เรื่อง การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ กำไร IND 4261 การวิเคราะห์ต้นทุนอุตสาหกรรมและงบประมาณ PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 74

IND 4261 การวิเคราะห์ตน้ ทุนอุตสาหกรรมและงบประมาณ

เรื่ อง การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริ มาณ กาไร


(cost volume profit analysis)

ผูบ้ รรยาย อาจารย์ศศิธร จันทร์เทียน


Chapter Objective
 เข้าใจถึงความหมายของต้นทุน และประเภทของต้นทุน
 เข้าใจถึงต้นทุนที่เกี่ยวข้องในการวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กาไร
 สามารถวิเคราะห์จด ุ คุม้ ทุน
การวิเคราะห์ตน้ ทุน - ปริ มาณ - กาไร
การวิ เ คราะห์ ต ้น ทน ปริ ม าณ และก าไร เป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ ส าคัญ อย่า งหนึ่ ง ที่ ฝ่ าย
ผูบ้ ริ หารขององค์กรนามาใช้ในการวางแผนและตัดสิ นใจ ซึ่ งการวางแผนกาไร
(Profit planning) นับเป็ นงานหนึ่งที่ผบู ้ ริ หารจะต้องสนใจและให้ความความสาคัญ
การ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริ มาณ และกาไร (Cost-volume-profit
analysis) จึงเป็ นวิธีการวิเคราะห์เพื่อนามาใช้ในการวางแผนกาไร นอกจากนี้ ยัง
ช่วยในการตัดสิ นใจของฝ่ ายบริ หารในการวางแผนการดาเนิ นงานระยะสั้นได้เป็ น
อย่างดี ปั จจัยที่เกี่ยวข้องในการวางแผนกาไร
การวิเคราะห์ตน้ ทุน - ปริ มาณ - กาไร หมายถึง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ระหว่างต้นทุ น ปริ มาณขาย และกาไร เพื่อนาไปกาหนดเป้ าหมายการขายของ
กิจการ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการวางแผน
• ราคาขาย
• ต้นทุนคงที่
• ปริ มาณ
• ต้นทุนคงที่
• ต้นทุนแปรผัน
• สัดส่ วนการผลิต
ประโยชน์ของการบริหารต้นทุน
 เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการ
 เมื่อทราบต้นทุนที่แท้จริง สามารถนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจ
 การตัง้ ราคาขาย
 การลดราคาเพื่อแข่งขันกับคูแ่ ข่ง
 การพิจารณารับคาสั่งซือ้ พิเศษ
 วางแผนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 เน้นผลิตสินค้าที่มีกาไรสูง
 การยกเลิกการผลิตสินค้าบางชนิดที่ทาให้กิจการขาดทุน
ความหมายของต้นทุน
ต้นทุน (Costs)
 การจ่ายเงินสด ทรัพย์สินอื่น หุน้ ทุน หรือการให้บริการ หรือการ
ก่อหนีส้ ิน เพื่อให้ได้มาซึง่ สินค้าหรือบริการ รวมทัง้ ผลขาดทุนที่
วัดค่าเป็ นตัวเงินได้
สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตแห่งประเทศไทย

 เป็ นทรัพยากรที่จ่ายออกไปเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะอย่างใด
อย่างหนึ่ง
Hongren and Foster, 1991
ความหมายของต้นทุน
ต้นทุน (Costs) VS ค่าใช้จ่าย (Expense) เหมือนกันหรือไม่ ???
 ต้นทุน (Cost) หมายถึง มูลค่าที่วดั ได้เป็ นจานวนเงินที่กิจการ
ได้ลงทุนไป เพื่อให้ได้สินค้า สินทรัพย์ หรือบริการต่างๆ ซึง่
กิจการคาดว่าจะนาไปใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ในภายหลัง
 ค่าใช้จ่าย (Expense) หมายถึง ต้นทุนที่ถกู นาไปใช้ประโยชน์
บางส่วนหรือทัง้ หมด ในระยะเวลาที่กาหนดไว้ ซึง่ ตามปกติก็
คือ “งวดบัญชี”
ความหมายของต้นทุน
ต้นทุน (Costs) VS ค่าใช้จ่าย (Expense) เหมือนกันหรือไม่ ???
 ธุรกิจเริม
่ เปิ ดดาเนินการใหม่ มีการซือ้ สินค้ามาจาหน่าย จานวน
100,000 บาท หากเมื่อถึงวันปิ ดงวดบัญชีแล้วมีการขายสินค้า
ไป 3/4 หรือเป็ นราคาทุนเท่ากับ 75,000 บาท ดังนัน้ กิจการจะมี
ต้นทุนสินค้าที่เป็ นค่าใช้จ่ายประจางวด จานวน 75,000 บาท
 พิจารณา กรณี...
บริษัทจ่ายเงินค่าเบีย้ ประกันสานักงาน จานวน 12,000 บาท สาหรับระยะเวลา 1
ปี หากกิจการเริม่ ทาประกันเมื่อ 1 ตุลาคม 25X1 ดังนัน้ กิจการมีตน้ ทุน และ
ค่าใช้จ่ายเท่าใด
ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุนประกอบด้วย

