Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 32

เอกสารประกอบการสอน

รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

บทที่ ๓
อักษรเทวนาครี
อักษรเทวนาครี (devnagrI) มีความหมายวา อักษรหรือภาษาที่ใชกันอยูในเมืองเทวดาหรือ
16

สรวงสวรรค (มีที่มาจากความเชื่อของชาวอินเดียที่วา อักษรเทวนาครีนี้ไมใชผลงานของมนุษยแตใช


กันในสรวงสวรรค) พัฒนามาจากอักษรพราหมี ซึ่งเริ่มนําไปใชในภาคเหนือของอินเดียในราวพุทธ
16 16

ศตวรรษที่ ๙-๑๐ และไดเริ่มคลี่ คลายจนกลายเปนอักษรเทวนาครีที่ชัดเจนในชวงพุทธศตวรรษที่


๑๔ ในประเทศอินเดีย ใชเขียนภาษาฮินดี ภาษาสันสกฤต ภาษามราฐี ภาษาบาลี ภาษาสินธี ภาษา
16 16 16 16 16 16

เนปาล และภาษาอื่นๆ รวมทั้งภาษาบาลีดวย ลักษณะการเขียน เขียนจากซายไปขวา มีเสนเล็กๆ เปน


16

เสนปกอยูเหนือตัวอักษร หากเขียนตอกัน จะเปนเสนยาวคลายเสนบรรทัด ซึ่งประกอบดวย สระ


พยัญชนะ ตัวเลข เครื่องหมายที่กํากับพยัญชนะและขอความ ในบทนี้จะแสดงรูปอักษรพรอมทั้ง
หลักการปริวรรตอักษรเทวนาครีภาษาบาลีไปตามลําดับ

ตาราง : สรุปอักษรเทวนาครี ภาษาบาลี


ลักษณะเสียง พยัญชนะวรรค พยัญชนะอวรรค สระ
อโฆส (ไมกอง) โฆส (กอง) โฆส อโฆส โฆส
อรรธสระ
๕. นาสิก
สิถิล/วิมุตติ
๒. ธนิต

๔. ธนิต
๑. สิถิล

๓. สิถิล

สังยุตต
(หนัก)

(หนัก)

ธนิต

อุสุม

สุทธ
(เบา)

(เบา)

ฐาน
๑. กณฺช กฺ ขฺ คฺ ฆฺ งฺ หฺ อ อา
Gutturals เอ
क् ख् ग् घ् ङ् ह् अआ

๒. ตาลุช จฺ ฉฺ ชฺ ฌฺ ฺ ยฺ อิ อี
Palatals
च् छ् ज् झ ् ञ् य् इ ई
๓. มุทฺธช ฏ ฺ ฑฺ ฒฺ ณฺ รฺ ฬฺ โอ
Lingguals ओ
ट् ठ् ड् ढ् ण् र् ळ्
๔. ทนฺตช ตฺ ถฺ ทฺ ธฺ นฺ ลฺ สฺ
Dentals
त् थ् द् ध् न् ल् วฺ स्
๕. โอฏช ปฺ ผฺ พฺ ภฺ มฺ व् อุ อู
Labials
प् फ् ब् भ् म् उ ऊ

ํ (-ṃ) นิคหิต หรืออนุสาร ตามมติศัพทศาสตร เปน โฆส, ตามมติศาสนา เปน โฆสาโฆสวิมุต


คือพนจากการจัดเปนโฆส อโฆส, เกิดในจมูก เรียกวา นาสิกฏานช, มีสําเนียงเหมือน งฺ สะกด
~๔๘~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
สระ (Vowels)
การเขียนสระอักษรเทวนาครี มีวิธีการเขียนอยู ๒ แบบ คือ แบบแรก เราเรียกวา สระลอย
(สระเต็มรูป) และแบบหลัง เราเรียกวา สระจม (สระลดรูป) สระลอยใชเขียนเมื่อคํานั้นๆ มีสระขึ้นตน
สวนสระจมใชเขียนเมื่อประสมกับตัวพยัญชนะ สระลอยและสระจม มีดังนี้
ไทย/โรมัน สระลอย สระจม ไทย/โรมัน สระลอย สระจม
อ a अ* – อา ā आ –a

อิ i इ i– อี ī ई –I

อุ u उ –u อู ū ऊ –§

เอ e ए –e โอ o ओ –o

หมายเหตุ : * สระ อ a अ ไมมีรูปสระจม ดังนั้น เมื่อประสมกับพยัญชนะใดก็ตามสระนี้


จึงไมปรากฏรูป

พยัญชนะ (Consonants)
การเขียนพยัญชนะอักษรเทวนาครี มีวิธีเขียน ๓ แบบ คือ
(๑) พยัญชนะเต็มรูป ใชสําหรับประสมกับสระ
(๒) พยัญชนะลดรูป ใชสําหรับเปนสังโยค (สังยุกต) หรือตัวสะกด
(๓) พยัญชนะสังโยค(สังยุกต) หรือพยัญชนะซอน ใชสําหรับคําที่มีพยัญชนะซอนกัน
หลายตัว
พยัญชนะสวนใหญเขียนไดทั้งเต็มรูปและลดรูป แตก็มีบางตัวที่เขียนลดรูปไมได ๒

Devanagari Tip 1
การเขียนพยัญชนะภาษาบาลี ดวยอักษรเทวนาครีนั้น ถาเราเขียนพยัญชนะเต็มตัว
นั่นหมายความวาพยัญชนะตัวนั้นๆ มีสระ อ (a) ประสมอยูแลว เชน ก ka = k แตถา
ตองการเขียนพยัญชนะเต็มตัวโดยไมใหมีสระใดประสมอยู เราตองเติมเครื่องหมายที่เรียกวา
วิราม คือ - ( ที่ใตพยัญชนะเต็มตัวนั้น ๆ ทําใหพยัญชนะตัวนั้น ไมมีสระผสมอยู เชน
k( – k กฺ ออกเสียงวา เกอะ หรือ กึ (แบบไมเต็มเสียง)


ดูเพิ่มเติม ในหัวขอ พยัญชนะสังโยค

~๔๙~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ในภาษาบาลี พยัญชนะมี ๓๓ ตัว แบงออกเปน ๒ กลุมใหญ ๆ คือ พยัญชนะวรรค และ
พยัญชนะเศษวรรค
พยัญชนะวรรค ไดแก พยัญชนะที่มีฐานที่เกิดเสียงอยูในพวกเดียวกัน มี ๕ วรรค แตละ
วรรคมี ๕ ตัว รวมทั้งหมด ๒๕ ตัว ดังนี้

วรรค ก เปน กัณฐชะ (เกิดที่ลําคอ)


กฺ k ขฺ kh คฺ g ฆฺ gh งฺ ṅ
พยัญชนะเต็มรูป k( %( g( `( ;(
พยัญชนะลดรูป K : G ~ –

วรรค จ เปน ตาลุชะ (เกิดที่เพดาน)


จฺ c ฉฺ ch ชฺ j ฌฺ jh ฺ ñ
พยัญชนะเต็มรูป c( ^( j( &( Å(
พยัญชนะลดรูป C – J Ö H

วรรค ฏ เปน มุทธชะ (เกิดที่ปุมเหงือก)


ฏ ṭ ฺ ṭh ฑฺ ḍ ฒฺ ḍh ณฺ ṇ
พยัญชนะเต็มรูป $( #( @( !( ,(
พยัญชนะลดรูป – – – – <

วรรค ต เปน ทันตชะ (เกิดที่ฟน)


ตฺ t ถฺ th ทฺ d ธฺ dh นฺ n
พยัญชนะเต็มรูป t( q( d( /( n(
พยัญชนะลดรูป T Q – ? N

วรรค ป เปน โอฏฐชะ (เกิดที่ริมฝปาก)


ปฺ p ผฺ ph พฺ b ภฺ bh มฺ m
พยัญชนะเต็มรูป p( f( b( .( m(
พยัญชนะลดรูป P F B > M

~๕๐~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
พยัญชนะเศษวรรค ไดแก พยัญชนะที่มีฐานที่เกิดเสียงไมอยูในพวกเดียวกัน มีทั้งหมด ๘ ตัว
คือ
ยฺ y รฺ r ลฺ l วฺ v สฺ s หฺ h ฬฺ ḷ ํ -ṃ
พยัญชนะเต็มรูป y( r( l( v( s( h( ळ् ํ
พยัญชนะลดรูป Y – L V S – – –

