บทที่ 6 อักษรขอม PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 41

เอกสารประกอบการสอน

รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

บทที่ ๖
อักษรขอม
อักษรขอมโบราณ เปน อักษรที่มีพัฒ นาการมาจากอักษรหลังปล ลวะ ในชว งประมาณพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๕-๑๘ พบทั้งในสมัยทวารวดีและอาณาจักรขอม อักษรขอมโบราณยังคงรักษาระบบ
อั ก ขรวิ ธี ข องอั ก ษรป ล ลวะอย า งเคร ง ครั ด แต ที่ ป รั บ เปลี่ ย นไปมากก็ คื อ อั ก ษรขอมโบราณให
ความสําคัญกับเสนปกบนซึ่งกลายมาเปน “ศก” หรือ “หนามเตย” ใชกันอยางแพรหลายในบริเวณลุม
แมนํ้าเจาพระยาโดยมีลพบุรีเปนศูนยกลาง ทั้งยังมีอิทธิพลตออักษรสมัยสุโขทัยดวย และสืบตอมา
จนถึงสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร อักษรขอมเปนอักษรโบราณของไทยแบบหนึ่งปรากฏใชในเอกสาร
โบราณทุกประเภท ทั้งจารึก สมุดขอย-สมุดไทยและคัมภีรใบลาน โดยใชบันทึกทั้งภาษาบาลีและ
ภาษาไทย การเรียกชื่อวา “อักษรขอมไทย” นั้นเปนเพราะวาตัวอักษรที่มีรูปแบบคลายอักษรขอม
โบราณและไดมีการเพิ่มเติมตัวอักษรและอักขรวิธีใหสามารถบันทึกคําไทยไดครบถวนตามระบบเสียง
ไทย สวนในบทนี้เราจะกลาวถึงจําเพาะอักษรขอมที่ใชเขียนคําบาลีเทานั้น
ใบลาน หรือคัมภีรใบลาน เปนเอกสารสําคัญอยางหนึ่งที่ใชในอาณาจักรตางๆ ของเอเชียมา
ตั้งแตสมัยโบราณ โดยสามารถจารตัวอักษรไดทั้งสองดาน เมื่อจารจบแลวก็ใชสายสนองรอยเขาผูก
เปน ๑ คัมภีร สาเหตุที่เรียกวาคัมภีรเพราะเนื้อหาสวนใหญที่จารเปนเรื่องราวทางพระพุทธศาสนา แต
อาจมีเนื้อหาบางเรื่องที่เปนทางโลกบาง ชาวพุทธบางสวนมีความเชื่อวาการจารตัวอักษร ๑ ตัว จะได
อานิสงสเทากับการสรางพระพุทธรูปหนึ่งองค อีกทั้งนักปราชญโบราณนิยมใชอักษรขอมจารหรือเขียน
บทมนตรคาถา หลักธรรม หรือคําบาลีอยางยอประกอบเปนรูปตางๆ ซึ่งเรียกวา “ยันต” โดยใชเปน
กลอุบายในการสอนธรรม ทําใหเกิดความเชื่อวาอักษรขอมเปนอักษรที่ศักดิ์สิทธิ์

ภาพที่ ๑ : การเขียนยันตชนิดตางๆ ดวยอักษรขอม

~๑๐๗~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ลักษณะรูปแบบอักษรขอม
อักษรขอม ที่ใชเขียนคําบาลีแบงเปน ๔ ชนิด คือ
๑. พยัญชนะ พยัญชนะที่ใช แบงเปนพยัญชนะตัวเต็ม ๓๓รูป และพยัญชนะตัวเชิง ๓๐ รูป
อักษรขอมมีเอกลักษณที่ชัดเจนคือเสนปกบนที่กลายมาเปน “ศก” และการเขียนตัวอักษรที่หยักและ
เปนเหลี่ยมสม่ําเสมอ แตอยางไรก็ตามอักษรขอมมิไดมีศกหมดทุกตัว เพื่อใหงายตอการจดจํา
สวนประกอบของรูปอักษร จึงแสดงสวนประกอบของรูปพยัญชนะดังนี้

รูปพยัญชนะ ก
ก สวนที่เรียกวา ศก
สวนที่เรียกวา ตัว
สวนที่เรียกวาเชิงหรือตัวเชิง
พยัญชนะตัวเต็ม

รูปพยัญชนะ ข
ข สวนที่เรียกวา ตัว
สวนที่เรียกวาเชิงหรือตัวเชิง

รูป พยั ญชนะตัว เต็ มและตัว เชิงจะประกอบดว ยเสน ทั้งในแนวตั้ง และ/หรือแนวนอนใน


จํานวนที่ตางกัน ซึ่งจะไดอธิบายถึงเสนทั้งสองตอไปขางหนา แตเมื่อวาโดยสังเขป สวนที่สําคัญอยู ๒
สวน คือ
๑) ลักษณะของศก
๒) โครงสรางของรูปพยัญชนะและสระ
๒. สระ จําแนกเปน ๒ ชนิด ไดแกสระลอย มี ๘ รูป และสระจม มี ๗ รูป
๓. ตัวเลข อักษรขอมใชเลขฐาน ๑๐ มีดวยกันทั้งหมด ๑๐ รูป คือ ๐-๙
๔. เครื่องหมาย สําคัญที่ควรรูไดแกเครื่องบอกลําดับหนาลาน ซึ่งเรียกวา “อังกา”

