Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

นศภ.

วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

การคำานวณทางเภสัชกรรม

สิ่งที่ต้องคำานวณในการบริบาลผ้้ป่วย
• การแปลงหน่วยต่างๆ ในทางการแพทย์/เภสัชกรรม
• การคำานวณขนาดยา : ต่อมื้ อ, ต่อวัน
• คำานวณความแรงของยา และอัตราการให้ยา
• Anthropometry
• การคำานวณขนาดยาในเด็ก
• Organs function : การทำางานของไต

การแปลงหน่วยต่างๆ ในทางการแพทย์/เภสัชกรรม
• หน่วยในทางเภสัชกรรมที่มีการใช้กันบ่อยๆ ได้แก่ mEq, mcg, mmol
เป็ นต้น
• การคำานวณ mmol และ mEq มีความสำาคัญใน
o การให้ electrolyte, สารให้กรด-ด่าง ต่างๆ และการให้สารเหล่านี้
ในอาหาร ซึ่งในบางครั้งจะระบุเป็ นหน่วย g, mmol, หรือ mEq
เช่น
ผ้้ป่วยความดันโลหิตส้งควรกิน sodium ไม่เกินวันละ 100
mmol/day หรือ 2.4 g ของ sodium หรือ 6 g ของ sodium
chloride
• การคำานวณนำ้าหนั ก (mEq)

mEq = (mg/MW) x จำานวน valence ของ ion


= [(g/MW) x 1000] x จำานวน valence ของ
ion
นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

• การคำานวณความเข้มข้น (mEq/L)

mEq/L = (g/MW) x (1000/V) x จำานวน


valence ของ ion

• การแปลงหน่วย mcg/kg/min เป็ น ud/min


ตัวอย่าง
o NE : 0.3 mcg/kg/min ในผ้้ป่วยหนั ก 60 kg. และร้ปแบบยา NE
ที่มีคือ Levophed (8:250)
o Levophed (8:250) >> มียา NE 8 mg ในสารละลาย 250 ml
การคำานวณขนาดยาที่ผ้ป่วยควรได้รบ

= 0.3x60 mcg/min
= 18 mcg/min
NE 8:250 (8 mg/250 ml)
สารละลาย 250 ml มียา NE = 8 x 103 mcg
สารละลาย 1 ml มียา NE = 8 x 103 /250 mcg

ud/min = ml/hr
(60/60) = (1/1)

ผ้้ป่วยต้องการ 18 mcg/min
ในเวลา 1 นาที ต้องการยา NE 18 mcg
ในเวลา 60 นาที ต้องการยา NE 18 x 60 mcg
นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

จากข้างต้น >> 1 ml มียา NE = 8 x 103 /250 mcg


>> 1 hr ต้องการยา = 18 x 60 mcg
ยา NE 8 x 103 /250 mcg ต้องใช้สลล. 1 ml
ยา NE 18 x 60 mcg ต้องใช้สลล. 18 x 60 ml
3
8 x 10 /250
3
ต้องให้ยาในขนาด (18 x 60)/(8 x 10 /250 ) ml/hr (ud/min)
o สรุปส้ตร >>

ud/min = Dose(mcg/min) x 60 x ml ของยา


g
3
ของยา x 10

การคำานวณขนาดยา (Dose calculation)


• ขนาดยาปกติ (Usual dose) : หากไม่มีการระบุอายุไว้ จะหมายถึงขนาด
ยาสำาหรับผ้้ใหญ่ในแต่ละครั้ง เช่น tetracycline 250 – 500 mg วันละ
4 ครั้ง
• ช่วงของขนาดยาปกติ (Usual dose range) : ช่วงความปลอดภัยของยา
เช่น tetracycline 1 – 4 g/วัน
o ในการคำานวณขนาดยาควรเปลี่ยนให้เป็ นหน่วยที่ผ้ป่วยสามารถ
ใช้ได้ เช่น หนั งสือ drug information handbook ระบุว่าขนาดยา
amoxycillin ในเด็กคือ 25 – 50 mg/kd/day แบ่งให้ทุก 8
ชัว่ โมง, ขนายาส้งสุด 2 – 3 g/day
o ควรแปลงขนาดยาให้ตามนำ้าหนั กผ้้ป่วยเช่น เด็กหนั ก 15 kg
ขนาดยาที่เด็กคนนี้ ควรได้รบ
ั คือ 375 – 750 mg/day
นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