Devanagari Tip 2
ฐาน หมายถึงตําแหนงในชองปากซึ่งเคลื่อนที่ไมไดในการออกเสียง เปนตําแหนงที่เกิด
ของเสี ย ง ได แ ก ริ ม ฝ ป ากบน ฟ น บน เพดานแข็ ง เพดานอ อ น ลิ้ น ไก ผนั ง คอ เป น ต น
กรณ หมายถึงอวัยวะที่เคลื่อนไปประชิดฐานเมื่อเปลงเสียง ไดแก ริมฝปากลาง ฟนลาง
และลิ้น

การประสมอักษร (พยัญชนะกับสระ)
เนื่องจากพยัญชนะทุกตัวออกเสียงเองไมได (Mute) ดังนั้น ถาตองการใหพยัญชนะออกเสียง
ได จะตองนําสระมาประสม ตัวอยางเชน
อักษรไทย อักษรโรมัน อักษรเทวนาครี
คฺ + อ = ค g( + A = g
g + a = ga
g + ā = gā
คฺ + อา = คา g( + Aa = ga
คฺ + อิ = คิ g( + š = ig
g + i = gi
g + ī = gī
คฺ + อี = คี g( + ¡ = g¢
คฺ + อุ = คุ g( + £ = gu
g + u = gu
g + ū = gū
คฺ + อู = คู g( + ¤ = gU
คฺ + เอ = เค g( + E = ge
g + e = ge

คฺ + โอ = โค g( + Ao = go
g + o = go

หมายเหตุ : พยัญชนะอื่น ๆ เมื่อประสมกับสระก็เทียบไดกับตัวอยางขางตนนี้

~๕๑~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ตัวอยาง : การประสมอักษร
+ะ +า +ิ +ี +ุ +ู เ+ โ+ +ํ +ึ +ุ ํ
กฺ k( k ka ik kI k¦ k§ kw ko k' ik' k¦'
ขฺ %( % %a i% %I %u %U %e %o %' i%' %u'
คฺ g( g ga ig gI gu gU ge go g' ig' gu'
ฆฺ `( ` `a i` `I `u `U `e `o `' i`' `u'
งฺ ;( ; ;a i; ;I ;¦ ;§ ;e ;o ;' i;' ;¦'
จฺ c( c ca ic cI cu cU ce co c' ic' cu'
ฉฺ ^( ^ ^a i^ ^I ^u ^U ^e ^o ^' i^' ^u'
ชฺ j( j ja ij jI ju jU je jo j' ij' ju'
ฌฺ &( & &a i& &I &u &U &e &o &' i&' &u'
ฺ Å( Å Åa iÅ ÅI Åu ÅU Åe Åo Å' iÅ' Åu'
ฏ $( $ $a i$ $I $u $U $e $o $' i$' $u'
ฺ #( # #a i# #I #u #U #e #o #' i#' #u'
ฑฺ @( @ @a i@ @I @u @U @e @o @' i@' @u'
ฒฺ !( ! !a i! !I !u !U !e !o !' i!' !u'
ณฺ ,( , ,a i, ,I ,u ,U ,e ,o ,' i,' ,u'
ตฺ t( t ta it tI tu tU te to t' it' tu'
ถฺ q( q qa iq qI qu qU qe qo q' iq' qu'
ทฺ d( d da id dI du dU de do d' id' du'
ธฺ /( / /a i/ /I /u /U /e /o /' i/' /u'
นฺ n( n na in nI nu nU ne no n' in' nu'
ปฺ p( p pa ip pI pu pU pe po p' ip' pu'
ผฺ f( f fa if fI f¦ f§ fw fo f' if' f¦'
พฺ b( b ba ib bI bu bU be bo b' ib' bu'
ภฺ .( . .a i. .I .u .U .e .o .' i.' .u'
มฺ m( m ma im mI mu mU me mo m' im' mu'

หมายเหตุ : เปนเพียงตัวอยางการประสมอักษร พยัญชนะที่ประสมกับสระบางตัวไมมีใชในภาษาบาลี


เชน อักษร งฺ กับสระตางๆ เปนตน
~๕๒~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
หลักการปริวรรต
๑. พยัญชนะอักษรเทวนาครีที่มีเครื่องหมายวิราม (–() อยูใต ถือวาไมมีสระใดผสมอยู ออก
เสียงตามลําพังไมได เชน क ् च ् ट ् त ् प ्ปริวรรตเปนอักษรโรมันดังนี้ k c ṭ t p และเมื่อปริวรรต
เปนอักษรไทยจะใสเครื่องหมายพินทุ ( . ) ไวใตดังนี้ กฺ จฺ ฏ ตฺ ปฺ
๒. พยัญชนะอักษรเทวนาครีที่มีเครื่องหมายวิรามอยูใต ไมวาจะตามหลังสระใดก็ตาม ถือวา
พยัญชนะนั้นเปนตัวสังโยค(ตัวสะกด) เมื่อปริวรรตเปนอักษรโรมันจะเขียนเฉพาะรูปพยัญชนะและเมื่อ
ปริวรรตเปนอักษรไทยจะใสเครื่องหมายพินทุไวใต
๓. พยัญชนะอักษรเทวนาครีที่ไมมีเครื่องหมายวิรามอยูใต และไมมีรูปสระใดผสมอยูจะถือวา
พยัญชนะนั้นมีสระ อ (a) ผสมอยู เชน ङ ञ ण न म เมื่อปริวรรตเปนอักษรโรมันจะใส a ผสมกับ
พยัญชนะนั้น ดังนี้ ṅa ña ṇa na ma และเมื่อปริวรรตเปนอักษรไทยจะไมใสเครื่องหมายพินทุไว
ใตดังนี้ ง  ณ น ม
๔. พยัญชนะอักษรเทวนาครีครึ่งรูปที่ใชเปนตัวสังโยค(ตัวสะกด) ไมวาจะตามหลังสระใดก็
ตาม ถือวาพยัญชนะนั้นเปนตัวสังโยค(ตัวสะกด) เมื่อปริ วรรตเปนอักษรโรมั นจะเขียนเฉพาะรูป
พยัญชนะและเมื่อปริวรรตเปนอักษรไทยจะใสเครื่องหมายพินทุไวใต เชน
प ु อักษรโรมัน = puppha อักษรไทย = ปุปฺผ
िभ ु อักษรโรมัน = bhikkhu อักษรไทย = ภิกฺขุ
दड อักษรโรมัน = daṇḍa อักษรไทย = ทณฺฑ
๕. พยัญชนะอักษรเทวนาครีครึ่งรูปซึ่งควบกล้ํากับพยัญชนะอื่น ไมไดใชเปนตัวสะกด เมื่อ
ปริวรรตเปนอักษรโรมันจะเขียนเฉพาะรูปพยัญชนะและเมื่อปริวรรตเปนอักษรไทยจะใสเครื่องหมาย
พินทุไวใต เชน
ा อักษรโรมัน = brahmā อักษรไทย = พฺรหฺมา
ाा อักษรโรมัน = nhātvā อักษรไทย = นฺหาตฺวา
ाकरण อักษรโรมัน = vyākaraṇa อักษรไทย = วฺยากรณ
๖. การปริวรรตอักษรเทวนาครีที่ควบกล้ํากับพยัญชนะและผสมกับสระ เอ โอ เมื่อปริวรรต
เป น อั ก ษรโรมั น จะเขี ย นรู ป สระต อ ทายพยั ญ ชนะที่ ควบกล้ํานั้ น ตามลํ าดั บ และเมื่ อปริว รรตเป น
อักษรไทยจะเขียนรูปสระไวหนาพยัญชนะควบกล้ํานั้น เชน
े อักษรโรมัน = dve อักษรไทย = เทฺว
भो อักษรโรมัน = badro อักษรไทย = ภโทฺร
िनोध อักษรโรมัน = nigrodha อักษรไทย = นิโคฺรธ