อังกา

ภาพที่ ๒ : ใบลานและเครื่องหมายบอกหนาลาน

~๑๐๘~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
โครงสรางของรูปพยัญชนะและรูปสระลอย
โครงสรางของรูปพยัญชนะตัวเต็มที่ไมรวมศก หรือสวนที่เรียกวา “ตัว” และสระลอยเกือบทุก
ตัวจะประกอบดวยเสนทั้งในแนวตั้ง และ/หรือ แนวนอน โดยมีจํานวนแตกตางกันออกไป ซึ่งกําหนด
เปนชื่อเรียกเสนตางๆ ไดดังนี้
กรอบที่ ๑ กรอบที่ ๒
เสนบน เสนกลาง เสนบน เสนกลาง
เสนหนา เสนหลัง
เสนหนา เสนหลัง
เสนลาง
เสนลาง
จากกรอบที่ไดแสดงมาขางตน จะเห็นวามีเสนตางๆ ที่ประกอบเปนโครงสรางของรูปพยัญชนะ
และรูปสระลอย ดังนี้
เสนในแนวตั้ง มี ๓ เสน คือ เสนหนา เสนกลาง และเสนหลัง
เสนในแนวนอน มี ๓ เสน คือ เสนบน เสนกลาง และเสนลาง
ตอไปนี้จะแสดงรูปพยัญชนะและสระไปโดยลําดับ ดังนี้

พยัญชนะ (Consonants)
พยัญชนะที่ใชเขียนคําบาลีมีทั้งหมด ๓๓ ตัว แบงเปนพยัญชนะวรรค และอวรรคหรือเศษวรรค
ไดดังนี้
๑) พยัญชนะวรรค ๒๕ ตัว ดังนี้
วรรค ก เปน กัณฐชะ (เกิดที่ลําคอ)
ก ka ข kha ค ga ฆ gha ง ṅa
พยัญชนะตัวเต็ม ก ข ค ฆ ง
พยัญชนะตัวเชิง –  –  –  –  –

วรรค จ เปน ตาลุชะ (เกิดที่เพดาน)


จ ca ฉ cha ช ja ฌ jha  ña
พยัญชนะตัวเต็ม จ ฉ ช ฌ ญ
พยัญชนะตัวเชิง –  –  –  –  – 

~๑๐๙~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
วรรค ฏ เปน มุทธชะ (เกิดที่ปุมเหงือก)
ฏ ṭa  ṭha ฑ ḍa ฒ ḍha ณ ṇa
พยัญชนะตัวเต็ม ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
พยัญชนะตัวเชิง –  –  –  –  – 

วรรค ต เปน ทันตชะ (เกิดที่ฟน)


ต ta ถ tha ท da ธ dha น na
พยัญชนะตัวเต็ม ต ถ ท ธ น
พยัญชนะตัวเชิง –  –  –  –  – 

วรรค ป เปน โอฏฐชะ (เกิดที่ริมฝปาก)


ป pa ผ pha พ ba ภ bha ม ma
พยัญชนะตัวเต็ม ป ผ พ ภ ม
พยัญชนะตัวเชิง –  –  –  –  – 

๒) พยัญชนะเศษวรรค มีทั้งหมด ๘ ตัว คือ


ย ya ร ra ล la ว va ส sa ห ha ฬ ḷa – ํ -ṃ
พยัญชนะตัวเต็ม ย ร ล ว ส ห ฬ – ํ
พยัญชนะตัวเชิง –  – –  –  –  –  – –

หมายเหตุ :
๑. เครื่องหมายขีด (–) ที่อยูบนพยัญชนะตัวเชิง แทนรูปพยัญชนะตัวเต็ม
๒. พยัญชนะตัวเต็มมี ๓๓ รูป สวนพยัญชนะตัวเชิงมี ๓๐ รูป อักษรที่ไมมีตัวเชิง คือ ง และ ฬ
เพราะไมมีใช เป น ตัว ตามพยัญ ชนะสังโยคในคํ าบาลี ส ว น -  (นิคหิต) มีใชเฉพาะวางไว
ดา นบนพยัญ ชนะตัว เต็ ม หรือสระบนเทานั้น (แมการศึกษาภาษาบาลีในประเทศไทยจะ
จัดเปนพยัญชนะ แตอาจารยบางทานจัดอยูกลุมเครื่องหมาย)
๓. เฉพาะ ญ ตัวเต็มเมื่อมีพยัญชนะตัวเชิงตามมาจะไดรูปดังนี้  เชน ว = เอวฺจ

