และ albumin
6. บอกหลักการของการเลือกส่งตรวจในขั้นต่อไปเพื่อสนับสนุนการวินิจฉัยโรคที่ถูกต้อง เช่น
a. Ultrasonography of upper abdomen

27
b. Edoscopic retrograde cholangiopancreatography (ERCP)
c. Computerized tomography (CT scan) upper abdomen
d. Magnetic resonance (MR) of upper abdomen
e. Percutaneous cholangiography (PTC)
f. Magnetic resonance cholangiopancreatography (MRCP)
g. การเจาะเนื้อตับมาพิสูจน์ทางพยาธิวิทยา (liver biopsy)
7. บอกหลักการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีอาการเหลือง (Jaundice) โดยเฉพาะภาวะในข้อ 2 ได้ถูกต้อง ทั้ง
a. Medical ได้แก่ การเลือกใช้ยารักษาโดยแพทย์ทั่วไปเพื่อรักษาอาการเหลืองและอาการคัน รวมทัง้


บิ ด
อาการข่างเคียงของยา ยากลุ่มต่างๆ ได้แก่
i. Antihistamine เพื่อรักษาอาการคัน

าธ
ii. Cholestyramine เพื่อจับ bile

าม
iii. Ursodeoxycholic acid เพื่อเพิ่ม bile flow
b. ระบุวิธีการทาง radiologic intervention ในการักษา ได้แก่ PTBD เพื่อ drain bile ทางผิวหนัง

ลร
c. ระบุวิธีการทาง surgery ในการรักษา ได้แก่ การผ่าตัดต่อท่อน้าดีและลาไส้เล็ก

บา
d. Combined (a) – (c)
8. ให้คาแนะนาเกี่ยวกับโรคและการปฏบัติตัวของผูป้ ่วยในแต่ละกรณีได้อย่างเหมาะสม

พย
9. ตระหนักความรู้สึกของผู้ป่วยที่มีอาการเหลือง (Jaundice) และความสาคัญของการให้กาลังใจเพือ่ การ
ปฏิบตั ิตัวตามคาแนะนาอย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
์ โรง

10. ตระหนักความสาคัญของการให้ความรู้ประชาชน เพื่อหลีกเลี่ยงสาเหตุทปี่ ้องกันได้ เช่น ไวรัสตับ


อักเสบ พยาธิใบไม้ในตับ การดื่มสุรา
ตร

11. บอกแนวทางการใช้วัคซีนป้องกันตับอักเสบ บี และ เอ เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ในคน


ปกติทั่วไป คนตั้งครรภ์ และผู้ป่วยโรงตับแข็ง
าส
ยศ

กิจกรรมการเรียนรู้ สัมมนาผสมผสานระหว่างภาควิชาอายุรศาสตร์, ศัลยศาสตร์ และรังสีวิทยา


ศลั

ประสบการณ์การเรียนรู้
ชิ า

1. เนื้อหาวิชา
a. แนวทางการวินิจฉัยแยกอาการเหลือง (Jaundice) เนื่องจากภาวะท่อน้าดีอดุ ตันจากอาการเหลืองเนื่อง
คว

จากสาเหตุอื่น เช่น hemolysis, carotenemia


ภา

b. สาเหตุต่างๆ และหลักการวินิจฉัยอาการเหลือง (Jaundice) 2 ประเภทคือ


i. Medical jaundice เช่น ตับอักเสบจากไวรัสตับอักเสบ, แพ้ยา เป็นต้น
ii. Surgical jaundice เช่น ท่อน้าดีอดุ ตันจากนิ่วในท่อน้าดี, มะเร็งท่อน้าดี เป็นต้น
c. การตรวจวินิจฉัยพื้นฐาน เช่น complete blood count, liver function test และการแปลผลการตรวจ
ที่ได้

28
d. หลักการของการเลือกส่งตรวจในขั้นต่อไป เช่น ultrasonography of upper abdomen, endoscopic
retrograde cholangiopancreatography (ERCP) , computerized tomography (CT scan) upper
abdomen, magnetic resonance (MR) of upper abdomen, percutaneous cholangiography (PTC),
magnetic resonance cholangiopancreatography (MRCP) และการเจาะเนื้อตับมาพิสูจน์ทางพยาธิ
วิทยา (liver biopsy)
e. หลักการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีอาการเหลือง (Jaundice) โดยเฉพาะภาวะในข้อ 2 ได้ถูกต้องทั้ง medical,
radiologic intervention และทาง surgery


บิ ด
2. การจัดการเรียนการสอน
1. นาเข้าสู่บทเรียน 5 นาที

าธ
2. อภิปรายในหัวข้อการเรียนการสอน

าม
2.1 ทบทวน metabolism of bilirubin และ อาการเหลือง (Jaundice) 5 นาที
2.2 นาเสนอผู้ป่วย 3 ราย ที่มาด้วยอาการเหลืองจากสาเหตุของ hemolysis, 30 นาที

ลร
acute viral hepatitis และ obstructive jaundice อภิปรายในหัวข้อของการซักประวัติ

บา
การตรวจร่างกาย แปลผลการตรวจขั้นพืน้ ฐาน และหลักการจาแนก medical
และ surgical jaundice า
พย
2.3 การส่งตรวจพิเศษเพิ่มเติมในผูป้ ่วยแต่ละราย 15 นาที
2.4 นาเสนอและอ๓ปราบผูป้ ่วยรายที่ 4 ที่มาด้วย อาการเหลืองจาก Intrahepatic 10 นาที
์ โรง

cholestasis
2.5 หลักการดูแลรักษาอาการเหลืองจากสาเหตุต่างๆ ทาง
ตร

- Medical 5 นาที
- Surgical 5 นาที
าส

- Radiological 5 นาที
ยศ

3. สื่อการศึกษา
ศลั

3.1 คอมพิวเตอร์และเครื่อง LCD


ชิ า

3.2 เอกสารประกอบการสอน
3.2.1 เรื่องการตรวจทางรังสีและคลื่นเสียงของระบบทางเดินน้าดี โดย น.พ. ราเมศร์ วัชรสินธ์ ภาควิชารังสี
คว

วิทยา
ภา

3.2.2 เรื่องภาวะท่อน้าดีอุดตันทางศัลยกรรม โดย น.พ.สิโรจน์ กาญจนปัญจพล ภาควิชาศัลยศาสตร์


3.2.3 เรื่อง Metabolism of bilorubin และสาเหตุของอาการเหลืองทางอายุกรรมโดย พ.ญ. อาภัสณี
โสภณสฤษฎ์สุข ภาควิชาอายุรศาสตร์

29
3.3 แหล่งเรียนรู้
- Diseasesof the Liver and Biliary system. Sherlock S. & Dooley J. eds. 10th ed. Blackwell Sceince
1997. pp 201-237.

การประเมินผล
1. จากการอภิปรายตัวอย่าง ซักถามในห้องเรียน
2. การสอบข้อเขียน
3. จากการสังเกตการปฏิบัติงานในหอผูป้ ่วย


บิ ด
าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

30
14. Surgery of pancreatic disease

เรื่อง : An introduction to surgical diseases of the pancreas

สาหรับ : นักศึกษาแพทย์ ปี 4

ระยะเวลา : 1 ชม. 30 นาที

ผู้รับผิดชอบ : ภาณุวัฒน์ เลิศสิทธิชัย


จุมพล วิลาสรัศมี


บิ ด
ภาควิชาศัลยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี

าธ
กิจกรรมการเรียนการสอน : Lecture

าม
ความรู้พื้นฐาน : 1. Anatomy and embryology of the pancreas

ลร
5. สรีรวิทยาของตับอ่อนในแง่ endocrine & exocrine functions

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้นักศึกษาสามารถ
3. อธิบายถึงความสาคัญของโรคตับอ่อนที่พบบ่อยทางศัลยกรรม
า บา
พย
4. บรรยายถึงกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของตับอ่อนที่มีความสาคัญในแง่
ศัลยกรรมอย่างคร่าว ๆ
์ โรง

5. บรรยายถึงอุบัติการณ์, อาการแสดงนาทางคลินิกที่สาคัญ , การตรวจทาง Laboratory และ radiology ที่


สาคัญ , และหลักการรักษาในปัจจุบันของโรคที่
จะกล่าวถึงอย่างคร่าว ๆ ในแง่มุมของศัลยกรรม อันประกอบด้วย
ตร

5.1 Acute pancreatitis


าส

5.2 Chronic pancreatitis


5.3 Adenocarcinoma of the pancreatic duct & parenchyma
ยศ

3.4 Endocrine tumour of the pancreas (briefly mentioned)


6. อธิบายวิธีการป้องกันการเกิดภาวะในหัวข้อที่ 3 เท่าทีท่ ราบในปัจจุบัน
ศลั

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ :
ชิ า

3. ก่อนเข้าชั้นเรียน ให้นักศึกษา
3.1 ทบทวนกายวิภาคศาสตร์ และ สรีรวิทยาของตับอ่อน
คว

3.2 อ่านเอกสารคาสอน “An Introduction to surgical diseases of the pancreas” และเอกสาร


ภา

อ่านประกอบที่แนะนาไว้
2. ในชั้นเรียน : ประสบการณ์การเรียนรู้ประกอบด้วยการบรรยายโดยผู้รับผิดชอบ
ประกอบการนาเสนอ slides (โดยบรรยายตามหัวข้อที่ระบุใว้ในวัตถุประสงค์)

สื่อการสอน :
3. เครื่องฉาย Slide
4. Laptop computer & video projector

31
แหล่งเรียนรู้ :
1. ทบทวนกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาจากเอกสารต่าง ๆ ของชั้นปีที่ 2 และ 3
2. ทบทวนกายวิภาคศาสตร์ และสรีรวิทยา คร่าว ๆ ใน
Bailey & love’s Short Practice of Surgery ,22nd edition, ปี 1995 (Mann CV,
Russel RLG , Williams NS, editors) บทที่ 48 “The pancreas” เขียนโดย
RLG Russell หน้า 750 – 751 (พิมพ์โดย Chapman & Hall, London)
5. อ่านเนื้อหาประกอบใน
3.1 Baily & love’s short practice of surgery 22nd edition, บทที่ 48 หน้า
751-763
3.2 Maingot’s Abdominal operations, 10th edion ปี 1997 (Zinner MJ,


บิ ด
Schwartz SI , Ellis H editors) บทที่ 70 - 75 ( “Pancreas”) หน้า 1889 -
2917 โดยเฉพาะบทที่ 73 “Endocrine tumours of the pancreas”

าธ
(พิมพ์โดย Appleton & Lange, New Jersey)

าม
4. เอกสารประกอบคาสอนเรือ่ ง “An introduction to surgical diseases of the
pancreas” และเอกสารอื่น ๆ ที่แนะนาในนั้น

ลร
7. บทความเรื่อง “เนื้องอกของตับอ่อน” โดย รศ.นพ.โสภณ จิรสิริธรรม หน้า 74 - 77
ในตาราศัลยศาสตร์รามาธิบดี เล่ม 2 พิมพ์ปี 2544

การประเมินผล : า บา
พย
3. จากการตอบซักถามในห้องเรียน
4. MCQ ก่อนลงจาก rotation
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

32
15. Surgical Infection

เรื่อง Surgical Infection

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 60 นาที

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์นายแพทย์วีรพัฒน์ สุวรรณธรรมา


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Core lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาคของผิวหนังและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันใต้ผิวหนัง, ช่องท้อง และช่องปอด
2. จุลชีววิทยาของเชื้อก่อโรค

ลร
3. เภสัชจลนศาสตร์ของยาปฏิชีวนะ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้
7. ระบุปจั จัยที่ทาให้เกิด surgical infection ดังนี้
า บา
พย
7.1 Microbial pathogenicity
7.2 Host defense
์ โรง

7.3 Local environmental factors


8. วินิจฉัยและวินิจฉัยจาแนกสาเหตุของ surgical infection ที่พบบ่อย จากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย
และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ดังนี้
ตร

8.1 Soft tissue infection


าส

8.1.1 Cellulitis and lymphangitis


8.1.2 Soft tissue abscess
ยศ

8.1.3 Necrotizing soft tissue infection


8.2 Body cavity infection
8.2.1 Peritonitis and intraabdominal abscess
ศลั

8.2.2 Empyema
ชิ า

8.3 Prosthetic Device-associated infection


8.4 Hospital acquired (Nosocomial) infections
คว

8.4.1 Wound infection


ภา

8.4.2 Urinary tract infection


8.4.3 Lower respiratory tract infection
8.4.4 Vascular catheter-related infection
8.5 Prophylaxis antibiotic in surgery
8.6 Tetanus and Rabies infection
9. ส่งตรวจเพิ่มเติม และแปลผลการตรวจทางห้องปฏิบตั ิการและทางรังสีได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตาม
ภาวะของ surgical infection ชนิดต่าง ๆ
10. อธิบายหลักการและแนวทางการรักษาของภาวะ surgical infection ชนิดต่าง ๆ ได้
11. ระบุข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดรักษาและระบุชื่อการผ่าตัดที่ต้องใช้ในภาวะ surgical infection ชนิดต่าง ๆ ได้

33
12. ประเมินขีดความสามารถในการดูแลผู้ป่วยด้วยตนเองและพิจารณาส่งต่อผู้ป่วยให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสม

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
3. ก่อนเข้าชั้นเรียน
3.1 นักศึกษาทบทวนความรู้ทางกายวิภาคของผิวหนังและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันใต้ผิวหนัง, ช่องท้อง
และช่องปอด
3.2 นักศึกษาทบทวนความรู้ทางจุลชีววิทยาของเชื้อก่อโรคทั้งแบคทีเรีย เชื้อราและไวรัส
3.3 นักศึกษาทบทวนความรู้ทางเภสัชจลนศาสตร์ของยาปฏิชีวนะ
3.4 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรูล้ ่วงหน้า


บิ ด
4. ในชั้นเรียน นาที
4.1 นาเข้าสู่บทเรียน 5

าธ
4.2 ทบทวนความรู้ทางวิทยาศาสตร์พื้นฐาน 5

าม
4.3 อธิบายปัจจัยทีท่ าให้เกิด Surgical infection 5
4.4 อธิบาย Surgical infection ที่พบบ่อยตามโรคในแง่การวินิจฉัย 20

ลร
การวินิจฉัยแยกโรค การตรวจทางห้องปฏิบตั ิการ การตรวจทางรังสี
และแนวทางการรักษารวมทั้งข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดรักษา

บา
4.5 อธิบาย surgical wound classification พร้อมยกตัวอย่าง
4.6 อธิบาย prophylaxis antibiotic ใน surgical procedure
า 5
5
พย
แยกตามหมวดการผ่าตัด
4.7 slide ตัวอย่างผู้ป่วย 1-2 ราย 5
์ โรง

4.8 Tetanus และ Rabies prophylaxis 10


รวม 60 นาที
ตร

สื่อการสอน
าส

4. เครื่องฉายวีดที ัศน์
5. เครือ่ งฉายภาพข้ามศีรษะ
ยศ

6. คอมพิวเตอร์

แหล่งเรียนรู้
ศลั

9. เอกสารประกอบการเรียนรูเ้ รื่อง Surgical Infection โดย อาจารย์นายแพทย์วีรพัฒน์ สุวรรณธรรมา


ชิ า

10. Howard RJ. Surgical Infection. In: Schwartz SI, Shires GT, Spencer FC, Daly JM, Fischer JE,
Galloway AC. Principle of Surgery. Seventh edition. Vol 1 :Mcgraw-Hill: 1999:123-153.
คว
ภา

การประเมินผล
4. จากการซักถามและการตอบในชั้นเรียน
5. การสอบลงกอง
5.1 MCQ
5.2 Short answer
6. การสอบรวบยอด
6.1 MCQ

34
16. Surgery of Hepatobiliary diseases

เรื่อง Surgery of hepatobiliary diseases

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ ปี 4

ระยะเวลา 180 นาที

ลักษณะการเรียนรู้ Seminar


บิ ด
อาจารย์ผู้สอน ผศ.สิโรจน์ กาญจนปัญจพล / รศ.โสภณ จิรสิริธรรม

าธ
วัตถุประสงค์

าม
ภายหลังจบการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถ
1. บอกถึงสาเหตุการเกิดนิ่วในถุงน้าดี และท่อน้าดี การตรวจวินจิ ฉัยโรค จากอาการและอาการแสดง การดาเนิน

ลร
ของโรคนิ่วในถุงน้าดี วิธีการ การรักษา
2. สามารถให้การวินิจฉัย Liver disease ที่พบบ่อยได้อย่างถูกต้อง โดยอาศัยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย การใช้
Laboratory tert และ Investigation ต่างๆ
า บา
พย
เนื้อหาวิชา
- Gall stone formation
์ โรง

- Acute and chronic cholecystitis


- Empyema gall bladder
ตร

- Emphysematous cholecystitis
- Gall stone ileus
าส

- As cending cholangitis
- Tumor of the biliary tract cholangio carcinoma periamipullary carcinoma
ยศ

- Liver abscess
- Primary benign liver tumor
- Hepatocellular carcinoma
ศลั

- Metastatic liver tumor


ชิ า
คว

วิธีการเรียนรู้ การจัดสัมมนากลุ่มโดยนักศึกษาไปค้นคว้าและนาเสนอหน้าห้อง
ภา

เอกสารประกอบ
1. หนังสือ schwrtz’s principle of surgery 7th edition chapter 28 liver หน้า 1395-1415 chapter 29 Gall
blader and extrahepatic biliary system หน้า 1437-1466
2. หนังสือ Sabiston “text book of surgery 16th Edition chapter 48 liver หน้า 997-1059 chapter 50
Biliary tract หน้า 1076-1111
3. หนังสือ Surgery of the liver and biliary tract โดย L.H Blumgart 2nd edition
- Section 5,6,7, gall stone and gall bladder หน้า 551-920
- Section 8,9,10,11 หน้า 925-1220

35
4. หนังสือ Disease of the liver and biliary system โดย Sherlock / Dooley
- Chapter 27th liver infection หน้า 471-477
- Chapter 28 Hepatic tumor หน้า 503-531
- Chapter 31 gall stone and inflammatosuy gall bladder disease หน้า 562-591
- Chapter Disease of the Ampula of vater 33 หน้า 599-612


บิ ด
าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

36
17. Hernia and abdominal wall defect

เรื่อง Hernia and abdominal wall defect

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4

ระยะเวลา 180 นาที

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์ธีรพล อังกูลภักดีกุล / อาจารย์รณรัฐ สุวิกะปกรณ์กุล


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Developmental anatomy of abdominal wall, Inguinal region and spermatic Cord
2. Anatomy of abdominal wall and Inguinal region

ลร
3. หลักการซักประวัติและตรวจร่างกายทาง abdomen

วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
า บา
พย
1. นิยามภาวะไส้เลื่อน (Hernia) ได้ทั้ง
1.1 Grain Hernia
์ โรง

1.2 Ventral Hernia


1.2.1 Unbilied Hernia
ตร

1.2.2 Epigastric Hernia


1.2.3 Incisional Hernia
าส

1.3 Spigelian Hernia


1.4 Lumbar Hernia
ยศ

1.5 Pelvic Hernia


1.6 Internal Hernia
2. อธิบายกายวิภาคของ
ศลั

- Abdominal wall
ชิ า

- Inguinal canal
คว

- Fumeral canal
- Nerve and blood vessel บริเวณ groin
ภา

- Myopecitineal orifice
- Inguinal ligament
- Iliopubic tract
- Cooper ligament
- Conjoined tendon
3. อธิบายสาเหตุการเกิด Inguinal hernia ทั้งแบบ direct, Indirect และ femeral
4. ระบุอาการของผูป้ ่วยทีเ่ ป็นไส้เลื่อน เช่น ก้อนขาหนีบ ก้อนที่แผลผ่าตัด ก้อนที่สะดือหรือตาแหน่งอื่นของ
ผนังหน้าท้อง อาการปวดถ่วงทีข่ าหนีบ เป็นต้น

37
5. วินิจฉัย Inguinal Hernia ชนิดต่างๆในผูป้ ่วยที่มาด้วยอาการมีก้อนที่ขาหนีบ และวินจิ ฉัยแยกโรคอื่นๆ เช่น
lymphadenopaphy, hydroccle, lipana ของ spermatic cord, orchitis, tension of testis
6. ระบุ เลือกส่งและแปรผลการตรวจเพิ่มเติมเพื่อสนับสนุนภาวะไส้เลื่อน ได้แก่
6.1 Ultrasonography whole abdomen หรือ เฉพาะที่
6.2 Peritoneography
7. อธิบายภาวะรับด่วนฉุกเฉินทีเ่ กิดจากไส้เลื่อนในด้านอาการ อาการแสดง และการดูแลรักษา ได้แก่
7.1 Incarcerated Hernia (Irreduceble Hernia)
7.2 Strangulated Hernia
8. เปรียบเทียบ direct, Indirect และ femeral Hernia ในด้าน
8.1 ตาแหน่ง


บิ ด
8.2 พยาธิกาเนิด
8.3 โอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน

าธ
8.4 อุบัติการในหญิงและชาย

าม
8.5 วิธีตรวจร่างกาย
8.6 หลักการรักษา

ลร
9. ระบุปจั จัยเสี่ยงของการเกิดไส้เลื่อนชนิดต่างๆ
10. อธิบายหลักการในการรักษาไส้เลื่อนในด้าน
10.1 non-operative treatment
10.2 operative treatment า บา
พย
11. นิยาม operative treatment
11.1 anterior approach
์ โรง

-- tissue repair
-- Mesh repair
11.2 Posterior approach
ตร

-- open preperitoneal approach


าส

-- laparoscopic approach
12. ระบุภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดไส้เลื่อนได้ทั้ง
ยศ

12.1 early complication


12.2 late complication
13. ตระหนักความสาคัญและอธิบายผู้ป่วยเรื่องการปฏิบัติตัวในช่วงเตรียมการก่อนการผ่าตัดและหลังผ่าตัด เพื่อ
ศลั

กาจัดหรือลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือเกิดไส้เลือ่ นซ้า
ชิ า

14. ตระหนักความสาคัญของการให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับโรคไส้เลื่อนและอาการ เพื่อมาพบแพทย์ตั้งแต่


แรกเริ่มของความผิดปกติ
คว
ภา

การจัดประสบการการเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนกายวิภาค, development anatomy ของ abdomen และหลักการซักประวัติ ตรวจ
ร่างกายของ abdomen และหลักการซักประวัติ ตรวจร่างกายของ abdomen
1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้า (เอกสารประกอบการเรียนรู้ หมายเลข 1)
1.3 นักศึกษาแบ่งกลุ่ม จัดเตรียมสือ่ การสอนตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ (สาหรับนักศึกษา)
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียนโดยอาจารย์ 10 นาที
2.2 นาเสนอเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ โดยนักศึกษา 120 นาที

38
2.3 สรุปบทเรียนโดยอาจารย์ 30 นาที
2.4 ให้นักศึกษาซักถามและแจ้งให้เรียนรูด้ ้วยตนเองในวัตถุประสงค์ที่ไม่ได้สอน 20 นาที
รวมเวลา 180 นาที

สื่อการสอน
1. เครื่องฉายแผ่นใส
2. เครื่องฉายภาพจากคอมพิวเตอร์ (Projector)
3. คอมพิวเตอร์

แหล่งเรียนรู้


บิ ด
1. เอกสารคาสอน Hernia : เอกสารคาสอนนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 หน่วยศัลยศาสตร์ทั่วไป สายบี
2. Principle of Surgery, Schwartz 7th edition, Hernia and abdominal wall defect

าธ
3. Nyhus and Condon’s Hernia 5th edition

าม
การประเมินผล

ลร
1. การซักถาม และตอบในชั้นเรียน
2. สังเกตุและประเมินผลระหว่างการปฏิบัตงิ านในภาควิชาศัลยศาสตร์
3. การสอบลงกอง MCQ
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

