Mike11 Srinakarin Dam PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 17

9-11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรม เซ็นทารา แอนคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ อุดรธานี

การจําลองการพิบัติของเขื่อนศรีนครินทร์

DAMBREAK SIMULATION OF SRINAGARINDA DAM

นฤมล นาวายนต์1, สันติ ทองพํานัก2, วิษุวัฒก์ แต้สมบัติ3

1
นิสิตปริญญาโท ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (naru_nawa@hotmail.com)
2
รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (fengsat@ku.ac.th)
3
อาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (fengwwt@ku.ac.th)

บทคัดย่อ : เขื่อนศรีนครินทร์เป็นเขื่อนเอนกประสงค์ขนาดใหญ่ ประเภทหินถมแกนดินเหนียว มีความสามารถในการ


กักเก็บน้ําได้มากที่สุดของประเทศ หากตัวเขื่อนเกิดการพิบัติขึ้นจะก่อให้เกิดความเสียหายขึ้นเป็นบริเวณกว้าง ใน
การศึกษาครั้งนี้จึงได้รวบรวมข้อมูลรูปตัดตามขวางลําน้ําของแม่น้ําแควน้อย แม่นํ้าแควใหญ่ และแม่น้ําแม่กลอง เพื่อ
นําเข้าในแบบจําลองอุทกพลศาสตร์ MIKE11-HD โดยทําการปรับเทียบแบบจําลองเพื่อหาค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระ
ของลําน้ําทางด้านท้ายเขื่อน โดยใช้ข้อมูลโค้งความสัมพันธ์ระหว่างระดับน้ําและปริมาณการไหล ของสถานีวัดน้ําท่า
K.10, K.11A, K.35A, K.36 และ K.37 ในปี 2006-2007 และทําการปรับเทียบแบบจําลองทางอุทกพลศาสตร์กับ
เหตุการณ์น้ําท่วมในอดีต ในปี 2006-2007 จากสถานีวัดน้ําท่าทางด้านเหนือน้ํา K.36 และ K.10 จนถึงปากแม่นํ้าแม่
กลอง ผลที่ได้พบว่าเมื่อเปรียบเทียบค่าจากแบบจําลองกับค่าที่ตรวจวัดได้จริงให้ค่าทางสถิติที่อยู่ในเกณฑ์ท่ียอมรับได้
จากนั้ น สมมติ ก ารพั ง ทลายของเขื่ อ นในกรณี นํ้ า ไหลล้ น ข้ า มสั น เขื่ อ น ซึ่ ง ทํ า ให้ เ กิ ด ปริ ม าณการไหลสู ง สุ ด เท่ า กั บ
15,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เกิดขึ้นที่เวลา 25 ชั่วโมง หลังจากเขื่อนเริ่มพังทลายและวิเคราะห์หาเวลาการเคลื่อน
ตัวของคลื่นน้ําท่วมหลังจากการพังทลายของเขื่อน โดยพิจารณาจากด้านท้ายเขื่อนศรีนครินทร์จนถึงจุดออกทะเลที่
อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม รวมระยะทางตามลําน้ํา 212 กิโลเมตร ใช้เวลาเคลื่อนตัวทั้งหมด 325 ชั่วโมง ซึ่ง
พบว่าระยะเวลาที่ปริมาณการไหลสูงสุดจากการพิบัติของเขื่อนเคลื่อนตัวถึงจุดพิจารณาที่สําคัญ ได้แก่ เขื่อนท่าทุ่งนา,
อ.เมือง จ.กาญจนบุรี, เขื่อนแม่กลอง, อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี, อ.เมือง จ.ราชบุรี และ อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม เท่ากับ
29 ชั่วโมง, 105 ชั่วโมง, 106 ชั่วโมง, 209 ชั่วโมง, 309 ชั่วโมง และ 325 ชั่วโมง ตามลําดับ

คําสําคัญ : เขื่อนศรีนครินทร์, การพิบัติของเขื่อน, แบบจําลอง MIKE11

Abstract : Srinagarinda Dam is a large multi-purpose, type of earth core rock fill dam, the ability of more
storage in the country. If the dam failures will cause a lot of damage. In this study, data were collected cross
section of kwai noi river, kwai yai river and mae klong river, use to MIKE11-HD model for calibration coefficient of

1
ผู้ติดต่อหลัก (Corresponding author)
WRE030-1
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 17
9-11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรม เซ็นทารา แอนคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ อุดรธานี

the roughness of the channel, by using curve of the relationship between water level and flow of the runoff
stations K.10, K.11A, K.35A, K.36 and K.37 in 2000-2007, calibration to flooding in the past of the runoff
stations K.36 and K.10 to the river mouth of Maeklong river, compared with values actually measured remain
statistic acceptable. From the study, In case of overtopping with the peak outflow of 15,000 cubic meter per
second, Occurred at 25 hours after dam failure and analyze of flood wave movement. Downsteam of
Srinagarinda Dam to the river mouth of Aumper Muang Samutsongkram. Flood wave was also routed along the
distance of 212 kilometers while flood wave took 325 hours after dam failure, as a result Tatungna Dam,
Aumper Muang Kanchanaburi, Mae Klong Dam, Aumper Banpong Ratchaburi, Aumper Muang Ratchaburi and
Aumper Muang Samutsongkram, flood wave movement of period 29 hours, 105 hours, 106 hours, 209 hours,
309 hours and 325 hours respectively.