~๑๑๐~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
สระ (Vowels)
การเขียนสระอักษรขอม มีวิธีการเขียนอยู ๒ แบบ คือ แบบแรก เราเรียกวา สระลอย
(สระเต็มรูป) และแบบหลัง เราเรียกวา สระจม (สระลดรูป) สระลอยใชเขียนเมื่อคํานั้นๆ มีสระขึ้นตน
สวนสระจมใชเขียนเมื่อประสมกับตัวพยัญชนะ สระลอยและสระจม มีดังนี้
ไทย/โรมัน สระลอย สระจม ไทย/โรมัน สระลอย สระจม
อ a อ* – อา ā  – า
อิ i  –  อี ī  – 
อุ u  –  อู ū  – 
เอ e  เ– โอ o  เ– า

หมายเหตุ :
๑. *สระ อ a อ ไมมีรูปสระจม ดังนั้นเมื่อประสมกับพยัญชนะใดก็ตาม สระนี้จึงไมปรากฏรูป
๒. สระจมรูปสระโอ คือ สระเอ + สระอา (เ–า) ซึ่งลักษณะนี้สืบทอดมาตั้งแตการเขียนดวยอักษร
พราหมี

๑. การเขียนสระลอย
ใชนําหนาคําและออกเสียงไดดวยตัวเอง ใหเขียนไปตามลําดับ โดยอักษรที่ตามมาจะเปน
พยัญชนะตัวเต็มเสมอ

สระ คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย


อ อรหํ อรหํ ผูหางไกลจากกิเลส, พระอรหันต
อา อารมฺมณํ รมณํ อารมณ
อิ อิสิ  ฤษี
อี อีสา  งอนไถ
อุ อุทกํ ทกํ น้ํา

~๑๑๑~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
อู อูมิ มิ คลื่น
เอ เอตํ ตํ นั่น
โอ โอภาส ส ความรุงเรือง, แสงสวาง

๒. การเขียนสระจม
สระจม (สระลดรูป) ใชเขียนเมื่อประสมกับพยัญชนะ สวนมากจะเขียนวางตําแหนงเหมือน
ภาษาไทย แตกตางกันบางบางรูป เมื่อจัดตามตําแหนงที่วาง จัดไดดังนี้
๒.๑ วางไวตําแหนงดานหนาพยัญชนะ ไดแก สระ เอ เชน
สระ คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
เอ เสกฺข เสก ผูยังตองศึกษา
เอ เนกฺขมฺม เนกม การออกบวช, การกาวออก

๒.๒ วางไวตําแหนงดานบนพยัญชนะ ไดแก สระ อิ อี เชน


สระ คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
อิ วิจิกิจฺฉา จิ ความลังเลสงสัย
อิ นิสสฺ ิต นิสิต นิสิต, ลูกศิษย, ผูอาศัย
อี ปติ ปี ความยินดี, ความเอิบอิ่มใจ
อี สีลํ ลํ ศีล, ปกติ, วัตรอันงาม

ลักษณะการประกอบสระ อิ อี กับศกอักษร
๑) พยัญชนะที่มีศกเต็มรูป ไดแก ก ค ต ภ และ ว ไมตองเขียนศก แตใหเขียน
สระ – ิ -ี แทนที่ในตําแหนงของศก ดังนี้
ก กิ ค คิ ต ติ ภ ภิ ว วิ
ก  ค  ต  ภ  ว 
กี คิ ตี ภี วี
    

~๑๑๒~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๒) พยัญชนะที่มีศกครึ่งรูปเขียนสระ – ิ -ี ไวบนและชิดกับศก ดังนี้
ป ป ร ริ ย ยิ ล ลิ ส สิ
ป ปิ ร ริ ย ยิ ล ลิ ส 
ป รี ยี ลี สี
ปี รี ยี ลี 

๓) พยัญชนะที่ไมมีศก และพยัญชนะที่มีหาง ใหเขียนสระ – ิ -ี ไวดานบนและชิด


กับเสนบนของตัวอักษร ดังนี้
ข ขิ ง งิ จ จิ ฉ ฉิ ช ชิ
ข ขิ ง งิ จ จิ ฉ ฉิ ช ช
ขี งี จี ฉี ชี
ขี งี จี ฉี ช
 ิ ฏ ฏิ  ิ ฑ ฑิ ณ ณิ
ญ ญิ ฏ ฏ ฐ ฐิ ฑ ฑิ ณ ณิ
ี ฏี ี ฑี ณี
ญี ฏ ฐี ฑี ณี
ธ ธิ ผ ผิ พ พิ

ธ ธิ ผ ผ พ พิ
ธี ผี พี

ธี ผ พี

หมายเหตุ :
๑. เปนเพียงตัวอยางการประกอบสระกับศก บางอักษรไมมีใชในคําบาลี เชน ง ไมมีใชในฐาน
พยัญชนะตัวตาม การแสดงรูปอักษรไว เพื่อเปนประโยชนในการอานอักษรขอมเขียนคําไทย
๒. ใหสังเกต ตัว ส ที่ประกอบกับสระ – ิ -ี จะเขียนแตกตางจากตัวอื่น
๓. ไมเขียนรูปสระ – ิ -ี บนเสนหนาของพยัญชนะ ยกเวนตัว ร เทานั้น