39
18. Surgery of Breast

เรื่อง Breast

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4

ระยะเวลา 90 นาที

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์เยาวนุช คงด่าน


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Developmental anatomy of breast
2. Anatomy of breast

ลร
3. หลักการซักประวัติและตรวจร่างกายเต้านม

วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถบอก า บา
พย
1. Development anatomy of Breast
2. ลักษณะทางกายวิภาคของเต้านมถึง
์ โรง

2.1 ตาแหน่ง ขอบเขต และอวัยวะที่อยู่โดยรอบ


2.2 Blood supply
2.3 Innervation
ตร

2.4 Lymphatic drainage


าส

2.5 โครงสร้างของเนื้อเต้านม mammary gland และ mammary duct


3. การเปลี่ยนแปลงทางสรีระวิทยาของเต้านมสัมพันธ์กับแต่ละช่วงของรอบเดือน และการตั้งครรภ์
ยศ

4. อาการและอาการแสดงของโรคเต้านมที่พบบ่อยและแนวทางในการวินิจฉัยแยกโรค
4.1 Breast mass
4.2 Breast pain
ศลั

4.3 Nipple Discharge


ชิ า

4.4 Ulcer
5. แสดงวิธีการตรวจร่างกายของเต้านมได้อย่างถูกต้อง
คว

6. วิธีการและการเลือกส่ง การตรวจทางห้องปฏิบัติการและรังสีวินิจฉัยได้อย่างเหมาะสม
ภา

6.1 Ultrasound
6.2 Mammogram
6.3 Manetic Resonance Imaging
6.4 Ductography
6.5 Doppler Flow studies
6.6 Thermography
7. วิธีการทาและการเลือกวิธีทาเพื่อให้ได้ผลการวินจิ ฉัยทางชิ้นเนื้อ
7.1 FNAB
7.2 Core Biopsy

40
7.3 Excisional Biopsy
7.4 Incisional Biopsy
8. การดาเนินโรค อาการ อาการแสดง การวินิจฉัย วิธีการรักษาและติดตาม โรคทางเต้านมที่ไม่ใช่มะเร็งที่พบ
บ่อย
8.1 Congenital and Development Disease
8.1.1 Acessory Breast
8.1.2 Gynecomastia
8.2 Inflamatory and Infectious disorder
8.2.1 Mastitis
8.2.2 Breast Abscess


บิ ด
8.2.3 Hidradenitis Supprativa
8.2.4 Mondor’s Disease

าธ
8.3 Nonproliferative Lesions

าม
8.3.1 Fibrocystic Disease
8.3.2 Cysts

ลร
8.4 Proliferative Lesions
8.4.1 Fibroadenoma
8.4.2 Papilloma
8.4.3 Phyllodes Tumors า บา
พย
8.4.4 Fat Necrosis
8.4.5 Ductal Ectasia
์ โรง

8.4.6 Sclerosing Adenosis


8.4.7 Radial Scar
9. ปัจจัยเสี่ยงในการเกิดมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง
ตร

10. Natural History ของมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง


าส

11. Staging ของมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกต้อง


12. ลักษณะทางพยาธิวิทยาของมะเร็งเต้านมว่ามีกี่ชนิดอะไรบ้าง
ยศ

13. ความสัมพันธ์ระหว่างมะเร็งเต้านมและsex hormone


13.1 Surgery
13.2 Systemic Chemotherapy
ศลั

13.3 Radiotherapy
ชิ า

13.4 Hormonal Therapy


14. วิธีการรักษามะเร็งเต้านมแบบผสมผสานว่ามีอะไรบ้างและมีหลักการอย่างไร
คว

15. การเลือกใช้วิธีการรักษาในแต่ละstage ของมะเร็งเต้านม


ภา

15.1 Breast Conserving Surgery


15.2 Simple Mastectomy
15.3 Modified Radical Mastectomy
!5.4 Radical Mastectomy
16. รายละเอียดในแต่ละการผ่าตัดว่ามีวิธีการทาและข้อแทรกซ้อนต่างกันอย่างไร
17. วิธีการ Screening และแนะนาส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันโรคมะเร็งเต้านม

41
การจัดประสพการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนกายวิภาค, development anatomy ของ Breast และหลักการซักประวัติ ตรวจร่างกาย
ของ Breast
1.2 ศึกษาเอกสารและสื่อการสอนประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้า
1.3 นักศึกษาแบ่งกลุ่ม จัดเตรียมสือ่ การสอนตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ (สาหรับนักศึกษา)
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียนโดยอาจารย์ 5 นาที
2.2 นาเสนอเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ โดยนักศึกษาที่ได้รบั การแบ่งกลุ่มไว้ ( 3-4 คน)
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1-7 10 นาที


บิ ด
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 8 15 นาที
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 9-16 15 นาที

าธ
วัตถุประสงค์ ข้อที่ 17 5 นาที

าม
2.3 สรุปบทเรียนโดยอาจารย์ 5 นาที
2.4 แบ่งกลุ่มนักศึกษาทั้งห้องออกเป็น 3 กลุ่มโดยมีนักศึกษาทีเ่ ป็นผู้นา 15 นาที

ลร
เสนอบทเรียนกระจายอยู่ในแต่ละกลุ่มและเป็นคนนากลุ่มศึกษาผูป้ ่วยตัวอย่าง
ผู้ป่วยรายที่ 1 Breast Mass
ผู้ป่วยรายที่ 2 Breast Pain
ผู้ป่วยรายที่ 3 Nipple Discharge า บา
พย
2.5 ตัวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย
ผู้ป่วยรายที่ 1 Breast Mass 5 นาที
์ โรง

ผู้ป่วยรายที่ 2 Breast Pain 5 นาที


ผู้ป่วยรายที่ 3 Nipple Discharge 5 นาที
2.6 ให้นักศึกษาซักถามและแจ้งให้เรียนรูด้ ้วยตนเองในวัตถุประสงค์ที่ไม่ได้สอน 5 นาที
ตร

รวมเวลา 90 นาที
าส

สื่อการสอน
ยศ

1. เครื่องฉายแผ่นใส
2. เครื่องฉายภาพจากคอมพิวเตอร์ (Projector)
3. คอมพิวเตอร์
ศลั

4. เอกสารแสดงผู้ป่วยตัวอย่าง
ชิ า

5. ปากกาเขียนแผ่นใส 3 ชุด
6. กระดาษเปล่า ขนาด A4 6 แผ่น
คว

7. แผ่นใสชนิดเขียน 12 แผ่น
ภา

แหล่งเรียนรู้
1. เอกสารคาสอน Benign Breast Disease : เอกสารคาสอนนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 หน่วยศัลยศาสตร์
ทั่วไป สายบี
2. เอกสารคาสอน Breast Cancer : เอกสารคาสอนนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 หน่วยศัลยศาสตร์ทั่วไป สายบี
3. Principle of Surgery, Schwartz 7th edition, Breast
4. VDO สอนแสดงการตรวจเต้านม หน่วยศัลยศาสตร์ทั่วไป สายบี

42
การประเมินผล
1. การซักถาม และตอบในชั้นเรียน
2. สังเกตุและประเมินผลระหว่างการปฏิบัตงิ านในภาควิชาศัลยศาสตร์
3. การสอบลงกอง , MCQ


บิ ด
าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

43
19. Surgical complication

เรื่อง Surgical complication

สาหรับ 4th year medical student

ระยะเวลา 50 minutes


บิ ด
ลักษณะการเรียนรู้ Lecture

าธ
อาจารย์ผู้สอน Chumpon Wilasrusmee

าม
วัตถุประสงค์

ลร
Basic knowledge

บา
-Basic physiology of organ systems including respiratory, cardiac, renal, and gastrointestinal system.
-Hemostasis, surgical bleeding and transfusion. า
พย
-Pre and post operative care.
-Surgical infection.
์ โรง

-Pathophysiology of D.M.
-Wound healing
ตร
าส

เนื้อหาวิชา
Aims:
ยศ

-To define the operative risk


-To approach and determine the patient at risk according to organ systems at risk.
ศลั

-To prevent and protect against the complication and improve the outcome of surgery
ชิ า

-After this class the medical students can


คว

1) Approach and prepare patient with D.M. for surgery


2) Identify and treatment of post-operative fever
ภา

3) Diagnosis, prevention, and management of wound infection


4) Obtain history and performed physical examination to determine and prevent patient at risk for respiratory and
cardiac complication
5) Define and manage gastrointestinal fistulas.
6) Explain the relation between metabolic disorder (SIADH, disorder of thyroid metabolism, adrenal insufficiency,
and liver failure) and surgical complication.

44
Methods: All presentation will be done as slides from power point.
-Review material before class.
-Shortly explain and review the basic knowledge as described above in the first ten minutes.
-Introduction to surgical complication (definition, significant, organ systems at risk)
-Pathophysiology and management of D.M. patients undergoing surgery.
-Causes and treatments of perioperative fever.
-Diagnosis and management of wound complications.
-Appropriate approach for cardiac and respiratory complication.


บิ ด
-5 minutes for first period of questions and answers.
-Gastrointestinal fistulas: causes and management.

าธ
-Care and complication of stomal.

าม
-Metabolic disorders and surgical complications.
-10 minutes for question and answer including example of patients with post-operative complications.

ลร
บา
อุปกรณ์
Media า
พย
Power point presentation including pictures of GI fistulas, stomal complications
์ โรง

หนังสืออ่านประกอบ
References
ตร

-Material of surgical complications.


-Fischer JE, Fegelman E, and Johannigman J. Surgical complications In Schwartz et al. (Eds): Principle of surgery.
าส

International Edition, McGraw-Hill, 1999


ยศ

การประเมินผล
ศลั

Evaluation
ชิ า

-Question and answers in the class


-MCQ
คว

-OSCE
ภา

45
20. Obstructive uropathy

เรื่อง Obstructive uropathy

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

เวลา 50 นาที

ผู้รับผิดชอบ รองศาสตราจารย์วชิร คชการ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาคศาสตร์ และสรีระวิทยาของระบบทางเดินปัสสาวะ
2. ระบบประสาทควบคุมการทางานของระบบทางเดินปัสสาวะ

ลร
3. ดุลย์เกลือแร่ในร่างกาย และการแลกเปลี่ยนสารต่างๆ ที่ไต
4. กลไกของการปวด และการตอบสนองของร่างกาย

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


า บา
พย
1. ตระหนักถึงความสาคัญของการอุดกั้นต่อทางเดินปัสสาวะ
- ผลต่อ upper tract: secretion, excretion, anatomical changes
์ โรง

- ผลต่อ lower tract: lower urinary tract symptoms (LUTs), bladder trabeculation, diverticulum,
cellule
2. ระบุอาการ อาการแสดงของการอุดกั้นต่อทางเดินปัสสาวะ
ตร

3. อธิบาย พยาธิวิทยา การเกิดการอุดกั้นต่อทางเดินปัสสาวะและผลแทรกซ้อนจากการอุด


าส

กั้นได้
4. ระบุโรคที่พบบ่อยทีท่ าให้เกิดการอุดกั้นต่อทางเดินปัสสาวะได้
ยศ

- Upper tract: intrinsic obstruction, extrinsic obstruction


- Lower tract: BPH, prostate cancer, contracture bladder neck, stricture urethra
5. ทราบและอธิบายแนวทางการวินจิ ฉัยการอุดกั้นต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
ศลั

- Relief of obstruction
ชิ า

- Eradication of infection
- Improve general condition (fluid, electrolyte imbalance)
คว

- Definite treatment (medical, surgical)


ภา

6. เลือกการตรวจวินิจฉัยที่เหมาะสม ได้แก่ ultrasonography, plain KUB, IVP, cystoscopy, diuretic


renogram, retrograde pyelography, CT scan
7. เข้าใจและให้การดูแลภาวะ obstructive diuresis ได้ถูกต้อง

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 ทบทวนความรู้พื้นฐานกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยาของระบบทางเดินปัสสาวะ
.2 ทบทวน ความรู้ดุลย์ เกลือแร่ การแลกเปลี่ยนสารต่างๆ ที่ไต

46
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาสู่บทเรียน 1 นาที
2.2 ทบทวนความรู้พื้นฐานทางกายวิภาค 2 นาที
2.3 ทบทวนความรู้เกี่ยวกับการปวด 2 นาที
2.4 ทบทวนความรู้เกี่ยวกับดุลย์เกลือแร่ และการแลกเปลี่ยนสารที่ไต 2 นาที
2.5 อธิบายพยาธิสรีรวิทยาของการอุดกั้นของระบบทางเดินปัสสาวะ 2 นาที
2.6 อาการวิทยาของการอุดกั้นเฉียบพลันและเรื้อรัง 5 นาที
2.7 การวินิจฉัยและสืบค้น 5 นาที
2.8 ผลของการอุดกั้นทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง 5 นาที
2.9 ยกตัวอย่างโรคที่พบบ่อยที่มผี ลให้มีการอุดกั้นต่อทางเดินปัสสาวะ 5 นาที


บิ ด
2.10 การรักษาระยะเริ่มแรก (initial management) 5 นาที
2.11 การรักษาอย่างถาวร 5 นาที

าธ
2.12 ปัญหาแทรกซ้อนจากการอุดกั้น 3 นาที

าม
2.13 สรุปปัญหาการเรียนรู้ 2 นาที
2.14 ซักถาม 5 นาที

ลร
รวม 50 นาที

สื่อการสอน
1. เครื่องฉาย projector
า บา
พย
2. Computer for power point presentation
์ โรง

แหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรูเ้ รือ่ ง Obstructive uropathy โดย รศ.วชิร คชการ
ตร

2. ตาราศัลยศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะ
3. Tanagho EA. Urinary obstruction and stasis. In: Tanagho EA, et al, eds. Smith’s
าส

General urology. 12th ed.. Appleton & Lange:London, 1988, p 168-80.


ยศ

การประเมินผล
1. จากการซักถาม – ตอบ ในชั้นเรียน
2. การสอบลงกอง MCQ
ศลั

3. การสอบรวบยอด MCQ
ชิ า
คว
ภา

47
21. Surgical Endocrine

เรื่อง Surgical Endocrine

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4

ระยะเวลา 90 นาที

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์เยาวนุช คงด่าน / อาจารย์ธีรพล อังกูลภักดีกุล


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
4. Anatomy of Parathyroid , Pancrease , Adrenal Gland
5. Physiology of Parathyroid , Pancrease , Adrenal Gland

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถบอก
า บา
พย
1. Parathyroid
1.1 anatomy and embryology
์ โรง

1.2 Physiology
1.3 อาการและอาการแสดงของ Hyperfunction and Hypofunction of Parathyroid Gland
1.4 ความแตกต่างระหว่าง Primary , Secondary and Tertiary Hyperparathyroidism
ตร

1.5 ข้อบ่งชี้และการเลือกใช้ investigation เพื่อช่วยในการวินิจฉัย และบอกตาแหน่งของต่อมparathyroid


าส

1.5.1 Biochemical
1.5.2 Imaging : Radionuclide , CT Scan , MRI , Ultrasound
ยศ

1.5.3 Angiography , Venous sampling


1.6 หลักการรักษาทั้งในด้าน Medical และ Surgical Management
2. Pancrease
ศลั

2.1 อาการและอาการแสดงของ Endocrine tumor ของpancrease : Insulinoma , Gastrinoma ,


ชิ า

Glucagonoma , VIPoma , Somatostatinoma


2.2 วิธีวินิจฉัยแยกโรค Insulinoma
คว

2.3 วิธีการรักษา Insulinoma


ภา

2.4 วิธีวินิจฉัยแยกโรค Gastrinoma


2.5 วิธีการรักษา Gastrinoma
3. Adrenal
3.1 Anatomy and Physiology
3.2 อาการและอาการแสดงของโรคทีเ่ กิดจากชั้น Adrenal Cortex : Cushing’s Syndrome, Ectopic
Adrenocorticotropic Hormone , Adrenogenital Syndrome , Addison’s Disease , Conn’s syndrome ,
Adrenal Cortical Carcinoma
3.3 การวินิจฉัยแยกโรคทีเ่ กิดจากชั้น Adrenal Cortex
3.4 วิธีการรักษาโรคที่เกิดจากชั้น Adrenal Cortex

48
3.5 อาการและอาการแสดงของโรคทีเ่ กิดจากชั้น Adrenal Medulla : Pheochromocytoma
3.6 การวินิจฉัยแยกโรค Pheochromocytoma
3.7 วิธีการรักษาโรค Pheochromocytoma
3.8 คาจากัดความของ Incidentaloma
3.9 วิธีการรักษา Incidentaloma
3.10 วิธีการรักษาโดยวิธีการผ่าตัดของ Adrenal Gland
4. Multiple endocrine neoplasia
4.1 การถ่ายทอดทางยีนเป็นแบบใด
4.2 MEN I ประกอบด้วยโรคอะไรบ้าง
4.3 MEN II ประกอบด้วยโรคอะไรบ้าง


บิ ด
การจัดประสพการณ์การเรียนรู้

าธ
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน

าม
1.1 นักศึกษาทบทวน Anatomy and Physiology of Parathyroid , Pancrease , Adrenal Gland
1.2 ศึกษาเอกสารและสื่อการสอนประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้า

ลร
1.3 นักศึกษาแบ่งกลุ่ม จัดเตรียมสื่อการสอนตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ (สาหรับนักศึกษา)
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียนโดยอาจารย์
บา
2.2 บอกนักศึกษาถึงหัวข้อ Surgical Endocrine อื่นที่จดั การเรียนแยกไว้ คือ Thyroid , Breast
า 10 นาที
พย
2.3 นาเสนอเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ โดยนักศึกษาที่ได้รบั การแบ่งกลุ่มไว้ ( 3-4 คน)
Parathyroid 20 นาที
์ โรง

Pancrease 15 นาที
Adrenal 15 นาที
Multiple endocrine neoplasia 5 นาที
ตร

2.4 สรุปบทเรียนโดยอาจารย์ 15 นาที


าส

2.5 ให้นักศึกษาซักถามและแจ้งให้เรียนรู้ด้วยตนเองในวัตถุประสงค์ที่ไม่ได้สอน 10 นาที


รวมเวลา 90 นาที
ยศ

สื่อการสอน
1. เครื่องฉายแผ่นใส
ศลั

2. เครื่องฉายภาพจากคอมพิวเตอร์ (Projector)
ชิ า

3. คอมพิวเตอร์
คว

แหล่งเรียนรู้
ภา

1. เอกสารคาสอน Surgical Endocrine : เอกสารคาสอนนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 หน่วยศัลยศาสตร์ทั่วไป


สายบี
2. Principle of Surgery, Schwartz 7th edition

การประเมินผล
1. การซักถาม และตอบในชั้นเรียน
2. สังเกตุและประเมินผลระหว่างการปฏิบัตงิ านในภาควิชาศัลยศาสตร์
3. การสอบลงกอง , MCQ

49
22. Introduction to Pediatric Surgery / Pre and post operative care :

เรื่อง Introduction to pediatric surgery / pre-post operative care

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ชม.

ผู้รับผิดชอบ อ.สุเมธ ธีรรัตน์กุล


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Neonatal and Pediatric Physiology
2. Metabolic response to trauma and surgery

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ

บา
1. อธิบายภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต่อระบบการทางานของอวัยวะเมื่อเกิดโรคที่ต้องผ่าตัด โดยเฉพาะในทารก
แรกเกิด เวลาที่เหมาะสมทีค่ วรทาผ่าตัดแต่ละโรค ซึ่งจะมีผลต่อการดูแลรักษา ภาวะแทรกซ้อน และพยากรณ์ของ

พย
โรค
2. อธิบายวิธีการเตรียมเด็กก่อนผ่าตัดและการดูแลหลังผ่าตัดในด้านต่าง ๆ
์ โรง

Respiratory system
Fluid and electrolyte
Nutrition
ตร

Hematologic system [Surgical bleeding , Blood component and supplementation]


าส

Surgical infection
Vascular access
ยศ

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
ศลั

 ให้ผเู้ รียนเตรียมอ่านเนื้อหาเตรียมคาถาม
ชิ า

2. ในชั้นเรียน
2.1อาจารย์บรรยายแก่นักศึกษาตามหัวข้อต่อไปนี้ [ 40 นาที ]
คว

 การตอบสนองทางสรีระวิทยาของเด็ก โดยเฉพาะทารกแรกเกิดต่อการผ่าตัด [ The


ภา

endocrine and metabolic response to surgery ]


 Fluid and electrolyte management in pediatric surgery
 Cardiovascular consideration เข้าใจถึงระบบการไหลเวียนเลือดของทารกในครรภ์
[ Fetal circulation ]เปลี่ยนแปลงสู่การไหลเวียนปกติ
 Nutritional support of the pediatric surgical patient
 Physiology of infection
 Care of respiratory problem s in surgical patient
 Hematologic considerations
 Vascular access in newborn and children

50
2.แสดงตัวอย่างผู้ป่วยด้วย slides และ video tape ของผูป้ ่วยจริง และ สอบถามนักเรียนแพทย์จากตัวอย่างผู้ป่วย
[ 20 นาที ]

สื่อการสอน
1. สไลด์เตรียมโดยอาจารย์
2. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3. video tape แสดงผู้ป่วยตัวอย่าง

แหล่งเรียนรู้


บิ ด
1.O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediatric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook medical
publishes,1998

าธ
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.

าม
1990
3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000

ลร
การประเมินผล
1. สอบข้อเขียน
2. สอบปากเปล่า า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

51
23. Overview to pediatric gastrointestinal obstruction :

เรื่อง Overview of Pediatric Gastrointestinal Obstruction

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ชม.

ผู้รับผิดชอบ อ.สาธิต กรเณศ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Development of gastrointestinal tract
2. Anatomy of GI tract

ลร
3. Composition of gastrointestinal fluid

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


บา
1. อธิบายอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะ Gut obstruction ได้

พย
2. ระบุโรคที่พบบ่อยทีท่ าให้เกิด gut obstruction ในเด็กอายุต่างๆได้
3. บอกการตรวจร่างกายที่พบได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ Gut obstructionได้
์ โรง

4. เลือกและแปลผล การตรวจทางรังสีวินิจฉัย เพื่อวินิจฉัยภาวะ gut obstruction จากโรคต่างๆได้ถูกต้อง


5. อธิบายการรักษาเบื้องต้นสาหรับผู้ป่วยที่มีภาวะ gut obstruction ได้
6. อธิบายวิธีการประเมินภาวะ dehydration และการรักษาได้
ตร

7. อธิบายภาวะ electrolyte imbalance จากการเกิด gut obstruction ได้


าส

8. เลือก IV fluid เพื่อทดแทน gastric fluid หรือ bile ได้เหมาะสม


9. บอก complication ของ gut obstruction ได้
ยศ

10. ตระหนักถึงความสาคัญของการให้ความรู้แก่ประชาชนเรื่องภาวะ gut obstruction เพื่อให้ผปู้ ่วยมารับ


การรักษาได้ทันท่วงที
ศลั

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ชิ า

1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1. นักศึกษาทบทวนความรู้พื้นฐานที่ระบุ
คว

2. ในชั้นเรียน
ภา

อาจารย์บรรยายในหัวข้อต่อไปนี้
1. นิยามภาวะ gut obstruction : complete obstruction, partial obstruction
: upper gut obstruction, lower gut obstruction
2. อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะ Gut obstruction
3. โรคที่พบบ่อยที่ทาให้เกิด gut obstruction ในเด็กอายุต่างๆ
4. การตรวจร่างกายที่พบได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะ Gut obstruction
5. การตรวจทางรังสีวินิจฉัย เพื่อวินิจฉัยภาวะ gut obstruction จากโรคต่างๆ เช่น plain film abdomen, UGI
series, long GI , Barium enema, U/S, CT scan
6. การรักษาเบื้องต้นสาหรับผูป้ ่วยทีม่ ีภาวะ gut obstruction

52
7. electrolyte imbalance จากการเกิด gut obstruction
8. การให้ replacement IV fluid เพื่อทดแทน gastric content หรือ bile
9. การประเมินภาวะ dehydration และการรักษา
10. complication of gut obstruction

สื่อการสอน
1. Program Powerpoint ประกอบด้วยคาบรรยาย, รูปตัวอย่างผูป้ ่วย และภาพรังสี
2. เอกสารคาสอน

แหล่งเรียนรู้


บิ ด
1 O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediatric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook
medical publishes,1998

าธ
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.