1. รายได้ รวม
รายได้ รวม (total revenue) หมายถึง ผลคูณของปริมาณขายกับ
ราคาขายต่ อหน่ วย โดยรายได้ รวมนั้นจะผันแปรไปตามปริมาณการขาย

9
จานวนเงิน
(บาท)

100 รายได้ รวม

80
60
40
20
ปริมาณการขาย (หน่ วย)
0 1 2 3 4 5 6

ภาพที่ 1 จานวนรายได้ รวม


10
2. ต้ นทุนรวม
ต้ นทุนรวม (total cost) หมายถึง ผลรวมของต้ นทุนคงทีแ่ ละ
ต้ นทุนผันแปร

2.1 ต้ นทุนคงที่ (fixed cost)

11
ตัวอย่างที่ 5.1 บริษัท ร่ารวย จากัด ตกลงทาสั ญญาเช่ าสานักงานเดือนละ 3,000
บาท บริษัทมีปริมาณการขาย 100, 200, 300, 400 และ 500 หน่ วยต่ อเดือน ตามลาดับ
ต้ นทุนคงทีแ่ สดงดังภาพที่ 5.2
จานวนเงิน (บาท)

5,000

4,000

3,000 ต้ นทุนคงที่

2,000

1,000

ปริมาณการขาย (หน่ วย)


0 100 200 300 400 500

ภาพที่ 2 จานวนต้ นทุนคงที่


12
ตัวอย่ างที่ 5.2 บริษัท ร่ารวย จากัด มีปริมาณการขายในแต่ ละเดือ น ๆ ละ 100,
200, 300, 400, 500, 600 หน่ วย ตามลาดับ โดยบริ ษัทจะต้ องจ่ ายเงินเดือนเพิ่ม ให้ แก่
พนักงานในทุกระดับการขายที่เพิ่มขึน้ 200 หน่ วย เป็ นจานวน 500 บาท ต้ นทุนกึ่งผัน
แปรแสดงดังภาพที่ 5.3
จานวนเงิน (บาท)

4,000

3,000
ต้ นทุนกึง่ ผันแปร
2,000

1,000

ปริมาณการขาย (หน่ วย)


0 100 200 300 400 500 600

ภาพที่ 3 จานวนต้ นทุนกึ13ง่ ผันแปร


2.2 ต้นทุนผันแปร (variable cost)
ตัวอย่ างที่ 5.3 บริษทั ร่ารวย จากัด ซื้อปากกามาขาย ราคาทุนด้ ามละ 10 บาท บริษัท
ขายปากกาได้ จานวน 100, 200, 300, 400, 500 และ 600 ด้ ามต่ อเดือน ตามลาดับ ต้ นทุน ผัน
แปรแสดงดังภาพที่ 5.4
จานวนเงิน (บาท)

5,000 ต้ นทุนผันแปร
4,000
3,000
2,000
1,000
ปริมาณการขาย (หน่ วย)
0 100 200 300 400 500 600

ภาพที่ 4 จานวนต้ นทุ14นผันแปร


จานวนเงิน (บาท)
ต้ นทุนรวม
5,000

ต้ นทุนผันแปร
3,000

ต้ นทุนคงที่

ปริมาณการขาย (หน่ วย)


0 100 200 300 400 500 600

ภาพที่ 5.5 จานวนต้ นทุนรวม

15
1. วิธีหาจุดคุ้มทุนจากกราฟ
จานวนเงิน (บาท)

รายได้ รวม
1,000
900
800 กาไร 300
240 ต้ นทุนรวม
700 180
600 120
60
500 จานวนเงิน ณ จุดคุ้มทุน ต้ นทุนผันแปร
400 60 จุดคุ้มทุน
300 120 ต้ นทุนคงที่
180
200 240
ขาดทุน
100
0 ปริมาณขาย (หน่ วย)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ภาพที่ 5.6 การวิเคราะห์ จุดคุ้มทุนจากกราฟ 16


2. วิธีหาจุดคุ้มทุนจากตาราง

(1) (2) (3) (4) (5)=(3+4) (6)=(2-5)