Keywords : Srinagarinda Dam, Dam break, MIKE11 Model

1. บทนํา สภาพการพังทลายของเขื่อนและสภาพการไหลผ่าน
รอยแยก โดยแบ่งลักษณะการพังทลายเป็น 2 กรณี
การศึกษาการพังทลายของเขื่อนแบ่งออกเป็น 2
คื อ การพั ง ทลายแบบน้ํ า ล้ น ข้ า มสั น เขื่ อ น และการ
แบบคือ แบบจําลองทางกายภาพ (Physical Model)
พังทลายแบบเกิดรูรั่ว พบว่าการไหลล้นข้ามสันเขื่อนมี
และแบบจํ า ลองทางคณิ ต ศาสตร์ (Mathematical
ความรุนแรงมากกว่า ผลการศึกษาพบว่าปริมาณการ
Model) ซึ่งแบบจําลองทางกายภาพต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ
ไหลผ่านรอยแยกสูงสุดเท่ากับ 65,567 ลูกบาศก์เมตร
และงบประมาณจํานวนมาก รวมทั้งใช้ระยะเวลาใน
ต่อวินาที ทําให้สภาพน้ําท่วมด้านท้ายเขื่อนมีระดับน้ํา
การศึกษานานกว่าแบบจําลองทางคณิตศาสตร์ จึงทํา
สูงสุดเท่ากับ +8.45 ม.รทก. เกิดขึ้นที่เวลา 12 ชั่วโมง
ใ ห้ มี ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร พั ง ท ล า ย ข อ ง เ ขื่ อ น โ ด ย ใ ช้
หลังจากเขื่อนเริ่มพัง โดยเกิดขึ้นที่ อ.เมืองนครนายก
แบบจําลองทางคณิตศาสตร์กันอย่างแพร่หลาย จาก
และในปี 2551 [3] ศึกษาการจําลองสภาพน้ําท่วม
การศึกษาที่ผ่านมาของการวิเคราะห์การเกิดคลื่นน้ํา
บริ เ วณท้ า ยน้ํ า กรณี ก ารพั ง ทลายของเขื่ อ นแม่ ก วง
ท่วมจากการพังทลายของเขื่อน ในปี 2547 [1] เลือกใช้
จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แบบจําลองทางคณิตศาสตร์
แบบจําลองคณิตศาสตร์ FLDWAV เพื่อจําลองสภาพ
MIKE11-HD และ แบบจําลองย่อย Dambreak เพื่อ
การพังทลายของเขื่อนและจําลองการไหลของคลื่นน้ํา
ศึกษาการเคลื่อ นตัว ของน้ําทางด้านท้ายน้ํา โดยผล
บ่าจากการพิบัติข องเขื่อนทับเสลา ซึ่งศึกษารูปแบบ
การศึกษารูปแบบการพังทลาย พบว่าการไหลล้นข้าม
การพังทลาย พบว่าการพังทลายจากน้ําไหลล้นข้าม
สันเขื่อนเป็นกรณีท่ีมีความรุนแรงมากที่สุด ซึ่งทําให้
สันเขื่อนแบบรูปสี่เหลี่ยมคางหมูเป็นกรณีรุนแรงที่สุด
เกิดปริมาณการไหลสูงสุดเท่ากับ 5,045.1 ลูกบาศก์
ทํ า ให้ เ กิ ด ปริ ม าณการไหลสู ง สุ ด เท่ า กั บ 35,303
เมตรต่อวินาที ทําให้ทางด้านท้ายน้ํามีความสูงของน้ํา
ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที โดยคลื่ นน้ําบ่าจะใช้เวลาใน
เหนือตลิ่งเท่ากับ 6.05 เมตร ที่เวลา 22 ชั่วโมง 6 นาที
การเคลื่อนที่จากเริ่มพังทลายจนถึงจุดออกลุ่มน้ําทับ
หลังจากเขื่อนพังทลาย
เสลา ใช้เวลาเดินทาง 6.1 ชั่วโมง [2] ศึกษาการจําลอง
ในปัจจุบันยังไม่ค่อยมีการศึกษาการพังทลายของ
สภาพน้ําท่วมบริเวณท้ายน้ําในกรณีสมมติว่าเกิดการ
เขื่อนขนาดใหญ่เผยแพร่สู่สาธารณะมากนักอย่างเช่น
พั ง ทลายของเขื่ อ นคลองมะเดื่ อ ได้ ป ระยุ ก ต์ ใ ช้
เขื่อนศรีนครินทร์ซ่ึงเป็นเขื่อนเอนกประสงค์ขนาดใหญ่
แบบจํ า ลองย่ อ ยของแบบจํ า ลอง MIKE11-HD และ
และมี ค วามสามารถในการกั ก เก็ บ น้ํ า มากที่ สุ ด ของ
แบบจําลองย่อย Dambreak เพื่อใช้ในการจําลอง

WRE030-2
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 17
9-11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์แอนคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ อุดรธานี