o สมมติขนาดยาต่อช้อนชาคือ 250 mg amoxycillin/ 5 ml ก็อาจ


จะให้ผ้ป่วยรับประทานยา 1 ช้อนชา วันละ 3 ครั้ง เช้า เที่ยง เย็น
เป็ นต้น
การคำานวณความแรงของยาในหน่วยต่างๆ เช่น
o ยาเม็ด/แคปซ้ล : mg/เม็ด, mg/แคปซ้ล
o ยาที่เป็ นของเหลว : mg/ml, %W/V, mg/vial เป็ นต้น
o กรณี ของ % และไม่มีหน่วยกำากับ : ยากึ่งของแข็ง/ของแข็ง >>
%W/W
: ยาของเหลว >> %W/V, %V/V
Allegation method
• Allegation method : เป็ นวิธท
ี างเลขคณิ ตที่ใช้ในการคำานวณปั ญหาการ
เจือจางและการเพิ่มความเข้มข้น โดยความแรงต้องระบุเป็ น % ทั้งหมด
วิธีการทำา :
1. เรียงความแรงของสารเริม
่ ต้นจากมากไปน้อยในแนวตั้ง
(คอลัมน์ A)
2. ให้ความแรงที่ต้องการอย่้ตรงกลาง (คอลัมน์ B)
3. หาผลต่างระหว่างความแรงที่ต้องการกับความแรงของสารตั้ง
ต้นแต่ละตัว แล้วเขียนผลต่างนี้ ให้
อย่้ด้านขวามือของความแรงที่ต้องการ (คอลัมน์ C)
4. เขียนจำานวนของผลต่างของข้อ 3 อย่้ขวามือตรงข้ามกับความ
แรงของสารแต่ละตัว จำานวน
ดังกล่าวคิดเป็ นสัดส่วนของสารเริม
่ ต้นแต่ละตัว
• ตัวอย่างการคำานวณ เช่น
Epinephrine 0.01 mg/kg (1:10,000) : ช่วยการหยุดเต้นของหัวใจ ใช้
ยาความแรง 1:10,000
นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

ปั ญหา : a. Epinephrine มีความเข้มข้น = ?? mg/ml


b. หากผ้้ป่วยหนั ก 50 kg ต้องใช้ยา epinephrine ความแรง
1:10,000 จำานวน = ?? ml
c. หากที่ รพ. มีแต่ความแรง 1:1,000 ก็ต้องนำา Epinephrine
1:10,000 มาเจือจางอย่างไร??
วิธีการ
a. Epinephrine 1:10,000 = มียา 1 g ในสารละลาย 10,000 ml
หรือ 0.1 mg/ml
b. หากผ้้ป่วยหนั ก 50 kg ต้องใช้ยา 0.01 mg/kg x 50 kg = 0.5
mg ซึ่งต้องใช้ Epinephrine ความแรง
1:10,000 จำานวน 5 ml
c. หากที่ รพ. มีแต่ความแรง 1:10,000 ก็ต้องนำามาเจือจาง 10
เท่า โดยการนำา Epinephrine 1:10,000
มา 1 ส่วน + diluent ให้ครบ 10 ส่วนหรือใช้ diluent 9 ส่วน
โดยใช้วิธี allegation method ดังนี้

1:1,000 = 1 g ใน 1,000 ml หรือ (1 x 100)/1,000 =


0.1%
1:10,000 = 1 g ใน 10,000 ml หรือ (1 x 100)/10,000
= 0.01%

สารตั้งต้นที่มีคือ Epinephrine 1:1,000 หรือ 0.1%


Diluent สมมติเป็ น NSS มีความแรง Epinephrine เป็ น
0%
นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

สารที่ต้องการคือ Epinephrine 1:10,000 หรือ 0.01%

Allegation method
0.1% 0.01 ส่วน (ได้จาก 0.01% -
0.0%)
0.01%
0.0% 0.09 ส่วน (ได้จาก 0.1% -
0.01%)
(column A) (column B)
(column C)

>> เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายปรับให้เป็ นเลขจำานวนเต็ม : เอา Epinephrine


1:1,000 มา 1 ส่วน และ NSS มา 9 ส่วน ผสมกัน
>> หากต้องการปริมาตร 5 ml ใช้ Epinephrine 1:1,000 จำานวน 0.5
ml ผสมกับ NSS 4.5 ml

การคำานวณอัตราการบริหารยา
• ปกติจะใช้ในยาฉีด, การให้สารนำ้า, การให้เลือด หรือ TPN
• หน่วยที่ใช้ : ml/min, ml/hr ตัวอย่างเช่น Dopamine 2:1 rate 4 ml/hr
หรือ Ceftazidime 140 mg IV drip ใน 30 min q 12 hr
• ในกรณี ท่ีไม่ได้ใช้เครื่องให้ยาที่สามารถบันทึกปริมาตรของยาทีใ่ ห้เป็ น
หน่วยต่อเวลาได้ ต้องคำานวณจำานวน drop ที่ต้องให้แทน พยาบาลก็จะ
ให้ยาเป็ น drop/min ดังนั้ นต้องทราบ drop factor (drops/ml) ของยา
แต่ละชนิ ด ซึ่งจะระบุโดยบริษัทผ้้ผลิต และจะเฉพาะสำาหรับยาแต่ละชนิ ด
และแต่ละบริษัท
นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

o Macrodrip = 10 – 20 drops/ml
o Microdrip/minidrip = 60 drops/ml (มักใช้ pediatric sets)
o Blood sets = 10 drops/ml
• การให้ยาแบบ Intermittent infusion rate

Rate (drops/min) = (V/T) x (F/60)

 V = ปริมาตรที่ให้ท้ ังหมด (ml)


 T = ระยะเวลาในการให้ยา (hr)
 F = drop factors (microdrop หรือ macrodrop)

• การให้ยาแบบ Continuous infusion rate

Rate (drops/min) = (60WD/Conc) x


(F/60)

 W = นำ้าหนั กจริงของผ้้ป่วย (kg)


 D = ขนาดยา (mcg, mg, unit/kg/min)
 F = drop factors (microdrop หรือ macrodrop)
การเจือจางยา
นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

• มีประโยชน์ในการเตรียมยาให้อย่้ในร้ปของเหลวจากผงยาหรือจากยา
ของเหลวที่ความเข้มข้นต่างๆ
• ใช้ส้ตร :
C1V1 = C2V2 หรือ M1 =M2

การคำานวณขนาดยาในเด็ก
• การคำานวณขนาดยาขึ้นกับนำ้าหนั กตัว : ใช้เมื่อนำ้าหนั กตัวต้อง < 50 kg
• การคำานวณขนาดยาขึ้นกับ body surface area : นิ ยมใช้ในเด็ก โดยใช้
ส้ตรหรือ nomogram
o ส้ตร Mosteller’s equation (เด็กและผ้้ใหญ่)

2
Body surface area (m ) = ส่วนส้ง(cm) x นำ้า
หนั ก(kg)
3600

o ส้ตร Fried’s rule (เด็กแรกเกิด – 2 ปี )

Infant’s dose = [อายุ(เดือน)/150] x ขนาดยา


ของผ้้ใหญ่

o ส้ตร surface area ในเด็ก

2
Child’s dose = [BSA(m )/1.73] x ขนาดยาของ
ผ้้ใหญ่
นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

o ส้ตร Young’s rule (1 – 12 ปี )

Child’s dose = [อายุ(ปี )/(อายุ + 12)] x ขนาด


ยาของผ้้ใหญ่

o ส้ตร Clark’s rule (เด็กทุกช่วงอายุ)

Child’s dose = [นำ้าหนั ก(lb)/150] x ขนาดยา


ของผ้้ใหญ่

การคำานวณนำ้าหนักตัว (Anthropometry)
• การคำานวณ Ideal body weight (IBW) หน่วย kg ใช้ในกรณี เช่น การ
คิด creatinine clearance และขนาดยาบางชนิ ด เช่น aminoglycoside
นอกจากนี้ ยังใช้ประเมินภาวะโภชนาการได้อีกด้วย ส้ตรที่ใช้ในการ
คำานวณมีดังนี้
o ผ้้ใหญ่