าม
1990
3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000

ลร
การประเมินผล
1. โดย Direct Observation และการซักถามในชั้นเรียน
2.โดยการสอบ MCQ เมื่อลงกอง า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

53
25. Congenital craniofacial anomalies

วิชาที่สอน congenital craniofacial anomalies: Reconstructive aspects.

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 50นาที

ผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณรงค์ บุณยะโหตระ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน 1. Embryology of facial development

าม
1.1 first and second branchial arches
1.2 eyes and orbits

ลร
1.3 nose and lips
1.4 palate
1.5 tooth development
2. anatomy of skull and facial bones า บา
พย
2.1 cranium and sphenoids
2.2 orbits and frontal sinuses
์ โรง

2.3 maxilla and upper airway


2.4 mandible
ตร

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


าส

1. ระบุสาเหตุของ cleft lipและcleft palate เช่น


ยศ

1.1 พันธุกรรม 1.2 ยา 1.3 โรคติดเชื้อ 1.4 ขาดสารอาหาร เป็นต้น


และระบุอุบัติการณ์ในประเทศไทย ได้
2. วินิจฉัย พยากรณ์โรค และอธิบายหลักการและแนวทางรักษาในผู้ป่วยที่เป็น
ศลั

cleft lip/palate, frontoethmoidal meningoencephalocoele,


ชิ า

craniofacial microsomia, mandibular hypoplasia ,


craniofacial synostosis(Cruzon’s and Apert’s syndromes)
คว

facial hemangioma and vascular malformations,


ภา

facial neurofibroma,
3. ป้องกันและให้การรักษาเบื้องต้นสาหรับemergency conditions เช่น upper airway
obstruction, corneal exposure, pupillary obstruction,meningitis ,bleeding เป็นต้น
4. ตระหนักความสาคัญของป้องกันผลแทรกซ้อนในระยะยาวจากความผิดปกติแต่กาเนิด เช่น
สมองพิการ พูดไม่ชัด หูหนวก ตาบอด ฟันไม่สบกัน ใบหน้าไม่เท่ากัน เป็นต้น
5. เข้าใจปัญหาของผู้ป่วยและญาติผู้ป่วย ผลกระทบในด้านจิตใจ ความขัดแย้งในครอบครัว การ
ยอมรับ สภาพความจริง ความยากลาบากและค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูและรักษาในระยะยาว
และสามารถแนะนาหรือติดต่อหน่วยงานหรือองค์กรที่ให้ความช่วยเหลือได้

54
6. ตระหนักความสาคัญของการสื่อสารและอธิบายให้ญาติผู้ป่วยได้ เกี่ยวกับ เวลาที่เหมาะสมใน
การผ่าตัด ขั้นตอน เหตุผลที่ต้องผ่าตัด การคาดหวัง และปรึกษา ส่งต่อ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญไดัอ
ย่างเหมาะสม
7. ตระหนักความสาคัญของการให้ความรู้แก่ญาติผู้ป่วยและประชาชนในด้านปัจจัยเสี่ยงและ
การป้องกันความพิการแต่กาเนิดโดยทั่วไปและในบุตรคนต่อไป

การจัดประสบการณืการเรียนรู้

ก่อนเข้าชั้นเรียน
1. review facial development และfacial anatomy


บิ ด
2. อ่านเอกสารประกอบการเรียน

าธ
ในชั้นเรียน

าม
1. slide of a patient with craniofacial clefts 3min.
and let the students describe the deformed parts of the face.

ลร
2. slide of a patient with upper eyelid cleft with corneal exposure 2min

บา
and let the student point out the potential clinical problems . .
3. Relate the deformed parts to their consequential functional impairments 5min

พย
by showing slides of patients with cleft lip,cleft palate,cleft nose,
episcleral dermoid cysts ,microtia, mandibular hypoplasia,
์ โรง

Cruzon’s and Apert’s syndromes.


(Forms and Function relationship, etiologies)
.
ตร
าส

4. Relate the potential functional impairment to timing and rational 5min.


of surgical interventions
ยศ

by showing slides of a patient with mandibular hypoplasia and


upper airway obstruction and a patient with cleft palate and poor speech.
( Potential functional impairment will determine the timing of interventions.)
ศลั
ชิ า

5. slides of facial neurofibroma,hemangioma,vascular malformations 5min


6. slides of operative procedures of 10min
คว

cleft lip repair, palatoplasty


ภา

mandibular bone distraction


craniofacial surgery for craniosynostosis
7. สรุปการวินิจฉัย และแนวทางการรักษา 5min.
8. ให้มีการถาม แนะนาการอ่านหนังสืออ้างอิง 15 min
และแจ้งให้เรียนด้วยตนเองในวัตถุประสงค์ที่ไม่ได้สอน

รวม 50 min.

55
สื่อการสอน
1. เครื่องฉายสไลด์
2. สไลด์

แหล่งการเรียนรู้
1. Sabiston’s textbook of surgery ,16th edition, Chapter 40; Plastic and maxillofacial surgery,
p 1309-1315.
2. Schwartz’s principle of surgery,Chapter 44; Plastic and reconstructive surgery,
p 2040-2049
การประเมินผล


บิ ด
1. การถามและตอบในชั้นเรียน
2. การสอบ MCQ

าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

56
26. Neck Mass

เรื่อง ก้อนที่คอ ( Neck mass , lump in the neck )

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 50 นาที

ผู้รับผิดชอบ นายแพทย์อาทิ เครือวิทย์


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  Core based lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาคภายนอกบริเวณคอ , และภายในช่องปาก
- Anatomical landmarks

ลร
- Triangles of neck
- Vascular supply
- Lymphatic drainage system
- Salivary glands :- า บา
พย
- Major
- Minor
์ โรง

2. สาเหตุและการแบ่งชนิดของก้อนที่คอ
3. การวินิจฉัยโรค
3.1 การซักประวัติ
ตร

3.2 การตรวจร่างกาย
าส

- การดูลักษณะภายนอก
- การดูช่องปาก
ยศ

- การคลาก้อนในช่องปาก
- การคลาก้อนที่คอ
- การคลาเม็ดน้าเหลืองบริเวณคอ
ศลั

4. โรคก้อนที่คอทีค่ วรรู้
ชิ า

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


คว

1. เข้าใจและอธิบาย anatomical landmarks, triangles of neck, vascular supply ,


ภา

lymyphatic drainage system บริเวณคอได้


2. สาธิตการตรวจและอธิบายลักษณะก้อนที่คอทีค่ ลาได้
3. อธิบาย Rule of 80 ได้ , อธิบาย Rule of 7 ได้
4. ให้การวินิจฉัยเบื้องต้นเกี่ยวกับก้อนที่คอว่าเป็นโรคอะไร พร้อมทัง้ การวินิจฉัยแยกโรค
(differential diagnosis)
5. แนะนาแนวทางการรักษาก้อนที่คอได้
6. ให้คาแนะนาผูป้ ่วยที่มีปัญหาก้อนที่คอได้

57
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
7. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาอ่านทบทวนเรื่อง “ก้อนที่คอ” ตามเอกสารประกอบคาสอน เรื่อง “ก้อนทีค่ อ”
( Lump in the neck ) และตามตาราที่อ้างอิงไว้
1.2 นักศึกษาฝึกตรวจช่องปากและฝึกคลาก้อนในช่องปากและฝึกคลาเม็ดน้าเหลืองกลุ่มต่างๆ
บริเวณคอมาก่อนโดยฝึกหัดกับเพื่อนนักศึกษาแพทย์ด้วยกันเองหรือจากผู้ป่วย
8. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน 5 นาที
2.2 ทบทวนกายวิภาค , triangles of neck , และ anatomical landmarks บริเวณคอ 5 นาที
2.3 แนวทางการซักประวัติ 5 นาที


บิ ด
2.4 การตรวจร่างกาย
- การตรวจช่องปาก

าธ
- การคลา (Bimanual palpation ) ก้อนที่คอและการคลาเม็ดน้าเหลืองที่คอ 10 นาที

าม
2.5 สุ่มนักศึกษามาสาธิตการตรวจร่างกาย ในข้อ 2.4 5 นาที
2.6 การวินิจฉัยโรคก้อนทีค่ อที่พบบ่อย 10 นาที

ลร
2.7 สุ่มนักศึกษาให้ตอบการวินิจฉัยโรคผูป้ ่วยก้อนทีค่ อที่ฉายสไลด์ให้ดู 5 นาที
(spot diagnosis)
2.8 สรุปการเรียนรู้
2.9 ให้นักศึกษาซักถาม า บา 3
2
นาที
นาที
พย
รวม 50 นาที
สื่อการสอน
์ โรง

1. เครื่องฉายสไลด์ 2 เครื่อง
2. สไลด์สี พร้อมถาดใส่สไลด์ 2 อัน
3. ไม้กดลิ้น ไฟฉาย ผ้าก๊อซสะอาด ถุงมือ
ตร
าส

แหล่งเรียนรู้
1. เอกสารคาสอนเรื่อง “Lump in the neck” โดย นายแพทย์อาทิ เครือวิทย์
ยศ

2. ตาราศัลยศาสตร์รามาธิบดี เล่ม 2 พศ. 2544 บทที่ 13 เรื่อง Lump in the neck


เขียนโดย นายแพทย์อาทิ เครือวิทย์ หน้า 152 ถึงหน้า 199 รวมทั้งเอกสารอ้างอิงท้ายบท
ศลั

การประเมินผล
ชิ า

1. จากการสุ่มซักถามและให้นักศึกษาสาธิตในห้องเรียน และทีห่ ้องตรวจโรค


ผู้ป่วยนอกศัลยกรรม
คว

2. การสอบลงกอง :-
ภา

- MCQ
- Slide test
3. การสอบรวบยอด
- MCQ
- OSCE (แสดงการคลาเม็ดน้าเหลืองทีค่ อ)

58
28. Common tumor in Pediatric :

เรื่อง Common Tumors in Pediatric

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง

ผู้รับผิดชอบ อ.ศนิ มลกุล


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Basic Principle of Oncology
2. Pathology of Pediatric Tumor ( ศึกษาในวิชา Pathology, ปี 3 )

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
2. บอกอุบัติการณ์ของเนื้องอกที่พบบ่อยในเด็ก
a. Wilm’s Tumor า บา
พย
b. Neuroblastoma , ganglioneuroblastoma and ganglioneuroma
c. Hepatoblastoma
์ โรง

d. Germ cell tumor


i. Sacrococcygeal teratoma
ii. Gonadal germ cell tumor
ตร

3. บอก clinical presentation ของเด็กที่มีเนื้องอกดังกล่าว


าส

4. วินิจฉัยและวินิจฉัยจาแนกโรคเนือ้ งอกที่พบบ่อยในเด็กได้จากการซักประวัติและตรวจร่างกาย
5. บอกการตรวจทางห้องปฏิบัติการและรังสีวินิจฉัยทีจ่ าเป็นเพื่อวินจิ ฉัยโรคเนื้องอกในเด็กได้
ยศ

6. บอก staging ของเนื้องอกที่พบบ่อยในเด็ก


7. อธิบายหลักการรักษาเด็กที่เป็นเนือ้ งอกได้
8. บอกพยากรณ์ของโรคได้
ศลั

9. ตระหนักความสาคัญของการสื่อสาร อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจการวินิจฉัย สาเหตุ และการพยากรณ์


ชิ า

โรคได้
10. ส่งต่อผู้ป่วยให้แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญได้ถูกต้องเหมาะสม
คว
ภา

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนความรู้เรื่อง Pathology ของเนื้องอกที่พบบ่อยในเด็ก
1.2 นักศึกษาทบทวนความรู้เรื่อง Basic Principle of Oncology
2. ในชั้นเรียน
อาจารย์บรรยายตามหัวข้อต่อไปนี้
Neuroblastoma
Incidence
Clinical presentation : History and physical examination, location of tumor

59
Investigations : Plain film, U/S, CT, MRI, MIBG scan, bone scan, bone marrow aspiration
Tumor marker : Urine VMA/HVA, serum NSE
Pathological diagnosis
Staging : INSS ( International Neuroblastoma staging system)
Prognostic factors : Age, staging ,N-myc oncogene, NSE, DNA ploidy, ferritin level
Treatment: Multidisciplinary : Surgery, chemotherapy and radiation therapy
Prognosis
Screening program for neuroblastoma
Recent advance in treatment : tumor vaccine, gene therapy
Wilms’tumor


บิ ด
Incidence
Clinical presentation : History and physical examination

าธ
Investigations : Plain film, Doppler U/S, CT, MRI

าม
Pathological diagnosis
Staging : NWTS

ลร
Prognostic factors : staging , Histology
Treatment: Multidisciplinary : Surgery, chemotherapy and radiation therapy
Prognosis
Hepatoblastoma า บา
พย
Incidence
Clinical presentation : History and physical examination
์ โรง

Investigations : Plain film, U/S, CT, MRI


Tumor marker : Alpha fetoprotein
Pathological diagnosis
ตร

Staging
าส

Treatment: Multidisciplinary : Surgery, chemotherapy and radiation therapy


Prognosis
ยศ

Germ Cell Tumor


Definition of germ cell tumor and classification
Tumor markers: Alpha fetoprotein, beta HCG
ศลั

Investigations: plain film, U/S , CT, MRI


ชิ า

Sacrococcygeal teratoma : Various types


: surgical treatment
คว

Gonadal germ cell tumor : Ovarian / testicular tumor


ภา

: treatment : Multidisciplinary : Surgery, chemotherapy, radiation therapy

สื่อการสอน
1. Program Powerpoint ประกอบด้วยคาบรรยาย, รูปตัวอย่างผูป้ ่วยที่เป็นเนื้องอก และภาพรังสี
2. เอกสารคาสอน

60
แหล่งเรียนรู้
1 O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediatric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook
medical publishes,1998
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.
1990
3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000

การประเมินผล
1. โดย Direct Observation และการซักถามในชั้นเรียน
2.โดยการสอบ MCQ เมื่อลงกอง


บิ ด
าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

61
29. Gut obstruction in children
Intestinal obstruction I ( TE fistula, Hypertrophic pyloric stenosis )

เรื่อง gastrointestinal obstruction in pediatric patients (Part I )


1. Congenital esophageal atresia, Tracheoesophageal fistula ( TEF)
2. Hypertrophic Pyloric Stenosis (HPS)

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ½ ชม.


บิ ด
ผู้รับผิดชอบ น.พ.สาธิต กรเณศ

าธ
าม
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

ลร
ความรู้พื้นฐาน
1. Development of trachea and esophagus
2. Anatomy of trachea , esophagus, and pylorus
า บา
พย
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
์ โรง

1) อธิบาย development ของ trachea และ esophagus


2) บอกความผิดปกติในรูปแบบต่างๆ ของ esophageal atresia และ TEF
3) อธิบาย clinical presentation ที่จะเกิดขึน้ ในแต่ละแบบของ esophageal atresia และ TEF
ตร

4) บอกการตรวจทางห้องปฏิบัติการ (investigation) และการทารังสีวินิจฉัย หรือการทา endoscopy ทีจ่ าเป็น


าส

สาหรับการวินิจฉัยโรค
5) บอก associated anomalies ที่พบบ่อยในผู้ป่วยที่มี TEF : VACTERL
ยศ

6) บอกหลักการรักษา esophageal atresia และ TEF โดยใช้ Modified Waterston’s Criteria


7) อธิบายวิธีดูแลผู้ป่วยก่อนการผ่าตัดรักษา esophageal atresia และ TEF
8) อธิบายหลักการผ่าตัดรักษา esophageal atresia และ TEF
ศลั

9) บอกภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยหลังการผ่าตัดรักษา esophageal atresia และ TEF เช่น


ชิ า

a) Recurrent fistula
b) Stricture of esophagus
คว

c) Leakage of anastomosis
ภา

d) Gastroesophageal reflux
10) บอก prognosis ของผู้ป่วย esophageal atresia และ TEF
11) บอก epidemiology ของ hypertrophic pyloric stenosis (HPS)
12) อธิบาย clinical presentation ของผู้ป่วย HPS
13) บอก differential diagnosis ของ HPS
14) บอกการตรวจร่างกายที่พบในผูป้ ว่ ย HPS
15) บอกการทารังสีวินิจฉัย ทีจ่ าเป็นสาหรับการวินิจฉัยโรค HPS
a) Plain film abdomen
b) Upper GI contrast study

62
c) U/S pylorus
16) อธิบายภาวะ electrolyte imbalance ในผูป้ ่วย HPS Electrolyte : Hyponatremic hypochloremic metabolic
alkalosis และการรักษา
17) อธิบายวิธีการรักษา HPS : preoperative treatment
: Operative treatment ( Ramstedt pyloromyotomy )
: Post operative treatment eg. NPO time
18) บอกภาวะแทรกซ้อนของการผ่าตัด pyloromyotomy รวมถึงการวินิจฉัยและรักษาภาวะแทรกซ้อนนัน้ ๆ เช่น
Mucosal perforation, incomplete myotomy เป็นต้น
19) บอก prognosis ของผู้ป่วย HPS


บิ ด
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1) ก่อนเข้าชั้นเรียน

าธ
a) นักศึกษาทบทวน embryology เกี่ยวกับ Development of esophagus และ trachea

าม
b) นักศึกษาทบทวน anatomy of trachea, esophagus and pylorus
c) ให้ผู้รบั ผิดชอบเตรียมเนื้อหาพบอาจารย์ก่อนบรรยาย

ลร
2) ในชั้นเรียน

1 ทบทวน Embryology and Development of GI tract า บา


นักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย เป็นผูด้ าเนินการบรรยายตามหัวข้อต่อไปนี้
พย
2 Pathogenesis ของโรคทั้งหมดที่กาหนด
2 Clinical presentation : Age of onset, vomiting pattern, associated anomaly
์ โรง

: Physical examination
3. Classification ของแต่ละโรค
3 Differential diagnosis ของแต่ละโรค
ตร

4 Investigations ที่เหมาะสมสาหรับแต่ละโรค เช่น intrauterine ultrasound, plain abdomen, UGI study , Barium
าส

enema, esophagoscopy , and bronchoscopy


5 แนวทางการรักษาในแง่
ยศ

: Preoperative management
: Operation : Type of operation
: Postoperative management
ศลั

6 ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรค, ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด และแนวทางการแก้ไขภาวะแทรกซ้อน


ชิ า

7 การพยากรณ์โรค
อาจารย์ช่วยเสริม และสรุปเนื้อหา รวมทั้งแสดงภาพตัวอย่างผู้ป่วย และตัวอย่างภาพรังสี
คว
ภา

สื่อการสอน
1. เครื่อง Computer และ LCD projector พร้อมจอ
2. เครื่องฉายแผ่นใส
3. โปรแกรม Powerpoint ( คาบรรยาย ภาพตัวอย่างผู้ป่วย ตัวอย่างภาพรังสี )

63
แหล่งเรียนรู้
1 O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediatric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook
medical publishes,1998
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.
1990
3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000

การประเมินผล
1. โดย Direct Observation และการซักถามในชั้นเรียน
2.โดยการสอบ MCQ เมื่อลงกอง


บิ ด
าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

64
30. Hematuria

เรื่อง Hematuria (ภาวะปัสสาวะเป็นเลือด)

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 50 นาที

ผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เจริญ ลีนานุพนั ธุ์


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาคของระบบทางเดินปัสสาวะ
2. หน้าที่และการทางานของระบบทางเดินปัสสาวะ

ลร
3. ความหมายของ hematuria

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


1. อธิบายคาจากัดความของ hematuria ได้ า บา
พย
2. อธิบายถึงลักษณะทางคลินิกที่สาคัญของ hematuria ได้
- Initial hematuria
์ โรง

- Total hematuria
- Terminal hematuria
- ลักษณะของลิ่มเลือด
ตร

- Painless hematuria
าส

3. ทราบสาเหตุต่างๆ ของ hematuria


- Medical causes เช่น glomerulonephritis, IgA nephropathy, urinary tract infection
ยศ

- Surgical causes เช่น stone, tumor


4. ทราบขัน้ ตอนการตรวจวินิจฉัยหาสาเหตุของผู้ป่วยที่มี hematuria
- การตรวจปัสสาวะ
ศลั

- การตรวจทางรังสี เช่น plain KUB, IVP, ultrasonography, CT scan


ชิ า

- Cystoscopy
- Retrograde pyelography
คว

5. ให้คาแนะนาและการปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วยที่มี hematuria
ภา

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 ให้นักศึกษาทบทวนกายวิภาค หน้าที่และการทางานของระบบทางเดินปัสสาวะ
1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการสอน

65
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาสู่บทเรียน 2 นาที
2.2 ทบทวนกายวิภาค หน้าที่ และการทางานของระบบทางเดินปัสสาวะ 4 นาที
2.3 ความหมายของ hematuria 2 นาที
2.4 ความหมายของ significant hematuria และ pseudohematuria 6 นาที
2.5 ลักษณะทางคลินิกที่สาคัญของ hematuria 10 นาที
2.6 สาเหตุของ hematuria แบ่งตามอายุและเพศ 6 นาที
2.7 ขั้นตอนการตรวจวินิจฉัยหาสาเหตุผู้ป่วยที่มี hematuria 12 นาที
2.8 ยกตัวอย่างผู้ป่วยที่มี hematuria และอภิปราย 4 นาที
2.9 คาแนะนาสาหรับผู้ป่วยที่มี hematuria 2 นาที


บิ ด
2.10 นักศึกษาซักถามปัญหา 2 นาที
รวม 50 นาที

าธ
าม
สื่อการสอน
1. สไลด์ และเครื่องฉายสไลด์

ลร
2. Computer และ projector

แหล่งเรียนรู้
บา
1. Compbell’s urology. Patrich C. Walsh et al. eds. 7th ed. WB Saundders Co. Philadelphia 1998, vol

พย
1, 133-134.
2. Adult and pediatric urology. Jay Y. Gillenwater et al. eds. Year book medical publishers, Inc.
์ โรง

Chicago 1987, vol 1, 67-69.


3. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง Hematuria โดย ผศ.เจริญ ลีนานุพนั ธุ์
ตร

การประเมินผล
าส

1. การซักถามและการตอบในชั้นเรียน
2. การสอบลงกอง MCQ
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

66
31. Surgical Jaundice in Infant and children : อ.สุเมธ

เรื่อง Surgical jaundice in infant & children

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ½ ชม.