ประเทศอีกทั้งยังเป็นเขื่อนที่มีการผลิตกระแสไฟฟ้าที่ 4) ศึกษารวบรวมข้อมูลรูปตัดตามขวางของแม่น้ํา
สําคัญอีกด้วย แควน้อย แม่น้ําแควใหญ่ และแม่นํ้าแม่กลอง โดยพื้นที่
ดั ง นั้ น ในการศึ ก ษาครั้ ง นี้ จ ะใช้ แ บบจํ า ลอง ราบน้ําท่วมถึง (Floodplain) ใช้ข้อมูลระดับความสูงของ
MIKE11-HD เพื่อศึกษาการปรับเทียบแบบจําลองทาง พื้นที่ที่มีความละเอียด (resolution) 30×30 เมตร เริ่ม
อุทกพลศาสตร์ในการหาค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระ ตั้ ง แต่ ท้ า ยเขื่ อ นศรี น คริ น ทร์ แ ละเขื่ อ นวชิ ร าลงกรณ์
ของลํ า น้ํ า ทางด้ า นท้ า ยเขื่ อ นศรี น คริ น ทร์ แ ละเขื่ อ น จนถึงจุดออกของลุ่มน้ําแม่กลอง
วชิราลงกรณ์ของลุ่มน้ําแม่กลอง และทําการปรับเทียบ
แบบจําลองทางอุทกพลศาสตร์กับเหตุการณ์น้ําท่วม 2. ทฤษฎีและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
ในอดีต จากนั้นประยุกต์ใช้แ บบจําลองการพังทลาย
2.1 แบบจําลองทางคณิตศาสตร์ MIKE11
ของเขื่อน FLDWAV ในการจําลองสภาพการพังทลาย
ของเขื่อนโดยสมมติการพังทลายในลักษณะของน้ําไหล ในการศึกษาครั้งนี้ได้ประยุกต์ใช้ แบบจําลองทาง
ล้นข้ามส้นเขื่อน (Overtopping) คณิตศาสตร์ MIKE11 ซึ่งเป็นแบบจําลองที่พัฒนาโดย
DHI Water and Environment โดยแบบจําลองย่อยที่
1.1 วัตถุประสงค์ นํ า มาใช้ ใ นการศึ ก ษา คื อ แบบจํ า ลองย่ อ ยอุ ท ก
1) เพื่ อ ศึก ษาการปรั บ เที ย บแบบจํา ลองทางอุท ก พลศาสตร์ (Hydrodynamic (HD) Module) โดยข้อมูล
พลศาสตร์ในการหาค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของลํา นําเข้าประกอบไปด้วยโครงข่ายลําน้ํา (river network)
น้ํ า ท า ง ด้ า น ท้ า ย เ ขื่ อ น ศ รี น ค ริ น ท ร์ แ ล ะ เ ขื่ อ น รูปตัดขวางลําน้ํา (cross section) ข้อมูลระดับน้ําหรือ
วชิราลงกรณ์ของลุ่มน้ําแม่กลอง อัตราการไหลเบื้องต้นตามเงื่อนไขขอบเขต (boundary
2) เพื่อศึกษาการปรับเทียบแบบจําลองทางอุทก condition)
พลศาสตร์กับเหตุการณ์น้ําท่วมในอดีต สมการพื้นฐานของแบบจําลองอุทกพลศาสตร์ใน
3) เพื่อวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของคลื่นน้ําท่วม แบบจําลอง MIKE11 คือ สมการ Saint Venant ซึ่งเป็น
หลังจากการพังทลายของเขื่อนศรีนครินทร์ สมการที่อธิบายสภาพการไหลในลําน้ําแบบมิติเดียว
(One Dimention) โดยรูปแบบสมการ จะประกอบไป
1.2 ขอบเขตการศึกษา ด้วยสมการต่อเนื่องและสมการโมเมนต์ตัม (Continuity
and Momentum Equations) ซึ่งรูปแบบสมการแสดงได้
1) ศึกษาการปรับเทียบแบบจําลองทางอุทก
ดังนี้ [2]
พลศาสตร์ MIKE11-HD ในการหาค่าสัมประสิทธิ์ความ
ขรุข ระของลํ าน้ํ า ทางด้ า นท้า ยเขื่อ นศรี น คริ น ทร์ แ ละ Q A
 q (1)
เขื่อนวชิราลงกรณ์ของลุ่มน้ําแม่กลอง โดยใช้ข้อมูล x t

จากสถานีวัดน้ําท่า K.10, K.11A, K.35A, K.36 และ Q   Q 2  h gQ Q


     gA  2 0 (2)
t x  A  x C AR
K.37 ในช่วงปี ค.ศ. 2006-2007
2) ศึกษาการปรับเทียบแบบจําลองทางอุทก 1
B
และ (3)
A 0
R Y 3 / 2 dB
ศาสตร์กับเหตุการณ์น้ําท่วมในอดีตในปี 2006-2007
จากสถานีวัดน้ําท่าทางด้านเหนือน้ํา K.36 และ K.10
จนถึงปากแม่นํา้ แม่กลอง เมื่อ Q = อัตราการไหล (ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที)
3) ศึกษาแบบจําลองการพังทลายของเขื่อน A = พื้นที่หน้าตัดของการไหล (ตารางเมตร)
FLDWAV ในการจําลองสภาพการพังทลายของเขื่อน q = อัตราการไหลเข้าด้านข้าง (ลูกบาศก์
ศรีนครินทร์ เมตรต่อวินาทีต่อเมตร)

WRE030-3
การรประชุมวิชาการวิวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 177
9-11 พฤษภาคม 25555 ณ โรงแรม เซ็นทารา
น แกรนด์แแอนคอนเวนชั่นเซ็ซ็นเตอร์ อุดรธานีนี

h = ระดับน้
บ ําเหนือระดับอ้บ างอิง (เมตรร) 
Qb  cv k s 3.1bi h  hb   2.45z h  hb 
11.5 2.5
(4)
C = สัมปรระสิทธิ์ความเสสียดทานของ Chezy
1/2
(เมตรร /วินาที) เมื่อ Qb = ปริมาณน้ําไไหลผ่านรอยเเยก (ลูกบาศก์ก์
R = รัศมีชลศาสตร์
ช (เมตตร) ฟุตต่อวินาที)
α = สัส มประสิทธิ์ การแพร่
า กระจาายของ CV = ค่ า ปรั บ แก้ คความถู ก ต้ อ งของความเร็ ว

โมเมนนตัม สามารถหาไได้จาก (Brater,, 1959)