ปริมาณ ยอดขายรวม ต้ นทุนคงที่ ต้ นทุนผันแปรรวม ต้ นทุนรวม กาไร
การขาย (ปริมาณขาย x ราคาขาย (บาท) (ปริมาณขาย x ต้ นทุน (บาท) (ขาดทุน)
(คัน) ต่ อหน่ วย) ผันแปรต่ อหน่ วย) (บาท)
0 0 x 100 = 0 300 0 x 40 = 0 300 (300)
1 1 x 100 = 100 300 1 x 40 = 40 340 (240)
2 2 x 100 = 200 300 2 x 40 = 80 380 (180)
3 3 x 100 = 300 300 3 x 40 = 120 420 (120)
4 4 x 100 = 400 300 4 x 40 = 160 460 (60)
5 5 x 100 = 500 300 5 x 40 = 200 500 0
6 6 x 100 = 600 300 6 x 40 = 240 540 60
7 7 x 100 = 700 300 7 x 40 = 280 580 120
8 8 x 100 = 800 300 8 x 40 = 320 620 180
9 9 x 100 = 900 300 9 x 40 = 360 660 240
10 10 x 100 = 1,000 300 10 x 40 = 400 700 300

17
3. วิธีหาจุดคุม้ ทุนจากสมการ

จากสมการ รายได้ รวม = ต้ นทุนคงที่ + ต้ นทุนผันแปร + กาไรทีต่ ้ องการ


หรื อ TR = FC + VC + กาไรทีต่ ้ องการ
TR = ราคาขายต่ อหน่ วย (P) x ปริมาณขาย (Q)
VC = ต้ นทุนผันแปรต่ อหน่ วย (VC/หน่ วย) x ปริมาณขาย (Q)
สมมติให้ บริษัทมีปริมาณขายที่ Y หน่ วย ดังนั้น ปริมาณขาย ณ จุดคุ้มทุน แสดงการคานวณได้ ดงั นี้
PxQ = FC + (VC/หน่ วย x Q) + กาไรทีต่ ้ องการ
เมื่อ Q=Y และกาไรทีต่ ้ องการ = 0
แทนค่ า 100 x Y = 300 + (40 x Y) + 0
100Y – 40Y = 300
60Y = 300
Y = 300 = 5
60
ดังนั้น ปริมาณการขายร่ ม ณ จุดคุ้มทุน เท่ ากับ 5 คัน
18
หากบริษัทต้ องการกาไร 240 บาท จะต้ องขายร่ มให้ ได้ จานวนกีค่ นั
แสดงการคานวณ ได้ ดงั นี้

100 x Y = 300 + 40Y + 240


100Y – 40Y = 540
60Y = 540
Y = 540 =9
90

ดังนั้น จะต้ องขายร่ มให้ ได้ จานวนเท่ ากับ 9 คัน จึงจะได้ กาไรเท่ ากับ 240 บาท

19
4. วิธีใช้สูตรสาเร็ จ

กรณีกาไรทีต่ ้ องการเท่ ากับศูนย์ (0)

FC
Q* (หน่ วย) = ---------- (1)
P – VC/หน่ วย

เมื่อ Q* = ปริมาณขาย ณ จุดคุ้มทุน (หน่ วย)

20
TR* (บาท) = P x Q* ---------- (2)

เมื่อ TR* = รายได้ รวม ณ จุดคุ้มทุน

กาไรส่ วนเกิน (CM) = P – VC/หน่ วย ---------- (3)


(บาท)