ผู้รับผิดชอบ อ.สุเมธ ธีรรัตน์กุล


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Metabolism of billirubin
2. Anatomy of hepatobiliary system

ลร
3. Pathology and physiology of jaundice

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


บา
1. ให้การวินิจฉัยแยกโรคเด็กที่มีอาการ jaundice ที่ต้องรักษาด้วยการผ่าตัดจากกลุ่มที่รักษาทางยาได้

พย
2. บอกการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จาเป็นและเหมาะสมทีใ่ ห้การวินิจฉัยแยกโรคได้
3. บอกความจาเป็นเร่งด่วนของการวินิจฉัยโรคและเลือกวิธีการวินิจฉัยที่ถูกต้อง รวดเร็ว เพื่อให้การ
์ โรง

ผ่าตัดรักษาได้ผลดี
4. บอกการรักษา พยากรณ์ของโรค และ complications ของโรคได้
5. อธิบายการดูแลเด็กที่รักษาไม่หายขาดแก่ญาติผู้ป่วยได้
ตร
าส

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1 ก่อนเข้าชั้นเรียน
ยศ

1.1 ให้ผู้รบั ผิดชอบเตรียมเนื้อหาพบอาจารย์ก่อนบรรยาย


1.2 ให้ผเู้ รียนเตรียมอ่านเนื้อหาเตรียมคาถาม
ศลั

2 ในชั้นเรียน ให้นักเรียนผู้รบั ผิดชอบพูด


ชิ า

1. หลักการวินิจฉัยอาการและแยกโรคเด็กแรกคลอด ที่มีอาการ
jaundice ที่ต้องรักษาด้วยการผ่าตัด ได้แก่
คว

 Biliary atresia
ภา

 Biliary hypoplasia
 Inspissated bile syndrome
 Choledochal cyst
 Spontaneous perforation of bile duct
20) สาเหตุ อาการแสดงของโรค เหตุผลที่ต้องรักษาโรคด้วยการผ่าตัด การพยากรณ์โรค

อาจารย์บรรยายเสริมและแสดงตัวอย่างผู้ป่วยด้วย slides และ video tape ของผู้ป่วยจริง และ สอบถามนักเรียนแพทย์


จากตัวอย่างผู้ป่วย [ 20 นาที ]

67
สื่อการสอน
1. แผ่นใสเตรียมโดยนักเรียนผูบ้ รรยาย
2. สไลด์เตรียมโดยอาจารย์ และ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

แหล่งเรียนรู้
1. O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediaric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook medical
publishes,1998
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.
1990
3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000


บิ ด
การประเมินผล

าธ
1. สอบลงกอง

าม
2. สอบปากเปล่า
3. ซักถามขณะสอนข้างเตียง และOPD

ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

68
31.1 Surgical Jaundice in Infant and children : อ.สุเมธ

เรื่อง Surgical jaundice in infant & children

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ½ ชม.

ผู้รับผิดชอบ อ.สุเมธ ธีรรัตน์กุล


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Metabolism of billirubin
2. Anatomy of hepatobiliary system

ลร
3. Pathology and physiology of jaundice

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


บา
6. ให้การวินิจฉัยแยกโรคเด็กที่มีอาการ jaundice ที่ต้องรักษาด้วยการผ่าตัดจากกลุ่มที่รักษาทางยาได้

พย
7. บอกการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จาเป็นและเหมาะสมทีใ่ ห้การวินิจฉัยแยกโรคได้
8. บอกความจาเป็นเร่งด่วนของการวินิจฉัยโรคและเลือกวิธีการวินิจฉัยที่ถูกต้อง รวดเร็ว เพื่อให้การ
์ โรง

ผ่าตัดรักษาได้ผลดี
9. บอกการรักษา พยากรณ์ของโรค และ complications ของโรคได้
10. อธิบายการดูแลเด็กที่รักษาไม่หายขาดแก่ญาติผู้ป่วยได้
ตร
าส

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
3 ก่อนเข้าชั้นเรียน
ยศ

3.1 ให้ผู้รบั ผิดชอบเตรียมเนื้อหาพบอาจารย์ก่อนบรรยาย


3.2 ให้ผเู้ รียนเตรียมอ่านเนื้อหาเตรียมคาถาม
ศลั

4 ในชั้นเรียน ให้นักเรียนผู้รบั ผิดชอบพูด


ชิ า

1. หลักการวินิจฉัยอาการและแยกโรคเด็กแรกคลอด ที่มีอาการ
jaundice ที่ต้องรักษาด้วยการผ่าตัด ได้แก่
คว

 Biliary atresia
ภา

 Biliary hypoplasia
 Inspissated bile syndrome
 Choledochal cyst
 Spontaneous perforation of bile duct
21) สาเหตุ อาการแสดงของโรค เหตุผลที่ต้องรักษาโรคด้วยการผ่าตัด การพยากรณ์โรค

อาจารย์บรรยายเสริมและแสดงตัวอย่างผู้ป่วยด้วย slides และ video tape ของผู้ป่วยจริง และ สอบถามนักเรียนแพทย์


จากตัวอย่างผู้ป่วย [ 20 นาที ]

69
สื่อการสอน
1. แผ่นใสเตรียมโดยนักเรียนผูบ้ รรยาย
2. สไลด์เตรียมโดยอาจารย์ และ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน

แหล่งเรียนรู้
1. O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediaric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook medical
publishes,1998
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.
1990
3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000


บิ ด
การประเมินผล

าธ
1. สอบลงกอง

าม
2. สอบปากเปล่า
3. ซักถามขณะสอนข้างเตียง และOPD

ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

70
32. Common Problems in Hand Surgery

เรื่อง ปัญหาที่พบในศัลยกรรมทางมือ (Common Problems in Hand Surgery)

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 60 นาที

ผู้รับผิดชอบ นายแพทย์อัจฉริย สาโรวาท


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  Core based lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Function anatomy of the hands.
2. Tourniquet and incision in the hand Surgery.

ลร
3. Hand edema.
4. Hand tumor.
5. Hand infections.
6. Carpal tunnel syndrome. า บา
พย
7. Trigger finger and trigger thumb.
8. De Quervain’s disease
์ โรง

9. Splinting and dressing.


10. Clinical example.
ตร

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


าส

1. เข้าใจและอธิบาย functional anatomy ของมือได้


2. รู้และเข้าใจปัญหาที่พบบ่อยในศัลยกรรมมือ
ยศ

3. สามารถให้คาแนะนา ดูแลและรักษาผู้ป่วยที่มปี ัญหาทางมือทีพ่ บบ่อยได้อย่างถูกต้อง


เช่น เรื่อง Hand edema , Hand tumor , Hand infection , Carpal tunnel syndrome,
Trigger finger and trigger thumb, De Quervain’s disease
ศลั
ชิ า

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
คว

- นักศึกษาอ่านทบทวนเรื่อง “ปัญหาที่พบบ่อยในศัลยกรรมทางมือ” ตามเอกสาร


ภา

ประกอบคาสอน เรื่อง “ปัญหาที่พบบ่อยในศัลยกรรมทางมือ” โดย รองศาสตราจารย์


นายแพทย์อาทิ เครือวิทย์ และตามตาราที่อ้างอิงไว้

2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน 5 นาที
2.2 ทบทวน Functional anatomy of the hands 5 นาที
2.3 การใช้ Tourniquet in hand Surgery 2 นาที
2.4 Incision in hand Surgery 3 นาที
2.5 Hand edema 3 นาที

71
2.6 Hand tumor 8 นาที
2.7 Hand infections 7 นาที
2.8 De Quervain’s disease 2 นาที
2.9 Carpal tunnel syndrome 3 นาที
2.10 Trigger finger and trigger thumb 2 นาที
2.11 Hand splint and dressing 5 นาที
2.12 สรุปการเรียนรู้ 5 นาที
2.13 ให้นักศึกษาซักถาม 10 นาที
รวม 60 นาที
สื่อการสอน


บิ ด
- Computer Notebook
- เครื่อง LCD Projector 1 เครื่อง

าธ
- โปรแกรม Power Point สาหรับ presentation

าม
แหล่งเรียนรู้

ลร
1. เอกสารประกอบคาสอน เรื่อง “ปัญหาที่พบบ่อยในศัลยกรรมมือ ”
โดย รองศาสตราจารย์นายแพทย์อาทิ เครือวิทย์
2. Green’s operative hand Surgery
บา
3. ศัลยศาสตร์อุบัตเิ หตุทางมือ ศาสตราจารย์นายแพทย์วิวัฒน์ วิสุทธิโกศล บรรณาธิการ

พย
การประเมินผล
์ โรง

1. การสุ่มซักถามและให้นักศึกษาสาธิตในห้องเรียน ที่ห้องตรวจโรคผู้ป่วยนอกศัลยกรรม
และที่หอผูป้ ่วยในศัลยกรรม
2.1 MCQ
ตร

2. การสอบลงกอง :-
าส

2.2 Slide test (spot diagnosis)


3. การสอบรวบยอด
ยศ

3.1 MCQ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

72
33. Gut obstruction in children
Intestinal Obstruction II (duodenal obstruction, malrotation, midgut volvulus,
jejunoileal atresia ) อ . สาธิต

เรื่อง Intestinal obstruction in children ( Part II )


1. Duodenal obstruction
a. Duodenal atresia and stenosis
b. Duodenal web
c. Annular pancrease
2. Malrotation of intestine


บิ ด
3. midgut volvulus
4. jejunoileal atresia

าธ
าม
สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ลร
ระยะเวลา 1 ½ ชม.

ผู้รับผิดชอบ อ.สาธิต กรเณศ


า บา
พย
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar
์ โรง

ความรู้พื้นฐาน
1. Development and rotation of GI tract
2. Anatomy of the intestine
ตร
าส

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


1. บอก stage ของการ development และ rotation ของ intestine ในระยะต่างๆของ
ยศ

embryo ได้
2. อธิบายความผิดปกติของ development of duodenum ที่ทาให้เกิด duodenal obstruction ได้
3. บอก clinical presentation ของผูป้ ่วยที่มีภาวะ duodenal obstruction ได้
ศลั

4. บอก associated anomalies ที่พบร่วมกับ duodenal obstruction ได้บ่อย


ชิ า

5. เลือก และ แปลผลการทารังสีวินิจฉัย ที่จาเป็นสาหรับการวินิจฉัย duodenal obstruction ได้


6. อธิบายหลักการรักษาผู้ป่วย Duodenal obstruction ได้
คว

a. Pre operative care : NPO, NG decompression, IV fluid


ภา

b. Operative treatment
i. Duodenoduodenostomy
ii. Duodenojejunostomy
iii. Excision of web
c. Post operative care
7. บอกความผิดปกติของการ rotation ของ intestine ในระยะต่างๆของ embryo ได้
8. อธิบายการเกิด gut obstruction ใน ผู้ป่วย malrotation ได้
a. Ladd’s band
b. Midgut Volvulus

73
9. บอก clinical presentation ของผูป้ ่วย midgut volvulus ได้
10. เลือก และ แปลผลการทารังสีวินิจฉัย ที่จาเป็นสาหรับการวินิจฉัย malrotation และ midgut volvulus ได้
ได้แก่ plain film abdomen, UGI series, Barium enema, Doppler U/S
11. อธิบายหลักการของ Ladd’s procedure ได้
12. บอก complication ของ midgut volvulus ได้
13. บอก prognosis ของผู้ป่วย malrotation และ midgut volvulus ได้
14. อธิบายความผิดปกติของ development of intestine ที่ทาให้เกิด jejunoileal atresia ได้
15. บอก clinical presentation ของผูป้ ่วย jejunoileal atresia ได้
16. เลือก และ แปลผลการทารังสีวินิจฉัย ที่จาเป็นสาหรับการวินิจฉัย jejunoileal atresia ได้ ได้แก่ plain film
abdomen, UGI series, Barium enema


บิ ด
17. อธิบายหลักการรักษาผู้ป่วย jejunoileal atresia ได้
a. Pre operative care : NPO, NG decompression, IV fluid

าธ
b. Operative treatment

าม
c. Post operative care
18. บอก complication ของ jejunoileal atresia ได้

ลร
19. บอก prognosis ของผู้ป่วย jejunoileal atresia ได้

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน า บา
พย
1.1ให้ผู้รบั ผิดชอบเตรียมเนื้อหาพบอาจารย์ก่อนบรรยาย
1.2 นักศึกษาทบทวนความรู้พื้นฐานที่กาหนด
์ โรง

2. ในชั้นเรียน
2.1นักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้ดาเนินการบรรยายตามหัวข้อต่อไปนี้
1. stage ของการ development และ rotation ของ intestine ในระยะต่างๆของ embryo
ตร

2. ความผิดปกติของ development of duodenum ที่ทาให้เกิด duodenal obstruction


าส

1. clinical presentation ของผูป้ ่วยทีม่ ีภาวะ duodenal obstruction


2. associated anomalies ที่พบร่วมกับ duodenal obstruction ได้บ่อย
ยศ

3. การทารังสีวินิจฉัย ที่จาเป็นสาหรับการวินิจฉัย duodenal obstruction


4. หลักการรักษาผู้ป่วย Duodenal obstruction ได้
4.1. Pre operative care : NPO, NG decompression, IV fluid
ศลั

4.2. Operative treatment


ชิ า

4.2.1. Duodenoduodenostomy
4.2.2. Duodenojejunostomy
คว

4.2.3. Excision of web


ภา

4.3. Post operative care


5. ความผิดปกติของการ rotation ของ intestine ในระยะต่างๆของ embryo
6. การเกิด gut obstruction ใน ผู้ป่วย malrotation
6.1. Ladd’s band
6.2. Midgut Volvulus
7. clinical presentation ของผูป้ ่วย midgut volvulus
8. การทารังสีวินิจฉัย ที่จาเป็นสาหรับการวินิจฉัย malrotation และ midgut volvulus ได้ ได้แก่ plain film abdomen,
UGI series, Barium enema, Doppler U/S
9. หลักการของ Ladd’s procedure

74
10. complication ของ midgut volvulus
11. prognosis ของผูป้ ่วย malrotation และ midgut volvulus
12. ความผิดปกติของ development of intestine ที่ทาให้เกิด jejunoileal atresia
13. clinical presentation ของผูป้ ่วย jejunoileal atresia
14. Types of Jejunoileal atresia
15. การทารังสีวินิจฉัย ที่จาเป็นสาหรับการวินิจฉัย jejunoileal atresia ได้แก่ plain film abdomen, UGI series,
Barium enema
16. หลักการรักษาผู้ป่วย jejunoileal atresia
16.1. Pre operative care : NPO, NG decompression, IV fluid
16.2. Operative treatment


บิ ด
16.3. Post operative care
17. complication ของ jejunoileal atresia

าธ
18. prognosis ของผูป้ ่วย jejunoileal atresia

าม
อาจารย์ช่วยเสริม และสรุปเนื้อหา รวมทั้งแสดงภาพตัวอย่างผู้ป่วย และตัวอย่างภาพรังสี

ลร
สื่อการสอน
1. เครื่อง Computer และ LCD projector พร้อมจอ
2. เครื่องฉายแผ่นใส
บา
3. โปรแกรม Powerpoint ( คาบรรยาย ภาพตัวอย่างผู้ป่วย ตัวอย่างภาพรังสี )

พย
แหล่งเรียนรู้
์ โรง

1 O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediatric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook medical
publishes,1998
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.
ตร

1990
าส

3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000
ยศ

การประเมินผล
1. โดย Direct Observation และการซักถามในชั้นเรียน
ศลั
ชิ า
คว
ภา

75
34. Gut obstruction in children
Intestinal Obstruction III ( Hirschsprung’s disease, anorectal malformation) :

เรื่อง Intestinal obstruction in children ( Part III )


 Hirschsprung’s disease
 Anorectal Malformation

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 11/2 ชม.


บิ ด
ผู้รับผิดชอบ อ.สุเมธ ธีรรัตน์กุล

าธ
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าม
ความรู้พื้นฐาน

ลร
1. Embryology of intestinal development
2. Embryology of neural crest migration
3. Physiology of bowel movement and defecation
า บา
พย
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
์ โรง

1. Diagnose and differential diagnose Hirschsprung’s disease from other causes of intestinal obstruction in
newborn and children
2. Tell the steps of investigation and management of patient with Hirschsprung’s disease
ตร

3. Tell the supportive and specific management of patient with Hirschsprung’s disease
าส

4. Treat the patient with acute enterocolitis from Hirschsprung’s disease


5. อธิบายการพัฒนาการของอวัยวะของตัวอ่อนที่เจริญเป็นทวารหนัก , ระบบทางเดินปัสสาวะ และอวัยวะอื่นที่
ยศ

พัฒนาพร้อมกัน ซึ่งอาจมีความผิดปกติร่วมด้วย
6. อธิบายสรีระของความผิดปกติของรูทวารหนัก เปรียบเทียบกับเด็กปกติ
7. อธิบายขั้นตอนการขับถ่ายอุจจาระและบอกชื่อกล้ามเนื้อที่มคี วามสาคัญในการกลั้นอุจจาระได้
ศลั

8. สามารถแยกระดับความผิดปกติของทวารหนักของเด็กชาย หรือเด็กหญิงด้วยการตรวจร่างกาย และอาการ


ชิ า

แสดง
9. บอกการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อแยกระดับความผิดปกติของทวารหนัก และความผิดปกติอวัยวะอื่น
คว

และเวลาที่เหมาะสมในการส่งตรวจ
ภา

10. บอกเวลาที่เหมาะสม และขั้นตอนการรักษา ทารกชาย หญิง ที่มีความผิดปกติของทวารหนัก


11. บอกความจาเป็นของการทา colostomy ตาแหน่ง colostomy ที่ควรทา ข้อดี ข้อเสีย
12. บอกระยะเวลาทีเ่ หมาะสมทีค่ วรผ่าตัดทารูทวาร
13. บอกพยากรณ์ของโรคที่ทาให้เด็กกลั้นอุจจาระได้ดีหรือไม่ดี
14. แนะนาพ่อแม่เด็กในการดูแลเด็กก่อนและหลังผ่าตัดได้

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน

76
1.1 ให้ผู้รบั ผิดชอบเตรียมเนื้อหาพบอาจารย์ก่อนบรรยาย
1.2 ให้ผเู้ รียนเตรียมอ่านเนื้อหาเตรียมคาถาม

2. ในชั้นเรียน
นักเรียนบรรยาย
1. Physiology of intestinal movement and defecation under control of autonomic and somatic nervous
system
2. อาการของเด็กแรกคลอด และเด็กโตที่ลาไส้อุดตัน
3. Differential diagnosis of neonatal intestinal obstruction
4. Supportive management of Hirschsprung’s disease


บิ ด
5. Specific management of Hirschsprung’s disease
6. Embryology of anorectal development

าธ
7. Anatomy of anorectal canal

าม
8. Physiology of defication
9. Anorectal malformation

ลร
a. Supravator type
b. Infralevator type
10. Complication of rectourinary fistula
บา
11. Choice for colostomy locations and surgical technique for anorectoplasty.

พย
12. Postoperative care and follow up
อาจารย์ช่วยเสริม และสรุปเนื้อหา รวมทั้งแสดงภาพตัวอย่างผู้ป่วย
์ โรง

สื่อการสอน
1. แผ่นใสเตรียมโดยนักเรียนผูบ้ รรยาย
ตร

2. สไลด์เตรียมโดยอาจารย์ และ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน


าส

แหล่งเรียนรู้
ยศ

1. O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediatric Surgery , 5th ed ;


Chicago:Yearbook medical publishes,1998
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton
ศลั

and Lange. 1990


ชิ า

3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000
คว

การประเมินผล
ภา

1. สอบลงกอง
2. สอบปากเปล่า

77
35. Abdominal Wall defect :

เรื่อง Abdominal wall defect

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 1/2 ชม.

ผู้รับผิดชอบ อ. ศนิ มลกุล


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. embryology : development of abdominal wall

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
1. อธิบาย development of abdominal wall ได้
2. นิยาม Omphalocele และ Gastroschisis ได้
3. บอกสาเหตุการเกิด omphalocele และ gastroschisis ได้
า บา
พย
4. บอกวิธีการวินิจฉัย abdominal wall defect ในระยะก่อนคลอดได้
a. Prenatal ultrasound
์ โรง

b. Maternal serum alphafetoprotein


5. สามารถบอกวิธีการคลอดที่เหมาะสมสาหรับเด็กที่มปี ัญหา abdominal wall defect ได้
6. ให้การวินิจฉัยและบอกข้อแตกต่างระหว่างผูป้ ่วยที่เป็น Omphalocele กับ Gastroschisis ได้
ตร

7. บอกถึง associated anomalies ในผู้ป่วย abdominal wall defect ได้


าส

8. บอกหลักการรักษา abdominal wall defect ทั้งในแง่


a. operative treatment
ยศ

i. Primary fascial closure


ii. Skin Closure ( Gross’ Technique)
iii. Silastic pouch with secondary closure
ศลั

b. non – operative management


ชิ า

9. อธิบาย management ของ abdominal wall defect ในระยะ ก่อนและหลังผ่าตัดได้


10. บอก complications ของ abdominal wall defect ได้
คว

11. บอก prognosis ของผูป้ ่วย abdominal wall defect ได้


ภา

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1. นักศึกษาทบทวน embryology เรื่อง development of abdominal wall
1.2. ให้ผู้รบั ผิดชอบเตรียมเนื้อหาพบอาจารย์ก่อนบรรยาย
2. ในชั้นเรียน
นักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย เป็นผูด้ าเนินการบรรยายตามหัวข้อต่อไปนี้
1. Embryology ของการ form abdominal wall
2. สาเหตุของการเกิด Omphalocele และ Gastroschisis

78
3. Diagnosis of abdominal wall defect : prenatal , postnatal
4. Differentiation between omphalocele and gastroschisis
5. Associated anomalies of omphalocele and gastroschisis
6. Preoperative management of abdominal wall defect
7. Operative management of abdominal wall defect
8. Postoperative care of abdominal wall defect
9. Non-operative management of abdominal wall defect
10. Complications of abdominal wall defect
11. Prognosis of abdominal wall defect
อาจารย์ช่วยเสริม และสรุปเนื้อหา รวมทั้งแสดงภาพตัวอย่างผู้ป่วย


บิ ด
สื่อการสอน

าธ
1. เครื่อง Computer และ LCD projector พร้อมจอ

าม
2. เครื่องฉายแผ่นใส
3. โปรแกรม Powerpoint ( คาบรรยาย ภาพตัวอย่างผู้ป่วย ตัวอย่างภาพรังสี )

ลร
แหล่งเรียนรู้

medical publishes,1998 า บา
1 O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediatric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook
พย
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.
1990
์ โรง

3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000

การประเมินผล
ตร

1. โดย Direct Observation และการซักถามในชั้นเรียน


าส

2.โดยการสอบ MCQ เมื่อลงกอง


ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

79
36. Urinary tract infection

เรื่อง Urinary tract infection

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 60 นาที

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์สมบุญ เหลืองวัฒนากิจ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาคของระบบทางเดินปัสสาวะทั้งหญิงและชาย
1. ชนิดของเชื้อแบคทีเรีย ที่มักจะทาให้เกิดโรคติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ ทางด้าน

ลร
1.1 Normal flora
1.2 Invasiveness

กรัมลบ
1.3 Antibiotic sensitivity
กรัมบวก
า บา
พย
E.coli Staph. Aureus
Prot. mirabilis Staph. epidermidis
์ โรง

Pseudo. Aeuruginosa Strep.gr.D


Klebsiella sp.
ตร

2. Clinical pharmacology ของกลุ่มยาปฏิชีวนะเหล่านี้


าส

2.1 Quinolone
2.2 Sulfa
ยศ

2.3 Penicillin
2.4 Cephalosporin
3. การแปลผลการตรวจปัสสาวะ
ศลั

3.1 วิธีเก็บปัสสาวะส่งตรวจที่ถูกต้อง
ชิ า

3.2 ลักษณะของผลปัสสาวะในโรคติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น WBC, nitrite, pH


3.3 ความน่าเชื่อถือของผลการตรวจปัสสาวะ เช่น จานวน epithelium
คว

4. อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะและกลไกการเกิด
ภา

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


1. อธิบายปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ ดังนี้
1.1 การกลั้นปัสสาวะ
1.2 เพศสัมพันธ์
1.3 อายุ เพศ
1.4 ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
2. ระบุ เลือกและแปลผลวิธีตรวจเพิม่ เติมเพื่อประกอบการวินิจฉัยที่เหมาะสมในคนไข้แต่ละรายได้
ดังนี้

80
2.1 ทางรังสีวิทยา (plain KUB, IVP, ultrasonography)
2.2 ทางห้องปฏิบัติการ (UA, urine C/S, urine gram stain, AFB C/S and gram stain, urine
PCR for TB)
3. ระบุอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะส่วนบนและส่วนล่างและอธิบายกลไก
การเกิด
4. วินิจฉัยแยกโรคและวินจิ ฉัยภาวะติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะได้อย่างถูกต้อง ดังนี้
4.1 การติดเชื้อแบบไม่เฉพาะเจาะจง (non-specific infection)
- Pyelonephritis
- Pyonephrosis
- Xanthogranulomatous pyelonephritis