~๑๑๓~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๒.๓ วางไวตําแหนงดานลางพยัญชนะ ไดแก สระ อุ อู เชน
สระ คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
อุ จกฺขุ จกุ ตา
อุ ครุ ครุ ครู, หนัก
อู ภูมิ ภูมิ แผนดิน
อู มูสิก มูก หนู

๒.๔ วางไวตําแหนงดานหลังพยัญชนะ ไดแก สระ อา เชน


สระ คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
อา วาจา  วาจา, คําพูด
อา นาสา  จมูก, งวง
ลักษณะการประกอบสระ อา กับพยัญชนะ ดังนี้
๑) การเขียนสระ อา ตอกับพยัญชนะที่มีศก
๑.๑) พยัญชนะที่มีศกหยักกลางหรือศกเต็มรูป จะเขียนสระอา ตอจากปลายศก
ซึ่งเมื่อตอสระอาแลว จะมีหยักตรงกลาง ๑ หยัก ดังนี้
ก กา ค คา ต ตา
ก  ค  ต 
ภ ภา ว วา
ภ  ว 

๑.๒) พยั ญ ชนะที่มีศกที่ไมมีห ยักกลางหรือศกครึ่งรูป จะเขีย นสระอา โดยการ


ลากเสนสระอาตอจากปลายศกที่อยูเสนหลัง ซึ่งเมื่อตอสระอาแลวจะไมมีหยักตรงกลาง ดังนี้
ฆ ฆา เชิง ฆ คฺฆฺ+า ฌ ฌา เชิง ฌ ชฺฌฺ+า
ฆ  –  ค ฌ  –  ช
ฒ ฒา เชิง ฒ ฑฺฒฺ+า ม มา ล ลา
ฒ  –   ม  ล 
ย ยา เชิง ย ลฺยฺ+า ส สา เชิง ส สฺสฺ+า
ย  –  ล ส  –  ส

~๑๑๔~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ฬ ฬา อ อา เชิง ป ปฺปฺ+า

ฬ  อ  –  ป

๒) การเขียนสระ อา ตอกับพยัญชนะที่ไมมีศก
๒.๑) พยัญชนะที่มีหัวอักษรทางดานซาย ใหเขียนสระอาตอจากดานบนสุดของเสน
หลัง ดังนี้
ข ขา  า ฑ ฑา
ข ขา ญ ญา ฑ ฑา
ณ ณา พ พา ห หา
ณ ณา พ พา ห หา

หมายเหตุ : สําหรับอักษร ห เปนพยัญชนะที่มีศกอยูบนเสนหนา แตใหใชหลักเกณฑเขียนนี้


๒.๒) พยัญชนะที่มีหัวอักษรอยูปลายทางขวาของเสนบน ไมเขียนหัวอักษร แตให
ลากสระอาตอจากปลายของเสนบน ซึ่งเมื่อตอแลวจะมีหยักตรงจุดที่ตอสระอา ดังนี้
ง งา น นา ท ทา
ง  น  ท 

๒.๓) พยัญชนะที่มีหางใหตอสระอาตรงหยักที่เขียนหาง แตบางตัวก็ไมนิยมเขียน


หาง ดังนี้
ช ชา ฏ ฏา  า
ช  ฏ  ฐ 
ถ ถา ผ ผา
ถ  ผ 

๒.๔) พยัญชนะที่มีเสนบนหยักกลางหรือศกเต็มรูป จะเขียนสระอา ตอจากปลาย


เสนบน ซึ่งเมื่อตอสระอาแลว จะมีหยักตรงกลาง ๑ หยัก ดังนี้
จ จา ฉ ฉา ธ ธา
จ  ฉ  ธ 

~๑๑๕~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๓) การตอสระ อา แบบพิเศษ
ป ปา ร รา
ป  ร 

๒.๕ วางไวตําแหนงดานหนาและดานหลังพยัญชนะ ไดแก สระ โอ เชน


สระ คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
โอ โรโค เเ โรค
โอ โภคี เ ผูมีโภคสมบัติ

การเขียนรูปสระจมประกอบกับพยัญชนะ สรุปเปนโครงสรางได ดังนี้


โครงสรางที่ ๑ : คําที่มีพยัญชนะตนตัวเดียว

–  – 
เ– เ– พยัญชนะตน (เขียนดวยตัวเต็ม) – า – า
– – 

โครงสรางที่ ๒ : คําที่มีพยัญชนะตนสองตัว

–  – 
เ– เ– พยัญชนะตน (เขียนดวยตัวเต็ม) – า – า
พยัญชนะตัวเชิง
– – 

หมายเหตุ : สําหรับการตอสระอา ตอไดทั้งพยัญชนะตัวเต็มและพยัญชนะตัวเชิง สระอาจะตอกับ