21
การจาแนกประเภทของต้นทุน
 ต้นทุนเพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดทางบการเงิน
 ต้นทุนสาหรับการวางแผน และการควบคุม
 ต้นทุนตามหน้าที่
 ต้นทุนตามเวลาที่ปรากฏ
 ต้นทุนเพื่อการตัดสินใจ
ต้นทุนเพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดทางบการเงิน
กิจการผลิต
ซือ้ วัตถุดิบ งบกาไรขาดทุน
วัตถุดิบคงเหลือ
ขาย
ผลิต สินค้าสาเร็จรูป ต้นทุน
ผลิตภัณฑ์ หัก ต้นทุนสินค้าขาย ต้นทุนประจำงวด
สินค้าระหว่างผลิต
กาไรขัน้ ต้น
ค่าแรงทางตรง
ค่าใช้จ่ายในการผลิต หัก ค่าใช้จ่ายในการ
ต้นทุนประจำงวด
ขายและการบริหาร
กาไรจากการ
ดาเนินงาน
การคานวณต้นทุนสินค้าที่ผลิต
ต้นทุนสินค้าที่ผลิตประกอบด้วย
1. วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต หมายถึง สิ่งของซึง่ กิจการนามา
เปลี่ยนสภาพหรือประกอบขึน้ เป็ นผลิตภัณฑ์ เช่น
ไม้ -เป็ นวัตถุดิบในการผลิตเครือ่ งเรือน
ผ้า -เป็ นวัตถุดิบของการผลิตเสือ้ ผ้าสาเร็จรูป
กระดาษ -เป็ นวัตถุดิบของโรงพิมพ์
การคานวณต้นทุนสินค้าที่ผลิต
ต้นทุนสินค้าที่ผลิตประกอบด้วย
2. ค่าแรงงานโดยตรง หมายถึง ค่าจ้างคนงานซึง่ ทาการเปลี่ยน
สภาพ หรือประกอบวัตถุดิบขึน้ เป็ นผลิตภัณฑ์โดยตรง เช่น
- ค่าแรงช่างไม้ท่ที าเครือ่ งเรือน
- ค่าแรงคนงานเย็บเสือ้ ผ้าสาเร็จรูป
- ค่าแรงคนงานเรียงพิมพ์
การคานวณต้นทุนสินค้าที่ผลิต
ต้นทุนสินค้าที่ผลิตประกอบด้วย
3. ค่าใช้จ่ายในการผลิต หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่จาเป็ นในการ
ผลิตนอกจากวัตถุดิบและค่าแรงโดยตรง เช่น
- ค่าสาธารณูปโภค ค่านา้ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์
- ค่าซ่อมแซมอาคารโรงงาน เครื่องจักร
- เบีย้ ประกันภัยโรงงาน เครื่องจักร อุปกรณ์ตา่ งๆ
- ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดในโรงงาน
- ค่าเสื่อมราคาอาคารโรงงาน เครื่องจักร อุปกรณ์ตา่ งๆ
ฯลฯ
การคานวณต้นทุนสินค้าที่ผลิต
 วัตถุดิบต้นปี + ซือ้ - วัตถุดิบคงเหลือปลายปี = วัตถุดิบใช้ไป

 วัตถุดิบใช้ไป + ค่าแรงโดยตรง = ต้นทุนขัน้ ต้น

 ต้นทุนขัน้ ต้น + ค่าใช้จ่ายในการผลิต = ต้นทุนการผลิตระหว่างงวด


การคานวณต้นทุนสินค้าที่ผลิต
ต้นทุนการผลิต + สิ น ค้
า ระหว่
า ง = ต้
น ทุ

ระหว่างงวด ผลิตต้นปี การผลิตทัง้ หมด

ต้นทุนการผลิต - สิ น ค้
า ระหว่
า ง = ต้
น ทุน สิ น ค้
า ผลิ ต หรื

ทัง้ หมด ผลิตปลายงวด ต้นทุนสินค้าสาเร็จรูป

ต้นทุนสินค้า + สินค้าสาเร็จรูป - สินค้าสาเร็จรูป = ต้นทุน


ผลิต ต้นงวด ปลายงวด สินค้าขาย
ต้นทุนเพื่อใช้ประโยชน์ในการจัดทางบการเงิน
กิจการค้า (ซือ้ มาขายไป)
งบกาไรขาดทุน
ขายสินค้าไป
ขาย
สินค้าที่ซอื ้ มา
หัก ต้นทุนสินค้าขาย ต้นทุนประจำงวด
สินค้าคงเหลือ
กาไรขัน้ ต้น
ต้นทุน
ผลิตภัณฑ์ หัก ค่าใช้จ่ายในการ
ต้นทุนประจำงวด
ขายและการบริหาร
กาไรจากการ
ดาเนินงาน
ต้นทุนสาหรับการวางแผน และควบคุม
ต้นทุนตามพฤติกรรมต้นทุน
โดยทั่วไปสามารถแบ่งได้เป็ น 3 กลุม่
 ต้นทุนคงที่ (Fixed cost)
ต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิตและการขาย ในช่วงที่วิเคราะห์
 ต้นทุนผันแปร (Variable cost)
ต้นทุนที่แปรผันโดยตรง และเป็ นอัตราที่คงที่กบั ปริมาณการผลิตและการขาย
 ต้นทุนกึ่งแปรได้ (Semi variable cost)
ต้นทุนที่แปรผันโดยตรงกับปริมาณการผลิตและการขาย แต่อตั ราส่วนไม่คงที่
ต้นทุนคงที่ VS ต้นทุนผันแปร
COST
ต้นทุน ต้นทุน

600
600
400
400
200
200
ปริมาณ ปริมาณ
200 400 600 200 400 600
Fixed cost Variable cost
ต้นทุนคงที่ VS ต้นทุนผันแปร
Fixed, variable or semi-variable cost ???
 ค่าเสื่อมราคา
 ค่าวัตถุดิบ
 ค่าแรงในการผลิต
 ค่าบารุงรักษาเครือ่ งจักร อุปกรณ์
 ค่าใช้จ่ายสานักงานทั่วไป
 ค่าเช่า
 ค่านายหน้าพนักงานขาย
 เงินเดือนผูบ้ ริหาร
 เงินเดือนเจ้าหน้าที่ท่วั ไป
ต้นทุนคงที่ VS ต้นทุนผันแปร