Y = ความมลึกของ Local Water (เมตร)) ks = ค่ า ป รั บ แ ก้ ก ร ณี เ กิ ด จ ม น้ํ า
B = ความมกว้างของผิวน้าํ (เมตร) (Submergennce Correctioon) ของระดับน้นําด้านท้ายน้ํา
(ht)
2.2 แแบบจําลองกาารพังทลายของงเขื่อน FLDWAAV bi = ความกว้างดด้านล่างของรอยแยกที่เวลาา
กการจําลองสภภาพการพังทลลายของเขื่อน ได้แ ก่ ใดๆ (ฟุต)
ลักษณ ณะรูปร่างการพพังทลายของรรอยแยก ช่วงเววลาใน h = ค่าระดับน้ําาด้านเหนือน้ําของโครงสร้
ข าง
การพัังทลาย ซึ่งในคความเป็นจริงแล้ แ วเป็นการยาากที่จะ (ฟุต รทก.)
เข้าใจถึงกระบวนกาารในการเกิดกาารพังทลายขอ งเขื่อน hb = ค่าระดับด้าานล่างของรอยยแยกซึ่งสมมติติ
ทั้งเขื่ออนดินและเขื่อนคอนกรี
อ ต จึงได้มีการศึกษษาเพื่อ อยู่ในฟังก์ชนของเวลาในกา
นั่ ารพังทลาย
ทํานายคลื่นน้ําบ่าด้านท้ า ายน้ําซึ่งเกิกิดจากการพังงทลาย
ของเขืขื่ อน โดยสมมมติใ ห้เ ขื่ อ นเกิดการพั
ด ง ทลายยอย่ า ง
สมบู รรณ์ ทั น ที ทั น ใดด รู ป แบบการรพั ง ทลายของงเขื่ อ น
ตั้งแต่เริ่มต้นเกิดการรพังทลายโดยเกิดการขยายตตัวของ
รอยแแยก จนกระทัทั่ ง การพั ง ทลาายขึ้ น อย่ า งสมมบู ร ณ์
เรียกวว่า Breach Form mation
แแบบจําลองคณ ณิตศาสตร์ FLDDWAV ในส่ววนของ
ฟังก์ชชัั่ นจําลองสภาพการพังทลายของเขื่อนแลละการ
รูปที่ 1 การรพังทลายแบบบน้ําไหลล้นข้ามสั
ม นเขื่อน [1]
ไหลอออกจากอ่างได้กําหนดพารามิมิเตอร์ซึ่งเป็นตั วแทน
ของรออยแยกซึ่งประะกอบด้วยช่วงเเวลาในการพังงทลาย 3. วิ ธีการศึกษา
(  ) ขนาดความกว้างสุ า ดท้ายด้านลล่างเมื่อการพังงทลาย
สิ้นสุด (b) และรูปร่างเฉพาะของรอ
า อยแยก (z) 3.1 การรววบรวมและตรววจสอบความน่่าเชื่อถือของ
กการพั ง ทลาย เนื่ อ งจากน้ํ าไหลล้
ไ น สั น เขื่ ออน จะ ข้อมูล
จําลอองสภาพรูปร่างของรอยแยกกเป็ นรู ปสามเ หลี่ยม 3.1.1 ข้อมูลลักษณะภูมมิิ ประเทศ
รูปสี่เหหลี่ยมผืนผ้า และรู
แ ปสี่เหลี่ยมคางหมู
ม โดยทีที่ขนาด รวบรวมและตรวจสอบบความน่าเชื่อถื อ อของข้อมูล
ของรออยแยกจะเริ่มเพิ่มขึ้นจากสันเขื น ่อนจนถึงด้าานล่าง เพื่อนําเข้าแบบบจําลอง MIKKE11 ได้รวบรววมข้อมูลรูปตัด
ของเขืขื่อน ดังแสดงในนรูปที่ 1 การรเริ่มต้นการพังงทลาย ตามขวางแลละตลิ่งทั้งสองฝัฝั่งของแม่น้ําแคควน้อยจํานวนน
ของเขืขื่อนจะเริ่มเมื่อค่คาระดับน้ําในเเขื่อนอยู่สูงกว่าาระดับ 60 หน้าตัด แม่น้ําแควใหหญ่จํานวน 24 หน้าตัด และะ
สันเขื่ออนหรือระดับแกนของเขื
แ ่อน (Specified
( Valuue, hf) แม่นํ้าแม่กลองจํานวน 40 หน้าตัด โดดยพื้นที่ราบน้ํา
ค่าปริมาณการไหลทีที่ผ่านรอยแยกก (Qb) จะถูกคํ านวณ ท่วมถึง (Flooodplain) ใช้ข้อมมูลระดับความมสูงของพื้นที่ทีที่
โดยสมมการ Broad-CCreasted Weirr [1] มีความละเอีอียด (resolutionn) 30×30 เมมตร เริ่มตั้งแต่ต่

WRE0300-4
การรประชุมวิชาการวิวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 177
9-11 พฤษภาคม 25555 ณ โรงแรม เซ็นทารา
น แกรนด์แแอนคอนเวนชั่นเซ็ซ็นเตอร์ อุดรธานีนี

ท้ายเขืขื่อนศรีนครินทร์
ท และเขื่อนวชิชิราลงกรณ์ จนนถึงจุด ใช้ข้อมูลระดั
ล บ น้ํา ทะเลลที่ป ากแม่นํ้าแม่
า ก ลองจากก
ออกของลุ่มน้ําแม่กลอง
ล ดังรูปที่ 2 สถานีของกรรมเจ้าท่า ช่วงปีปี 2006-20077 ดังรูปที่ 5
3.1.5 ข้อมู
อ ลน้ําท่า
ใช้ข้อมูลรายวันจากสถถานีวัดน้ําท่า K.10,
K K.11A,,
K.35A, K.336 และ K.377 ช่วงปี 20066-2007 โดยย
ตําแหน่งสถาานีวัดน้ําท่า แสสดงดังรูปที่ 5