บิ ด
- Renal abscess
- Perinephric abscess

าธ
- Cystitis

าม
- Epididymo-orchitis
- Prostatitis

ลร
- Urethritis *
4.2 การติดเชื้อแบบเฉพาะเจาะจง (specific infection)
- Tuberculosis
- Candidiasis า บา
พย
5. ระบุเชื้อที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อยในการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะทั้งเจาะจงและไม่เฉพาะเจาะจง
6. เลือกใช้ยาปฏิชีวะนะที่เหมาะสมได้อย่างถูกต้อง
์ โรง

7. อธิบายหลักการรักษาภาวะติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะเบื้องต้น โดยจาแนกภาวะที่จาเป็นต้องให้
การรักษาโดยวิธีทางยาหรือทางศัลยกรรม อันได้แก่
7.1 การแก้ไขภาวะอุดกั้นของระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น suprapubic cystostomy, stone
ตร

removal, catherization
าส

7.2 การระบายหนองรอบไต (perinephric abscess) ทางผิวหนังและการผ่าตัด


7.3 Nephrectomy
ยศ

8. ประเมินขีดความสามารถของตนเอง ปรึกษาและส่งต่อคนไข้มารับการรักษาทางศัลยกรรมต่อไป
9. ระบุ วินิจฉัยและอธิบายหลักการรักษาภาวะปัสสาวะบ่อยเรื้อรังได้อย่างเป็นขั้นตอน ได้แก่
interstitial cystitis, TB cystitis, recurrent bacterial cystitis, urethral syndrome
ศลั

10. ตระหนักความสาคัญของการวินจิ ฉัยแต่แรกเริ่มในคนไข้วัณโรคทางเดินปัสสาวะและการติดตาม


ชิ า

เพื่อป้องกันการลุกลามของโรค อันมีผลเสียต่อการทางานของไต
11. ตระหนักความรู้สึก สภาพจิตใจ และผลกระทบต่อวิถีชีวิตและการทางานของคนไข้และญาติที่มี
คว

อาการปัสสาวะบ่อยเรื้อรัง
ภา

12. ตระหนักความสาคัญและให้คาแนะนาคนไข้เพื่อหลีกเลี่ยง และป้องกันภาวะติดเชื้อระบบทางเดิน


ปัสสาวะและการเกิดซ้าได้
13. ตระหนักความสาคัญของให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อหลีกเลี่ยงและป้องกันภาวะติดเชื้อระบบ
ทางเดินปัสสาวะ

* เรียนเพิ่มเติมในหน่วยโรคผิวหนังและทางนรีเวชวิทยา

81
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนกายวิภาคของระบบทางเดินปัสสาวะและการแปลผลการตรวจปัสสาวะ
1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการสอนเรื่อง Urinary Tract Infection (จากแหล่งเรียนรูข้ ้อ 1)
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน 1 นาที
2.2 ทบทวนความรู้พื้นฐานเรื่องกายวิภาคและแบคทีเรีย 4 นาที
2.3 ฉายสไลด์ชนิดของการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ 5 นาที
2.4 ฉายสไลด์การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน 20 นาที
2.5 สรุปการเรียนรู้เรื่องการติดเชือ้ ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน 2 นาที


บิ ด
2.6 ฉายสไลด์การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง 20 นาที
2.7 สรุปการเรียนรู้เรื่องการติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง 2 นาที

าธ
2.8 ให้นักศึกษาซักถามและแจ้งให้เรียนรู้ด้วยตนเองในหัวข้อที่ไม่ได้สอน 6 นาที

าม
รวม 60 นาที

ลร
สื่อการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง Urinary Tract Infection
2. Slides และเครื่องฉาย slide า บา
พย
3. Computer และ projector
์ โรง

แหล่งเรียนรู้
1. สมบุญ เหลืองวัฒนากิจ การติดเชือ้ ของระบบทางเดินปัสสาวะ. ใน: สาวิตร โฆษิตชัยวัฒน์
บรรณาธิการ. ตาราศัลยศาสตร์รามาธิบดี เล่ม 2. กรุงเทพฯ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาล
ตร

รามาธิบดี 2544; 87-97.


าส

2. www.urorama.com (Urinary Tract Infection) โดยอาจารย์สมบุญ เหลืองวัฒนากิจ


3. Stamey TA. Specific Infections of the Genitourinary Tract. In: Tanagho EA, et al, eds. Smith’s
ยศ

General Urology, 12th ed. : Prentice-Hall International Inc, 1988, p 246-61.


4. Meares EM Jr. Nonspecific Infections of the Genitourinary Tract. In: Tanagho EA, et al, eds.
Smith’s General Urology, 12th ed. : Prentice-Hall International Inc, 1988, p 196-245.
ศลั

5. วีระสิงห์ เมืองมั่น วชิร คชการ การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ ใน: ไพฑูรย์ คชเสนีย์, กฤษฎา รัตน
ชิ า

โอฬาร บรรณาธิการ. ศัลยศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ชาย ตอนที่ 1.


กรุงเทพฯ: สยามสเตชั่นนารี ซัพพลายส์, 2537, 255-84.
คว
ภา

การประเมินผล
1. จากการซักถามและการตอบในชั้นเรียน
2. จากการซักถามและการตอบในกลุ่มเรียนย่อย (preceptor)
3. จากการสอบลงกอง MCQ
4. จากการสอบรวบยอด MCQ และ OSCE

82
38. Common acute surgical abdomen in pediatric patients

เรื่อง Common acute surgical abdomen in pediatric patients


1 NEC
2 Intussusception
3 Appendicitis

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ½ ชม.


บิ ด
ผู้รับผิดชอบ อ.วิชัย พันธ์ศรีมังกร

าธ
าม
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
1. บอกโรคที่พบบ่อย และวิธีการแยกโรคต่างๆในผู้ป่วย acute abdomen
2. บอก pathophysiology ของการเกิด NEC ได้
3. บอก incidence และ stage ต่างๆ ของ NEC ได้ า บา
พย
4. บอกอาการแสดงและการตรวจพบทางร่างกายที่สาคัญในการวินิจฉัย NEC ได้
5. บอกหลักการวินิจฉัย รักษา การติดตามผลการรักษา โดยใช้ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ การใช้รังสี
์ โรง

วินิจฉัย ultrasonography และการใช้สารทึบรังสีได้


6. บอก indication ในการรักษาด้วยการผ่าตัดสาหรับผู้ป่วย NEC ได้
7. บอกการดาเนินโรค และการพยากรณ์โรค ตลอดจนผลการรักษา แก่ญาติผู้ป่วยได้
ตร

8. นิยาม ภาวะ Intussusception ได้


าส

9. บอก Incident และ กลุ่มอายุผู้ป่วยที่เป็น Intussusception ได้


10. บอก leading point ที่พบบ่อยได้
ยศ

11. อธิบายอาการแสดงและการตรวจพบทางร่างกายที่สาคัญในผู้ป่วย Intussusception ได้


12. อธิบายวิธีการรักษาขั้นต้นสาหรับผู้ป่วย Intussusception ได้
13. บอกและเลื อ กการตรวจทางห้ อ งปฏิ บั ติ การ และหรื อ การใช้ รัง สี วินิ จ ฉั ย เช่ น plain film abdomen,
ศลั

ultrasonography, Barium enema เพื่อช่วยแยกโรคได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และประหยัด


ชิ า

14. อธิบายหลักการ และวิธีทา Barium enema เพื่อ reduce Intussusception ได้


15. บอก contraindication of Barium enema ในผู้ป่วย Intussusception ได้
คว

16. บอก Indications ของการผ่าตัด และหลักการผ่าตัดผู้ป่วย Intussusception ได้


ภา

17. บอก recurrent rate of Intussusception ได้


18. บอกอาการแสดงและการตรวจพบทางร่างกายที่สาคัญในผู้ป่วย acute appendicitis ได้
19. บอกและเลือกการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และหรือการใช้รังสีวินิ จฉัย ตลอดจน ultrasonography,
Barium enema เพื่อช่วยแยกโรคได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และประหยัด
20. บอกหลักการรักษาผู้ป่วยที่เป็นไส้ติ่งอักเสบ ในระยะต่างๆกันได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสม ( acute
appendicitis, appendiceal abscess, chronic appendicitis )
21. บอกภาวะแทรกซ้อน (complication) ที่อาจเกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยที่เป็นไส้ติ่งอักเสบ ทั้งก่อนและหลังการ
ผ่าตัด
22. บอกการพยากรณ์โรค appendicitis แก่ผู้ป่วยได้

83
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
2. ในชั้นเรียน
นักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย เป็นผูด้ าเนินการบรรยายตามหัวข้อต่อไปนี้
1. History taking in pediatric patients with acute abdomen
2. Physical examination
3. Etiology and risk factors of NEC
4. Clinical presentation NEC
5. Diagnosis, investigation and staging of NEC
6. Indications for operation in NEC


บิ ด
7. Treatment for NEC : non-operative treatment, operative treatment
8. Result and prognosis of NEC

าธ
9. นิยาม ภาวะ Intussusception

าม
10. Incident และ กลุ่มอายุผู้ป่วยที่เป็น Intussusception
11. leading points eg. polyp, lymphoma, intestinal duplication

ลร
12. อาการแสดงและการตรวจพบทางร่างกายที่สาคัญในผู้ป่วย Intussusception
13. Initial management for patient suspected of Intussusception

บา
14. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ และหรือการใช้รังสีวินิจฉัย เช่น plain film abdomen, ultrasonography,
Barium enema เพื่อช่วยแยกโรคได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และประหยัด

พย
15. หลักการ และวิธีทา Barium enema เพื่อ reduce Intussusception
16. contraindication of Barium enema ในผู้ป่วย Intussusception
์ โรง

17. Indications ของการผ่าตัด และหลักการผ่าตัดผู้ป่วย Intussusception


18. recurrent rate of Intussusception
19. Pathophysiology of acute appendicitis
ตร

20. Differential diagnosis


าส

21. Investigations ( Lab & X-ray , ultrasound , Barium enema )


22. หลักการรักษาและการผ่าตัดผู้ป่วย appendicitis ที่พบในระยะต่างๆ
ยศ

23. Complication ที่อาจเกิดขึ้นได้ ก่อนและหลังการผ่าตัด


24. Prognosis ของผู้ป่วยในระยะต่างๆ ของ appendicitis
อาจารย์ช่วยเสริม และสรุปเนื้อหา รวมทั้งแสดงภาพตัวอย่างผู้ป่วย
ศลั

สื่อการสอน
ชิ า

1. เครื่อง Computer และ LCD projector พร้อมจอ


2. เครื่องฉายแผ่นใส
คว

3. โปรแกรม Powerpoint ( คาบรรยาย ภาพตัวอย่างผู้ป่วย ตัวอย่างภาพรังสี )


ภา

แหล่งเรียนรู้
1 O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediaric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook medical
publishes,1998
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.
1990
3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000
การประเมินผล
1. โดย Direct Observation และการซักถามในชั้นเรียน
2.โดยการสอบ MCQ เมื่อลงกอง

84
39. Diaphragmatic hernia and GER : อ.วิชัย พ.

เรื่อง Diaphragmatic hernia and GER

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1½ ชม.

ผู้รับผิดชอบ อ.วิชัย พันธ์ศรีมังกร


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Embryology of the Diaphragm development
2.Physiology of stomach function

ลร
3.Anatomy of diaphragm , esophagus ,and stomach

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


1. อธิบายการพัฒนาการของกระบังลม า บา
พย
2. อธิบายการเกิดพยาธิสรีรวิทยาในผู้ป่วยไส้เลื่อนกระบังลม
3. ให้การวินิจฉัยโรคไส้เลื่อนกระบังลมโดยอาการทางคลีนคิ ได้
์ โรง

4. บอกหลักการรักษาไส้เลื่อนกระบังลม
5. บอกปัจจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับการพยากรณ์โรคไส้เลื่อนกระบังลมได้
6. นิยาม gastroesophageal reflux ( GER)
ตร

7. บอกอาการและอาการแสดงของผู้ป่วย GER
าส

8. บอก diffferential diagnosis ของ GER


9. บอก investigation ที่ใช้ในการวินจิ ฉัย GER เช่น Barium swallow, milk scan, 24 hr. pH
ยศ

monitoring, esophagogastroscope
10. อธิบายวิธีการรักษา GER
10.1. Medical treatment : feeding position, thicken meal, continuous feeding, medications
ศลั

10.2. Operative treatment : fundoplication


ชิ า

11. บอก indication of fundoplication


12. บอก complication ที่พบบ่อยหลังทา fundoplication : Esophageal stricture, recurrent GER,
คว

Bleeding, splenic injury, gut obstruction from adhesion band


ภา

13. บอก prognosis ของผู้ป่วย GER

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1นักศึกษาทบทวน embryology เรื่อง development of abdominal wall
1.2ให้ผู้รบั ผิดชอบเตรียมเนื้อหาพบอาจารย์ก่อนบรรยาย
ในชั้นเรียน
นักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย เป็นผูด้ าเนินการบรรยายตามหัวข้อต่อไปนี้
1. Embryology of diaphragm and consequence of pathophysiology of hypoplastic lung

85
2. Clinical manifestation of diaphragmatic hernia
3. Pre and post- operative management of Bochdalek type diaphragmatic hernia
4. Fetal surgery for congenital diaphragmatic hernia
5. Prognosis of patient with diaphragmatic hernia
6. นิยาม gastroesophageal reflux ( GER)
7. อาการและอาการแสดงของผู้ป่วย GER
8. diffferential diagnosis ของ GER
9. investigation ที่ใช้ในการวินจิ ฉัย GER เช่น Barium swallow, milk scan, 24 hr. pH monitoring,
esophagogastroscope
10. วิธีการรักษา GER


บิ ด
a. Medical treatment : feeding position, thicken meal, continuous feeding, medications
b. Operative treatment : fundoplication

าธ
11. indication of fundoplication

าม
12. complication ที่พบบ่อยหลังทา fundoplication : Esophageal stricture, recurrent GER, Bleeding, splenic
injury, gut obstruction from adhesion band

ลร
13. prognosis ของผูป้ ่วย GER
อาจารย์ช่วยเสริม และสรุปเนื้อหา รวมทั้งแสดงภาพตัวอย่างผู้ป่วย

สื่อการสอน า บา
พย
1. เครื่อง Computer และ LCD projector พร้อมจอ
2. เครื่องฉายแผ่นใส
์ โรง

3. โปรแกรม Powerpoint ( คาบรรยาย ภาพตัวอย่างผู้ป่วย ตัวอย่างภาพรังสี )

แหล่งเรียนรู้
ตร

1 O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediaric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook medical
าส

publishes,1998
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.
ยศ

1990
3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000
ศลั

การประเมินผล
ชิ า

1. โดย Direct Observation และการซักถามในชั้นเรียน


2.โดยการสอบ MCQ เมื่อลงกอง
คว
ภา

86
40. Facial injury

เรื่อง Facial injury

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 50 นาที

ผู้รับผิดชอบ นายแพทย์สุรเวช น้าหอม


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  Core based lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Mechanism of facial injuries
2. Diagnosis of facial injuries

ลร
- soft tissue injuries
- facial bone fracture
3. First aid and initial management of facial injuries
บา
4. General principle of surgical management of facial injuries

พย
5. Prevention of facial injuris in the community
์ โรง

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


1.สามารถเข้าใจ mechanism of facial injuries
2.สามารถให้ diagnosis และ investigation ที่ถูกต้องในผูป้ ่วย facial injuries
ตร

3.สามารถให้ first aids และ initial management ในผูป้ ่วย facial injuries เบื้องต้นได้
าส

4.เข้าใจหลักการรักษาผูป้ ่วย facial injuries อย่างถูกต้อง


5.สามารถให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันและการดูแลตัวเองหลังจาก facial injuries
ยศ

ได้

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ศลั

1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
ชิ า

1.1 นักศึกษาอ่านทบทวนเรื่อง “facial injuries ” ตามเอกสารประกอบคาสอนและตารา


ที่อ้างอิงไว้
คว

1.2 นักศึกษาได้ดูแลผู้ป่วย facial injuries จากการเรียนการสอนข้างเตียงผูป้ ่วย


ภา

(bedside teaching)
2. ในชั้นเรียน
2.1 อธิบาย Mechanism of facial injuries
2.2 อธิบายลักษณะ facial injuuries ชนิดต่างๆ
- soft tissue injuries
- facial bone fractures
2.3 แนวทางการตรวจร่างกายและการวินิจฉัยใน facial injuries ชนิดต่างๆ
2.4 หลักการของ first aids and initial management ในผูป้ ่วย facial injuries
2.5 หลักการของ surgical management ในผูป้ ่วย facial injuries

87
2.6 สุ่มนักศึกษาให้ตอบแนวทางการวินิจฉัยและตรวจดูแลเบื้องต้นในผูป้ ่วย
facial injuries แบบต่างๆ
2.7 แนวทางการให้ความรู้แก่ประชาชนในการป้องกันและดูแลตัวเองหลังจากได้รับ
บาดเจ็บบริเวณใบหน้า
2.8 สรุปการเรียนรู้
2.9 ให้นักศึกษาซักถาม

สื่อการสอน
- เครื่อง LCD Projector
- เครื่องฉาย slide


บิ ด
แหล่งเรียนรู้

าธ
- เอกสารคาสอนเรื่อง “facial injuries” โดย นายแพทย์สุรเวช น้าหอม

าม
- Sabiston is Textbook of Surgery
- Schwartz’s principle of Surgery

ลร
การประเมินผล

(bedside teaching) า บา
1. จากการสุ่มซักถามและให้นักศึกษาสาธิตการตรวจร่างกายขณะดูผปู้ ่วยข้างเตียง
พย
2. การสอบลงกอง :-
2.1 MCQ
์ โรง

2.2 Slide test


3. การสอบรวบยอด
3.1 MCQ
ตร

3.2 OSCE
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

88
41. Common Ambulatory Pediatric Surgical Problems
( Inguinal Hernia , hydrocele, phimosis, undescended testis , torsion of testis) :

เรื่อง Common Ambulatory pediatric surgical problems


1.Inguinal hernia
2.Hydrocele
3.Undescended testis
4.Torsion of testis
5. Phimosis


บิ ด
สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

าธ
ระยะเวลา 1 ½ ชม.

าม
ผู้รับผิดชอบ อ. ศนิ มลกุล

ลร
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

ความรู้พื้นฐาน า บา
พย
1. Development and migration of testis
2. Anatomy of inguinal canal
์ โรง

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


1. อธิบาย Embryology and pathogenesis ของโรคทั้งหมดที่กาหนด
ตร

2. อธิบายอาการ อาการแสดง และปัจจัยเสี่ยงต่อโรคของผู้ป่วยที่เป็นโรคทั้งหมดที่กาหนด


าส

3. บอก differential diagnosis ของแต่ละโรคได้และสามารถวินิจฉัยแยกโรคได้ถูกต้อง


4. เลือก investigation ที่จาเป็นและเหมาะสมสาหรับแต่ละโรคได้ และแปลผลได้ถูกต้อง
ยศ

5. อธิบายวิธีการรักษาในแต่ละโรคได้ ทั้งในแง่ medical และ surgical treatment และบอกเวลาที่เหมาะสม


สาหรับการรักษาได้ ได้แก่
5.1 Principle of herniotomy, timing of surgery and indication for contralateral exploration
ศลั

5.2 Principle and timing for hydrocelectomy


ชิ า

5.3 Hormonal treatment for undescended testis


5.4 Principle and timing for orchiopexy
คว

5.5 principle of surgery for torsion of testis


ภา

5.6 Indication and timing for circumcision

6. อธิบายภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ในแต่ละโรค และอธิบายหลักการรักษาภาวะแทรกซ้อนนั้นๆได้
ได้แก่
6.1 Incacerated and strangulated hernia
6.2 paraphimosis
7. อธิบายภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากการผ่าตัดรักษาโรคที่กาหนดได้

89
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวน embryology เกี่ยวกับ development and migration of testis
1.2 นักศึกษาทบทวน anatomy of inguinal canal
1.3 ให้ผู้รบั ผิดชอบเตรียมเนื้อหาพบอาจารย์ก่อนบรรยาย

ในชั้นเรียน
นักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย ดาเนินการสัมนาในหัวข้อต่อไปนี้ โดยมีอาจารย์ช่วยสรุปและแสดงภาพตัวอย่าง
ผู้ป่วย
Inguinal hernia and hydrocele


บิ ด
Definition , Embryology and pathogenesis
Incidence: concerning side, sex

าธ
Clinical presentation and physical examination

าม
Differential diagnosis
Investigations

ลร
Treatment : principle and timing of surgery
: Indications for contralateral exploration
: complications of surgery
บา
Complication of inguinal hernia : Incarcerated and strangulated hernia : diagnosis and management

พย
Undescended testis
Review of development and migration of testis
์ โรง

Factor influencing descent of testis , risk factors of undescended testis


Definition of undescended testis, ectopic testis , retractile testis
Locations of undescended testis
ตร

Complication of undescended testis


าส

Investigations of Undescended testis


Non operative treatment of undescended testis and complication of treatment
ยศ

Operative treatment : Orchidopexy : Principle and timing of surgery


: Complication of orchidopexy
Torsion of testis
ศลั

Incidence
ชิ า

Pathogenesis
Clinical presentation : History and Physical examination
คว

Differential Diagnosis : Epididymoorchitis, Mump orchitis


ภา

Investigations
Treatment : Scrotal exploration, contralateral orchidopexy
Phimosis
Normal physiology of prepuce
Definition of phimosis
Complications of phimois
Circumcision : Indications and complications
Paraphimosis : definition and treatment

90
สื่อการสอน
1. เครื่อง Computer และ LCD projector พร้อมจอ
2. เครื่องฉายแผ่นใส
3. โปรแกรม Powerpoint ( คาบรรยาย ภาพตัวอย่างผู้ป่วย ตัวอย่างภาพรังสี )

แหล่งเรียนรู้
1 O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediaric Surgery , 5th ed ; Chicago:Yearbook medical
publishes,1998
2 Raffensperger JG.Swenson's Pediatric Surgery 4th ed.Norwalk,Connecticut: Appleton and Lange.
1990


บิ ด
3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000

าธ
การประเมินผล

าม
1. โดย Direct Observation และการซักถามในชั้นเรียน
2.โดยการสอบ MCQ เมื่อลงกอง

ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

91
42. Burns

เรื่อง Burns

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 50 นาที

ผู้รับผิดชอบ นายแพทย์สุรเวช น้าหอม


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  Core based lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Pathophysiology of burns
2. การประเมิน burn wound depth

ลร
4. แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น
- Estimate burn severity
- Initial fluid resuscitation and monituring
- Burn wound care า บา
พย
- Pain contral
- Nutrition support
์ โรง

5. การวินิจฉัย Inhalation injuries, Electrical injuries, chemical injuries


6. การดูแลผู้ป่วยในระยะยาว
ตร

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


าส

1. เข้าใจและอธิบาย Pathophysiology ของ burns ได้


2. สามารถให้การวินิจฉัยและประเมินความรุนแรงของผูป้ ่วย burn ได้
ยศ

3. อธิบายแนวทางการดูแลผู้ป่วย burn เบื้องต้นได้


4. ให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยที่มีปัญหาจากการรักษาในระยะยาวได้
ศลั

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ชิ า

1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาอ่านทบทวนเรื่อง “burns” ตามเอกสารประกอบคาสอนและตาราที่อ้างอิงไว้
คว

1.2 นักศึกษาได้มีโอกาสดูผู้ป่วยไฟไหม้น้าร้อนลวก
ภา

2. ในชั้นเรียน
2.1 อธิบาย Pathophysiology of Burns
2.2 อธิบายลักษณะ burn wound และการประเมิน burn area
2.3 แนวทางการดูแลผู้ป่วยเบื้องต้น
2.4 ขั้นตอนในการดูแลรักษาผู้ปว่ ย
- การซักประวัติ การตรวจร่างกาย ประเมิน burn severity
2.5 หลักการของ Fluid resuscitation และ Monitoring
- Parkland’s Formula
2.6 การดูแล burn wound