รายการ ต้นทุนรวม ต้นทุนต่อหน่วย

ต้นทุนคงที่ คงที่เท่าเดิม ลดลงเมื่อเพิ่มปริมาณกิจกรรม


เพิ่มขึน้ เมื่อลดปริมาณกิจกรรม

ต้นทุนผันแปร เพิ่มขึน้ เมื่อเพิ่มปริมาณกิจกรรม


ลดลงเมื่อลดปริมาณกิจการรม
คงทีตอ่ หน่วย
การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กาไร
COST-VOLUME-PROFIT analysis

COST PRICE VOLUME

PROFIT
การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กาไร
บัญชีกาไรขาดทุนของธุรกิจอย่างง่ายๆ แสดงให้เห็นสมการทาง
บัญชี คือ
ขาย - (ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่) = กาไรสุทธิ/ขาดทุน
1,200,000 - (552,000 + 461,100) = กาไร 186,900
เราสามารถหาสัดส่วนการเปลี่ยนแปลงของกิจการได้โดยการเอา
ต้นทุนผันแปรหารด้วยยอดรายได้รวม
552,000/1,200,000 = 0.46
แสดงว่าทุก 1 บาทของยอดขายที่เพิ่มขึน้ เป็ น ต้นทุนผันแปร = 0.46 บาท
การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กาไร
 จึงสามารถนาสูตรมาคานวณกาไรขาดทุนได้ดงั นี ้

ยอดขาย - (ต้นทุนผันแปร + ต้นทุนคงที่) = กาไรสุทธิ/ขาดทุน


0 -( 0 * 0.46 + 461,100) = ขาดทุน 461,100
800,000 - (800,000 * 0.46 + 461,100) = ขาดทุน 29,100
853,889 - (853,889 * 0.46 + 461,100) = เท่าทุน
1,000,000 - (1,000,000 * 0.46 + 461,100) = กาไร 78,900
1,200,000 - (1,200,000 * 0.46 + 461,100) = กาไร 186,900
การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กาไร
การวิเคราะห์จดุ เสมอตัวแบบเส้นตรง
 ต้นทุนทัง้ หมดแบ่งเป็ น 2 กลุม่ คือ คงที่ และผันแปร เท่านัน้
 ต้นทุนคงที่คงที่ตลอดงวดที่ทาการวิเคราะห์
 ต้นทุนผันแปรต่อหน่วยคงที่ตลอดการวิเคราะห์
 ราคาขายต่อหน่วยคงที่ตลอดการวิเคราะห์
 ปริมาณการผลิตเท่ากับปริมาณการขายตลอดช่วงการวิเคราะห์
การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กาไร
บริษัท ACC-BA จากัด มีโครงการผลิตและขายส่งขนมอบกรอบตรารส
เลิศในราคาถุงละ 8 บาท ต้นทุนคงที่ในการผลิตประมาณ 160,000
บาท/เดือน ต้นทุนแปรได้ 4.80 บาทต่อถุง จุดคุม้ ทุนของบริษัท ACC-
BA จากัดเป็ นเท่าใด ???
การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กาไร
รายได้และต้นทุน (บาท)