3.2 การจัดทํ
ด า MIKE11-HHD สําหรับระบบบแม่นํ้าแม่
กลอง
3.2.1 การจั
ก ดทําแบบบจําลองอุทกพพลศาสตร์ (HDD
Model) ในการปรับเทียบบหาสัมประสิทธิ ท ์ความขรุขระะ
ของลําน้ํา (M
Manning’n) ทาางด้านท้ายเขือนศรี
่อ นครินทร์ร์
และเขื่อนวชิราลงกรณ์
1) กําหนดพิ
า กัดสถาานีวัดน้ําท่าแลละข้อมูลรูปตัด
ตามขวางขอองสถานี K.10,, K.11A, K.355A, K.36 และะ
K.37
2) กําหนดพิ
า กัดของงรูปตัดตามขววางและตลิ่งทั้ง
สองฝั่งของแแม่น้ําแควน้อย 60 หน้าตัด แม่ แ น้ําแควใหญ่
ญ่
รูปที่ 2 แสดงตตําแหน่งของเขืขื่อนและรูปตัด ตาม จํานวน 24 หน้าตัด แลละแม่นํ้าแม่กลองจํ ล านวน 400
ขวาง หน้าตัด จากกนั้นทําการลาากเส้นขอบเขตตพื้นที่น้ําท่วม
3.1.2 ข้อมูลทางงกายภาพของเขื่อนศรีนครินททร์ และลากเส้น Floodplain ดังั รูปที่ 3
และอาคารประกอบบ
เขื่ อนศรี น คริน ทร์
ท เ ป็ น เขื่ อ นหินถมแกนดิ น เเหนี ย ว ×
สัญลักษณ์
ตําแหน่งรูปตัดตามขวาง
แนวเส้น Floodplain
ความสูงจากฐานราาก 140 เมตรร ความยาวสันนเขื่อน ขอบเขตพื้นทีน่ ้ําท่วม

610 เมตร กว้าง 15 เมตร ระดับสันเขื่อน +185..00 ม.


รทก. ระดับเก็บกักปกติ ป +180.00 ม.รทก. คววามจุที่
ระดับเก็บกักปกติ 17,745 ล้านลูกบาศก์เมตรร พื้นที่
อ่างเก็ก็บน้ํา 419 ตารรางกิโลเมตร [44]
3.1.3 สภาวะขอบบเขตด้านเหนือน้อ ํา
ใช้ช้ข้อมูลปริมาณ
ณการไหล (Disccharge) ของงสถานี
วัดน้ําทท่า K.36 แม่น้นําแควใหญ่ บริ
บ เวณบ้านท่ามมะนาว รูปที่ 3 แสดงการลาากเส้นขอบเขตพื้นที่น้ําท่วม
อําเภออเมือง จังหวัดกาญจนบุ
ด รี และสถานีวัดดน้ําท่า และลากเส้ส้น Floodplain
K.10 แม่น้ําแควน้อย อ บริเวณบ้านลุน ่มสุ่ม อําเภออเมือง
จังหวัดั กาญจนบุรี ดังรูปที่ 5 3) จากกนั้นนําเข้ารูป ตัดตามขวางขของแม่นํ้าแควว
น้ อ ย แควใหญ่ และแม่ กกลอง ในแบบบจํ า ลองอุ ท ก
3.1.4 สภาวะขอบบเขตด้านท้ายนน้ํา
พลศาสตร์ (HD Model) ดังงแสดงในรูปที่ 4

WRE0300-5
การรประชุมวิชาการวิวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 177
9-11 พฤษภาคม 25555 ณ โรงแรม เซ็นทารา
น แกรนด์แแอนคอนเวนชั่นเซ็ซ็นเตอร์ อุดรธานีนี

รูปที่ 4 แสดดงรูปตัดตามขววางของแม่น้ําใใน
แบบจําลองออุทกพลศาสตร์ร์ (HD Model)

3.3 กการปรับเทียบคค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระขของลํา
น้ําทาางด้านท้ายเขื่อนศรี
น นครินทร์และเขื
แ ่อนวชิราลลง
กรณ์ ของลุ่มน้ําแม่กลอง

กํ าาหนดปริ ม าณ ณการไหลทา งด้ า นเหนื อ น้ํ า โดย
กําหนนดปริมาณการรไหลสูงสุด 2,000 ลูกบาาศก์ต่อ
วิน าทีที แ ละทํ า การสสมมติค่ า สั ม ปรระสิ ท ธิ์ ความขขรุ ข ระ
ของลําน้ําจนได้ค่าที่ใกล้เคียงเพื่อปรั ป บเทียบกับ Rating
Curvees ในแบบจําลองอุทกพลศศาสตร์ (HD M Model) รูปที่ 5 แผนภูมมิิ ระบบลุ่มน้ําแมม่กลอง
โดยใช้ช้สถานีวัดน้ําท่า K.10, K.11A, K.35A, K.366 และ
K.37 ช่วงปี 2006--2007 แสดงเเป็นแผนภูมิระะบบลุ่ม 3.4 การปรัรับเทียบแบบจําํ ลองทางอุทกศาสตร์
ก กับ
น้ําแม่กลอง ดังรูปที่ 5 เหตุการณ์น้าํ ท่วมในอดีต
ทําการปปรับเทียบกับเหหตุการณ์น้ําท่วมในอดี
ว ตจากก
สถานีวัดน้ําท่ทาทางด้านเหนืนือน้ํา K.36 แลละ K.10 จนถึง
ปากแม่ น้ํ าแม่
แ ก ลอง โดยยใช้ ข้ อ มู ล ปริมาณการไหล
ม ล
(Discharge) ของสถานีวัดดน้ําท่า K.11A, K.35A และะ
K.37 ในลุมน้่ม ําแม่กลอง ชช่วงปี 2006-22007 ในการร
ปรับเทียบแบบบจําลอง

