Hyper Loop PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

GROUP SU TOGETHER

HYPER
LOOP
ไฮเปอร์ลูป
ไฮเปอร์ลป
ู  
(อังกฤษ: hyperloop)
กล่ า วคื อ
หนึงในเทคโนโลยีทีเปนความหวังใหม่ของมนุษย์เราคือ
ไฮเปอร์ลูป (Hyperloop) ซึงเปนรูปแบบใหม่ของการขนส่งในระดับภาคพืน
ไฮเปอร์ลูปมีลักษณะเปนแคปซู ลทีเคลือนทีด้วยความเร็วสูงภายในท่อ
โดยอากาศภายในท่อนีจะถูกนําออกไปกลายเปนท่อความดันตําหรือ
ท่อสุญญากาศเพือลดแรงต้านอากาศ นอกจากนีการเคลือนทีโดย
ทีตัวยานแคปซู ลลอยอยู่ด้วยแรงแม่เหล็ก (MagneticLevitation
Technology) หรือล้อเลือนอากาศ ไม่สัมผัสกับท่อ
ก็ยังช่วยลดแรงเสียดทานจากพืน
Hyperloop

ห า ก ใ ค ร เ ค ย ดู ภ า พ ย น ต ร์ เ รื อ ง
K I N G M A N   อ า จ ไ ด้ เ ห็ น
ภ า พ บ า ง ส่ ว น ข อ ง เ ท ค โ น โ ล ยี
ก า ร เ ดิ น ท า ง ที เ รี ย ก ว่ า H Y P E R L O O P
( ไ ฮ เ ป อ ร์ ลู ป ) ห รื อ ก า ร ข น ส่ ง
ที กํา ลั ง ถู ก กํา ลั ง ถู ก พู ด ถึ ง ใ น ข ณ ะ นี
Hyperloop คือเทคโนโลยีการคมนาคมขนส่ง
แห่งโลกอนาคต ด้วยการเดินทางผ่านท่อ
สุญญากาศ
โดยมีพาหนะทีเรียกว่า pod หรือแคปซูล ซึงขับเคลือนด้วย
แรงแม่เหล็กไฟฟา(magnetic levitation – Maglev) เดิน
ทางไปยังจุดหมายทีต้องการ โดย Pod จะเดินทางไปด้วย
ความเร็วสูงสภาพแวดล้อมทีมีแรงดันตําและแรงเสียดทานตํา
ทําให้ในทางทฤษฎีมีการคาดการณ์
ระยะเวลาการเดินทางไว้ที 1200กิโลเมตร / ชัวโมง 
จุ ดเริ มต้ น ของ HYPERLOOP
ELON MUSK 
ผู้ ก่ อ ตั ง TESLA และ SPACE X ได้ เ ปดเผยทฤษฏี นี ในป 2013
โดยมองว่ า ไฮเปอร์ ลู ป คื อ พาหนะแห่ ง อนาคตและยั ง ไม่ ห วงไอเดี ย
โดยอนุ ญ าตให้ บ ริ ษั ทอื นนํา แนวคิ ด ไปต่ อ ยอดได้   หลั ง จากนั นบริ ษั ท
VIRGIN HYPERLOOP ONE และ HYPERLOOP
TRANSPORTATION TECHNOLOGY ได้ นาํ แนวคิ ด ของเขาไป
พั ฒ นาต่ อ ประกอบกั บ ELON MUSK ได้ ตั งบริ ษั ท THE
BORING COMPANY เพื อพั ฒ นาไฮเปอร์ ลู ป ด้ ว ยเช่ น กั น
ปจจุ บั น จึ ง มี 3 บริ ษั ทใหญ่ โ ดยอเมริ ก าและแคนาดาที กํา ลั ง พั ฒ นา
เทคโนโลยี นี อย่ า งเปนรู ป ธรรม
ความเร็วของ Hyperloop
ใ น ท างท ฤษ ฎี ร ะบุ ว่ า ไฮเปอ ร์ ลู ป จะ มี ค วาม เร็ ว อ ยู่ ที  
1200 กิ โ ล เม ต ร / ชั ว โ ม ง โ ด ย ในปจจุ บั น   บริ ษั ท
VIRGI N HY PERLO O P O NE ไ ด้ ท ด ส อ บเทค โ นโ ล ยี
ไ ฮเ ปอร์ ลู ป ที รั ฐ เน ว าด าโ ด ย VI R G I N HY PER L OOP
ONE ไ ด้ มี ก าร ท ด สอบ ค วาม เร็ ว ในระ ย ะ ทาง 50 0 เม ตร
พบว่ า สาม าร ถทํา ค ว าม เร็ ว อ ยู่ ที  38 7 กิ โ ล เม ตร / ชั วโ ม ง
และค าดว่ า จะทํา ได้ เร็ ว ก ว่ า นี หาก ท่ อ มี ร ะ ย ะ ทางที ย าวขึ น
ความเร็วของ
Hyperloop
ในขณะเดี ย วกั น  Virgin Hyperloop