~๕๓~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
พยัญชนะสังโยค
การอานและปริวรรตภาษาบาลีดวยอักษรเทวนาครีจําเปนตองจดจําอักษรเทวนาครีใหไดอยาง
แมนยํา ฉะนั้นผูศึกษาควรฝกเขียนบอยๆ จนจําไดแมนยําและเกิดความชํานาญ พยัญชนะสวนใหญ
เขียนไดทั้งเต็มรูปและลดรูป แตก็มีบางตัวที่เขียนลดรูปไมไดซึ่งมีวิธีเขียนหลายอยาง นอกจากอักษร
ตัวเต็มรูปขางตนนี้แลว ยังมีการเขียนตัวซอน คือ พยัญชนะตั้งแตสองตัวขึ้นไปไมมีสระคั่นในเบื้องตน
ใหทําดังนี้
๑. ใชเขียนครึ่งตัว ตัวที่มีเสนหลังเปนแนวดิ่ง หรือสามารถลบเสนหลังได ใหลบเสนดิ่งหรือเสน
หลัง แลวนําพยัญชนะมาซอนเขียนเรียงตอกันไดเลย โดยพยัญชนะขวามือสุดใหเขียนเต็มตัว เชน
กฺข = K% ขฺย = :y คฺค = Gg จฺม = Cm จฺฉ = C^
ณฺฒ = <! ณฺณ = <, ปฺป = Pp มฺป = Mp นฺต = Nt
๒. ใชเขียนเต็มตัว ใชในกรณีที่เขียนซอนกัน โดยพยัญชนะตัวแรกเขียนเต็มตัว สวนตัวถัดไป
ใหเขียนครึ่งตัว (ลบเสนระดับ/ขีดบน) เชน
กฺก = ´ งฺก = » งฺข = ¼ งฺค = ½ จฺจ = Â
จฺ = Ã ชฺช = Ä ฏ = É นฺน = Þ /  ทฺธ = †
หมายเหตุ : ในปจจุบันมีการประดิษฐฟอนทอักษรเทวนาครีขึ้นเปนจํานวนมาก บางฟอนทก็อาจมีรูป
ไมพอในการเขียนพยัญชนะซอน หรืออาจตองใชวิธีการแทรกสัญลักษณ จึงทําใหการเขียนพยัญชนะ
ซอนบางคํา อาจเขียนไดทั้ง ๒ วิธีขางตน จึงเขียนไดทั้ง ๒ รูป ผูศึกษาพึงสังเกต เชน

กฺว =  / Kv จฺ = Ã / CÅ ชฺช = Ä / Jj ฺช = Ç / Hj

๓. ใชอักษรพิเศษ เชน ตฺร = ] ตฺต = Ò

๔. อักษรพิเศษและรูปอักษรพิเศษที่เกิดจากพยัญชนะประสมกับสระ
๑). อักษรพิเศษ
รฺ ( r( ) เปนอักษรที่มีการเขียนเปนพิเศษ เมื่อเขียนผสมกับสระและควบกล้ําพยัญชนะ
ตัวอื่นๆ ในคําบาลีจะมีรูปเขียน ๒ ชนิด คือ
๑) r( = รฺ ธรรมดา ใชในกรณีที่ รฺ ผสมกับสระทั่วไป
เชน ram = ราม rK%it = รกฺขติ

๒) [ = ร ควบกล้ํา ใชในกรณีที่ รฺ ออกเสียงควบกล้ํากับพยัญชนะทั่วไป โดย


มีพยัญชนะอยูขางหนาติดกับ ร และมีสระตามหลังมาติดกับ ร
เชน b[õa = พฺรหมา

๒). รูปอักษรพิเศษที่เกิดจากพยัญชนะประสมกับสระ เชน รุ = ä รู = å

~๕๔~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
การปริวรรตคําบาลีที่เขียนดวยอักษรเทวนาครี
๑. การปริวรรตคําบาลีที่ไมมีพยัญชนะสังโยค (ไมมีตัวสะกดและตัวตาม)
๑.๑ คําที่ขึ้นตนดวยพยัญชนะตนเดี่ยว
คําอักษรเทวนาครี ลําดับการถายถอด อักขรวิธีไทย
๑๒๓๔๖
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ คาถาโย
Gaaqayo ๕ ค า ถ า โ ย
๓๔๖

k¦lain ๕
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ กุลานิ

ก ุ ล า น ิ

๒ ๔
๑ ๒ ๓ ๔ สีลํ
๑ sIl' ๓ ส ี ล ํ
๑.๒ คําบาลีที่มีพยัญชนะตนซอนกัน ๒ ตัว
คําอักษรเทวนาครี ลําดับการถายถอด อักขรวิธีไทย
๑๓๔

b[aõ, ๖
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ พฺราหฺมณ
๒ ๕ พฺ ร า หฺ ม ณ

๒. การปริวรรตคําบาลีที่มีพยัญชนะสังโยค (มีตัวสะกดและตัวตาม)
ใหถายถอดตามลําดับดังนี้
๒.๑ ถายถอดพยัญชนะตัวตนกอน ถาพยัญชนะซอนกัน 2 ตัว ใหถายถอดพยัญชนะลดรูป
หรือตัวที่อยูดานบนกอนแลวใสเครื่องหมายพินทุ ( ฺ ) ไวใต แลวจึงถายถอดตัวเต็มรูป หรือตัวที่อยู
ขางใต หลังจากนั้นจึงถายถอดสระจม(ถามี)
๒.๒ ถายถอดพยัญชนะตัวถัดไปและสระจม(ถามี) ตามลําดับอักขรวิธีการเขียนคําอักษรไทย
๒.๓ ถา มี นิ คหิ ตกํ า กั บ ใหถายถอดเปน เครื่องหมายนิคหิตเหมือนเดิม และเขีย นไวตาม
ตําแหนงเดิม
คําอักษรเทวนาครี ลําดับการถายถอด อักขรวิธีไทย
๑ ๓ ๔ ๗ ๙
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ภิกฺขุนีนํ
๒ iGaK%unIn' ๘ ภ ิ กฺ ข ุ น ี น ํ
๕ ๖

~๕๕~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
การเขียนพยัญชนะสังโยค
พยัญชนะสังโยค หมายถึง การเขีย นพยัญชนะซอนกั น โดยไมมีสระมาคั่ นในระหว าง มี
หลักเกณฑการสังโยค ดังไดอธิบายไวในบทที่ ๒ โดยมีตัวอยางดังนี้
การเขียนพยัญชนะสังโยคภาษาบาลี (คําบาลีที่มีตัวสะกดและตัวตาม)
วรรค ก
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรเทวนาครี ความหมาย
กฺก สกฺก s´ พระอินทร
กฺข ภิกฺขุ i.K%u ภิกษุ
คฺค อคฺคิ AiGg ไฟ
คฺฆ อคฺฆ AG` มีคา, มีราคา
งฺก วงฺก v» คด, โคง, งอ
งฺข สงฺเขป s¼ep การยอ
งฺค สงฺคม s½m การไปรวม, การเกี่ยวของ
งฺฆ สงฺฆ s¿ หมู, สงฆ
วรรค จ
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรเทวนาครี ความหมาย
จฺจ อาทิจฺจ Aaid พระอาทิตย
จฺฉ กจฺฉ kC^ รักแร
ชฺช ขุชฺช %uÄ คอม, คนกระจอก
ชฺฌ อุปชฺฌาย £pJ&ay พระอุปชฌาย
ฺจ ปฺจ pÆ หา
ฺช สฺชาติ sÇait ความเกิด
ฺ กฺา kHÅa / का สาวนอย
วรรค ฏ
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรเทวนาครี ความหมาย
ฏฏ วฏฏ vÈ กลม, หมุน, วน, เสบียง
ฏ โอฏ AoÉ ปาก, ริมฝปาก, ขอบ
ฑฺฑ ฉฑฺเฑติ ^Ìeit ทิ้ง
ฑฺฒ วุฑฺฒิ vuiÍ ความเจริญ

~๕๖~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ณฺฏ ฆณฺฏา `<$a ระฆัง
ณฺ สณฺาน s<#an ทรวดทรง, รูปราง
ณฺฑ กุณฺฑล k¦<@l ตางหู
ณฺฒ สุณฺฒิ sui<! ขิง
ณฺณ วณฺณ v<, ผิว, สี, ชนิด, วรรณะ
วรรค ต
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรเทวนาครี ความหมาย
ตฺต มุหุตฺต muhuÒ กาลครูห นึ่ง, ขณะหนึ่ง
ตฺถ อตฺถิ AiTq มี
ทฺท ภทฺท .Ö เจริญ, ดี, งาม
ทฺธ พุทฺธิ bui× ความรู
นฺต ขนฺติ %iNt ความอดทน
นฺถ คนฺถ gNq แตง, รอยกรอง, เรียบเรียง
นฺท อินฺท šNd พระอินทร, ความเปนใหญ
นฺธ พนฺธ bN/ ผูก
นฺน อนฺน AÞ อาหาร

วรรค ป
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรเทวนาครี ความหมาย
ปฺป สิปฺป isPp ศิลปะ
ปฺผ ปปฺผาส puPfas ปอด
พฺพ ทิพฺพ idBb อันเปนทิพย, เลิศ, การเลน
พฺภ อารพฺภ AarB. เริ่ม, ปรารภ
มฺป กมฺปน kMpn หวั่นไหว
มฺพ อมฺพ AMb มะมวง
มฺภ ฉมฺภี ^M.I สะดุง, ตกใจกลัว
มฺม กมฺม kMm กรรม, การงาน

เศษวรรค
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรเทวนาครี ความหมาย
กฺย สากฺย saKy เจาศากยวงศ