3.5 การวิเคราะห์
ค การเคลืลื่อนตัวของคลืนน้น่ ําท่วม
หลังจากการรพังทลายของเเขื่อนศรีนครินทร์
ษ ้ ง นี้ ไ ด้ ป รระยุ ก ต์ ใ ช้ แ บ บจํ า ลองการร
การศึ กษาครั
พังทลายของเขื่อน FLDWAAV ในการจําลองสภาพการ ล ร
พังทลายของงเขื่อน โดยสม มติการพังทลาายของเขื่อนในน
กรณีนํ้าไหลลล้ น ข้ามสั น เขืขื่ อ น (Overtoppping) ซึ่ง ทํ าให้ห้
เกิดปริมาณการไหลสูงสุดดเท่ากับ 15,0000 ลูกบาศก์ก์
เมตรต่อวินาที
า ในช่วงระยะะเวลา 25 ชั่วโมมง โดยมีความม
จุอ่างเก็บน้าที
ํา ่ระดับเก็บกั ักสูงสุด 188,770 ล้าน

WRE0300-6
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 17
9-11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์แอนคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ อุดรธานี

ลูกบาศก์เมตร และวิเคราะห์หาเวลาการเคลื่อนตัวของ 4. ผลการศึกษาและวิจารณ์


คลื่ น น้ํ า ท่ ว มหลั ง จากการพั ง ทลายของเขื่ อ น โดย
พิจารณาจากด้านท้ายเขื่อนศรีนครินทร์จนถึงจุดออก 4.1 ผลการปรับเทียบหาค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระ
ทะเลที่ อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม ของลําน้ํา
3.6 การปรับเทียบผลการศึกษาโดยใช้ข้อมูลทางสถิต การปรับเทียบแบบจําลองทางอุทกพลศาสตร์ใน
3.6.1 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Correlation การห าค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ ค วามขรุ ข ระของลํ า น้ํ า
Coefficient (CC) เป็ น ค่ า ทางสถิ ติ ท่ี ใ ช้ ท ดสอบ (Manning’n) ของสถานีวัดน้ําท่า K.10, K.11A, K.35A,
ความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรสองตัวแปร มีค่า K.36 และ K.37 ช่วงปี 2006-2007 สรุปได้ดังนี้คือ
อยู่ระหว่าง -1.0 ถึง +1.0 กล่าวคือใช้วัดความสัมพันธ์ 0.083, 0.090, 0.045, 0.045 และ 0.05 ตามลําดับ
ระหว่างค่าระดับน้ําที่ได้จากแบบจําลองกับค่าระดับน้ํา ดังแสดงเป็นกราฟ Rating Curves ได้ในรูปที่ 6, 7, 8,
ที่ได้จากการตรวจวัดจริง โดยค่าที่ยอมรับได้ของค่า 9 และ 10
ทางสถิติ ต้องมีค่าเข้าใกล้ 1 จะแสดงได้ตามสมการ
สถานี K.10 บ้านลุ่มสุ่ม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
 

  x y 
 
 n xy   40
CC    (5) ระดับน้ํา ม.(ร.ท.ก.)
 n x   x   n y   y   
   2    2
 2 2 35
     
 Rating Curve 2006
30 Rating Curve 2007
Manning’n = 0.083
เมื่อ y = ระดับน้ําที่ได้จากแบบจําลอง 25
0 200 400 600 800 1000 1200
x = ระดับน้ําที่ได้จากการตรวจวัด ปริมาณน้ํา ลบ.ม./วินาที
n = จํานวนชุดข้อมูล
3.6.2 ค่าความแม่นยําจะใช้วิธี Root mean square รูปที่ 6 กราฟแสดงค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของลํา
error (RMSE) เป็นการประเมินความแม่นยําของค่าที่ได้ น้ําของสถานี K.10
จากแบบจําลองกับค่าที่ได้จากการตรวจวัด ถ้ามีค่า
น้อยแสดงว่ามีความแม่นยํามาก ซึ่งจะแสดงวิธี สถานี K.11A บ้านวังขนาย อ.ท่าม่วง
คํานวณได้ดังสมการ จ.กาญจนบุรี
15
ระดับน้ํา ม.(ร.ท.ก.)

n 13
 xi  yi 
2

Manning’n = 0.090
RMSE  i 1
(6) 11
Rating Curve 2006
n
Rating Curve 2007
9
0 500 1000 1500 2000
3.6.3 ค่าสัมประสิทธิ์พารามิเตอร์ Coefficient of
ปริมาณน้ํา ลบ.ม./วินาที
determination (R2) โดยค่าที่ยอมรับได้ต้องเข้าใกล้ 1
ดังสมการ
2
รูปที่ 7 กราฟแสดงค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของลํา
 n
 
 
 
  น้ําของสถานี K.11A
  

xi  x 



y i  y 
 
R2   i 1
2 
(7)
2
 n  
 n
 
 
 i  x  x     y i  y  
 i 1   i1   

WRE030-7
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 17
9-11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์แอนคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ อุดรธานี

สถานี K.35A แม่น้ําแควใหญ่ บ้านหนองบัว 4.2 ผลจากการปรับเทียบสําหรับเหตุการณ์น้ําท่วมใน


อ.เมือง จ.กาญจนบุรี อดีต
30
ระดับน้ํา ม.(ร.ท.ก.)

28 การปรั บ เที ย บแบบจํ า ลองทางอุ ท กพลศาสตร์


26
Rating Curve 2006
สําหรับเหตุการณ์น้ําท่ว มในอดีตจากสถานีวัด น้ําท่า
24 Rating Curve 2007 ทางด้านเหนือน้ํา K.36 และ K.10 จนถึงปากแม่นํ้าแม่
Manning’n = 0.045
22 กลอง โดยทํ า การปรั บ เที ย บกั บ ปริ ม าณการไหล
0 200 400 600 800 1000 1200
ปริมาณน้ํา ลบ.ม./วินาที (Discharge) ของสถานีวัดน้ําท่า K.11A, K.35A และ
K.37 ช่วงปี 2006-2007 โดยค่าที่ยอมรับได้ของค่า
รูปที่ 8 กราฟแสดงค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของลํา ทางสถิติ ดังแสดงในตางรางที่ 1 และผลของการ
น้ําของสถานี K.35A ปรับเทียบปริมาณการไหล ดังแสดงในรูปที่ 11, 12
และ 13 ซึ่งในรูปที่ 11 จากการปรับเทียบปริมาณการ
ไหลของสถานีวัดน้ําท่า K.11A มีตําแหน่งที่ตั้งของ
สถานี K.36 บ้านท่ามะนาว อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
สถานีวัดน้ําท่าอยู่ทางด้านท้ายน้ําของเขื่อนแม่กลอง
40
จึ ง ทํ า ให้ ค่ า ที่ ไ ด้ จ ากแบบจํ า ลองกั บ ค่ า ที่ วั ด ได้ จ ริ ง มี
ระดับน้ํา ม.(ร.ท.ก.)