พยัญชนะตัวเชิงที่มีเสนหลังยาวขึ้นเสมอพยัญชนะตัวเต็มเทานั้น

~๑๑๖~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
การปริวรรตคําบาลีที่เขียนดวยอักษรขอม
๑. การปริวรรตคําบาลีที่ไมมีพยัญชนะสังโยค (ไมมีตัวสะกดและตัวตาม)
๑.๑ คําที่ขึ้นตนดวยพยัญชนะตนเดี่ยว

คําอักษรขอม ลําดับการถายถอด อักขรวิธีไทย


๑ ๒ ๓ ๔
 ๑ ๒ ๓ ๔
ค า ถ า
คาถา

๒ ๔

๑ ปี ๓
๑ ๒ ๓ ๔
ป ี ต ิ
ปติ

๑ ๔

กุลํ
๑ ๒ ๓ ๔ กุลํ
๓ ก ุ ล ํ

๑ ๒ ๑ ๓ ๔
เเก ๑ ๒ ๓ ๔
โ ส เ ก
โสเก

๑.๒ คําบาลีที่มีพยัญชนะตนซอนกัน ๒ ตัว

คําอักษรขอม ลําดับการถายถอด อักขรวิธีไทย


๑ ๒๓ ๔ ๕ ๖
วกรณ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
วฺ ย า ก ร ณ
วฺยากรณ

๑ ๓ ๔
๒ พาหณ ๖
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
พฺ ร า หฺ ม ณ
พฺราหฺมณ

~๑๑๗~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๒. การปริวรรตคําบาลีที่มีพยัญชนะสังโยค (มีตัวสะกดและตัวตาม)
ใหถายถอดตามลําดับดังนี้
๒.๑ ถายถอดพยัญชนะตัวตนกอน ถาพยัญชนะซอนกัน 2 ตัว ใหถายถอดพยัญชนะตัวที่อยู
ดานบนกอนแลวใสเครื่องหมายพินทุ ( ฺ ) ไวใต แลวจึงถายถอดตัวที่อยูขางใต(ตัวเชิง) หลังจากนั้นจึง
ถายถอดสระจม(ถามี)
๒.๒ ถายถอดพยัญชนะตัวถัดไป และสระจม(ถามี) ตามลําดับคลายการสะกดคําอักษรไทย
๒.๓ ถา มี นิ คหิ ตกํ า กั บ ใหถายถอดเปน เครื่องหมายนิคหิตเหมือนเดิม และเขีย นไวตาม
ตําแหนงเดิม

คําอักษรขอม ลําดับการถายถอด อักขรวิธีไทย

๑ ๓ ๒

สเพ ๑ ๒ ๓ ๔
ส พฺ เ พ
สพฺเพ


๑ ๕

ทุกํ ๓
๑ ๒ ๓ ๔ ๕
ท ุ กฺ ข ํ
ทุกฺขํ

๒ ๔
๑ ๔ ๓ ๔

พุเ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕
พ ุ ทฺ โ ธ
พุทฺโธ

๒ ๕
๑ ๒ ๔ ๕

ป ๖
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
อุ ปฺ ป า ท า
อุปฺปาทา


๑ ๒

ก ๔
๑ ๒ ๓ ๔
ก ตฺ ว า
กตฺวา

~๑๑๘~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
การเขียนพยัญชนะสังโยค
พยัญชนะสังโยค หมายถึง การเขีย นพยัญชนะซอนกั น โดยไมมีสระมาคั่ นในระหว าง มี
หลักเกณฑการสังโยค ดังไดอธิบายไวขางตน โดยมีตัวอยางดังนี้

การเขียนพยัญชนะสังโยคภาษาบาลี (คําบาลีที่มีตัวสะกดและตัวตาม)
วรรค ก
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
กฺก สกฺก สก พระอินทร
กฺข ภิกฺขุ กุ ภิกษุ
คฺค อคฺคิ อ ไฟ
คฺฆ อคฺฆ อค มีคา, มีราคา
งฺก องฺกุร องรุ หนอ, ยอด, เชื้อสาย
งฺข สงฺเขป สเงป การยอ
งฺค สงฺคม สงม การไปรวม, การเกี่ยวของ
งฺฆ สงฺฆ สง หมู, สงฆ

วรรค จ
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
จฺจ อาทิจฺจ ทิจ พระอาทิตย
จฺฉ กจฺฉ กจ รักแร
ชฺช ขุชฺช ขุช คอม, คนกระจอก
ชฺฌ อุปชฺฌาย ปชย พระอุปชฌาย
ฺจ ปฺจ ป หา
ฺช สฺชาติ สา ความเกิด
ฺ กฺา กา สาวนอย