~๕๗~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
กฺว กฺวิ ि / iKv ชื่อปจจัยในนามกิตก
ขฺย อาขฺยาตํ Aa:yat' อาขยาต
คฺย อคฺยาคารํ AGyagar' เรือนไฟ
คฺร นิโคฺรธ िनोध ตนไทร
ตฺร ตฺตร t] ในที่นั้น
ทฺร ภทฺร .d[ งาม, เจริญ
ยฺย อยฺย AYy ผูเปนเจา, เปนใหญ
ลฺย กลฺยาณ kLya, ดี, งาม
ลฺล ปุลฺลิงฺค puiLl½ / puiæ½ เพศชาย
ยฺห มยฺหํ mYh' ของเรา
สฺส ปุริสสฺส puirsSs ของบุรุษ
วฺห ชิวฺหา ijVha ลิ้น
สฺม ยสฺมึ yiSm' ใน...ใด
หฺม พฺรหฺม b[õ พรหม

ตัวเลข
ตัวเลขอักษรเทวนาครี เปนเลขฐานสิบ ดังนี้
ไทย ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
เทวนาครี 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
อารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

~๕๘~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ตัวอยาง : การใชอักษรเทวนาครีภาษาบาลี

บทนมัสการ : นอบนอมบูชาพระพุทธเจา
4 นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส 4


नमो त भगवतो अरहतो सास
4 นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส

नमो त भगवतो अरहतो सास
4 นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส

नमो त भगवतो अरहतो सास

บทพุทธานุสสติ : ระลึกถึงคุณของพระพุทธเจา
4

4
อิติป โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ, ु ,
इितिप सो भगवा अरहं सासो
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู, อนุตฺตโร ु
िवाचरणसो सगतो ु
लोकिव , अनरो
4 ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ ु
पिरसदसारिथ ु
सा देवमनानं
4 พุทฺโธ ภควาติ. ु भगवाित.
बो

บทพุทธานุสสติ : ระลึกถึงคุณของพระธรรม
4 สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม, สนฺทิฏิโก ाातो भगवता धो, सििको
4 อกาลิโก เอหิปสฺสิโก, โอปนยิโก ปจฺจตฺตํ 4

अकािलको एिहपिको, ओपनियको पं


4 เวทิตพฺโพ วิฺูหีติ. वेिदतो िवूहीित.

บทพุทธานุสสติ : ระลึกถึงคุณของพระสงฆ
4 สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ, ु
सपिटपो भगवतो सावकसो,
4 อุชุปฏิปนฺโน ภควโต สวกสงฺโฆ, ु
उजपिटपो भगवतो सावकसो,
4 ายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ,
4 4 ञायपिटपो भगवतो सावकसो,

4 สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ, सामीिचपिटपो भगवतो सावकसो,

4 ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏปุริสปุคฺคลา,


4 4

यिददं चािर पिरसय गु ािन अपिरसप
ु ु
गला,

~๕๙~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
4 เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ อาหุเนยฺโย एस भगवतो सावकसो आन ेो
4 ปาหุเนยฺโย ทกฺขิเณยฺโย อฺชลีกรณีโย,
4 4

पान ेो दिन ेो अलीकरणीयो,


4 อนุตฺตรํ ปุฺกฺเขตฺตํ โลกสฺสาติ ु पे
अनरं ु  ं लोकाित.

ธัมมสังคิณีมาติกา
๑. กุสลติกะ १. कुसलितक
กุสลา ธมฺมา कुसला धा
อกุสลา ธมฺมา अकुसला धा
อพฺยากตา ธมฺมา अाकता धा
๒. เวทนาติกะ २. वेदनाितक

สุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตา ธมฺมา ु


सखाय ु ा धा
वेदनाय सय

ทุกฺขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตา ธมฺมา ु ा धा


ाय वेदनाय सय
อทุกฺขมสุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตา ธมฺมา ु
अमसखाय ु ा धा
वेदनाय सय

๓. วิปากติกะ ३. िवपाकितक

วิปากา ธมฺมา िवपाका धा

วิปากธมฺมธมฺมา िवपाकधधा

เนววิปากนวิปากธมฺมธมฺมา न ेविवपाकनिवपाकधधा

๔. อุปาทินนุปาทานิยติกะ ु
४. उपािदपादािनयितक

อุปาทินฺนุปาทานิยา ธมฺมา ु
उपािदपादािनया धा

อนุปาทินฺนุปาทานิยา ธมฺมา ु
अनपािद ु
पादािनया धा
อนุปาทินฺนานุปาทานิยา ธมฺมา ु
उपािदानपादािनया धा

๕. สังกิลิฏฐสังกิเลสิกติกะ ५. सििलसिलेिसकितक
สงฺกิลิฏสงฺกิเลสิกา ธมฺมา सििलसिलेिसका धा
อสงฺกิลิฏสงฺกิเลสิกา ธมฺมา असििलसिलेिसका धा

~๖๐~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
อสงฺกิลิฏาสงฺกิเลสิกา ธมฺมา असििलासिलेिसका धा

๖. วิตักกติกะ ६. िवतितक

สวิตกฺกสวิจารา ธมฺมา सिवतसिवचारा धा


อวิตกฺกวิจารมตฺตา ธมฺมา अिवतिवचारमा धा
อวิตกฺกาวิจารา ธมฺมา अिवतािवचारा धा

๗. ปติติกะ ७. पीितितक
ปติสหคตา ธมฺมา पीितसहगता धा
สุขสหคตา ธมฺมา ु
सखसहगता धा
อุเปกฺขาสหคตา ธมฺมา उपेासहगता धा
๘. ทัสสนติกะ ८. दनितक

ทสฺสเนน ปหาตพฺพา ธมฺมา दन ेन पहाता धा


ภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา भावनाय पहाता धा
เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพา ธมฺมา न ेव दन ेन न भावनाय पहाता धा

๙. ทัสสนเหตุกติกะ ु ितक
९. दनहेतक

ทสฺสเนน ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา ु ा धा


दन ेन पहातहेतक

ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา ु ा धा


भावनाय पहातहेतक

เนว ทสฺสเนน น ภาวนาย ปหาตพฺพเหตุกา ธมฺมา ु ा धा


न ेव दन ेन न भावनाय पहातहेतक

๑๐. อาจยคามิติกะ १०. आचयगािमितक


อาจยคามิโน ธมฺมา आचयगािमनो धा
อปจยคามิโน ธมฺมา अपचयगािमनो धा
เนวาจยคามิโน นาปจยคามิโน ธมฺมา
न ेवाचयगािमनो नापचयगािमनो धा
๑๑. เสกขติกะ ११. सेितक

เสกฺขา ธมฺมา सेा धा


อเสกฺขา ธมฺมา असेा धा

~๖๑~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
เนวเสกฺขา นาเสกฺขา ธมฺมา न ेवसेा नासेा धा

๑๒. ปริตตติกะ १२. पिरितक

ปริตฺตา ธมฺมา पिरा धा

มหคฺคตา ธมฺมา महगता धा


อปฺปมาณา ธมฺมา अमाणा धा

๑๓. ปริตตารัมมณติกะ १३. कुसलितक

ปริตฺตารมฺมณา ธมฺมา पिरा धा


มหคฺคตารมฺมณา ธมฺมา महगतारणा धा
อปฺปมาณารมฺมณา ธมฺมา अमाणारणा धा
๑๔. หีนติกะ १४. हीनितक

หีนา ธมฺมา हीना धा

มชฺฌิมา ธมฺมา मिमा धा


ปณีตา ธมฺมา पणीता धा

๑๕. มิจฉัตตติกะ १५. िमितक

มิจฺฉตฺตนิยตา ธมฺมา िमिनयता धा

สมฺมตฺตนิยตา ธมฺมา सिनयता धा


อนิยตา ธมฺมา अिनयता धा

๑๖. มัคคารัมมณติกะ १६. मगारणितक

มคฺคารมฺมณา ธมฺมา मगारणा धा

มคฺคเหตุกา ธมฺมา ु ा धा


मगहेतक

มคฺคาธิปติโน ธมฺมา मगािधपितनो धा

๑๗. อุปปนนติกะ १७. उितक

อุปฺปนฺนา ธมฺมา उा धा

อนุปฺปนฺนา ธมฺมา ु
अना धा
อุปฺปาทิโน ธมฺมา उािदनो धा

~๖๒~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๑๘. อตีตติกะ १८. अतीतितक
อตีตา ธมฺมา अतीता धा
อนาคตา ธมฺมา अनागता धा
ปจฺจุปฺปนฺนา ธมฺมา ु
पपा धा
๑๙. อตีตารัมมณติกะ १९. अतीतारणितक