Total Revenue (TR) = Total Cost (TC) รายได้รวม :Total revenue

ค่าใช้จ่ายรวม :Total cost


จุดคุม้ ทุน: Break even point
ต้นทุนแปรผัน: Variable cost

ต้นทุนคงที่:Fixed cost

ปริมาณการผลิตและขาย (หน่วย)
การผันแปรของกาไรขึ้นกับลักษณะค่าใช้จ่าย ของธุรกิจซึ่งมี 2
ประเภท
• ค่าใช้จ่ายผันแปรได้ (Variable Cost)เป็ นค่าใช้จ่ายที่ผนั แปร
ตามยอดขาย เช่นต้นทุนสิ นค้า เป็ นต้น เมื่อขายสิ นค้าได้ ก็จะ
กลายเป็ นต้นทุนสิ นค้าในงบกาไรขาดทุน แต่ถา้ ขายไม่ได้
สิ นค้านั้น จะเป็ นสิ นทรัพย์ในงบดุล
• ค่าใช้จ่ายคงที่ (Fixed Cost) เป็ นค่าใช้จ่ายที่เมื่อเกิดขึ้นแล้ว ก็
จะเป็ นภาระค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน ไม่วา่ จะมียอดขาย
มาก หรื อน้อยอย่างไร เช่น ค่าเสื่ อมราคา เงินเดือนผูบ้ ริ หาร
เป็ นต้น
ค่าใช้จ่ายทั้ง 2 ประเภทมีผลของต่อกาไรธุรกิจ
• เมื่ อ มี ก ารจัด ตั้ง ธุ ร กิ จ ความไม่ แ น่ น อนเกี่ ย วกับ รายได้
มักจะมี สูงมาก นอกจากธุ ร กิ จสัมปทานที่ ร ายได้มี ความ
แน่นอนสู ง เนื่องจากไม่มีคู่แข่ง
• เมื่อเป็ นเช่นนั้น การดาเนิ นงานโดยมีค่าใช้จ่ายคงที่สูง ย่อม
มี ค วามเสี่ ยงสู ง กั บ การขาดทุ น สู ง ต่ า งจากธุ ร กิ จ ที่ มี
ค่าใช้จ่ายคงที่ ต่ า ที่ ภาระค่าใช้จ่ายส่ วนใหญ่เป็ นค่าใช้จ่าย
ผันแปร ความเสี่ ยงกับการขาดทุนก็จะต่าไปด้วย เพราะเมื่อ
ไม่มียอดขาย ค่าใช้จ่ายประเภทผันแปรก็จะไม่เกิดขึ้น
การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริ มาณและกาไร (Cost-Volume-Profit
Analysis)
• เป็ นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างของต้นทุน ปริ มาณขาย
และ กาไร เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผนและ การตัดสิ นใจ
ในการด าเนิ น งานของธุ ร กิ จ การตัด สิ น ใจใดๆ ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด
ค่ า ใช้ จ่ า ยหรื อต้ น ทุ น คงที่ ใ นการด าเนิ น งานจ านวนมาก
ค่าใช้จ่ายคงที่เหล่านี้เป็ นภาระผูกพันที่เกิดขึ้นแน่นอนไม่ ว่าจะมี
รายได้จากการขายหรื อไม่กต็ าม
• เดิมเรี ยกกันว่าการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน (Break-even Analysis)
จุดค้มทุน จะบอกถึงปริ มาณขายที่จะทาให้ธุรกิจอยู่ รอด
การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กาไร
equation…
Total Revenue  Total Cost
Total Revenue  Fixed Cost  Variable Cost
Price  Quantity  Fixed Cost 
(Variable Cost per unit  Quantiy)

FC
Q
P - VC กาไรส่ วนเกินต่อหน่วย
/กาไรแปรได้ต่อหน่วย
กาหนดตัวแปรที่ใช้ในการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน ดังนี้:
• P = ราคาต่อหน่วยของสิ นค้า (บาท)
• V = ต้นทุนผันแปรต่อหน่วยของสิ นค้า (บาท)
• FCO = ต้นทุนคงที่รวมในการดาเนินงานรวม (บาท)
• P-V = กาไรส่ วนเกิน (Contribution Margin) ต่อหน่วย (บาท)
• QOBE= ปริ มาณ/จานวนหน่วยขายคุม้ ทุนในการดาเนินงาน (หน่วยขาย)
การคานวนหาจุดคุม้ ทุน : ปริ มาณหน่วยขายคุม้ ทุน(ในการดาเนินงาน)