~๑๑๙~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
วรรค ฏ
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
ฏฏ วฏฏ วฏ กลม, หมุน, วน, เสบียง
ฏ โอฏ ฏ ปาก, ริมฝปาก, ขอบ
ฑฺฑ ฉฑฺเฑติ ฉเฑ ทิ้ง
ฑฺฒ วุฑฺฒิ วุิ ความเจริญ
ณฺฏ ฆณฺฏา ฆณา ระฆัง
ณฺ สณฺาน สณาน ทรวดทรง, รูปราง
ณฺฑ กุณฺฑล กุณล ตางหู
ณฺฒ สุณฺฒิ สุณิ ขิง
ณฺณ วณฺณ วณ ผิว, สี, ชนิด, วรรณะ

วรรค ต
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
ตฺต มุหุตฺต มุหต
ุ  กาลครูห นึ่ง, ขณะหนึ่ง
ตฺถ อตฺถิ อ฀ มี
ทฺท ภทฺท ภ เจริญ, ดี, งาม
ทฺธ พุทฺธิ พุิ ความรู
นฺต ขนฺติ ขนิ ความอดทน
นฺถ คนฺถ คน แตง, รอยกรอง, เรียบเรียง
นฺท อินฺท น พระอินทร, ความเปนใหญ
นฺธ พนฺธ พน ผูก
นฺน อนฺน อน อาหาร

~๑๒๐~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
วรรค ป
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
ปฺป สิปฺป ป ศิลปะ
ปฺผ ปปฺผาส ปส ปอด
พฺพ ทิพฺพ ทิพ อันเปนทิพย, เลิศ, การเลน
พฺภ อารพฺภ รพ เริ่ม, ปรารภ
มฺป กมฺปน กมน หวั่นไหว
มฺพ อมฺพ อม มะมวง
มฺภ ฉมฺภี ฉมี สะดุง, ตกใจกลัว
มฺม กมฺม กม กรรม, การงาน

เศษวรรค
ตัวซอน คําบาลี คําอักษรขอม ความหมาย
ยฺย อยฺย อย ผูเปนเจา, เปนใหญ
ลฺย กลฺยาณ กลณ ดี, งาม
ลฺล ปุลฺลิงฺค ปุลิง เพศชาย
ยฺห มยฺหํ มยํ ของเรา
สฺส ปุริสสฺส ปุริสส ของบุรุษ
วฺห ชิวฺหา ช ลิ้น
สฺม ยสฺมึ ย฀ ใน...ใด
หฺม พฺรหฺม พห พรหม
ฬฺห วิรุฬฺห รุฬ งอกงาม

~๑๒๑~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ตัวเลข
ตัวเลขอักษรขอมมีลักษณะใกลเคียงกับเลขไทยในปจจุบัน โดยมีรูปอักษร ดังนี้
ไทย ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
ขอม O ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑O
อารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เครื่องหมาย
เครื่องบอกลําดับหนาลาน ซึ่งเรียกวา “อังกา” เปนเครื่องหมายบอกใหรูลําดับหนาของ
ใบลาน โดยใชพยัญชนะประสมกับสระ ๑๐ ตัว คือ อ อา อิ อี อุ อู เอ ไอ โอ เอา รวมกับ
อนุสวาระหนึ่งตัวและวิสรคะอีกหนึ่งตัวในภาษาสันสกฤต รวมเปน ๑๒ ตัว ไลไปตามลําดับ โดยเริ่มที่
ตัว กฺ กอน ดังตัวอยาง

ก กา กิ กี กุ กู เก ไก โก เกา กํ กะ
ก    กุ กู เก ไก โก เ กํ กะ

ข ขา ขิ ขี ขุ ขู เข ไข โข เขา ขํ ขะ
ข ขา ขิ ขี ขุ ขู เข ไข โข เขา ขํ ขะ

อังกา อังกา อังกา อังกา

ภาพที่ ๓ : ตัวอยางใบลานและเครื่องหมายบอกหนาลาน

~๑๒๒~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ตัวอยาง : บทขัดธรรมนิยามสูตร

ยํ เว นิพฺพานาณสฺส าณํ ปุพฺเพ ปวตฺตเต


๏ ยํ เว นิพานญาณส ญาณ ปุเพ ปวตเต
ตสฺเสว วิสยีภูตา ยายํ ธมฺมนิยามตา
ตเสว สยีภ
ู  ย ธมนิม

อนิจฺจตา ทุกฺขตา จ สพฺเพสํ จ อนตฺตตา


อนิจ ทุก จ สเพส จ อนต
ตสฺสา ปกาสกํ สุตฺตํ ยํ สมฺพุทฺเธน ภาสิตํ
ตส ปสก สุต ย สมเุ น ต
สาธูนํ าณจาเรน ยถา พุทฺเธน เทสิตํ
ธูน ญาณเรน ย พุเทน เทต

โยนิโส ปฏิปตฺยตฺถํ ตํ สุตฺตนฺตํ ภณาม เส ฯ


เนิเ ปฏปตต ต สุตน ภณาม เส ฯ

คาถา เย ธัมมา : คาถาหัวใจพระพุทธศาสนา


เย ธมฺมา เหตุปฺปภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต อาห
เย ธ เหตุปภ เตสํ เหตํ ตคเ ห
เตสฺจ โย นิโรโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณติ ฯ
เตส เ นิเเ จ วํ ที มหาสมเณา ฯ