อตีตารมฺมณา ธมฺมา अतीतारणा धा


อนาคตารมฺมณา ธมฺมา अनागतारणा धा
ปจฺจุปฺปนฺนารมฺมณา ธมฺมา ु
पपारणा धा

๒๐. อัชฒัตตติกะ २०. अितक

อชฺฌตฺตา ธมฺมา अा धा

พหิทฺธา ธมฺมา बिहा धा


อชฺฌตฺตพหิทฺธา ธมฺมา अबिहा धा

๒๑. อัชฌัตตารัมมณติกะ २१. अारणितक

อชฺฌตฺตารมฺมณา ธมฺมา अारणा धा

พหิทฺธารมฺมณา ธมฺมา बिहारणा धा


อชฺฌตฺตพหิทฺธารมฺมณา ธมฺมา अबिहारणा धा

๒๒. สนิทัสสนติกะ २२. सिनदनितक

สนิทสฺสนสปฺปฏิฆา ธมฺมา सिनदनसिटघा धा

อนิทสฺสนสปฺปฏิฆา ธมฺมา अिनदनसिटघा धा

สนิทสฺสนาปฺปฏิฆา ธมฺมา सिनदनािटघा धा

คาถา เย ธัมมา : คาถาหัวใจพระพุทธศาสนา


เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต อาห
ye /Mma hetuPp.va tes' hetu' tqagto Aah
เตสฺจ โย นิโรโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณติ ฯ
tesÆ yo inro/o c Ev' vadI mhasm,oit -

~๖๓~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ฝกอานธรรมบท
AtIte bara,isy' bara,sIraje rÄ' kareNteú devlo nam tapso

AÉ mase ihmvNte visTva lo,iMblsevnTqay cÒaro mase ngr'

£pinSsay vistukamo ihmvNtto AagNTva ngrÜarpalke idSva puiC^

šm' ngr' sMpÒpBbijta kTq vsNtIit - k¦M.karsalay' .Nteit -

so k¦M.karsal' gNTva Üare #Tva sce te Agäú vseYyam

EkriÒ' salayiNt Aah - k¦M.karo mYh' riÒ' salay' ikÂ' niTqú

mhtI salaú yqasu%' vsq .Nteit sal' inYyadeis - tiSm' pivisTva

inisn{eú Aproip nardo nam tapso ihmvNtto AagNTva k¦M.kar'

EkriÒvas' yaic - k¦M.karo p#magto šimna si×' Ekto vistukamo

.veYy va no vaú AÒn' pirmoceSsamIit icNteTva sce .Nte p#mupgto

roceSsitú tSs äicya vsqait Aah - so t' £ps»imTva sce te

Aaciry Agäú mymeTq EkriÒ' vseYyamait - mhtI salaú

pivisTva EkmNte vsait vuÒeú pivisTva puretr' pivÉSs Apr.age

insIid - £.oip sara,Iy' kq' kqeTvaú synkale nardo devlSs

inpÄnÉanÆ ÜarÆ sæK%eTva inpiÄ -

so pn devlo inÄmano AÒno inisn{Éane AinpiÄTva ÜarmJ&e

itiry' inpiÄ - nardo riÒ' inK%mNto tSs j$asu A´im - ko m'

A´mIit vuÒeú Aaciry AhiNt Aah - k¦$(ji$l ArHÅgto AagNTva

mm j$asu A´msIit - Aaciry tuMhak' š/ inpn{.av' n jamaitú

%mq meit vTva tSs kNdNtSsevú bih inK%im - štro Ay'

pivsNtoip m' A´meYyait pirvÒeTva padÉane sIs' kTva inpiÄ -

~๖๔~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

คําอานธรรมบทอักษรไทย

อตีเต พาราณสิยํ พาราณสีราเช รชฺชํ กาเรนฺเต, เทวโล นาม ตาปโส


อฏ  มาเส หิ ม วนฺ เ ต วสิ ตฺ ว า โลณมฺ พิ ล เสวนตฺ ถ าย จตฺ ต าโร มาเส นครํ
อุปนิสฺสาย วสิตุกาโม หิมวนฺตโต อาคนฺตฺวา นครทฺวารปาลเก ทิสฺวา ปุจฺฉิ
อิมํ นครํ สมฺปตฺตปพฺพชิตา กตฺถ วสนฺตีติ ฯ กุมฺภการสาลายํ ภนฺเตติ ฯ

โส กุ มฺ ภ การสาลํ คนฺ ตฺ ว า ทฺ ว าเร  ิตฺ ว า สเจ เต อครุ , วเสยฺ ย าม


เอกรตฺ ตึ สาลายนฺ ติ อาห ฯ กุ ม ภกาโร มยฺ หํ รตฺ ตึ สาลายํ กิ จฺ จํ นตฺ ถิ ,
มหตี สาลา, ยถาสุ ขํ วสถ ภนฺ เ ตติ สาลํ นิ ยฺ ย าเทสิ ฯ ตสฺ มึ ปวิ สิ ตฺ ว า
นิ สิ นฺ เ น, อปโรป นารโท นาม ตาปโส หิ ม วนฺ ต โต อาคนฺ ตฺ ว า กุ มฺ ภ การํ
เอกรตฺ ติ ว าสํ ยาจิ , กุ มฺ ภ กาโร ปมาคโต อิ มิ น า สทฺ ธึ เอกโต วสิ ตุ ก าโม
ภเวยฺย วา โน วา, อตฺตานํ ปริโมเจสฺสามีติ จินฺเตตฺวา สเจ ภนฺเต ปมุปคโต
โรเจสฺ ส ติ , ตสฺ ส รุ จิ ย า วสถาติ อาห ฯ โส ตํ อุ ป สงฺ ก มิ ตฺ ว า สเจ เต
อาจริ ย อครุ , มยเมตฺ ถ เอกรตฺ ตึ วเสยฺ ย ามาติ ฯ มหตี สาลา,
ปวิ สิ ตฺ ว า เอกมนฺ เ ต วสาติ วุ ตฺ เ ต, ปวิ สิ ตฺ ว า ปุ เ รตรํ ปวิ ฏ สฺ ส อปรภาเค
นิ สี ทิ ฯ อุ โ ภป สาราณี ยํ กถํ กเถตฺ ว า, สยนกาเล นารโท เทวลสฺ ส
นิปชฺชนานฺจ ทฺวารฺจ สลฺลกฺเขตฺวา นิปชฺชิ ฯ

โส ปน เทวโล นิปชฺชมาโน อตฺตโน นิสินฺนฏาเน อนิปชฺชิตฺวา ทฺวารมชฺเฌ


ติ ริ ยํ นิ ป ชฺ ชิ ฯ นารโท รตฺ ตึ นิ กฺ ข มนฺ โ ต ตสฺ ส ชฏาสุ อกฺ ก มิ ฯ โก มํ
อกฺกมีติ วุตฺเต, อาจริย อหนฺติ อาห ฯ กุฏชฏิล อรฺคโต อาคนฺตฺว า
มม ชฏาสุ อกฺ ก มสี ติ ฯ อาจริ ย ตุ มฺ ห ากํ อิ ธ นิ ป นฺ น ภาวํ น ชานามิ ,
ขมถ เมติ วตฺ ว า ตสฺ ส กนฺ ท นฺ ต สฺ เ สว, พหิ นิ กฺ ข มิ ฯ อิ ต โร อยํ
ปวิสนฺโตป มํ อกฺกเมยฺยาติ ปริวตฺเตตฺวา ปาทฏาเน สีสํ กตฺวา นิปชฺชิ ฯ

~๖๕~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
แบบฝกอานพระไตรปฎกอักษรเทวนาครี


सिपटक ु
संयिनकाय
सगाथवग
--------------------


नमो त भगवतो अरहतो सास

१. देवतासंय
१. नळवग


१. ओघतरणस
8 १ . एवं मे सतंु – एकं समयं भगवा सावियं िवहरित जेतवन े अनाथिपिडक आरामे।
8

अथ खो अतरा देवता अिभकाय रिया अिभवणा के वलकं ज ते वनं ओभास 


े ा येन

भगवा तेनपसिम; उपसिमा भगवं अिभवादेा एकमं अािस; एकमं िठता खो सा
देवता भगवं एतदवोच – ‘‘कथं न ु ं मािरस ओघमतरी”ित। ु ो
अितं ाहं आव स
अनायूहं ओघमतिरि। यथाकथं पन ं मािरस अितं अनायूहं ओघमतरी”ित। यदा ाहं
ु ो सिािम, तदा ु संसीदािम। यदााहं आवस
आवस ु ो आयूहािम, तदा ु िनव
ु ािम । एवं 7 7