92
- Topical Antibiotic
- Wound dressing
- Surgical management
2.7 การดูแลด้านอื่น
- Pain Control
- Nutrition Support
- Antibiotic
- Tetanus prophylaxis
2.8 ลักษณะของ Inhalation injuries, chemical injuries, และ electrical injuries
2.9 การดูแลผลแทรกซ้อนของ burn ในระยะหลัง


บิ ด
2.10 สรุปการเรียนรู้
2.11 ให้นักศึกษาซักถาม

าธ
าม
สื่อการสอน
- เครื่อง LCD Projector

ลร
แหล่งเรียนรู้

- Schwartz’s principle of surgery า บา


- เอกสารคาสอนเรื่อง “Burn” โดย นายแพทย์สุรเวช น้าหอม
พย
- Sabiston’s textbook of surgery
์ โรง

การประเมินผล
1. จากการซักถามนักศึกษาระหว่าง bedside techingในห้องตรวจผู้ป่วยนอก ตึกผู้ป่วยใน
2. การสอบลงกอง :-
ตร

2.1 MCQ
าส

2.2 Slide test


3. การสอบรวบยอด
ยศ

3.2 MCQ
3.2 OSCE
ศลั
ชิ า
คว
ภา

93
43. Principle of trauma management

เรื่อง Principle of trauma management

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง

ผู้รับผิดชอบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรศักดิ์ ลีลาอุดมลิปิ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กลไกของการบาดเจ็บชนิดต่างๆ ตลอดจนผลการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาและพยาธิวิทยาในผู้ป่วย
2. หลักการ approach ผู้ป่วยที่ได้รบั บาดเจ็บตั้งแต่การเริ่มประเมินและแนวทางการวินิจฉัย

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน นักศึกษาแพทย์ปที ี่ 4 สามารถ
บา
1. เข้าใจกลไกและปัจจัยเกื้อหนุนการเกิดอุบัติเหตุ ตลอดจนการป้องกันและลดความรุนแรงของการเกิด

พย
อุบัติเหตุ
2. เข้าใจหลักการประเมินและดูแลผู้ป่วยที่ได้รบั อุบตั ิเหตุในขั้นต้นและรู้ถึงแนวการรักษาภาวะวิกฤตินี้
์ โรง

ในเบื้องต้น
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
ตร

1.1 ทบทวน
าส

2. ในชั้นเรียน
2.1 อธิบายปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดการบาดเจ็บและวิธีการป้องกันหรือลดความรุนแรงของการบาดเจ็บนั้น
ยศ

ดังนี้
- ปัจจัยของตัวผู้ป่วย
- alcohol / drug
ศลั

- seat belt / air bag / hamet


ชิ า

2.2 อธิบายกลไกของการบาดเจ็บที่พบบ่อยและผลทางสรีรวิทยาและพยาธิวิทยาที่ตามมา ดังนี้


- blunt injury
คว

- penetrating injury
ภา

- falling
2.3 อธิบายขั้นตอนการดูแลรักษาและประเมินผูป่ วยที่ได้รบั บาดเจ็บและเน้นการดูแลในระยะวิกฤติ
เบื้องต้น ดังนี้
- step in trauma approach - primary survey
- resuscitation
- secondary survey
- investigation
- definite treatment
2.4 หลักการและแนวทางการรับปัญหา mass cansualty

94
สื่อการสอน
1. คอมพิวเตอร์และโปรแกรม Power point presentation
2. เครื่อฉายภาพจากจอคอมพิวเตอร์

แหล่งเรียนรู้
1. Text book : Trauma

การประเมิน
1. ซักถามในชั้นเรียน
2. การสอบลงกอง MCQ


บิ ด
าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

95
44. Thyroid disease

เรื่อง Thyroid disease

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที

ผู้รับผิดชอบ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
3. กายวิภาคและ สรีระวิทยาของต่อมไธรอยด์

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน นักศึกษาแพทย์ปที ี่ 4 สามารถ
1. ระบุอาการของภาวะ
1.1 Hypothyroidism า บา
พย
1.2 Hyperthyroidism
1.3 Goiter
์ โรง

1.4 Solitary thyroid nodule


1.4.1 Cancer
1.4.2 Non Cancer
ตร

2. ระบุและตระหนักถึงปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคไธรอยด์ชนิดต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
าส

3. เลือกส่งและแปลผลการตรวจเพิ่มเติมเพื่อการวินิจฉัยดังนี้
3.1 Thyroid function test
ยศ

3.2 Radioiodine scan


3.3 Ultransonography
3.4 Fine needle Aspiration
ศลั

4. วินิจฉัยโรคทางต่อมไธรอยด์หรือสามารถส่งต่อผู้ป่วยที่สงสัยโรคดังนี้ได้
ชิ า

4.1 Hypothyroidism
4.1.1 Hashimoto’s thyroiditis
คว

4.1.2 Subacute thyroiditis


ภา

4.2 Hyperthyroidism
4.2.1 Grave’s disease
4.2.2 Toxic nodule or toxic adenoma
4.2.3 Toxic multinodular goiter
4.3 Goiter
4.3.1 Benige Goiter
4.3.2 Malignant Goiter
5. อธิบายหลักการรักษาโรคของต่อมไธรอยด์ได้ดังนี้
5.1 Medical Treatment

96
5.2 Radioactive iodine
5.3 Operation Treatment
6. ตระหนักถึงความสาคัญในการให้ความรู้ประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันไม่ให้เกิดโรคไธรอยด์ พร้อมทั้ง
แนะนาอาการให้ต่อประชาชน เพือ่ มาพบแพทย์ตั้งแต่แรกเริ่มของอาการผิดปกติซึ่งอาจเป็นโรคทางไธรอยด์
ได้

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนกายวิภาคและ สรีระวิทยาของต่อมไธรอยด์
2. ในชั้นเรียน


บิ ด
2.1 แนะนาปัญหาเกี่ยวกับโรคของ thyroid ในทางคลินิก
2.2 นาเสนอผู้ป่วย thyrotoxicosis

าธ
2.3 บรรยายอาการของ thyrotoxicosis และการประยุกต์ใช้ในผูป้ ่วย

าม
2.4 บรรยายอาการตรวจพบของผูป้ ่วย thyrotoxisis และการประยุกต์ใช้ในผูป้ ่วย
2.5 อธิบายการทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจการทางานของต่อม thyroid

ลร
2.6 แนวทางการรักษา thyrotoxicosis
2.7 นาเสนอผู้ป่วย hypothyroidism

บา
2.8 บรรยายอาการของ hypothyroidism และการประยุกต์ใช้ในผู้ปว่ ย
2.9 บรรยายอาการตรวจพบของผูป้ ่วย hypothyroidism และการประยุกต์ใช้ในผูป้ ่วย

พย
2.10 แนวทางการรักษา hypothyroidism
2.11 นาเสอนผู้ป่วย solitary thyroid nodule
์ โรง

2.12 บรรยายเกี่ยวกับสาเหตุของ solitary thyroid nodule


2.13 อธิบายแนวทางการวินิจฉัย solitary thyroid nodule
2.14 แนวทางการรักษา solitary thyroid nodule
ตร
าส

สื่อการสอน
1. คอมพิวเตอร์เพื่อ Power point presentation
ยศ

2. เครื่อฉายภาพจากจอคอมพิวเตอร์
3. เลเซอร์พอยด์เตอร์ (Laser Pointer)
ศลั

แหล่งเรียนรู้
ชิ า

3. Seymour L. Schwartz : Principle of Surgery, 6th adition. Thyroid disease, 1611-1644


4. เอกสารประกอบการเรียนรู้ โรคทางไธรอยด์ โดย
คว
ภา

97
45. Soft Tissue Infection

เรื่อง Soft Tissue Infection

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4

ระยะเวลา 90 นาที

ผู้รับผิดชอบ นพ.อัษฎา วิภากุล


นพ.ปรีดา สัมฤทธิ์ประดิษฐ์


บิ ด
นพ.รณรัฐ สุวิกะปกรณ์กุล

าธ
กิจกรรมการเรียนการสอน Seminar

าม
ความรู้พื้นฐาน

ลร
1. ความรู้ทาง Microbilology, Immunology และ Pharmacology of antibiotic
2. Anatomy of Musculoskeleton System
3. Histology of Soft Tissue
4. หลักการซักประวัติและตรวจร่างกายของ Skin and Soft Tissue
า บา
พย
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
์ โรง

เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
1. ระบุนิยามของ Medical Soft Tissue Infection ได้แก่ Cellulitis Erysipelas, Impetigo, Folliculitis
Staphylocoucal Scalded Skin Syndrome, Lymphangitis Echyma
ตร

2. ระบุนิยามของ Surgical Soft Tissue Infection ได้แก่ Subcutaneous Abscess, Necrotizing Soft Tissue
าส

Infection, Pyomyositis, Fournier Gangrene


3. สามารถแยกภาวะ Medical Soft Tissue Infection และ Surgical Soft Tissue Infection ได้
ยศ

4. สามารถอธิบายสาเหตุและเชื้อก่อโรคใน Soft Tissue Infection


5. ระบุเลือกส่งและแปรผลการตรวจเพิ่มเติมเพื่อวินิจฉัยภาวะ Soft Tissue Infection
6. อธิบายหลักการรักษา Soft Tissue Infection และการเลือกใช้ Antibiotics ที่เหมาะสม
ศลั

7. ตระหนักถึงความสาคัญของการให้ความรู้ความเข้าใจถึงสาเหตุของโรค การรักษาและพยากรณ์โรคกับ
ชิ า

ผู้ป่วยและญาติ
8. ประเมินขีดความสามารถในการดูแลผู้ป่วยด้วยตนเองและส่งต่อผูเ้ ชี่ยวชาญได้ถูกต้องและเหมาะสม
คว
ภา

การจัดประสบการการเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนความรู้พื้นฐานก่อนเข้าชั้นเรียน
1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้า
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน 10 นาที
2.2 Medical Soft Tissue Infection 30 นาที
2.3 Surgical Soft Tissue Infection 30 นาที
2.4 สรุปบทเรียนการเรียนรู้ 10 นาที

98
2.4 ให้นักศึกษาซักถามและแจ้งให้เรียนรูด้ ้วยตนเองในวัตถุประสงค์ที่ไม่ได้สอน 10 นาที
รวมเวลา 90 นาที
3. หลังชั้นเรียน
ศึกษาเอกสารเพิ่มเติม

สื่อการสอน
1. เครื่องฉายภาพจากคอมพิวเตอร์ (Projector)
2. คอมพิวเตอร์

แหล่งเรียนรู้


บิ ด
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรือ่ ง “Soft Tissue Infection”
2. ตาราเรื่อง Principle of Surgery, Schwartz 7th edition Vol. 1

าธ
3. ตาราเรื่อง Principle and Practice of Infectious Diseases, Mandell, 5th edition

าม
การประเมินผล

ลร
1. การซักถาม และตอบในชั้นเรียน
2. สังเกตและประเมินผลระหว่างปฏิบตั ิงานในภาควิชาอายุรศาสตร์และศัลยศาสตร์
3. การสอบลงกอง MCQ, MEQ หรือ OSCE
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

99
46. Principle of Organ Transplantation

เรื่อง Principle of Organ Transplantation

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง

ผู้รับผิดชอบ นายแพทย์โสภณ จิรสิริธรรม


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Core Lecture Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. ความรู้พื้นฐานทางด้านอิมมูโนโลยี ทีเซลล์ ภูมิคุ้มกัน
2. ความรู้พื้นฐานทางด้านสรีรวิทยาของไต

ลร
3. ความรู้พื้นฐานทางด้านการวิภาคของไตและหลอดเลือดใหญ่บริเวณท้องน้อย
4. ความรู้พื้นฐานความรู้พื้นฐานทางด้านโรคไต ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย การฟอกเลือด

วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ า บา
พย
1. นิยามของการปลูกถ่ายอวัยวะ
2. อธิบายถึงความสาเร็จและความจาเป็นของการปลูกถ่ายอวัยวะ
์ โรง

3. อธิบายถึงความสาคัญและหลักการของระบบอิมมูโนโลยีทเี่ กี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะในด้าน
3.1 ชนิดของเนื้อเยื่อหรืออวัยวะที่ปลูกถ่าย
3.2 HLA
ตร

3.3 ปฏิกิริยาปฏิเสธการปลูกถ่าย (Rejection)


าส

3.4 ยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้บ่อย
4. อธิบายถึงความสาคัญและหลักการของการบริจาคอวัยวะซึ่งครอบคลุมสาระสาคัญ
ยศ

4.1 ชนิดของผูบ้ ริจาค ผู้บริจาคที่เสียชีวิตและผู้บริจาคที่มีชีวิต


4.2 ผลของการบริจาคไตจากผูบ้ ริจาคที่มีชีวิต
4.3 การวินิจฉัยการตาย สมองตาย
ศลั

4.4 เทคนิคการดูแลและผ่าตัดนาอวัยวะออกจากผู้บริจาคโดยสังเขป
ชิ า

5. อธิบายถึงความสาคัญและหลักการของการผ่าตัด ปลูกถ่ายไตโดยสังเขป
6. อธิบายถึงความสาคัญและหลักการของภาวะแทรกซ้อนในการปลูกถ่ายอวัยวะในด้าน
คว

6.1 ด้านศัลยกรรม
ภา

6.2 ด้านอายุรกรรม
6.3 ด้านผลข้างเคียงจากยากดภูมิคุ้มกัน
7. อธิบายถึงผลสาเร็จของการปลูกถ่ายอวัยวะทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
8. อธิบายถึงอุปสรรคในการปลูกถ่ายอวัยวะในด้านการแพทย์ สังคม และความเข้าใจของประชาชน
9. จริยธรรมในการปลูกถ่ายอวัยวะ
10. ระเบียบข้อบังคับของแพทยสภาว่าด้วยเรื่องการปลูกถ่ายอวัยวะ
11. ตัวอย่างคนไข้ในวิชาชีพต่างๆที่ประสพผลสาเร็จในการปลูกถ่ายไต ตัวอย่างในด้าน
-การทางาน
-การเดินทางไกล

100
-การรับประทานอาหาร
-การออกกาลังกาย
-การมีครอบครัว
-การมีชีวิตที่ยืนยาว
-การดารงชีวิตเหมือนคนปกติ
12. การรณรงค์เพื่อเพิ่มจานวนผู้บริจาคอวัยวะ

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1ทบทวนกายวิภาค สรีรวิทยาของไต


บิ ด
1.2ทบทวนความรู้พื้นฐานทางด้านอิมมูโนโลยี
2. ในชั้นเรียน

าธ
2.1 อธิบายคานิยามของการปลูกถ่ายอวัยวะ

าม
2.2 อธิบายคานิยามของภูมิคุ้มกันที่เกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะ HLA
2.3 อธิบายคานิยามของการปฏิเสธการปลูกถ่าย

ลร
2.4 อธิบายคานิยามของผูบ้ ริจาคอวัยวะชนิดต่างๆ
2.5 อธิบายเทคนิคการผ่าตัดนาอวัยวะต่างๆออกจากผู้บริจาค

สมองตาย า บา
2.6 อธิบายถึงคุณลักษณะของสภาวะการตาย สมองตาย เกณฑ์การตรวจและวินิจฉัยสภาวะ
พย
2.7 อธิบายถึงหลักการในการดูแลผู้บริจาคอวัยวะที่เสียชีวิตก่อนการบริจาคอวัยวะ
2.8 อธิบายถึงข้อบงชี้ของการปลูกถ่ายอวัยวะ การปลูกถ่ายไต
์ โรง

2.9 อธิบายถึงเทคนิคการปลูกถ่ายไต
2.10 อธิบายถึงยากดภูมิคุ้มกันชนิดต่างๆ กลไกการทางานและผลข้างเคียง
2.11 อธิบายถึงผลแทรกซ้อนของการปลูกถ่ายอวัยวะ
ตร

2.12 อธิบายถึงจริยธรรมทัศนคติที่ดีที่ถูกต้องต่อการปลูกถ่ายอวัยวะ
าส

สื่อการสอน
ยศ

1 Laptop computer and projector


2 Slides and slide projector
3 Laser pointer
ศลั
ชิ า

แหล่งการเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการสอนเรื่อง Organ transplantation โดย อ. โสภณ จิรสิริธรรม
คว

2. เอกสารประกอบการสอนเรื่องDonor for kidney transplantation โดย อ. โสภณ จิรสิริธรรม


ภา

3. TransplantationChapter11 Bailey&Love’s; Short Practice of Surgery . edited by Russell , William,


Bulstrode 23rd edition 2000, p. 125-146 .

การประเมินผล
1. จากการตอบข้อซักถามของนักศึกษาในระหว่างชั้นเรียน
2. MCQ examination ก่อนลงจากหน่วยศัลยกรรมทั่วไป

101
47. Animal Bites

เรื่อง : Animal Bites

สาหรับ : นักศึกษาแพทย์ปี 4

ระยะเวลา : 50 นาที

ผู้รับผิดชอบ : นพ.กาธร มาลาธรรม


นพ.ณรงค์ กุลวทัญญู


บิ ด
ความรู้พื้นฐาน (Basic Knowledge)

าธ
1. Microbiology of bite wound

าม
2. Infections and other complications of wound
3. Principle of wound care and wound healing

ลร
a. Type of wound closure
b. Mechanism involved in wound healing
c. Phases of healing
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : า บา
พย
To understand the microbiology involved, the associated soft tissue injury, and the overall
evaluation and management of the individual bites.
์ โรง

1. In general
A Mechanism
1. Direct injury
ตร

2.Indirect injury
าส

B. Bacteria contamination
1. Types of animal
ยศ

2. Location of bites
C. Rabies
D. Tetanus
ศลั

E. Toxin
ชิ า

2. Dog and cat bites


A. History and physical examination
คว

B. Wound assessment
ภา

C. Bacteriology / choice of prophylactic antibiotic


D. Wound management
1. Proper wound irrigation
2. Debridement
3. Wound closure
4. Wound immobilized and elevated
E. Rabies prophylaxis
1. Active
2. Passive

102
F. Tetanus prophylaxis
1. Active
2. Passive
2. Human Bites
A. Bacteriology of human mouth
B. Choice of prophylactic antibiotic
C. Wound care (actual bite wounds VS clenched-fist injuries)
1. Examination
2. Wound management
a. lrrigation


บิ ด
b. Debridement
c. Wound closure

าธ
d. Wound immobilized and elevated

าม
3. Snake Bites
A. Fang (เขี้ยวงู) 3types

ลร
1. ชนิดพับเก็บไม่ได้, อยู่ด้านหน้าของกราม, สั้น 3 มม.ได้แก่
เขี้ยวงูเห่า, งูจงอาง, งูในตระกูล Elapidae

ตระกูล Viperidae เช่น งูเขียวหางไหม่, งูแมวเซา


า บา
2. ชนิดพับเก็บได้, อยู่ด้านหน้าของกราม, ยาวกว่า 3 มม.
พย
3. เขี้ยวอยู่ด้านหลังของกราม
B. Toxin
์ โรง

1. Neurotoxin
2. Hemototoxin
3. Myotoxin
ตร

4. Cytotoxin
าส

5. Cardiotoxin
6. Nephrotoxin
ยศ

C. Types of snake
1. Elapidae
2. Viperidae
ศลั

3. Hydrophidae
ชิ า

4. Colubridac
D. Management
คว

1. - ลดปริมาณการดูดซึมพิษงูดว้ ยการพันด้วย bandage ยืดหยุน่


ภา

- ไม่ใช้วีธีกรีดปากแผล, ดูดแผลหรือใช้ความเย็นประกบ เพราะไม่ช่วย


แต่อาจจะทาให้แผลอักเสบและติดเชื้อ
2. ลดปริมาณ bacteria ปนเปื้อนโดยทาความสะอาดฟอกผิวหนังบริเวณที่
ถูกกันให้สะอาดอย่างเบามือ
3. Tetanus prophylaxis
4. Antibiotic Prophylaxis
5. Anti - venom

103
48. Surgical Oncology

เรื่อง Surgical Oncology

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4

ระยะเวลา 90 นาที

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์เยาวนุช คงด่าน


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. Pathophysiology : Cancer (ปี 3)
2. Cancer Management ( Adult Medicine ปี 4 )

ลร
บา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถบอก า
1. วิธีการIdentification of solid tumor โดยใช้
พย
1.1 อาการและอาการแสดงของโรคมะเร็งที่พบบ่อยทางศัลยกรรมได้
1.1.1 Systemic symptoms and signs
์ โรง

1.1.2 Organ specific symptoms and signs


1.2 Diagnostic Approachต่างๆ และวิธีเลือกใช้
ตร

1.2.1 Laboratory assecccment ( e.g. CBC , LFT )


1.2.2 Radiographic Study ( e.g. CT , MRI , Uppergastroinyestinal Study , Barium enema ,
าส

Ultrasound
1.2.3 Serum Tumors Marker ( CEA , α feto protein , )
ยศ

1.2.4 Other (e.g. Colonoscopy , Esophagogastroscopy , Laparoscopy


2 วิธีการตัดหรือเก็บชิ้นเนื้อเพื่อให้ได้ Tissue Diagnosisว่ามีอะไรบ้าง เลือกทาอย่างไร
ศลั

1. FNA
ชิ า

2. Core or Needle Biopsy


3. Incisional Biopsy
คว

4. Excisional Biopsy
3. รายละเอียดและการนาไปใช้ของ Staging System ( TNM staging)
ภา

4. บทบาทของSurgeryในการรักษาโรคมะเร็งในด้าน
4.1 Preventive Surgery
4.2 Primary ( Definitive)
4.3 Cytoreduction
4.4 Palliative
4.5 Metastasis
4.6 Emergency
4.7 Rehabilitation and reconstruction
4.8 Vascular Access

104
ว่ามีรายละเอียดและที่ใช้อย่างไรบ้าง

การจัดประสพการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 นักศึกษาทบทวนความรู้เรื่องการดาเนินโรค Cell Biology ของโรคมะเร็ง และ Cancer management
1.2 ศึกษาเอกสารและสื่อการสอนประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้า
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียนโดยอาจารย์ 5 นาที
2.2 กล่าวสรุปเนื้อหาทีน่ ักศึกษาเรียนมาแล้วจากCancer Manangement 10 นาที
2.3 นาเสนอเนื้อหาตามวัตถุประสงค์ 60 นาที


บิ ด
2.4 ให้นักศึกษาซักถามและแจ้งให้เรียนรูด้ ้วยตนเองในวัตถุประสงค์ที่ไม่ได้สอน 15 นาที
รวมเวลา 90 นาที

าธ
าม
สื่อการสอน
1. เครื่องฉายภาพจากคอมพิวเตอร์ (Projector)

ลร
2. คอมพิวเตอร์

แหล่งเรียนรู้
บา
1. เอกสารคาสอน Surgical Oncology : เอกสารคาสอนนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 หน่วยศัลยศาสตร์

พย
ทั่วไป สายบี
2. เอกสารคาสอน Cancer Management: เอกสารคาสอนนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 4 วิชาAdult Medicine
์ โรง

3. Principle of Surgery, Schwartz 7th edition, Oncology

การประเมินผล
ตร

1. การซักถาม และตอบในชั้นเรียน
าส

2. สังเกตุและประเมินผลระหว่างการปฏิบัตงิ านในภาควิชาศัลยศาสตร์
3. การสอบลงกอง , MCQ
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

105
50. Difficulty in urination, urinary retention

เรื่อง Voiding dysfunction (Difficulty in urination, urinary retention)

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 50 นาที

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์วิทย์ วิเศษสินธุ์


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาคของระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง
2. กลไกการขับถ่ายปัสสาวะ

ลร
3. การซักประวัติผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
4. การตรวจทางทวารหนัก

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


า บา
พย
1. ทราบถึงกายวิภาคของระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง และกลไกการขับถ่ายปัสสาวะ
2. นิยามภาวะปัสสาวะไม่ออก
์ โรง