~๑๒๓~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

แบบฝกหัดอานอักษรขอมภาษาบาลี
ธรรมบท : เรื่องที่ ๑

วย  ร มหาสุ ว เณา ม กุ ฏุ มิ เ  อเหา อเ มหทเ 

มหาเเ อปุ ต เ  ฯ เ กทิ ว สํ นหานต ค  นหา คจเ นา

อนมเค สมนขํ กํ วนป ทิ อยํ มเหสย เทวย ปริคหิเ

ภส ตส เหคํ เเป รปริเกปํ เป ลุกํ เป

ธชปกํ สฺ  เป วนป อลงริ   ปุ ตํ   ธี ต รํ  ล ตุ   กํ

มหาสรํ กริสมี ปตนํ ก ปมิ ฯ

อถส ภริย กุจิยํ ภเพา ป ฯ เ ตส คพปริหารํ อ ฯ

 ทสสจเยน ปุตํ ยิ ฯ เสฏ อต ลิตํ วนป นิสย ลท ตส

เ มํ อ ฯ อปรเค อ ปุตํ ล ฯ ตส จุลเ มํ ก

ตรส มหาเ มํ กริ ฯ เต วยปเต ฆรพนเนน พนสุ ฯ อปรเค

ปิตเ ลมกํสุ ฯ สพํ เคํ ทินํเยว วเรสุํ ฯ

ต วยํ สต มนุ ส เฏ เ  วสนิ  ฯ เตสุ สตุ ธมก ถํ สุ  

ปเฏม  มนุส  อริยว  เทเฏม ปุถุช ฯ เตสุ อริย

วนํ เทเยว นิ อเหสุํ ปุเรภตํ นํ เทนิ ปภตํ คนทิห

วตเภสชนท หาเป ธมสวนย คจนิ ฯ

~๑๒๔~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

คําอานธรรมบทอักษรไทย : เรื่องที่ ๑

สาวตฺ ถิ ยํ กิ ร มหาสุ ว ณฺ โ ณ นาม กุ ฏ  มฺ พิ โ ก อโหสิ อฑฺ โ ฒ มหทฺ ธ โน


มหาโภโค อปุ ตฺ ต โก ฯ โส เอกทิ ว สํ นหานติ ตฺ ถํ คนฺ ตฺ ว า นหาตฺ ว า อาคจฺ ฉ นฺ โ ต
อนฺตรามคฺเค สมฺปนฺนสาขํ เอกํ วนปฺปตฺตึ ทิสฺวา, อยํ มเหสกฺขาย เทวตาย ปริคฺคหิโต
ภวิสฺสตีติ ตสฺส เหฏาภาคํ โสธาเปตฺวา ปาการปริกฺเขป การาเปตฺวา วาลุกํ โอกิราเปตฺวา
ธชปตากํ อุสฺสาเปตฺวา วนปฺปตฺตึ อลงฺกริตฺวา ปุตฺตํ วา ธีตรํ วา ลภิตฺวา ตุมฺหากํ
มหาสกฺการํ กริสฺสามีติ ปตฺถนํ กตฺวา ปกฺกามิ ฯ

อถสฺส ภริยาย กุจฺฉิยํ คพฺโภ ปติฏาสิ ฯ โส ตสฺสา คพฺภปริหารํ อทาสิ ฯ


สา ทสมาสจฺจเยน ปุตฺตํ วิชายิ ฯ เสฏี อตฺตนา ปาลิตํ วนปฺปตฺตึ นิสฺสาย ลทฺธตฺตา
ตสฺส ปาโลติ นามํ อกาสิ ฯ อปรภาเค อฺํ ปุตฺตํ ลภิ ฯ ตสฺส จุลฺลปาโลติ นามํ
กตฺ วา, อิ ตรสฺส มหาปาโลติ นามํ กริ ฯ เต วยปฺป ตฺเ ต ฆรพนฺธ เนน พนฺธึ สุ ฯ
อปรภาเค มาตาปตโร กาลมกํสุ ฯ สพฺพํ โภคํ ทฺวินฺนํเยว วิวเรสุ ฯ

ตทา สาวตฺถิยํ สตฺต มนุสฺสโกฏิโย วสนฺติ ฯ เตสุ สตฺถุ ธมฺมกถํ สุตฺวา


ปฺจโกฎิมตฺตา มนุสฺสา อริยสาวกา ชาตา, เทฺวโกฏิมตฺตา ปุถุชฺชนา ฯ เตสุ อริย-
สาวกานํ เทฺวเยว กิจฺจานิ อเหสุ, ปุเรภตฺตํ ทานํเทนฺติ, ปจฺฉาภตฺตํ คนฺธมาลาทิหตฺถา
วตฺถเภสชฺชปานกาทึ คาหาเปตฺวา ธมฺมสฺสวนตฺถาย คจฺฉนฺติ ฯ