38
ความคลาดเคลื่อน
36
Manning’n = 0.045
34
Rating Curve 2006 ตาราง 1. การเปรียบเทียบผลของการปรับเทียบ
32
0 200 400 600 800 1000 1200 แบบจําลอง
ปริมาณน้ํา ลบ.ม./วินาที สถานีวัด Coefficient of Correlation RMSE
น้ําท่า determination (R2) Coefficient (CC) (cms)
K.11A 0.496 0.704 227
รูปที่ 9 กราฟแสดงค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของลํา
K.35A 0.833 0.912 31
น้ําของสถานี K.36
K.37 0.853 0.924 64

สถานี K.37 บ้านวังเย็น อ.เมือง จ.กาญจนบุรี สถานีวัดน้ําท่า K.11A


1000
observed
27 simulated
ปริมาณน้ํา ลบ.ม./วินาที

800
ระดับน้ํา ม.(ร.ท.ก.)

25
600
23
Rating Curve 2006 400
21 Rating Curve 2007
Manning’n = 0.05 200
19
0 200 400 600 800 1000 1200 0
17/11/2548 5/6/2549 22/12/2549 10/7/2550 26/1/2551 14/8/2551
ปริมาณน้ํา ลบ.ม./วินาที
เวลา

รูปที่ 10 กราฟแสดงค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของ รูปที่ 11 กราฟแสดงการปรับเทียบปริมาณการไหล


ลําน้ําของสถานี K.37 ของสถานี K.11A

WRE030-8
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 17
9-11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์แอนคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ อุดรธานี

สถานีวัดน้ําท่า K.35A 26 เขื่อนศรีนครินทร์


23 เขื่อนท่าทุ่งนา
observed
400
simulated 19 อ.เมือง จ.กาญจนบุรี
ปริมาณน้ํา ลบ.ม./วินาที

300 เขื่อนแม่กลอง

ระดับน้ํา (เมตร)
14
อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี
200
9 อ.เมือง จ.ราชบุรี
100
อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม
0
17/11/2548 5/6/2549 22/12/2549 10/7/2550 26/1/2551 14/8/2551
2 2
เวลา
29 ชั่วโมง 1
105 ชั่วโมง
รูปที่ 12 กราฟแสดงการปรับเทียบปริมาณการไหล 106 ชั่วโมง
209 ชั่วโมง
ของสถานี K.35A 309 ชั่วโมง
325 ชั่วโมง

ระยะเวลาที่ น้ําเคลื่อนที่ถึง (ชั่วโมง)


สถานีวัดน้ําท่า K.37
1200 * โดยนําระดับน้ํา ม.(รทก.) ไปลบออกจากระดับท้องน้ํา ในรูปตัดลําน้ํา
observed
1000 simulated
ปริมาณน้ํา ลบ.ม./วินาที

800 รูปที่ 14 แสดงระดับน้ําของระยะเวลาที่น้ําเคลื่อนที่ถึง


600
400
200 ตาราง 2. สรุปปริมาณการไหลสูงสุดและเวลาการ
0
17/11/2548 5/6/2549 22/12/2549 10/7/2550 26/1/2551 14/8/2551
เคลื่อนตัวของคลื่นน้ําท่วมหลังจากการพังทลาย
เวลา ของเขื่อน
ระยะทางใน เวลาการ
ปริมาณการไหลสูงสุด
แม่น้ํา เคลื่อนตัว
รูปที่ 13 กราฟแสดงการปรับเทียบปริมาณการไหล สถานที่
(กม.) (ลบ.ม/ เวลาที่เกิด (ชม.)
ของสถานี K.37 วินาที) (ชั่วโมงที่)
เขื่อนศรี
0 15,006 25 0
4.3 การวิเคราะห์การเคลื่อนตัวของคลื่นน้ําท่วม นครินทร์
หลังจากการพังทลายของเขื่อน เขื่อนท่า
25 14,883 29 29
ทุ่งนา
จากการจําลองสภาพการพังทลายของเขื่อน โดย อ.เมือง จ.
67 13,623 105 76
สมมติ ก ารพั ง ทลายในกรณี นํ้ า ไหลล้ น ข้ า มสั น เขื่ อ น กาญจนบุรี
(Overtopping) ทําให้เกิดปริมาณการไหลสูงสุดเท่ากับ เขื่อนแม่กลอง 6 13,619 106 1
อ.บ้านโป่ง
15,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที เกิดขึ้นที่เวลา 25 จ.ราชบุรี
45 12,729 209 103
ชั่ ว โมง หลั ง จากเขื่ อ นเริ่ ม พั ง ทลายและวิ เ คราะห์ ห า อ.เมือง จ.
36 11,247 309 100
เวลาการเคลื่ อ นตั ว ของคลื่ น น้ํ า ท่ ว มหลั ง จากการ ราชบุรี
อ.เมือง จ.
พังทลายของเขื่อน โดยพิจารณาจากด้านท้ายเขื่อนศรี สมุทรสงคราม
33 10,777 325 16