ณ จุดคุม้ ทุน: รายได้รวม= รายจ่ายรวมในการดาเนินงาน


P*Q = (V * Q) + FCO
(P -V) Q = FCO
QOBE = FCO
P -V
ตัวอย่าง
การคานวณปริ มาณขายคุม้ ทุนในการดาเนินงาน (QOBE)
ร้านนายแดงขายก๋ วยเตี๋ยวเรื อชามละ 15 บาท ต้นทุน ก๋ วยเตี๋ยวเรื อแต่ละชาม
ประกอบด้วยเส้นก๋ วยเตี๋ยว หมูหรื อ เนื้ อ ผักสด เครื่ องปรุ ง รวมเท่ากับ 8
บาท ถ้าต้นทุนคงที่อนั ประกอบด้วยค่าเช่าร้าน เงินเดือนพนักงาน ค่าเสื่ อม
ราคา วัสดุอุปกรณ์ และอื่นๆ รวมแล้วเดือนละ 10,500 บาท ถามว่าถ้าจะให้
ร้านอยูร่ อด นายแดงจะต้องขายก๋ วยเตี๋ยวให้ ได้กี่ชาม และขายให้ได้รวมเป็ น
เงิน(เดือนละ)กี่บาท?
ยอดขายคุม้ ทุนในการดาเนินงาน (Operating Break-even Sales)
• ในกรณี ที่ตอ้ งการหาจุดคุม้ ทุนของธุ รกิ จที่ขายสิ นค้ามากประเภท เช่ น
ร้านสะดวกซื้ อ 7-11 หรื อ ร้านค้า Modern Trade ทั้งหลาย การคานวน
จุดคุม้ ทุนของสิ นค้าแต่ละชนิ ด ไม่เป็ นประโยชน์ในการ บริ หารจัดการ
เป็ นการเสี ยเวลาที่ไม่คุม้ กับผลที่ได้ จึงมีการคานวณจุดคุม้ ทุนในลักษณะ
เป็ นรายได้จากการขายคุม้ ทุน (ในการดาเนินงาน) เป็ นการมองภาพรวม
ว่าในแต่ละ ช่ วงเวลา เช่ นแต่ละเดือนควรมีการขายสิ นค้าได้รวมกี่บาท
จึ ง จะอยู่รอด โดยไม่จาเป็ นต้องบอกว่าขายสิ นค้าอะไร เป็ นจานวนกี่
หน่วย โดยวิธีน้ ีธุรกิจสามารถวางแผนการอยูร่ อดได้ตามที่ ต้องการ
กาหนดตัวแปรที่ใช้ในการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน ดังนี้:
V/P = สัดส่ วนต้นทุนผันแปรต่อหน่วยต่อต่อยอดขายหนึ่งบาท
TVC/S = สัดส่ วนต้นทุนผันแปรรวมต่อยอดขายรวม
1-V/P = สัดส่ วนกาไรส่ วนเกิน (Contribution Margin) ต่อยอดขายหนึ่ง
บาท
SOBE= รายได้รวมจากการขายคุม้ ทุนในการดาเนินงาน (บาท)
การคานวณหาจุดคุม้ ทุน: รายได้จากการขายคุม้ ทุน
ยอดขายคุม้ ทุนในการดาเนินงานที่เป็ นเงินสด
(Cash Operating Break-even Point)
• ถ้าจุ ดคุ ม้ ทุนในการดาเนิ นงานสู ง ธุ รกิ จต้องพยายามขายสิ นค้าให้ ได้
มากกว่าจุ ด นั้น จึ ง จะท าให้อยู่ร อด และเริ่ ม มี ก าไร ธุ ร กิ จ ที่ ตัด สิ น ใจ
ลงทุนในสิ นทรัพย์ที่ก่อให้เกิดต้นทุนคงที่มาก จะมีความ เสี่ ยงมากที่จะ
ทาได้ถึงจุดคุม้ ทุนนั้น
• ในบางครั้ง ธุรกิจจึงอยากรู ้วา่ ถ้าพยายามขายสิ นค้าให้อยูร่ อด เพียงพอกับ
ต้นทุนคงที่ ที่เป็ นเงิ นสด โดยพิจารณาว่าต้นทุน คงที่ บางอย่าง เช่ นค่า
เสื่ อ มราคา ไมได้เ ป็ นเงิ น สดที่ ต ้อ งจ่ า ยอี ก จึ ง ควรแยกออกไป และ
คานึ งถึงเฉพาะที่เป็ นเงินสดจ่ายจริ งๆ กรณี น้ ี เรี ยกว่า จุดคุม้ ทุนที่เป็ นเงิน
สด ซึ่งจะต่ากว่าจุดคุม้ ทุน ปกติ
ตัวอย่าง จุดคุม้ ทุนในการดาเนินงานเงินสด

ร้านเบเกอรี่ มีตน้ ทุนคงที่ในการดาเนินงานเดือนละ 30,000 บาท


ใน จานวนนี้ ประมาณ 30% เป็ นค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์เครื่ องมือ
ต่างๆ ถ้าต้นทุน(ผันแปร)ในการผลิตเบเกอรี่ เท่ากับ 40% ของราคา
ขาย
ถามว่า
รายได้จากการขายคุม้ ทุนในการดาเนินงาน และ รายได้จากการคุม้
ทุนในการดาเนินงานที่เป็ นเงินสดเท่ากับเท่าใด
การคานวณหารายได้จากการขายคุม้ ทุนในการดาเนินงาน และ
รายได้จากการขายคุม้ ทุนในการดาเนินงานที่เป็ นเงินสด
การวางแผนการขายให้ได้กาไรเป้าหมาย
• โดยอาศัยเทคนิคการวิเคราะห์จุดคุม้ ทุน มาช่วยในการวางแผน
• จากความหมายของจุดคุม้ ทุน ถ้าขายได้ถึงจุดนั้น จะไม่มีกาไร
จากการดาเนิ นงานเลย เพียงมีรายได้รวม เท่ากับค่าใช้จ่ายใน
การ ดาเนินงานรวมเท่านั้น
• ฉะนั้น หากต้อ งการวางแผนก าไรเป้ า หมาย (Target Profit)
จานวนหนึ่ง และต้องการรู ้วา่ ต้องขายให้ได้เท่าใด จึงจะได้ตาม
เป้ าหมายนั้น สามารถทาได้โดยการนาเอาผลกาไรเป้ าหมาย
นั้น รวมกับ ต้น ทุ น คงที่ ที่ มี อ ยู่ เสมื อ นหนึ่ งว่ า นั่น คื อ ภาระ
ทั้งหมดที่ตอ้ ง พยายามทายอดขายให้เอาชนะให้ได้
การวางแผนการขายให้ ได้ กาํ ไรเป้าหมาย
การคานวนหายอดขายเพื่อให้ได้กาไรตามเป้าหมาย
สรุ ปตัวแปรที่สาคัญ (Key Drivers) ในการวางแผนความ เสี่ ยง