ु ो अितं अनायूहं ओघमतिर”ि।


ाहं आवस
‘‘िचरं वत पािम ाणं पिरिनतंु ।
अितं अनायूहं ितणं लोके िवसिक’’ि॥ –
इदमवोच सा देवता। ु ो सा अहोिस।
समन  ु ो मे
अथ खो सा देवता – ‘‘समन 
सा’’ित भगवं अिभवादेा पदिणं का तेवरधायीित।


२. िनमोस
8 २ . सावििनदानं। अथ खो अतरा देवता अिभाय रिया अिभवणा के वलकं
8

जेतवनं ओभास ु
े ा येन भगवा तेनपसिम; उपसिमा भगवं अिभवादेा एकमं अािस;
एकमं िठता खो सा देवता भगवं एतदवोच – ‘‘जानािस नो ं मािरस सानं िनमों पमों

~๖๖~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ु ो सानं िनमों पमों िववेकि। यथाकथं पन ं मािरस
िववेक’’ि। जानािम ाहं आवस
जानािस सानं िनमों पमों िववेकि।
‘‘नीभवपिरया, सािवाणसया।
ु ो जानािम, सानं िनमों, पमों िववेकि।
वेदनानं िनरोधा उपसमा, एवं ाहं आवस


३. उपनीयस
8 ३ . सावििनदानं। एकमं िठता खो सा देवता भगवतो सिके इमं गाथं अभािस –
8

‘‘उपनीयित जीिवतममाय,ं ु
जपनीत न सि ताणा।
एतं भयं मरणे पेमानो

पािन ु
कियराथ सखावहानी’’ित॥
‘‘उपनीयित जीिवतममाय,ं ु
जपनीत न सि ताणा।
एतं भयं मरणे पेमानो
लोकािमसं पजहे सिपेो’’ित॥


४. अेिस
8 ४ . सावििनदानं । एकमं िठता खो सा देवता भगवतो सिके इमं गाथं अभािस –
8

‘‘अेि काला तरयि रियो


ु अनपु ं
वयोगणा ु जहि।

एतं भयं मरणे पेमानो



पािन ु
कियराथ सखावहानी’’ित॥
‘‘अेि काला तरयि रियो,
ु अनपु ं
वयोगणा ु जहि।

एतं भयं मरणे पेमानो


लोकािमसं पजहे सिपेो’’ित॥

~๖๗~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

५. कितिछस
8 ५ . सावििनदानं। एकमं िठता खो सा देवता भगवतो सिके इमं गाथं अभािस –
8

‘‘कित िछे कित जहे ु भावये।


कित चिर
कित साितगो िभ ु ु ती’’ित॥
‘ओघितणो’ित व
‘‘प िछे प जहे ु भावये।
प चिर
प साितगो िभ ु ु ती’’ित॥
‘ओघितणो’ित व


६. जागरस
8 ६ . सावििनदानं। एकमं िठता खो सा देवता भगवतो सिके इमं गाथं अभािस –
8


‘‘कित जागरतं सा ु स ु जागरा।
कित से
कितिभ रजमादेित ु
कितिभ पिरसती’’ित॥

‘‘प जागरतं सा ु स ु जागरा।
प से
पिभ रजमादेित ु
पिभ पिरसती’’ित॥


७. अिटिविदतस
8 ७ . सावििनदानं। एकमं िठता खो सा देवता भगवतो सिके इमं गाथं अभािस –
8

‘‘येस ं धा अिटिविदता परवादेस ु नीयरे।


सा ु
ु ते नबि ु
कालो तेस ं पबित ’ु ’ि॥

‘‘येस ं धा सपिटिविदता परवादेस ु न नीयरे।
ु सदा
ते सा चरि िवसमे सम’’ि॥

८. सस ु 
ु स ु

8 ८ . सावििनदानं। एकमं िठता खो सा देवता भगवतो सिके इमं गाथं अभािस –


8

ु ु ा
‘‘येस ं धा सस परवादेस ु नीयरे।
सा ु
ु ते नबि ु
कालो तेस ं पबित ’ु ’ि॥
‘‘येस ं धा असु ा परवादेस ु न नीयरे।
ु सदा,
ते सा चरि िवसमे सम’’ि॥

~๖๘~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

९. मानकामस
8 ९ . सावििनदानं। एकमं िठता खो सा देवता भगवतो सिके इमं गाथं अभािस –
8

‘‘न मानकाम दमो इधि,


न मोनमि असमािहत।
एको अरे िवहरं पमो,
ु  तरे पार’’ि॥
न मधे

‘‘मानं पहाय ससमािहतो,
ु तसो सिध िवम
सचे ु ो।

एको अरे िवहरं अमो,


ु  तरे पार’’ि॥
स मधे


१०. अरस
8 १० . सावििनदानं। एकमं िठता खो सा देवता भगवं गाथाय अभािस –
8

‘‘अरे िवहरानं सानं चािरनं।



एकभं भमानानं के न वणो पसीदती’’ित॥

‘‘अतीतं नानसोचि नजि नागतं।
ु न यापेि
पे तेन वणो पसीदित’’॥
‘‘अनागतजाय ु
अतीतानसोचना।

एतेन बाला सि नळोव हिरतो तो’’ित॥
नळवगो पठमो।

तु ानं –
ओघं िनमों उपन ें अेि कितिछि च।
जागरं अिटिविदता ु ु ा मानकािमना।
सस
ु ो
अरे दसमो व वगो तेन पवु चित॥

२. ननवग

~๖๙~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

१. ननस
8 ११ . एवं मे सतंु – एकं समयं भगवा सावियं िवहरित जेतवन े अनाथिपिडक आरामे।
8

त खो भगवा िभू आमेिस ‘‘िभवो’’ित। ‘‘भदे’’ित ते िभू भगवतो पोस ।ं ु


भगवा एतदवोच –
ु ं
‘‘भूतप  िभवे अतरा तावितंसकाियका देवता ननवन े अरासपिरव तु ा
ु िह समिता समीभूता पिरचािरयमाना तायं वेलायं इमं गाथं अभािस –
िदेिह पिह कामगणे
ु पजानि
‘‘न ते सखं ये न पि ननं।
आवासं नरदेवानं ितदसानं यसिन’’ि॥
ु े िभवे अतरा देवता तं देवतं गाथाय पभािस –
‘‘एवं व
‘‘न ं बाले पजानािस यथा अरहतं वचो।
अिना से सारा उादवयधिनो।
उिा िनि ु
तेस ं वूपसमो सखो’’ित॥


२. नितसं
8 १२ . सावििनदानं। एकमं िठता खो सा देवता भगवतो सिके इमं गाथं अभािस –
8

ु िह पिमा
‘‘नित पे ु

गोिमको गोिह तथेव नित।


उपधीिह नर नना
न िह सो नित यो िनपधी’’ित॥
ु िह पिमा
‘‘सोचित पे ु

गोिमको गोिह तथेव सोचित।


उपधीिह नर सोचना
न िह सो सोचित यो िनपधी’’ित॥


३. निपसमसु

8 १३ . सावििनदानं। एकमं िठता खो सा देवता भगवतो सिके इमं गाथं अभािस –


8

~๗๐~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

‘‘नि पसमं पेम ं नि गोसिमतं धनं।
नि सूिरयसमा आभा समु परमा सरा’’ित॥
‘‘नि असमं पेम ं नि धसमं धनं।
नि पासमा आभा विु  वे परमा सरा’’ित॥


४. खियसं
8 १४ . सावििनदानं। एकमं िठता खो सा देवता भगवतो सिके इमं गाथं अभािस –
8

‘‘खियो िदपदं सेो ु दं।


बलीबो चत
कोमारी सेा भिरयानं ु
यो च पान ु
पजो’’ित॥
ु िदपदं सेो
‘‘सो ु दं।
आजानीयो चत
ु सा सेा भिरयानं
सू ु
यो च पानमवो’’ित॥


५. सणमानसं
8 १५ .
8 ‘‘िठते मिके काले सिसीवेस ु पिस।ु
सणतेव हारं तं भयं पिटभाित म’’ि॥
‘‘िठते मिके काले सिसीवेस ु पिस।ु
सणतेव हारं सा रित पिटभाित म’’ि॥


६. िनातीस
8 १६ .
8 ‘‘िना ती िवजिता अरती भसदो।
एतेन नकासित अिरयमगो इध पािणन’’ि॥
‘‘िनं तिं िवजितं अरितं भसदं।
वीिरयेन नं पणामेा ु
अिरयमगो िवसती’’ित॥


७. रस
8 १७ .
8 ‘‘रं िित अेन च सामं।
ब िह त साधा य बालो िवसीदती’’ित॥

~๗๑~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
‘‘कितहं चरे सामं िचं चे न िनवारये।
पदे पदे िवसीदे ु
सानं वसानगो’’ित॥
‘‘कुोव अािन सके कपाले
समोदहं िभ ु मनोिवते ।
अिनितो अमहेठयानो
ु नूपवदे की’’ित॥
पिरिनतो