3. ซักประวัติผู้ป่วยที่มปี ัญหาปัสสาวะลาบาก และปัสสาวะไม่ออก


4. ตรวจทางทวารหนักได้ถูกต้อง
5. ส่งตรวจเพิ่มเติมทางห้องปฏิบตั ิการ และพิจารณาส่งทา panendoscopy ได้อย่างเหมาะสม
ตร

6. อธิบายสาเหตุของภาวะปัสสาวะไม่ออก
าส

- สาเหตุจากกระเพาะปัสสาวะ
- สาเหตุจากทางผ่านของปัสสาวะ
ยศ

- สาเหตุจากภาวะทางจิตใจ
7. ระบุโรคทางกายที่พบได้บ่อยทีส่ ามารถทาให้เกิดภาวะปัสสาวะลาบาก และปัสสาวะไม่
ออกได้
ศลั

8. วินิจฉัยความผิดปกติจากการซักประวัติและการตรวจร่างกาย
ชิ า

9. บอกเหตุชักนา และยาที่มผี ลทาให้เกิดภาวะปัสสาวะไม่ออก


10. อธิบายหลักการ และแนวทางการรักษาภาวะปัสสาวะไม่ออก
คว

11. ประเมินขีดความสามารถในการดูแลผู้ป่วยด้วยตนเอง และส่งต่อแพทย์ผู้เชี่ยวชาญได้


ภา

ถูกต้องเหมาะสม
12. อธิบายหลักการและข้อบ่งใช้ของ CIC (clean intermittent catheterization)

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
1.1 ทบทวนกายวิภาคของระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง และกลไกการขับถ่ายปัสสาวะ
1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้า
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน

106
2.2 ทบทวนกายวิภาคของระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง และกลไกการขับถ่ายปัสสาวะ
2.3 บรรยายเรื่องภาวะปัสสาวะไม่ออกในเพศชายโดยแบ่งเป็นหัวข้อต่างๆ
- คาจากัดความ
- พยาธิสภาพ
- สาเหตุ
- ผลเสียของภาวะปัสสาวะไม่ออก
- การซักประวัติ ตรวจร่างกาย
- การสืบค้น
- การรักษา
2.4 บรรยายเรื่องภาวะปัสสาวะไม่ออกในเพศหญิงโดยแบ่งเป็นหัวข้อต่างๆ


บิ ด
- คาจากัดความ
- สาเหตุของปัสสาวะไม่ออก

าธ
- การซักประวัติ ตรวจร่างกาย

าม
- ภาวะกระเพาะปัสสาวะไม่บีบตัว
- กระเพาะปัสสาวะพิการ

ลร
- การอุดกั้นต่อหลอดปัสสาวะ
2.5 สรุปการเรียนรู้
2.6 ให้นักศึกษาซักถาม
2.7 ให้นักศึกษาทาแบบทดสอบ MCQ, short answer รวม 20 ข้อ
า บา
พย
สื่อการสอน
์ โรง

1. เครื่องฉายภาพจาก computer
2. เครื่องฉายแผ่นทึบ
ตร

แหล่งเรียนรู้
าส

1. ภาวะฉุกเฉินในศัลยศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะ บรรณาธิการ อ.วชิร คชการ บทที่ 5,6


หน้า 63-82
ยศ

2. ตาราศัลยศาสตร์ระบบทางดินปัสสาวะ และอวัยวะสืบพันธุ์ชาย เล่ม1 บรรณาธิการ


อ.ไพฑูรย์ คชเสนี, อ. กฤษฎา รัตนโอฬาร บทที่ 13 หน้า 449-477
3. In: Tanagho EA, et al, eds. Smith’s General Urology บทที่ 12 หน้า 208-220, บทที่ 23 หน้า 399-421,
ศลั

บทที่ 29 หน้า 498-515.


ชิ า

การประเมินผล
คว

1. จากการซักถาม และการตอบในชั้นเรียน
ภา

2. การสอบลงกอง MCQ และ short answer


3. การสอบรวบยอด MCQ

107
Urinary Incontinence

เรื่อง Urinary Incontinence

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา -

ผู้รับผิดชอบ รองศาสตราจารย์วชิร คชการ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  Self-directed study

าธ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้นักศึกษาสามารถ

าม
1. อธิบายกลไกการถ่ายปัสสาวะและการกลั้นปัสสาวะได้
2. ทราบถึงสาเหตุ พยาธิสภาพและชนิดของการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ชนิดต่างๆ

ลร
- Extraurethral incontinence
- Urethral incontinence
- Stress urinary incontinence
- Urge incontinence า บา
พย
- Reflex incontinence
- Overflow incontinence
์ โรง

3. ทราบถึงแนวทางการวินิจฉัยและเมื่อใดควรจะส่งการตรวจเพิ่มเติมทางห้องปฏิบัติการและการ
ตรวจพิเศษของภาวะ incontinence
- UA
ตร

- Cystometry
าส

- Cystoscopy
- Ultrasonography
ยศ

- IVP
4. สามารถแยกแยะภาวะที่อาจเป็นอันตรายเพื่อส่งปรึกษาแพทย์ผู้เชีย่ วชาญ ได้แก่ overflow
incontinence และ incontinence ที่มีผลกับ upper tract
ศลั

5. ทราบถึงหลักการรักษาภาวะ incontinence ขั้นต้น


ชิ า

- การรักษาด้วยยา เช่น anticholinergic drugs, alpha adrenergic agonist


- การรักษาแบบพฤติกรรมบาบัด ได้แก่ Kegel’s exercise
คว

6. ตระหนักถึงความสาคัญ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภาวะ incontinence ที่มีต่อคนไข้ การทางาน


ภา

การดูแลของญาติ ผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจ

แหล่งเรียนรู้
1. Tanagho EA, et al. Urinary incontinence. In: Tanagho EA, et al, eds. Smith’s General Urology,
12th ed.. Appleton & Lange:London, 1988, p 555-7.
2. วชิร คชการ การถ่ายปัสสาวะผิดปกติใน: สาวิตร โฆษิตชัยวัฒน์บรรณาธิการ, ตาราศัลยศาสตร์
รามาธิบดี เล่ม2,กรุงเทพมหานคร:ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี,
2543:98-109

108
3. วีระสิงห์ เมืองมั่น,กฤษฎา รัตนโอฬาร. ภาวะปัสสาวะเล็ดใน: ไพฑูรย์ คชเสนี,กฤษฎา รัตนโอฬาร.
ศัลยศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ชาย,กรุงแทพมหานคร:สยามสเตชั่นเนอรี่
ซัพพลายส์,2537 : 480-503
4. พิชัย บุณยะรัตเวช. การถ่ายปัสสาวะผิดปกติ.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2536

การประเมินผล
1. ซักถาม-ตอบ กับอาจารย์ preceptor
2. สอบลงกอง MCQ
3. สอบรวบยอด MCQ


บิ ด
าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

109
Tumor of the KUB and Male Genital Systems

เรื่อง Tumor of the KUB and Male Genital Systems

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 60 นาที

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์สุชาติ ไชยเมืองราช


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Core Lecture Seminar Self-directed study
y

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาค(Anatomy) และเนื้อเยื่อวิทยา (Histology) ของไต, ท่อไต, กระเพาะปัสสาวะ, ท่อ
ปัสสาวะ, ต่อมลูกหมาก, องคชาต, ถุงอัณฑะ, ลูกอัณฑะ และอวัยวะของทางเดินน้าเชื้อ

ลร
(Epididymis, Spermatic cords, Seminal vesicles)
2. ลักษณะทางพยาธิวิทยา (Histopathology) ของเนื้องอกร้าย

วัตถุประสงค์การเรียนรู:้ บา
ภายหลังการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถ

พย
1. ลักษณะของเนื้องอกต่างๆของระบบทางเดินปัสสาวะ และอวัยวะเพศชาย
- ลักษณะทั่วไปและสาเหตุการเกิดเนื้องอก
์ โรง

- การแบ่งชนิดของเนื้องอกต่างๆตามลักษณะเนื้อเยื่อและลักษณะทางพยาธิวิทยา
- ธรรมชาติวิทยาของเนื้องอกต่างๆแต่ละชนิดที่สาคัญ: อุบัติการ สาเหตุ กลไกการเกิด
- พยาธิวิทยา: การจาแนกชนิด, การจาแนกระยะการแพร่กระจายโรค (Staging), การจาแนก
ตร

ระดับความเปลี่ยนแปลง (Grading), การแพร่กระจายโรค


าส

- อาการและอาการแสดง
2. เลือกวิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ทางรังสีวิทยาสาหรับเนื้องอกต่างๆของระบบทางเดินปัสสาวะ
ยศ

และ
อวัยวะเพศชายได้
3. ให้การวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค และการรักษาเบื้องต้นของเนื้องอกต่างๆของระบบทางเดิน
ศลั

ปัสสาวะ
ชิ า

และอวัยวะเพศชายได้
4. ส่งต่อผู้ป่วยเนื้องอกต่างๆของระบบทางเดินปัสสาวะ และอวัยวะเพศชาย เพื่อการรักษาที่ซับซ้อน
คว

ได้อย่างเหมาะสม
ภา

- การผ่าตัด (Surgery) การให้ยา การใช้สารเคมีบาบัด (Chemotherapy) หรือ ภูมิคุ้มกันบาบัด


(Immunotherapy) การใช้รังสีบาบัด (Radiotherapy) และการติดตามผลการรักษา เนื้องอก
ต่างๆ
5. ให้การพยากรณ์โรค ของเนื้องอกต่างๆได้
6. ทราบว่าเนื้องอกชนิดใดพบได้บ่อยและสามารถตรวจหาได้ในระยะต้นๆ (early detection) เช่น การ
ตรวจหา PSA ในคนไข้ที่มีปจั จัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก

110
แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือศัลยศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะ และอวัยวะสืบพันธ์ชาย ตอนที1่ ระบบทางเดิน
ปัสสาวะ. บรรณาธิการ ไพฑูรย์ คชเสนี, กฤษฎา รัตนโอฬาร หน้า 327-414 และตอนที่ 2 หน้า 267-
302. กรุงเทพฯ: สยามสเตชั่นเนอรี่ซัพพลายส์, 2535.
2. หนังสือ Smith’s General Urology, 14th Edition. โดย Emil A. Tanagho, Jack W. McAninch หน้า
353-447. A Lange Medical Book, 1995.
3. หนังสือ Anderson’s Pathology, 9th Edition. โดย John M. Kissane หน้า 566-614 และ หน้า 804-
919. St. Louis: C.V. Mosby, 1990.

วิธีสอน :


บิ ด
1. การบรรยายประกอบสไลด์ / ใช้ Computer Projector: Power Point
2. การซักถามในชั้นเรียน

าธ
าม
วิธีประเมินผล:
1. จากการซักถามและการตอบในกลุ่มเรียนย่อย (Preceptorship)

ลร
2. สอบข้อเขียนเมื่อจบหลักสูตร MCQ
3. การสอบรวบยอด (Comprehensive Exams)
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

111
51. Skin and soft tissue mass

เรื่อง เนื้องอกของผิวหนังและเนื้อเยื่ออ่อน ( Skin and soft tissue tumor )

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง

ผู้รับผิดชอบ นายแพทย์เฉลิมพงษ์ ฉัตรดอกไม้ไพร


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Core Lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาคของผิวหนัง
2. การซักประวัติ ตรวจร่างกายทั่วไป โดยเฉพาะส่วนผิวหนัง และเนือ้ เยื่อใต้ผิวหนัง

ลร
3. นิยาม ความหมายทางพยาธิวิทยาของเนื้องอก ( tumors and neoplasm )

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


บา
1. ตระหนักถึงความสาคัญของการซักประวัติ ตรวจร่างกายในส่วนของผิวหนังและเนื้อเยื่ออ่อน

พย
2. ทราบถึงนิยาม ความหมาย และพยาธิสภาพของ เนื้องอกทัง้ ชนิด benign และ malignant
3. สามารถ approach ให้ได้มาซึ่งการวินิจฉัยเบื้องต้นของ ผูป้ ่วยที่มาด้วยเรื่องก้อนของผิวหนังและ
์ โรง

เนื้อเยื่ออ่อน
4. รู้จักชนิดของเนื้องอกทั้ง benign และ malignant ของผิวหนังและเนื้อเยื่ออ่อน ที่พบบ่อย และ
สามารถให้การวินิจฉัยได้
ตร

5. ทราบวิธีการส่งตรวจชิ้นเนื้อ
าส

6. รู้จักรอยโรคที่มีโอกาสเสี่ยงทีจ่ ะเกิดเป็นเนื้อร้ายได้สูง
7. ตระหนักและสามารถให้ความรู้กับประชาชน ถึงสาเหตุหรือภาวะที่เอื้อต่อการเกิดมะเร็งผิวหนัง
ยศ

เยื่อบุช่องปาก
8. ทราบหลักการรักษา และ การพยากรณ์โรค เนื้องอกทีผ่ ิวหนังและเนื้อเยื่ออ่อน และสามารถทาการ
รักษาได้ด้วยตนเองในบางโรค ( อ้างอิงตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทย
ศลั

สภา พศ. 2544 )


ชิ า

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
คว

1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
ภา

1.1 นักศึกษาทบทวนกายวิภาคของผิวหนัง การซักประวัติ ตรวจร่างกาย และ ความหมายทางพยาธิวิทยา ของ


เนื้องอก
1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้า ( Skin and soft tissue tumors )

112
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน 1 นาที
2.2 ทบทวนกายวิภาคของชั้นต่างๆของผิวหนัง 1 นาที
2.3 ทบทวนความหมาย และนิยามศัพท์ของเนื้องอก 1 นาที
2.4 อธิบายแนวทางการ approach ในผู้ป่วยที่มีก้อนหรือ skin lesion 5 นาที
2.5 ฉาย slide แสดงชนิดของเนื้องอกของผิวหนังทั้ง benign และ malignant ที่พบ 20 นาที
บ่อย รวมทั้ง premalignant lesion และหลักการรักษา
2.6 ฉาย slide แสดงชนิดของ benign soft tissue tumor และหลักการรักษา 15 นาที
2.7 ฉาย VDO clips แสดงการตัดตัวอย่างเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา 10 นาที
2.8 สรุปการเรียนรู้ 2 นาที


บิ ด
2.9 ให้นักเรียนซักถาม 3 นาที
2.10 แนะนาให้ศึกษาด้วยตนเองในเรื่อง soft tissue sarcoma 2 นาที

าธ
รวม 60 นาที

าม
สื่อการสอน

ลร
1. เนื้อหาโดยสรุป ( Power point presentation )
2. ภาพแสดงเพื่อประกอบคาอธิบาย ( illustration )
3.
4.
ภาพแสดงตัวอย่างผู้ป่วย ( Slide )
VDO แสดงหัตถการการส่งชิ้นเนือ้ ตรวจ า บา
พย
5. VDO แสดงหัตถการการรักษา “ Excision of benign tumor and cyst of skin and subcutaneous
tissue ”
์ โรง

แหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง Skin and soft tissue tumor โดย นพ.เฉลิมพงษ์ ฉัตรดอกไม้ไพร
ตร

2. Grabb & Smith’s Plastic Surgery. 5th edition: SJ. Aston, RW. Beasley, Charles HM. Thorn
าส

(eds) Section 3, 1997, Page 107-120 ( Basal cell and squamous cell carcinoma ) ,
Page 141-159 ( Benign Growths and Generalized Skin Disorder )
ยศ

การประเมินผล
1. การซักถามการตอบในห้องเรียน
ศลั

2. การสอบลงกอง MCQ , Slide exanination


ชิ า

3. การสอบรวบยอด MCQ , OSCE ( Approach to the mass )


คว
ภา

113
52. Intraoral lesion

เรื่อง Intraoral tumors and Salivary gland tumors

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 50 นาที

ผู้รับผิดชอบ นายแพทย์วิชัย ศรีมุนินทร์นิมิต


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  Core based lecture

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาคของอวัยวะในช่องปาก
2. กายวิภาคของต่อมน้าลาย

ลร
3. การตรวจร่างกายภายในช่องปาก ใบหน้า และคอ
4. การตรวจต่อมน้าลายบริเวณใบหน้าและคอ

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


า บา
พย
1. ให้การวินิจฉัยและทราบแนวทางการรักษา Benign lesions ของ oral cavity
2. ระบุถึงสาเหตุทที่ าให้เกิด intraoral cancer
์ โรง

3. ทราบถึง pathology ของ intraoral cancer


4. ระบุถึงอาการ และอาการแสดงของ intraoral cancer ได้
5. ให้การวินิจฉัย premalignant และ malignant tumors ของ intraoral cavity
ตร

6. ทราบถึงวิธีการแพร่กระจายของ intraoral cancer


าส

7. ทราบถึงวิธีการรักษา intraoral cancer


8. ให้คาแนะนาแก่ประชาชนในการป้องกัน intraoral cancer
ยศ

9. ทราบถึงชนิดของ salivary gland tumors ที่พบบ่อย


10. ระบุถึงอาการ และอาการแสดงของ salivary gland tumors ที่พบบ่อย
12. ทราบถึงวิธีการวินิจฉัย และวิธีการรักษา salivary gland tumors
ศลั

13. ทราบถึง TNM classification และวิธีการ staging malignant tumors ของบริเวณศีรษะและคอ


ชิ า

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
คว

1. ก่อนเข้าชั้นเรียน
ภา

1.1 ทบทวนกายวิภาคของ intraoral cavity และ salivary gland


1.2 ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ล่วงหน้า
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน
2.2 ทบทวนกายวิภาคของ intraoral cavity
2.3 Common benign intraoral tumors
2.4 Premalignant lesions of intraoral cavity
2.5 Malignant tumors of intraoral cavity
2.6 TNM Classification

114
2.7 กายวิภาคของ salivary gland
2.8 Common benign salivary gland tumors
2.9 Common malignant salivary gland tumors
2.10 สรุปการเรียนรู้
2.11 ซักถาม และตอบคาถาม

สื่อการสอน
1. เครื่องฉายสไลด์
2. สไลด์สี


บิ ด
แหล่งเรียนรู้
1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง “Intraoral tumors and Salivary gland tumors ”

าธ
โดย นายแพทย์วิชัย ศรีมุนินทร์นิมิต

าม
2. ตาราเรื่อง Plastic, Maxillofacial and Reconstructive Surgery 3rd edition 1997
แต่งโดย Gregory S. Georgiade บทที่ 19 หน้า 155 – 165 , บทที่ 36 หน้าที่ 406 – 417

ลร
3. ตาราเรื่อง “Plastic Surgery” 5th edition 1997 แต่งโดย Grabb and Smith บทที่ 37 – 38
หน้าที่ 439 – 457

การประเมินผล า บา
พย
1. การซักถามและตอบในชั้นเรียน
2. การสอบลงกอง :-
์ โรง

2.1 MCQ และ short answer


2.2 OSCE
3. การสอบรวบยอด
ตร

3.3 MCQ
าส

3.4 OSCE
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

115
53. Urolithiasis

เรื่อง Urolithiasis

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1 ชั่วโมง

ผู้รับผิดชอบ ศาสตราจารย์กฤษฎา รัตนโอฬาร


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาคศาสตร์ของระบบทางเดินปัสสาวะทั้งชายและหญิง
2. สรีรวิทยาการทางานของไต เช่น การดูดซึมและการขับ calcium, phosphate, uric acid

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ

ปัสสาวะในประเทศไทย า บา
1. ตระหนักความสาคัญ ระบุอบุ ตั ิการและเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขของโรคนิ่วในระบบทางเดิน
พย
2. ระบุและอธิบายกลไกการเกิดนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะแต่ละชนิด ได้แก่ calcium
oxalate, calcium phosphate, magnesium ammonium phosphate, uric acid stones
์ โรง

3. ระบุอาการและอาการแสดงของโรคนิ่วในตาแหน่งต่างๆของระบบทางเดินปัสสาวะ
ตลอดอาการแทรกซ้อนที่เกิดจากนิ่ว
3.1 อาการและอาการแสดงของโรคนิ่ว
ตร

- Colicky pain, refer pain


าส

- Hematuria (total, initial, terminal hematuria)


- Dysuria
ยศ

3.2 อาการแทรกซ้อน
- Sepsis
- Renal failure
ศลั

- Hydronephrosis
ชิ า

- Pyonephrosis
4. วินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรคนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะที่มาพบแพทย์ในแต่ละอาการได้ จาก
คว

ประวัติและการตรวจร่างกาย
ภา

5. ระบุ เลือกส่งและแปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและทางรังสีวินิจฉัยได้อย่างถูกต้อง ได้แก่


การตรวจปัสสาวะ plain KUB ultrasonography IVP ******
6. อธิบายหลักการและแนวทางการรักษานิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะได้ทั้งการรักษาด้วยยาและการ
ผ่าตัด ได้แก่
6.1 การใช้ยาละลายหรือป้องกันนิ่ว เช่น
- sodamint, HCTZ, Uralyte-U
6.2 การรักษาด้วยการผ่าตัดหรือหัตถการ
- สลายนิ่ว (extracoporeal shockwave lithotripsy หรือ ESWL)
- การเจาะรูส่องกล้อง (percutaneous nephrostolithotomy หรือ PCNL)

116
- Ureterorenoscopy (URS) with stone fragmentation
- Pyelo-nephrolithotomy
- Urinary bypass procedures เช่น suprapubic cystostomy, percutaneous nephrostomy

7. ประเมินขีดความสามารถตนเอง ปรึกษาและส่งต่อคนไข้ได้เหมาะสม
8. ตระหนักความสาคัญของความรู้สึก ความวิตกกังวล ความเจ็บปวด ค่าใช้จ่ายในการรักษา และให้
คาแนะนาคนไข้ที่เป็นนิ่วและญาติต่อการรักษา และการกลับเป็นซ้า
9. ตระหนักความสาคัญของการให้ความรู้ประชาชน และการป้องกันการเกิดนิ่วในชุมชน เช่น จาก
อาหาร อุปนิสัยการดื่มน้า


บิ ด
การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
1. ก่อนเข้าชั้นเรียน

าธ
1.1 ให้ศึกษาเอกสารประกอบการสอน และตารามาล่วงหน้า

าม
2. ในชั้นเรียน
2.1 นาเข้าสู่บทเรียน 3 นาที

ลร
2.2 บรรยายกลไกของการเกิดนิ่วในทางเดินปัสสาวะ 20 นาที
2.3 บรรยายอาการ อาการแสดง การวินิจฉัยและการวินิจฉัยแยกโรค 10 นาที
นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
2.4 สอบถามนักศึกษาเรื่อง **** า บา
พย
2.5 บรรยายวิธีการรักษานิ่วในทางเดินปัสสาวะ 20 นาที
2.6 ให้นักศึกษาซักถาม 7 นาที
์ โรง

สื่อการสอน
1. สไลด์
ตร
าส

แหล่งเรียนรู้
1. ไพฑูรย์ คชเสนี วีระวิเศษสินธุ์ สมบุญ เหลืองวัฒนากิจ นิ่วในทางเดินปัสสาวะ
ยศ

ใน ไพฑูรย์ คชเสนี และกฤษฎา รัตนโอฬาร (บรรณาธิการ) ตาราศัลยศาสตร์


และระบบทางเดินปัสสาวะตอนที่ 1 ระบบทางเดินปัสสาวะ 2537 บทที่ 10 หน้า 285-326
2. Spirnak JP, et al. Urinary stones. In: Tanagho EA, et al, eds. Smith’s General Urology,
ศลั

12th ed. : Prentice-Hall International Inc, 1988, p 275-301.