• ราคาขาย(P)
• ค่าใช้จ่ายผันแปรได้ต่อหน่วย (V) หรื อสัดส่ วน
• ค่าใช้จ่ายผันแปรได้รวมต่อยอดขาย (TVC/S)
ค่าใช้จ่ายคงที่ (FCO)
จุดคุม้ ทุนทางการเงิน (Financial Break-even Point)
จุดคุม้ ทุนทางการเงินหมายถึงระดับกาไรจากการดาเนิ นงาน (EBIT) ที่
เพี ย งพอส าหรั บ ค่ า ใช้จ่ า ยทางการเงิ น ที่ มี แ ละไม่ ท าให้ ผู ้ถื อ หุ ้ น ต้อ งได้รั บ
ผลกระทบ นัน่ ก็คือการที่ผลกาไรสุ ทธิ หรื อกาไร ต่อหุ น้ มีค่าเท่ากับศูนย์พอดี ณ
จุดนี้ผถู ้ ือหุ น้ จะไม่ตอ้ งรับผล ขาดทุนใดๆ จะเสมอตัวพอดี
ฉะนั้นการที่สามารถทาได้ถึงจุดคุม้ ทุนในการดาเนิ นงาน คือ EBIT = 0
อาจไม่เพียงพอ อาจไม่คุม้ ทุนทางการเงิน หากมีการกูเ้ งินมา และมี ค่าใช้จ่าย
ดอกเบี้ยอยู่
การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กาไร
บริษัท ACC-BA จำกัด มีโครงกำรผลิตและขำยส่งขนมอบกรอบ
ตรำรสเลิศในรำคำถุงละ 8 บำท ต้นทุนคงทีใ่ นกำรผลิตประมำณ
160,000 บำท/เดือน ต้นทุนแปรได้ 4.80 บำทต่อถุง ผู้จัดกำร
บริษัทคำดว่ำในเดือนแรกจะขำยได้อย่ำงต่ำประมำณ 20,000 ถุง
และปริมำณกำรขำยทีค่ ำดว่ำจะได้สูงสุดต่อเดือนคือ 200,000 ถุง
ถ้ำบริษัท ACC-BA จำกัด ต้องกำรกำไร 160,000 บำทต่อเดือน
ต้องผลิตและขำยสินค้ำจำนวนเท่ำใด ???
ถ้ำบริษัท ACC-BA จำกัด ต้องกำรกำไร 10% ของยอดขำย ต้อง
ผลิตและขำยสินค้ำจำนวนเท่ำใด ???
การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กาไร
ประโยชน์ของการวิเคราะห์จดุ เสมอตัว
 การตัดสินใจออกผลิตภัณฑ์
 เครือ่ งมือในการพิจารณาการขยายการลงทุน/ เพิ่มโอกาสในการผลิต
 เครือ่ งมือในการพิจารณาสัดส่วนระหว่างต้นทุนคงที่และผันแปร
การบ้าน
• ตัวอย่าง กิจการแห่ งหนึ่ งมีสินค้าราคาขายต่อหน่วย 250 บาท ต้นทุนผัน
แปรต่อ หน่ วย 150 บาท และต้นทนคงที่ รวม 35000 บาท/เดื อน หาก
บริ ษทั ฯ ขายสิ นค้าอย่ หนวย 150 บาท และตนทุนคงทรวม 35,000 บาท/
เดอน หากบรษทฯ ขายสนคาอยู เดือนละ 400 หน่วย ฝ่ ายบริ หารต้องการ
ใช้ชิ้นส่ วนที่คุณภาพสู ง ซึ่งก็จะทาให้ตน้ ทุน ผันแปรเพิม่ ขึ้นหน่วยละ 10
บาท ซึ่งจะทาให้กาไรส่ วนเกินลดลงหน่วยละ 10 บาท เช่นกัน อย่างไรก็
ตามผูจ้ ดั การฝ่ ายขายก็พยากรณ์ ว่าด้วยคุ ณภาพสิ นค้าที่ดีข้ ึ น จะทา ให้
ปริ มาณขายเป็ นเดือนละ 480 หน่วย บริ ษทั ควรใช้ชิ้นส่ วนที่มีคุณภาพสู ง
หรื อไม่
การวิเคราะห ์ต ้นทุน ปริมาณ กาไร

Q&A

You might also like