८. िहरीस
8 १८ .
8

‘‘िहरीिनसेधो पिरसो कोिच लोकिं िवित।
यो िनं अपबोधेित अो भो कसािमवा’’ित॥

‘‘िहरीिनसेधा तनया ये चरि सदा सता।

अं  प चरि िवसमे सम’’ि॥

९. कुिटकास

8 १९ .
8 ‘‘कि ते कुिटका नि कि नि कुलावका।
कि सानका नि ु ोिस बना’’ित॥
कि म
‘‘तघ मे कुिटका नि तघ नि कुलावका।
तघ सानका नि ु ोि बना’’ित॥
तघ म
‘‘िकाहं कुिटकं ूिम िके ूिम कुलावकं ।
िके सानकं ूिम िकाहं ूिम बन’’ि॥
‘‘मातरं कुिटकं ूिस भिरयं ूिस कुलावकं ।
ु सानके ूिस
पे तहं मे ूिस बन’’ि॥
‘‘सा ते कुिटका नि सा नि कुलावका।
सा सानका नि ु ोिस बना’’ित॥
सा म

~๗๒~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
คําอานพระไตรปฎกอักษรเทวนาครี
สุตฺตนฺตปฎก สํยุตฺตนิกาย
สคาถาวคฺค
------------------
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส.
๑. เทวตาสํยุตฺต
๑. นฬวคฺค
๑. โอฆตรณสุตฺต
[๑] เอวมฺเม สุตํ:- เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปณฺฑิกสฺส
อาราเม. อถ โข อฺตรา เทวตา อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปฺป เชตวนํ
โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ; อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏาสิ;
เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควนฺตํ เอตทโวจ “กถํ นุ ตฺวํ มาริส โอฆมตรี”ติ. อปฺปติฏํ
ขฺวาหํ อาวุโส อนายูหํ โอฆมตรินฺติ. ยถากถํ ปน ตฺวํ มาริส อปฺปติฏํ อนายูหํ โอฆมตรีติ.
ยทา สฺวาหํ อาวุโส สนฺติฏามิ, ตทาสฺสุ สํสีทามิ. ยทา สฺวาหํ อาวุโส อายูหามิ, ตทาสฺสุ
นิวุยฺหามิ. เอวํ ขฺวาหํ อาวุโส อปฺปติฏํ อนายูหํ โอฆมตรินฺติ.
“จิรสฺสํ วต ปสฺสามิ พฺราหฺมณํ ปรินิพฺพุตํ
อปฺปติฏํ อนายูหํ ติณฺณํ โลเก วิสตฺติกนฺ”ติ.
อิทมโวจ สา เทวตา. สมนุฺโ สตฺถา อโหสิ. อถ โข สา เทวตา “สมนุฺโ เม
สตฺถา”ติ ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา ปทกฺขิณํ กตฺวา ตตฺเถวนฺตรธายีติ.

๒. นิโมกฺขสุตฺต
[๒] สาวตฺถินิทานํ. อถ โข อฺตรา เทวตา อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา
เกวลกปฺป เชตวนํ โอภาเสตฺวา เยน ภควา เตนุปสงฺกมิ; อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา
เอกมนฺตํ อฏาสิ; เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควนฺตํ เอตทโวจ “ชานาสิ โน ตฺวํ มาริส
สตฺตานํ นิโมกฺขํ ปโมกฺขํ วิเวกนฺ”ติ. ชานามิ ขฺวาหํ อาวุโส สตฺตานํ นิโมกฺขํ ปโมกฺขํ วิเวกนฺติ.
ยถากถํ ปน ตฺวํ มาริส ชานาสิ สตฺตานํ นิโมกฺขํ ปโมกฺขํ วิเวกนฺติ.
นนฺทิภวปริกฺขยา, สฺาวิฺาณสงฺขยา.
เวทนานํ นิโรธา อุปสมา, เอวํ ขฺวาหํ อาวุโส ชานามิ, สตฺตานํ นิโมกฺขํ, ปโมกฺขํ
วิเวกนฺติ.

~๗๓~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๓. อุปนียสุตฺต
[๓] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ
“อุปนียติ ชีวิตมปฺปมายุ
ชรูปนีตสฺส น สนฺติ ตาณา
เอตํ ภยํ มรเณ เปกฺขมาโน
ปุ ฺ านิ กยิราถ สุขาวหานี”ติ.
อุปนียติ ชีวิตมปฺปมายุ
ชรูปนีตสฺส น สนฺติ ตาณา
เอตํ ภยํ มรเณ เปกฺขมาโน
โลกามิสํ ปชเห สนฺติเปกฺโขติ.

๔. อจฺเจนฺติสุตฺต
[๔] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ
“อจฺเจนฺติ กาลา ตรยนฺติ รตฺติโย
วโยคุณา อนุปุพฺพํ ชหนฺติ
เอตํ ภยํ มรเณ เปกฺขมาโน
ปุ ฺ านิ กยิราถ สุขาวหานี”ติ.
อจฺเจนฺติ กาลา ตรยนฺติ รตฺติโย
วโยคุณา อนุปุพฺพํ ชหนฺติ
เอตํ ภยํ มรเณ เปกฺขมาโน
โลกามิสํ ปชเห สนฺติเปกฺโขติ.

๕. กติฉินฺทสุตตฺ
[๕] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ
“กติ ฉินฺเท กติ ชเห กติ จุตฺตริ ภาวเย
กติ สงฺคาติโค ภิกฺขุ ‘โอฆติณฺโณ’ติ วุจฺจตี”ติ.
ปฺจ ฉินฺเท ปฺจ ชเห ปฺจ จุตฺตริ ภาวเย
ปฺจ สงฺคาติโค ภิกฺขุ “โอฆติณฺโณ”ติ วุจฺจตีติ.

๖. ชาครสุตฺต
[๖] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ
“กติ ชาครตํ สุตฺตา กติ สุตฺเตสุ ชาครา

~๗๔~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
กติภิ รชมาเทติ กติภิ ปริสุชฺฌตี”ติ.
ปฺจ ชาครตํ สุตฺตา ปฺจ สุตฺเตสุ ชาครา
ปฺจภิ รชมาเทติ ปฺจภิ ปริสุชฺฌตีติ.

๗. อปฺปฏิวิทติ สุตฺต
[๗] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ
“เยสํ ธมฺมา อปฺปฏิวิทิตา ปรวาเทสุ นียเร
สุตฺตา เต นปฺปพุชฺฌนฺติ กาโล เตสํ ปพุชฺฌิตุนฺ”ติ.
เยสํ ธมฺมา สุปฏิวิทิตา ปรวาเทสุ น นียเร
เต สมฺพุทฺธา สมฺมทฺา จรนฺติ วิสเม สมนฺติ.

๘. สุสมฺมุฏ สุตฺต
[๘] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ
“เยสํ ธมฺมา สุสมฺมุฏา ปรวาเทสุ นียเร
สุตฺตา เต นปฺปพุชฺฌนฺติ กาโล เตสํ ปพุชฺฌิตุนฺ”ติ.
เยสํ ธมฺมา อสมฺมุฏา ปรวาเทสุ น นียเร
เต สมฺพุทฺธา สมฺมทฺา จรนฺติ วิสเม สมนฺติ.

๙. มานกามสุตฺต
[๙] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ
“น มานกามสฺส ทโม อิธตฺถิ
น โมนมตฺถิ อสมาหิตสฺส
เอโก อรฺเ วิหรํ ปมตฺโต
น มจฺจุเธยฺยสฺส ตเรยฺย ปารนฺ”ติ.
มานํ ปหาย สุสมาหิตตฺโต
สุเจตโส สพฺพธิ วิปฺปมุตฺโต
เอโก อรฺเ วิหรํ อปฺปมตฺโต
ส มจฺจุเธยฺยสฺส ตเรยฺย ปารนฺติ.

๑๐. อรฺสุตฺต
[๑๐] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ
“อรฺเ วิหรนฺตานํ สนฺตานํ พฺรหฺมจารินํ

~๗๕~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
เอกภตฺตํ ภุฺชมานานํ เกน วณฺโณ ปสีทตี”ติ.
อตีตํ นานุโสจนฺติ นปฺปชปฺปนฺติ นาคตํ
ปจฺจุปฺปนฺเนน ยาเปนฺติ เตน วณฺโณ ปสีทติ.
อนาคตปฺปชปฺปาย อตีตสฺสานุโสจนา
เอเตน พาลา สุสฺสนฺติ นโฬว หริโต ลุโตติ.
นฬวคฺโค ปโม.
ตสฺสุทฺทานํ
โอฆํ นิโมกฺขํ อุปเนยฺยํ อจฺเจนฺติ กติฉินฺทิ จ
ชาครํ อปฺปฏิวิทิตา สุสมฺมุฏา มานกามินา
อรฺเ ทสโม วุตฺโต วคฺโค เตน ปวุจฺจติ.