 ผ้้ชาย IBW (kg) = 50 + (2.3 x ความส้งเป็ นนิ้ วที่


เกินจาก 5 ฟุต)
 ผ้้หญิง IBW (kg) = 45.5 + (2.3 x ความส้งเป็ นนิ้ วที่
เกินจาก 5 ฟุต)

o เด็กอายุ 1 – 18 ปี
นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

 IBW (kg) = [(ความส้งเป็ นเซนติเมตร)2 x


1.65]/1000
 %IBW = [(kg)/IBW] x 100
 Adjusted BW = IBW + 0.4(W-IBW)

การคำานวณ renal function


• มีส้ตรในการคำานวณ ซึ่งมีเงื่อนไขในการใช้ส้ตรดังนี้ :
>> Stable renal function : การเปลี่ยนแปลงของ serum creatinine
ต้องไม่เป็ นแบบกะทันหัน(เกินกว่า 0.5 –
0.7 mg/dL/day) เพราะการเปลี่ยนแปลงเร็วแบบนี้ ให้ประมาณไว้ก่อนว่า
มี creatinine clearance < 10 ml/min
>> ผ้้ป่วยต้องไม่อย่้ในภาวะ marked emaciation (ผอมแห้ง) เพราะมี
กล้ามเนื้ อสร้าง creatinine น้อย จึงไม่
สะท้อนการทำางานของไตที่แท้จริง
• การคำานวณค่า Creatinine clearance (CrCl)
o จากการวัดค่า Cr ในปั สสาวะเป็ นเวลา 24 ชัว่ โมง

24 hr urine Cr collection = UrineCr x V


(ml/min)
1440 x SCr

o ผ้้ใหญ่ (> 18 ปี ) : ใช้ส้ตร Cockroft & Gault equation


นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

ClCr(ชาย) = (140 – อายุ) x IBW (kg)


(ml/min)
SCr (mg/dL) x 72
ClCr(หญิง) = 0.85 x ค่าจากส้ตรผ้้ชาย

o ผ้้ใหญ่ (> 18 ปี ) : ใช้ส้ตร Jelliffe equation

ClCr(ชาย) = 98 – 0.8(อายุ – 20) x


2
BSA ml/min/1.73 m
SCr (mg/dL) 1.73
ClCr(หญิง) = 0.85 x ค่าจากส้ตรผ้้ชาย

o เด็ก (1 – 18 ปี ) หรือ ผ้้ใหญ่ (ส้ง < 152.4 cm) : ใช้ส้ตร Traub &
Johnson equation

2
ClCr = 0.48 x ความส้ง (cm) x BSA (m )
Scr (mg/dL) x
1.73

o ทารก (> 6 เดือน) – ผ้้ใหญ่ (< 21 ปี ) : ใช้ส้ตร Schwartz Brion &


Spitzer equation

ClCr = (K x H/Scr) x (BSA/1.73)

หมายเหตุ H = ความส้ง (cm)


นศภ.วชิราภรณ์ นั นทศรี รหัส 4850320 เอกสารหมายเลข 17

ClCr = Creatinine clearance (ml/min/1.73


2
m)
K = ค่าคงที่ ขึ้นกับอายุ : Low birth
weight < 1 ปี = 0.33
: Full term < 1 ปี
= 0.45
: 2 – 12 ปี =
0.55
: 13 – 21 ปี หญิง
= 0.55
: 13 – 21 ปี ชาย
= 0.70
o วิธีอ่ ืนๆ : Nomogram จากความส้งและ serum creatinine (Drug
information handbook)

อ้างอิง : Winit-Watjana W. Calculations in Pharmaceutical Care.


Chulalongkorn University. Bangkok. 2000.
: Kasiwong S. Common calculation in pharmaceutical care.
Available from : http://elearning. pharmacy.psu.ac.th/index.php?
option=com_content&task=view&id=40&Itemid=44

You might also like