One ได้ มีก ารเปดเผยคลิ ป วีดี โ อจํา ลอง
การเดิ น ทางจาก
Dubai ไป Abu Dhabi  ได้ ใ นเวลา 12
นาที จากเดิ ม 90 นาที ทํา ให้มี ก าร
คาดการณ์ ว่ า โครงการนี น่ า จะสํา เร็จ ที ดู ไ บ
ซึง Virgin Hyperloop One
ยั ง ตั งเปาที จะพั ฒ นา Hyperloop
ให้สาํ เร็จ ในเชิง พาณิ ช ย์ ใ นป
2021 อี ก ด้ ว ย
Hyperloop
ไ ฮ เ ป อ ร์ ลู ป H Y P E R L O O P เ ป น ร ะ บ บ ข น ส่ ง แ บ บ ใ ห ม่
ที ร ว ด เ ร็ ว ส ะ ด ว ก ป ร ะ ห ยั ด แ ล ะ เ ป น มิ ต ร ต่ อ สิ ง
แ ว ด ล้ อ ม ร ะ บ บ ก า ร ข น ส่ ง นี ไ ด้ เ ริ ม พั ฒ น า กั น ใ น ห ล า ย ๆ
ป ร ะ เ ท ศ ป จ จุ บั น นี ร ะ บ บ ก า ร ข น ส่ ง ข อ ง โ ล ก ม นุ ษ ย์ เ ร า ไ ม่
ไ ด้ มี ก า ร วิ วั ฒ น า ก า ร ไ ป ม า ก สั ก เ ท่ า ไ ร ที เ ร า เ ห็ น กั น อ ยู่
ใ น ป จ จุ บั น ก็ ยั ง มี แ ค่ ท า ง เ รื อ ท า ง อ า ก า ศ ท า ง ร ถ ย น ต์
แ ล ะ ท า ง ร ถ ไ ฟ ซึ ง เ ป น ก า ร ข น ส่ ง แ บ บ เ ก่ า ที เ ริ ม มี ค่ า ใ ช้
จ่ า ย สู ง ขึ น แ ถ ม ช้ า ไ ม่ ทั น ใ จ ที สํา คั ญ ยั ง ก่ อ ม ล ภ า ว ะ ม า ก
อี ก ด้ ว ย ก า ร ข น ส่ ง แ บ บ “ ไ ฮ เ ป อ ร์ ลู ป ” จึ ง ถู ก พั ฒ น า ขึ น
เ พื อ ต อ บ ส น อ ง แ ล ะ แ ก้ ป ญ ห า เ ห ล่ า นี
ไฮเปอร์ลู ป
Hyperloop ระบบขนส่ ง
แบบใหม่ มั น เปนอย่ า งไร
ไฮเปอร์ลูป Hyperloop ระบบขนส่งแบบ
ใหม่ประกอบไปด้วยองค์ประกอบหลักที
สําคัญคือ ท่อแรงดันตํา และแคปซู ล
โดยสารทีสามารถวิงได้ทังความเร็วสูงและ
ความเร็วตําตลอดแนวท่อ ตัวแคปซู ล
โดยสารจะถูกพยุ งไว้ด้วยความดันอากาศ
และระบบแอโรไดนามิกทําให้ทรงตัวได้โดย
ไม่เกิดไม่กระทบกระแทกกับผนังของท่อส่ง
แรงดันตํา
ซึงติดตังไปตลอดแนว
ท่อจากต้นทางถึงปลาย
ทางผู้โดยสารสามารถ
ขึนลงได้ทีสถานีต้นทาง
และปลายทาง หรืออาจ
จะมีสถานีระหว่างทาง
ก็ได้โดยทําเปนอุ โมงค์
แขนงออกมา
โครงการทดลองของ
อี ล อน มั ส ค์ ระบบขนส่ ง ระหว่ า ง ลอสแอนเจลี
สและซานฟรานซิ ส โก รั ฐ แคลิ ฟ อร์ เ นี ย
เส้ น ทางการเดิ น ทางระหว่ า งเมื อ ง ถ้ าเปนการขนส่ ง แบบเดิ ม ๆก็ จะมี ข้ อ
ลอสแอนเจลี สกั บเมื อ ง เสี ย ต่ างๆกั นไปกล่ าวคื อ
ซานฟรานซิ ส โกในรั ฐ แคลิ ฟอร์ เ นี ย
.- การขนส่งโดยรถยนต์ มีขอ ้ ดีคือราคา
ระยะทาง 560 กิ โ ลเมตร นั บ ว่ า เป น
ถูก แต่ขอ ้ เสียก็คือช้า และก็มม ี ลภาวะ
เส้ น ทางที จอแจที สุ ด ในฝ งตะวั น ต ก
ทางเสียง
ของสหรั ฐ อเมริ ก าก ารสร้ า งระ บบ
- การขนส่งทางอากาศ มีขอ ้ ดีคือรวดเร็ว
การขนส่ ง เชื อมสองเมื อ งที มี ก าร
และไม่มม ี ลภาวะทางเสียงมาก แต่ขอ ้ เสียก็
เดิ น ทางที หนาแ น่ น คือราคาแพง
- การขนส่งทางรถไฟ มีขอ ้ เสียคือแพง ช้า
และก็มมี ลภาวะทางเสียง
มีก ารนํา เสนอรถไฟความเร็ว
สู ง เพื อเชือมเมือ งสองเมือ ง
นี ด้ ว ยงบประมาณสู ง ถึ ง