๒. นนฺทนวคฺค
๑. นนฺทนสุตฺต
[๑๑] เอวมฺเมสุตํ:- เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปณฺฑิกสฺส
อาราเม. ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ “ภิกฺขโว”ติ. ภทนฺเตติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุ.
ภควา เอตทโวจ:-
ภูตปุพฺพํ ภิกฺขเว อฺตรา ตาวตึสกายิกา เทวตา นนฺทนวเน อจฺฉราสงฺฆปริวุตา
ทิพฺเพหิ ปฺจหิ กามคุเณหิ สมปฺปตา สมงฺคีภูตา ปริจาริยมานา ตายํ เวลายํ อิมํ คาถํ
อภาสิ
“น เต สุขํ ปชานนฺติ เย น ปสฺสนฺติ นนฺทนํ
อาวาสํ นรเทวานํ ติทสานํ ยสสฺสินนฺ”ติ.
เอวํ วุตฺเต ภิกฺขเว อฺตรา เทวตา ตํ เทวตํ คาถาย ปจฺจภาสิ
“น ตฺวํ พาเล ปชานาสิ ยถา อรหตํ วโจ
อนิจฺจา สพฺเพ สงฺขารา อุปฺปาทวยธมฺมิโน
อุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฺฌนฺติ เตสํ วูปสโม สุโข”ติ.

๒. นนฺทติสุตฺต
[๑๒] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ
“นนฺทติ ปุตฺเตหิ ปุตฺติมา
โคมิโก โคหิ ตเถว นนฺทติ
อุปธีหิ นรสฺส นนฺทนา

~๗๖~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
น หิ โส นนฺทติ โย นิรูปธี”ติ.
โสจติ ปุตฺเตหิ ปุตฺติมา
โคมิโก โคหิ ตเถว โสจติ
อุปธีหิ นรสฺส โสจนา
น หิ โส โสจติ โย นิรูปธีติ.

๓. นตฺถิปุตฺตสมสุตตฺ
[๑๓] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ
“นตฺถิ ปุตฺตสมํ เปมํ นตฺถิ โคสมิกํ ธนํ
นตฺถิ สุริยสมา อาภา สมุทฺทปรมา สรา”ติ.
นตฺถิ อตฺตสมํ เปมํ นตฺถิ ธฺสมํ ธนํ
นตฺถิ ปฺาสมา อาภา วุฏิ เว ปรมา สราติ.

๔. ขตฺติยสุตฺต
[๑๔] สาวตฺถินิทานํ. เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควโต สนฺติเก อิมํ คาถํ อภาสิ
“ขตฺติโย ทิปทํ เสฏโ พลีพทฺโธ จตุปฺปทํ
โกมารี เสฏา ภริยานํ โย จ ปุตฺตาน ปุพฺพโช”ติ.
สมฺพุทฺโธ ทิปทํ เสฏโ อาชานีโย จตุปฺปทํ
สุสฺสูสา เสฏา ภริยานํ โย จ ปุตฺตานมสฺสโวติ.

๕. สณมานสุตฺต
[๑๕] ิเต มชฺฌนฺหิเก กาเล สนฺนิสีเวสุ ปกฺขิสุ
สณเตว พฺรหารฺํ ตํ ภยํ ปฏิภาติ มนฺติ.
ิเต มชฺฌนฺหิเก กาเล สนฺนิสีเวสุ ปกฺขิสุ
สณเตว พฺรหารฺํ สา รติ ปฏิภาติ มนฺติ.

๖. นิทฺทาตนฺทีสุตฺต
[๑๖] นิทฺทา ตนฺที วิชมฺภิตา อรตี ภตฺตสมฺมโท
เอเตน นปฺปกาสติ อริยมคฺโค อิธ ปาณินนฺติ.
นิทฺทํ ตนฺทึ วิชมฺภิตํ อรตึ ภตฺตสมฺมทํ
วีริเยน นํ ปณาเมตฺวา อริยมคฺโค วิสุชฺฌตีติ.

~๗๗~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๗. ทุกฺกรสุตฺต
[๑๗] ทุกฺกรํ ทุตฺติติกฺขฺจ อพฺยตฺเตน จ สามฺํ
พหู หิ ตตฺถ สมฺพาธา ยตฺถ พาโล วิสีทตีติ.
กติหํ จเรยฺย สามฺํ จิตฺตํ เจ น นิวารเย
ปเท ปเท วิสีเทยฺย สงฺกปฺปานํ วสานุโคติ.
กุมฺโมว องฺคานิ สเก กปาเล
สโมทหํ ภิกฺขุ มโนวิตกฺเก
อนิสฺสิโต อฺมเหยาโน
ปรินิพฺพุโต นูปวเทยฺย กฺจีติ

๘. หิรีสุตฺต
[๑๘] หิรีนิเสโธ ปุริโส โกจิ โลกสฺมึ วิชฺชติ
โย นินฺทํ อปโพเธติ อสฺโส ภโทฺร กสามิวาติ.
หิรีนิเสธา ตนุยา เย จรนฺติ สทา สตา
อนฺตํ ทุกฺขสฺส ปปฺปุยฺย จรนฺติ วิสเม สมนฺติ.

๙. กุฏิกาสุตฺต
[๑๙] กจฺจิ เต กุฏิกา นตฺถิ กจฺจิ นตฺถิ กุลาวกา
กจฺจิ สนฺตานกา นตฺถิ กจฺจิ มุตฺโตสิ พนฺธนาติ.
ตคฺฆ เม กุฏิกา นตฺถิ ตคฺฆ นตฺถิ กุลาวกา
ตคฺฆ สนฺตานกา นตฺถิ ตคฺฆ มุตฺโตมฺหิ พนฺธนาติ.
กินฺตาหํ กุฏิกํ พฺรูมิ กินฺเต พฺรูมิ กุลาวกํ
กินฺเต สนฺตานกํ พฺรูมิ กินฺตาหํ พฺรูมิ พนฺธนนฺติ.
มาตรํ กุฏิกํ พฺรูสิ ภริยํ พฺรูสิ กุลาวกํ
ปุตฺเต สนฺตานเก พฺรูสิ ตณฺหํ เม พฺรูสิ พนฺธนนฺติ.
สาหุ เต กุฏิกา นตฺถิ สาหุ นตฺถิ กุลาวกา
สาหุ สนฺตานกา นตฺถิ สาหุ มุตฺโตสิ พนฺธนาติ.

~๗๘~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

แบบฝกหัด บทที่ ๓

ตอนที่ ๑ : ปริวรรตอักษรเทวนาครีเปนอักษรไทย
คําสั่ง : จงปริวรรตขอความดานลางนี้ดวยอักษรไทย

Amro yan' cK%u dola AC^ra devaniMp

k<, A½ dairka isla £pask gC^iNt

tä sda gu,vtI sugiN/ s'vC^r ivnSsNtu

yagu devI daisyo idnpit i.K%unI /MmvadI

ki$ raja AÇil matulanI vlahk' isiK%yit

ši× jeÉa psado .gvta vIjinya kMmkaro

š,' tara tqagte hnuka ilMpit i/itmNtu

ตอนที่ ๒ : ปริวรรตอักษรไทยเปนอักษรเทวนาครี
คําสั่ง : จงปริวรรตขอความดานลางนี้ดวยอักษรเทวนาครี
เทวตาอุยโยชนคาถา
ทุกขฺ ปฺปตฺตา จ นิททฺ ุกฺขา ภยปฺปตฺตา จ นิพภฺ ยา
โสกปฺปตฺตา จ นิสฺโสกา โหนฺตุ สพฺเพป ปาณิโน
เอตฺตาวตา จ อมฺเหหิ สมฺภตํ ปุฺสมฺปทํ
สพฺเพ เทวานุโมทนฺตุ สพฺพสมฺปตฺติสิทธฺ ิยา
ทานํ ททนฺตุ สทฺธาย สีลํ รกฺขนฺตุ สพฺพทา
ภาวนาภิรตา โหนฺตุ คจฺฉนฺตุ เทวตาคตา
สพฺเพ พุทธฺ า พลปฺปตฺตา ปจฺเจกานฺจ ยํ พลํ
อรหนฺตานฺจ เตเชน รกฺขํ พนฺธามิ สพฺพโส ฯ

~๗๙~

You might also like