ชิ า

3. เอกสารอ่านประกอบการสอน (หรือเอกสารคาสอน) เรื่องนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ


โดย กฤษฎา รัตนโอฬาร
คว
ภา

การประเมินผล
1. สอบถามความเข้าใจของนักศึกษาเป็นระยะๆ ในระหว่างการบรรยาย
2. สอบลงกอง - MCQ
3. สอบรวบยอด - MCQ

117
GU Tumor

เรื่อง Tumor of the KUB and Male Genital Systems

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 60 นาที

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์สุชาติ ไชยเมืองราช


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน Core Lecture Seminar Self-directed study

าธ
y

าม
ความรู้พื้นฐาน
1. กายวิภาค(Anatomy) และเนื้อเยื่อวิทยา (Histology) ของไต, ท่อไต, กระเพาะปัสสาวะ, ท่อปัสสาวะ,

ลร
ต่อมลูกหมาก, องคชาต, ถุงอัณฑะ, ลูกอัณฑะ และอวัยวะของทางเดินน้าเชื้อ (Epididymis,
Spermatic
cords, Seminal vesicles)
บา
2. ลักษณะทางพยาธิวิทยา (Histopathology) ของเนื้องอกร้าย

พย
วัตถุประสงค์การเรียนรู:้ ภายหลังการเรียนการสอนนักศึกษาสามารถ
์ โรง

1. บอกลักษณะของเนื้องอกต่างๆของระบบทางเดินปัสสาวะ และอวัยวะเพศชาย
- ลักษณะทั่วไปและสาเหตุการเกิดเนื้องอก
- การแบ่งชนิดของเนื้องอกต่างๆตามลักษณะเนื้อเยื่อและลักษณะทางพยาธิวิทยา
ตร

- ธรรมชาติวิทยาของเนื้องอกต่างๆแต่ละชนิดที่สาคัญ: อุบัติการ สาเหตุ กลไกการเกิด


าส

- พยาธิวิทยา: การจาแนกชนิด, การจาแนกระยะการแพร่กระจายโรค (Staging), การจาแนกระดับ


ความ
ยศ

เปลี่ยนแปลง (Grading), การแพร่กระจายโรค


- อาการและอาการแสดง
2. เลือกวิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ทางรังสีวิทยาสาหรับเนื้องอกต่างๆของระบบทางเดินปัสสาวะ
ศลั

และอวัยวะเพศชายได้
ชิ า

3. ให้การวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค และการรักษาเบื้องต้นของเนื้องอกต่างๆของระบบทางเดิน


ปัสสาวะ และอวัยวะเพศชายได้
คว

4. ส่งต่อผู้ป่วยเนื้องอกต่างๆของระบบทางเดินปัสสาวะ และอวัยวะเพศชาย เพื่อการรักษาที่ซับซ้อนได้


ภา

อย่างเหมาะสม
- การผ่าตัด (Surgery) การให้ยา การใช้สารเคมีบาบัด (Chemotherapy) หรือ ภูมิคุ้มกันบาบัด
(Immunotherapy) การใช้รังสีบาบัด (Radiotherapy) และการติดตามผลการรักษา เนื้องอกต่างๆ
5. ให้การพยากรณ์โรค ของเนื้องอกต่างๆได้
7. ทราบว่าเนื้องอกชนิดใดพบได้บ่อยและสามารถตรวจหาได้ในระยะต้นๆ (early detection) เช่น การ
ตรวจหา PSA ในคนไข้ที่มีปจั จัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก

118
แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือศัลยศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะ และอวัยวะสืบพันธ์ชาย ตอนที่1 ระบบทางเดินปัสสาวะ.
บรรณาธิการ ไพฑูรย์ คชเสนี, กฤษฎา รัตนโอฬาร หน้า 327-414 และตอนที่ 2 หน้า 267-302.
กรุงเทพฯ: สยามสเตชั่นเนอรี่ซัพพลายส์, 2535.
2. หนังสือ Smith’s General Urology, 14th Edition. โดย Emil A. Tanagho, Jack W. McAninch หน้า
353-447. A Lange Medical Book, 1995.
3. หนังสือ Anderson’s Pathology, 9th Edition. โดย John M. Kissane หน้า 566-614 และ หน้า 804-919.
St. Louis: C.V. Mosby, 1990.

วิธีสอน :


บิ ด
1. การบรรยายประกอบสไลด์ / ใช้ Computer Projector: Power Point
2. การซักถามในชั้นเรียน

าธ
าม
วิธีประเมินผล:
1. จากการซักถามและการตอบในกลุ่มเรียนย่อย (Preceptorship)

ลร
2. สอบข้อเขียนเมื่อจบหลักสูตร MCQ
3. การสอบรวบยอด (Comprehensive Exams)
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

119
Neurogenic Bladder

เรื่อง Neurogenic Bladder

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา -

ผู้รับผิดชอบ รองศาสตราจารย์วชิร คชการ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  Self-directed study

าธ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้นักศึกษาสามารถ

าม
1. อธิบายกลไกการทางานของระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่างได้
2. อธิบายประสาทสรีรวิทยาการทางานของระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่างได้

ลร
3. ทราบถึงความผิดปกติจากระบบประสาททีเ่ กิดขึน้ จากโรคที่พบได้บ่อย เช่น เบาหวาน CVA, spinal
cord injury

- Hyperreflexic bladder า บา
4. ทราบถึงความผิดปกติของกระเพาะปัสสาวะที่เกิดขึ้นจากโรคระบบประสาท
พย
- Hyperreflexic bladder with detrusor sphincter dysynergia
- Hyporeflexic bladder
์ โรง

5. ตระหนักถึงความสาคัญ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก neurogenic bladder ที่มีต่อคนไข้ การทางาน


การดูแลของญาติ ผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจ
6. แยกแยะภาวะที่อาจเป็นอันตรายเพื่อส่งปรึกษาแพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญ ได้แก่ urinary tract infection,
ตร

sepsis, renal azothemia


าส

7. ทราบถึงหลักการรักษาขั้นต้นและเมื่อใดควรจะส่งผู้ป่วยมารับการรักษต่อทางศัลยกรรม
ยศ

แหล่งเรียนรู้
1. Tanagho EA, et al. Neuropathic bladder disorder. In: Tanagho EA, et al, eds. Smith’s General
Urology,
ศลั

12th ed.. Appleton & Lange:London, 1988, p 435-51.


ชิ า

2. วชิร คชการ. ความผิดปกติของระบบปัสสาวะที่เกิดตามหลังโรคทางระบบประสาท ใน: วชิร


คชการ บรรณาธิการ, ภาวะฉุกเฉินในศัลยศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะ,กรุงเทพมหานคร:สยามส
คว

เตชั่นเนอรี่ซัพพลายส์, 2542:231-50.
ภา

3. วีระสิงห์ เมืองมั่น,กฤษฎา รัตนโอฬาร. กระเพาะปัสสาวะพิการจากความผิดปกติของระบบ


ประสาท ใน: ไพฑูรย์ คชเสนี,กฤษฎา รัตนโอฬาร. ศัลยศาสตร์ระบบทางเดินปัสสาวะและอวัยวะ
สืบพันธุ์ชาย,กรุงแทพมหานคร:สยามสเตชั่นเนอรี่ซัพพลายส์, 2537 : 447-78.

การประเมินผล
1. ซักถาม-ตอบ กับอาจารย์ preceptor
2. สอบลงกอง MCQ
3. สอบรวบยอด MCQ

120
Male fertility and infertility

เรื่อง Male fertility and infertility

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา -

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์สมบุญ เหลืองวัฒนากิจ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  Self-directed study

าธ
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ

าม
1. อธิบายกายวิภาคและหน้าที่ของอัณฑะ ท่อน้าอสุจิ seminal vesicles ตาแหน่งรูเปิดของ ejaculatory
duct และไขสันหลัง เส้นประสาท pelvic plexus และ ระบบประสาท sympathetic ที่ ควบคุมการหลั่ง

ลร
น้าอสุจิ บริเวณ T10-L2
2. อธิบายกลไกการควบคุมด้วยฮอร์โมนระหว่างอัณฑะ ต่อมใต้สมองและ
hypothalamus
3. เขียน diagram กระบวนการสร้างอสุจิได้อย่างถูกต้อง า บา
พย
4. อธิบายองค์ประกอบและหน้าที่การทางานของอสุจิและน้าอสุจิ
5. ตระหนักความสาคัญและซักประวัติเพศสัมพันธ์และวิธีการร่วมเพศได้อย่างเหมาะสม
์ โรง

6. ตระหนักความรู้สึก ความกระดากอายของคนไข้และคู่สมรสในการซักประวัติ การตรวจ และการ


เปิดเผยความลับ
7. ระบุภาวะโรคที่พบบ่อยที่เป็นสาเหตุของการมีบุตรยากทางฝ่ายชาย เช่น varicocele, primary และ
ตร

secondary azoospermia, oligospermia


าส

8. อธิบายขั้นตอนการวินจิ ฉัยภาวะมีบุตรยากทางฝ่ายชาย
- การตรวจร่างกาย ขนาดอัณฑะ
ยศ

- การตรวจน้าอสุจิ
- การตรวจ transrectal ultrasonography
- Testicular biopsy
ศลั

9. นาไปใช้กับการคุมกาเนิดได้อย่างเป็นขั้นตอน ได้แก่
ชิ า

- การทาหมันชาย
- การใช้ถุงยางอนามัย
คว

- withdrawal technique
ภา

10. อธิบายขั้นตอนการรักษาผู้มบี ตุ รยากได้อย่างเป็นขั้นตอน ดังนี้


- การใช้ยากระตุ้นการสร้างน้าอสุจิ
- การผ่าตัดเส้นเลือดขอดที่ถุงอัณฑะ
- การต่อหมันชาย
- การเก็บน้าอสุจิเพื่อใช้ในการผสมเทียม (assisted reproductive technique)

แหล่งเรียนรู้
1. McClure RD, et al. Male infertility. In: Tanagho EA, et al, eds. Smith’s General Urology, 12th ed..
Appleton & Lange:London, 1988, p 637-62.

121
2. www.urorama.com (infertility)
3. เอกสารคาสอนเรื่อง สรีระวิทยาการสืบพันธุ์ชาย
4. แบบจาลองกายวิภาคของลูกอัณฑะ ท่อน้าอสุจิ seminal vesicles รูเปิดของ
ejaculatory duct (ใน skillslab)

การประเมินผล
1. จากการซักถามและการตอบกับ preceptor
2. จากการสอบลงกอง MCQ
3. จากการสอบรวบยอด MCQ และ OSCE


บิ ด
าธ
าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

122
Male sexual dysfunction

เรื่อง Male sexual dysfunction

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา -

ผู้รับผิดชอบ อาจารย์สมบุญ เหลืองวัฒนากิจ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  Self-directed study

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. กายวิภาคขององคชาต
2. กายวิภาคของไขสันหลัง เส้นประสาท pelvic plexus และ cavernous nerve

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ
1. เข้าใจถึงกลไกการควบคุมการแข็งตัวขององคชาต
บา
2. เข้าใจสาเหตุต่างๆว่าทาให้เกิดโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศได้อย่างไร

พย
- สาเหตุทางด้านจิตใจ เช่น depression
- สาเหตุทางด้านร่างกาย เช่น diabetes, atherosclerosis, hyperlipidemia, Peyronie’s
์ โรง

disease, hypogonadism
3. ให้การวินิจฉัยโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4. สั่งการตรวจทางห้องปฏิบัติการในคนไข้โรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศได้อย่างเหมาะ
ตร

สม โดยวิธี patient’s goal-directed approach ได้แก่ การตรวจน้าตาล ไขมันในเลือด


าส

nocturnal erection study, duplex doppler ultrasonography


5. ให้การรักษาคนไข้โรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศด้วยวิธีง่ายๆได้ ได้แก่ ยารับประทาน
ยศ

ยาอมใต้ลิ้น ปั๊มสูญญากาศ ยาสอดเข้าทางท่อปัสสาวะ


6. ให้การวินิจฉัยผลแทรกซ้อนของการรักษาโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศแต่ละวิธีได้
- ยากลุ่ม PDE 5 inhibitors: ปวดศรีษะ flushing เห็นแสงจ้าขึ้นชั่วคราว
ศลั

- ยาอมใต้ลิ้น: เวียนศรีษะ คลื่นไส้อาเจียร


ชิ า

- ยาสอดทางท่อปัสสาวะ: แสบในท่อปัสสาวะ
- ยาฉีดเข้าในองคชาต: องคชาตแข็งค้าง
คว

7. ให้คาแนะนา ปรึกษา การรักษาที่เหมาะสมขัน้ ต้น แก่คนโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศได้และส่งต่อ


ภา

ผู้ป่วยมารับการรักษาได้อย่างถูกต้องในรายทีใ่ ช้วิธีง่ายๆไม้ได้ผล ได้แก่


- การผ่าตัดใส่แกนองคชาตเทียม
- การผ่าตัดผูกเส้นเลือดดา
- การตัดต่อเส้นเลือดแดงในรายที่เส้นเลือดตีบจากอุบัตเิ หตุ
8. ตระหนักถึงผลกระทบของโรคหย่อนสมรรถภาพทางเพศที่มีต่อชีวิตครอบครัวและการ
งาน ในรายที่เกิดปัญหาก็ให้คาแนะนาอย่างเหมาะสมได้

123
แหล่งเรียนรู้
5. สมบุญ เหลืองวัฒนากิจ. สรีรวิทยาของการแข็งตัวขององคชาต: ใน: กฤษฎา รัตนโอฬาร, สมบุญ
เหลืองวัฒนากิจ บรรณาธิการ. ตารา ความบกพร่องของการแข็งตัวขององคชาต. กรุงเทพฯ: บี
ยอนด์ เอ็นเตอร์ไพรซ์, 2544, 1-16.
2. สมบุญ เหลืองวัฒนากิจ. การวินิจฉัยความบกพร่องของการแข็งตัวขององคชาต.
ใน: กฤษฎา รัตนโอฬาร, สมบุญ เหลืองวัฒนากิจ บรรณาธิการ. ตารา ความ
บกพร่องของการแข็งตัวขององคชาต. กรุงเทพฯ: บียอนด์ เอ็นเตอร์ไพรซ์, 2544,
36-63.

การประเมินผล


บิ ด
1. จากการซักถามและการตอบในกลุ่มเรียนย่อย (preceptor)
2. จากการสอบลงกอง MCQ

าธ
3. จากการสอบรวบยอด MCQ และ OSCE

าม
ลร
า บา
พย
์ โรง
ตร
าส
ยศ
ศลั
ชิ า
คว
ภา

124
แผนการสอน SKILL LAB AND DEMONSTRATION

1. Vasectomy

เรื่อง Vasectomy

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา 1.5 ชม.


บิ ด
ผู้รับผิดชอบ อาจารย์วิทย์ วิเศษสินธุ์

าธ
กิจกรรมการเรียนการสอน O Core Lecture O Seminar O Self-directed study

าม
ความรู้พื้นฐาน

ลร
1. กายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ์ชาย
2. หลักการของการคุมกาเนิดชาย

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ บา
พย
1. เข้าใจถึงกายวิภาคของอวัยวะสืบพันธุ์ชาย
2. ทราบถึงหลักการ และวิธีการคุมกาเนิดชาย
์ โรง

- แบบชั่วคราว
- แบบถาวร
ตร

3. ให้คาแนะนา ปรึกษากับชายที่จะมารับการทาหมันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4. มีความเข้าใจที่ถูกต้องถึงผลข้างเคียงของการทาหมัน และสามารถอธิบายให้ผปู้ ่วยเข้าใจได้
าส

5. ทราบถึงขั้นตอนการเตรียมก่อนการทาหมันชาย และวิธีการทาหมันชายโดยใช้วิธีการทาหมันเจาะ
6. ทราบถึงวิธีการดูแลหลังการทาหมัน และให้คาแนะนาการคุมกาเนิดแบบชั่วคราวก่อนที่น้าอสุจิจะหมด
ยศ

และเกิดเป็นหมันถาวรได้
7. ทราบอาการแทรกซ้อนจากการทาหมันและรู้วิธีการป้องกัน
8. ตระหนักถึงประโยชน์ของการคุมกาเนิด
ศลั
ชิ า

แหล่งเรียนรู้
คว

5. วิดิโอการผ่าตัดทาหมันเจาะ โดย ศ.นพ.กฤษฎา รัตนโอฬาร (ใน skillslab)


6. หุ่นจาลองสาหรับฝึกทาหมันชาย พร้อมเครื่องมือชุดทาหมันเจาะ โดย อาจารย์สมบุญ เหลืองวัฒนา
ภา

กิจ (ใน skillslab)

การประเมินผล
1. จากการซักถามและการตอบกับ preceptor
2. จากการสอบลงกอง MCQ
3. จากการสอบรวบยอด MCQ และ OSCE

125
2. Circumcision

เรื่อง Circumcision

สาหรับ นักศึกษาแพทย์ปีที่ 4

ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ


บิ ด
กิจกรรมการเรียนการสอน  Core Lecture  Seminar  skill lab

าธ
ความรู้พื้นฐาน

าม
1. anatomy of penis
2. Basic sterile technique

ลร
3. Indication and contraindication for circumcision
4. complications of circumcision

วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อผ่านการเรียนรู้ นักศึกษาสามารถ


า บา
พย
1. ฉีดยาชา “Penile Block” และเลือกชนิดของยาชาที่ใช้ได้ถูกต้อง
2. ทาหัตถการ circumcision โดยใช้แบบจาลองอวัยวะเพศชายได้ถูกต้อง ด้วยวิธีการปลอดเชื้อ
์ โรง

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ก่อนเข้าชั้นเรียน
ตร

1 นักศึกษาอ่านวิธีการทา circumcision
าส

2 นักศึกษาดู video การทา circumcision


ในชั้นเรียน
ยศ

นักศึกษาทาหัตถการ circumcision โดยใช้แบบจาลองอวัยวะเพศชายตามขั้นตอนต่อไปนี้


1. ทาความสะอาดบริเวณผ่าตัดโดยการทาน้ายา Hibiscrub
2. ปูผ้า sterile รอบบริเวณผ่าตัด
ศลั

3. ฉีดยาชา “Penile Block” โดยใช้ยาชาชนิดที่ไม่ผสม Adrenaline 3-5 ml ฉีดที่บริเวณ pubis ลึกลงถึงใต้ชั้น


ชิ า

Buck fascia, aspirate ก่อนเพื่อให้แน่ใจว่าไม่ได้ฉีดเข้าเส้นเลือด ฉีดเป็นรูป fan shape


4. เปิดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ จน expose glan penis ทั้งหมดถึงบริเวณ sulcus อาจใช้ clamp โค้งช่วยก็ได้
คว

5. ทาความสะอาด glan penis ด้วย gauze ชุบน้ายา Hibiscrub


ภา

6. ปิดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเข้าที่
7. ใช้ clamp โค้ง 2 ตัว จับหนังหุ้มปลายที่บริเวณ 11 และ 1 นาฬิกา ใช้ clamp ตรงหนีบด้าน dorsum ที่ 12
นาฬิกาของหนังหุ้มปลาย ให้ปลาย clamp อยู่ distal ต่อ sulcus level ประมาณ 0.5-1.0 cm. หนีบไว้เป็น
เวลาประมาณ 1นาที แล้วปล่อย clamp ตรง
8. ใช้กรรไกร Mezzenbaum ตัดหนังหุ้มปลายตามแนวที่ clamp ไว้
9. หนีบด้าน ventral ที่ 6 นาฬิกาของหนังหุ้มปลายด้วย clamp ตรง ลึกจนถึง frenulum หนีบไว้เป็นเวลา
ประมาณ 1นาที แล้วปล่อย clamp
10. ใช้กรรไกร Mezzenbaum ตัดหนังหุ้มปลายตามแนวที่ clamp ไว้

126
11. ใช้กรรไกร Mezzenbaum ตัดหนังหุ้มปลายตามแนว circumferential เชื่อมระหว่างรอยตัดด้าน dorsum
กับ ventral
12. ห้ามเลือดโดยการจี้ด้วยเครื่องจี้ไฟฟ้า หรือ การผูกเส้นเลือดด้วยไหมละลาย ( Chromic catgut)
13. เย็บหนังหุ้มปลายด้านในและด้านนอกเข้าด้วยกันด้วย Chromic Catgut โดยเริ่มเย็บที่ด้าน Dorsum และ
ventral ก่อน แล้วจึงเย็บให้ครบรอบวง ให้แต่ละ stitch ห่างกัน 0.3-0.5 cm.
14. ใช้ antibiotic ointment ทาแผล จะพันผ้าพันแผลโดยรอบหรือไม่ก็ได้

หมายเหตุ : ระหว่างขั้นตอนที่ 7-11 อาจใช้วิธีที่เรียกว่า Guillotine method แทนก็ได้ โดยเมื่อสิ้นสุดขั้นตอนที่ 6


แล้ว ให้ดึงส่วนปลายของหนังหุ้มปลายขึ้นให้ตึง แล้วใช้กรรไกร Mezzenbaumตัดหนังหุ้มปลายออกเป็นแนวตรง
สูงกว่าปลาย glan penis ประมาณ 0.5 cm. แล้วปฏิบัติตามขัน้ ตอน 12 ต่อไป


บิ ด
สื่อการสอน

าธ
1. video วิธีการทา circumcision

าม
2. แบบจาลองอวัยวะเพศชาย
3. ชุดผ่าตัดเล็ก ประกอบด้วย clamp ตรง , clamp โค้ง 2ตัว, กรรไกร Mezzenbaum, Needle holder, tooth

ลร
forceps, syringe5ml , เข็มฉีดยา 18G และ 23G
4. ถุงมือผ่าตัด
5. น้ายา Hibiscrub (จาลอง)
6. ยาชา ( จาลอง) า บา
พย
แหล่งเรียนรู้
์ โรง

1 O’Neill, Rowe, Grosfeld, Coran. Textbook of Pediaric Surgery, 5th ed ; Chicago:Yearbook medical
publishes,1998
2 Raffensperger JG. Swenson's Pediatric Surgery 4th ed. Norwalk, Connecticut: Appleton and
ตร

Lange. 1990
าส

3 Ashcraft, Murphy. Pediatric Surgery 3rd ed. W.B. Saunders Company. 2000
ยศ

การประเมินผล
1. Direct observation ตาม task analysis
2. OSCE exam ใน comprehensive examination
ศลั
ชิ า
คว
ภา

127
3. Excision of subcutaneous mass

เรื่อง : Excision of subcutaneous mass


สาหรับ : นักศึกษาแพทย์ชั้นปีท4ี่
ระยะเวลา : 1.5 ชม.
ผู้รับผิดชอบ : อาจารย์เฉลิมพงษ์ ฉัตรดอกไม้ไพร
อาจารย์สุรเวช น้าหอม
กิจกรรมการเรียนการสอน : demonstration and skill training


บิ ด
ความรู้พื้นฐาน :
1. รู้ชื่อเครื่องมือและการใช้เครื่องมืออย่างถูกต้อง

าธ
2. รู้วิธีการเย็บผิวหนัง และการผูกปม

าม
3. รู้ indication ในการผ่าตัด

ลร
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ : เมื่อจบการเรียนเรื่องนี้ ผู้เรียนสามารถ

บา
1. สามารถวางแผนขั้นตอนต่างๆ ในการผ่าตัด excision ของ subcutaneous masses ต่างๆ ได้ เช่น
lipoma, sebaceous cyst เป็นต้น า
พย
2. สามารถเลือก skin incision , เครื่องมือที่ใช้ dissection
3. สามารถเข้าใจและทาการ dissection ของ subcutaneous mass ได้
์ โรง

4. สามารถเข้าใจและทาการเย็บปิดแผลได้
5. การติดตามผลและการดูแลรักษาหลังการผ่าตัด
ตร
าส

สื่อการศึกษา (อุปกรณ์การเรียนการสอน) :
1. set ผ่าตัดสาหรับ excision and suturing (ทั้งหมด 10 ชิ้น)
ยศ

2. แบบจาลองของ subcutaneous mass


3. atraumatic suture4/0, 5/0,6/0
ศลั
ชิ า

การประเมินผล :
คว

1. การให้นักศึกษาปฏิบตั ิให้ดูตอนปลายชั่วโมง
ภา

128

You might also like