68.4 พั น ล้ า นเหรีย ญสหรัฐ อเมริก า


ด้ ว ยความเร็ว ที ได้ แ ค่ 264 กิ โ ลเมตรต่ อ
ชัวโมง ใช้เ วลาเดิ น ทั งหมด 2 ชัวโมง 38
นาที มี ค่ า โดยสารเที ยวเดี ย ว 105
เหรีย ญสหรัฐ อเมริก า ซึงไม่ ไ ด้ ดี ก ว่ า การ
เดิ น ทางแบบเดิ ม ๆ ซํายั ง แพงและช้า กว่ า
การเดิ น ทางด้ ว ยเครืองบิ น
ไฮเปอร์ลป

Hyperloop ระบบขนส่ง
แบบใหม่ ทีเสนอโดย
SpaceX ของ Elon Musk
อีลอน มัสค์ นําเสนอการเดินทางแบบใหม่ “ไฮเปอร์ลูป”
ซึงเร็วกว่าและถูกกว่าด้วยมู ลค่าโครงการแค่ 6 พันล้าน
เหรียญสหรัฐอเมริกา ใช้เวลาเดินทางเพียง 35 นาที
ด้วยต้นทุนค่าโดยสารเพียง 20 เหรียญสหรัฐอเมริกา
เมือเทียบกับรถไฟความเร็วสูงทีกําลังจะสร้างนีทีต้องใช้
เวลาในการเดินทางถึง 2 ชัวโมง 38 นาที
ทีราคาตัวเทียวเดียวถึง 105 เหรียญสหรัฐอเมริกา
ที ไหนบ้ า งที กํา ลั ง ศึ ก ษา ประเทศเพื อบ้ า นเรา
โครงการ
อิ น โดนี เ ซีย เปนประเทศแรกที
ริเ ริมและศึ ก ษาโครงการนี อย่ า ง
ล่าสุดเดือนมิถุนายน 2560 รัฐบาล จริง จั ง การริเ ริมนี เปนของเอกชน
เกาหลีใต้เซ็นสัญญากับบริษัท HTT ใช้ง บประมาณ 2.5 ล้ า นเหรีย ญ
เพือศึ กษาและพัฒนาการขนส่งแบบ สหรัฐ อเมริก าในการจ้ า งบริษั ท ผู้
“ไฮเปอร์ลูป” ชนิดเต็มรูปแบบ เชียวชาญมาศึ ก ษาการพั ฒ นาการ
ขนส่ ง แบบไฮเปอร์ลู ป เพื อเชือม
เปนการทํางานร่วมกัน
ต่ อ จากกรุ ง จากาต้ า ร์ไ ปยั ง เกาะ
ระหว่าง Korea Institute of
ชวาและเกาะสุ ม าตรา
Civil Engineering และ โดยมี ก ารเซ็น ต์ สั ญ ญาไปเมื อ
Building Technology (KICT) เดื อ นมี น าคม 2560 นี เอง
และมหาวิทยาลัยฮานยาง โครงการ
นีชือว่า HyperTube Express
(HTX) 
H T T P S : / / W W W . T R U E P L O O K P A N Y A .C O M / K N O W L E D G E / C O N T E N T /7 15 0 3 /- B L O -
SCIENG-SCI-

HTTPS://TECHSAUCE.CO/SAUCY-THOUGHTS/HYPERLOOP-THE-FUTURE-OF-
TRANPORTATION

HTTPS://TH.WIKIPEDIA.ORG/WIKI/%E0%B9%84%E0%B8%AE%E0%B9%80%E0
%B8%9B%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E
0%B8%9B

HTTPS://WWW.GOOGLE.COM/SEARCH?
RLZ=1C1CHBF_ENTH833TH834&SXSRF=ACYBGNS6HJAVWFVQJXFMJ4F_AOJHECZ
IOW%3A1581442162175&EI=CURCXUIQCTYV4-

อ้างอิง

You might also like