นคริ น ทร์ จ นถึ ง จุ ด ออกทะเลที่ อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด


สมุทรสงคราม รวมระยะทางตามลําน้ํา 212 กิโลเมตร
ใช้เวลาเคลื่อนตัวทั้งหมด 325 ชั่วโมง โดยระดับน้ําของ
ระยะเวลาที่น้ําเคลื่อนที่ถึงสถานที่ต่างๆแสดงในรูปที่
14 และปริมาณการไหลสูงสุดและเวลาการเคลื่อนตัว
ของคลื่นน้ําท่วม แสดงในตารางที่ 2
WRE030-9
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 17
9-11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรม เซ็นทารา แกรนด์แอนคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ อุดรธานี

5. สรุปผลการศึกษา ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมชลประทาน ที่ ก รุ ณ าให้ ค วาม


ช่วยเหลือในการให้คําปรึกษาการศึกษาครั้งนี้
จากผลการศึกษาวิเคราะห์ค่าสัม ประสิทธิ์ ค วาม
ขรุข ระของลํ าน้ํ า ทางด้ า นท้า ยเขื่อ นศรี น คริ น ทร์ แ ละ เอกสารอ้างอิง
เขื่อนวชิราลงกรณ์ ในลุ่มน้ําแม่กลอง ของสถานีวัด
น้ําท่า K.10, K.11A, K.35A, K.36 และ K.37 ช่วงปี [1] บุญเตียง กวีศักดิ์, 2547. การศึกษาการพังทลาย
2006-2007 ได้ค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของลําน้ํา ของเขื่อนและจําลองแบบการการไหลของคลื่นน้ํา
(Manning’n) 0.083, 0.090, 0.045, 0.045 และ 0.05 บ่าเขื่อนทับเสลา จังหวัดอุทัยธานี. วิทยานิพนธ์
ตามลําดับ การปรับเทียบสําหรับเหตุการณ์น้ําท่วมใน ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อดีตจากสถานีวัด น้ําท่าทางด้านเหนือน้ํา K.36 และ [2] น้ําทิพย์ สร้อยสังวาลย์, 2547. การจําลองสภาพ
K.10 จนถึงปากแม่น้ําแม่กลอง ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับ น้ํ า ท่ ว มบริ เ วณท้ า ยน้ํ า ในกรณี ส มมติ เ กิ ด การ
ค่ า ที่ ต รวจวั ด ได้ จ ริ ง ให้ ค่ า ทางสถิ ติ ท่ี อ ยู่ ใ นเกณฑ์ ท่ี พั ง ทลายของเขื่ อ นคลองมะเดื่ อ . วิ ท ยานิ พ นธ์
ยอมรั บ ได้ จากนั้ น สมมติ ก ารพั ง ทลายของเขื่ อ นใน ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
กรณีน้ําไหลล้นข้ามสันเขื่อน ซึ่งทําให้เกิดปริมาณการ [3] เรืองวิทย์ วานิชพงษ์พันธุ์, 2551. การจําลอง
ไหลสูงสุดเท่ากับ 15,000 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที สภาพน้ําท่วมบริเวณท้ายน้ําในกรณีการพังทลาย
เกิดขึ้นที่เวลา 25 ชั่วโมง หลังจากเขื่อนเริ่มพังทลาย ของเขื่อ นแม่ก วงจั ง หวัด เชี ยงใหม่ . วิท ยานิพ นธ์
และวิเคราะห์หาเวลาการเคลื่อนตัวของคลื่นน้ําท่วม ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.น้ําทิพย์
หลังจากการพังทลายของเขื่อน โดยพิจารณาจากด้าน [4] Electricty Generating Authority of Thailand.
ท้ายเขื่อนศรีนครินทร์จนถึงจุดออกทะเลที่ อําเภอเมือง 1989. Basic data of dam including maximum
จัง หวัด สมุทรสงคราม รวมระยะทางตามลําน้ํา 212 design flood and criteria for flood routing.
กิโลเมตร ใช้เวลาเคลื่อนตัวทั้งหมด 325 ชั่วโมง ซึ่ง [5] Migena Zagonjolli. 2007. Dam Break Modelling,
พบว่าระยะเวลาที่ปริมาณการไหลสูงสุดจากการพิบัติ Risk Assessment and Uncertainty Analysis for
ของเขื่ อ นเคลื่ อ นตั ว ถึ ง จุ ด พิ จ ารณาที่ สํ า คั ญ ได้ แ ก่ Flood Mitigation. London : Taylor and Francis
เขื่อนท่าทุ่งนา, อ.เมือง จ.กาญจนบุรี, เขื่อนแม่กลอง, Group plc.
อ.บ้านโป่ง จ.ราชบุรี, อ.เมือง จ.ราชบุรี และ อ.เมือง
จ.สมุทรสงคราม เท่ากับ 29 ชั่วโมง (1 วัน 4 ชั่วโมง),
105 ชั่วโมง (4 วัน 9 ชั่วโมง), 106 ชั่วโมง (4 วัน 10
ชั่วโมง), 209 ชั่วโมง (8 วัน 17 ชั่วโมง), 309 ชั่วโมง
(12 วัน 21 ชั่วโมง) และ 325 ชั่วโมง (13 วัน 13 ชั่วโมง)
ตามลําดับ

6. กิตติกรรมประกาศ
จากศึกษาครั้งนี้ได้รับทุนสนับสนุนการตีพิมพ์จาก
คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร์
วิท ยาเขตกํ า แพงแสน และขอขอบคุณ หน่ ว ยงานที่ มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับ ได้แก่ กรมชลประทาน กรมเจ้าท่า
โครงการส่งน้ําและบํารุงรักษาเขื่อนแม่กลอง ที่ได้ให้
ความอนุ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ขอขอบพระคุ ณ คณาจารย์
WRE030-10

You might also like