~๑๒๕~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ธรรมบท : เรื่องที่ ๒

“ปเร จ น นนี มํ ธมเทสนํ ส เชตวเน วหรเ เสมิเก

กู รพ กเถ ฯ

เสมิยํ หิ เเม ปส ตปส ตปริ   เ กู หรึ สุ

นยธเ จ ธมก ถเ จ ฯ เสตุ ธมกถเ กทิวสํ สรีรวลํ ก ทก

เฏเ ก จมนทวเสสํ ชเน ฐเป นิ ก มิ ฯ ป  นยธเ ตต

ปเ ตํ ทกํ ทิ   นิ ก มิ   ตรํ ปุ จ ิ วุ เ  ต ทกํ ฐปิ ต นิ ฯ ม

วุเ ฯ  ปเนต ป฀วํ น  ฯ ม น มี ฯ เหาวุเ

ต ป฀ ฯ เตนหิ ปฏกริสมิ นนิ ฯ สเจ ปน เต วุเ อสิจ อส

กตํ น฀ ป฀ ฯ เ ตส ป฀ อป฀ทิฏ อเหา ฯ นยธเปิ

อตเ นิสิตนํ อยํ ธมกถเ ป฀ ปชเปิ น  เเจ ฯ

เต ตส นิสิตเก ทิ ตุ กํ ปชเ ป฀ ปชปิ ป฀วํ น 

หํสุ ฯ เต ค อตเ ปชยส เเจสุ ฯ เ วห อยํ นยธเ

ปุเพ อป฀ ว นิ ป฀ วท มุที เ ฯ

เต ค  ตุ   กํ ปชเ มุ  ที  กถยึ สุ ฯ เต วํ อม ํ

กลหํ วยึสุ ฯ ตเ นยธเ สํ ล ธมกถกส ป฀ อทสเน

เขปนียกมํ อ ฯ ตเ ปย เตสํ ปจยย ปปิ เ เ

อเหสุ ฯ

~๑๒๖~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

คําอานธรรมบทอักษรไทย : เรื่องที่ ๒

ปเร จ น วิชานนฺตีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต โกสมฺพิเก


ภิกฺขู อารพฺภ กเถสิ ฯ

โกสมฺ พิ ยํ หิ โฆสิ ต าราเม ปฺ จ สตปฺ จ สตปริ ว ารา เทฺ ว ภิ กฺ ขู วิ ห รึ สุ


วินยธโร จ ธมฺมกถิโก จ ฯ เตสุ ธมฺมกถิโก เอกทิวสํ สรีรวลฺชํ กตฺวา อุทก-
โกฏ เก อาจมนอุท กาวเสสํ ภาชเน เปตฺว า นิ กฺข มิ ฯ ปจฺ ฉา วิน ยธโร ตตฺ ถ
ปวิฏโ ตํ อุทกํ ทิสฺวา นิกฺขมิตฺวา อิตรํ ปุจฺฉิ อาวุโส ตยา อุทกํ ปตนฺติ อาม
อาวุโสติ ฯ กึ ปเนตฺถ อาปตฺติภาวํ น ชานาสีติ ฯ อาม น ชานามีติ ฯ โหตาวุโส
เอตฺถ อาปตฺตีต ฯ เตนหิ ปฏิกฺกริสฺสามี นนฺติ ฯ สเจ ปน อาวุโส อสฺจิจฺจ อสติยา
กตํ นตฺถิ อาปตฺตีติ ฯ โส ตสฺสา อาปตฺติยา อนาปตฺติทิฏิ อโหสิ ฯ วินยธโรป
อตฺตโน นิสฺสิตกานํ อยํ ธมฺมกถิโก อาปตฺตึ อาปชฺชมาโนป น ชานาตีติ อาโรเจสุ ฯ
เต ตสฺส นิสฺสิตเก ทิสฺวา ตุมฺหากํ อุปชฺฌาโย อาปตฺตึ อาปชฺชิตฺวาป อาปตฺติภาวํ น
ชานาตีติ อาหํสุ ฯ เต คนฺตฺวา อตฺตโน อุปชฺฌายสฺส อาโรเจสุ ฯ โส เอวมาห อยํ
วินยธโร ปุพฺเพ อนาปตฺตีติ วตฺวา อิทานิ อาปตฺตีติ วทติ มุสาวาที เอโสติ ฯ

เต คนฺตฺวา ตุมฺหากํ อุปชฺฌาโย มุสาวาทีติ กถยึสุ ฯ เต เอวํ อฺมฺ


กลหํ วฑฺฒยึสุ ฯ ตโต วินยธโร โอกาสํ ลภิตฺวา ธมฺมกถิกสฺส อาปตฺติยา อทสฺสเน
อุกฺเขปนียกมฺมํ อกาสิ ฯ ตโต ปฏาย เตสํ ปจฺจยทายกา อุปฏากาป เทฺว โกฏาสา
อเหสุ ฯ

~๑๒๗~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ปาฏิโมกข : ปาราชิก ๔
ฏเก ชก ๔

ต฀เม จเ ช ธ เสํ คจนิ ฯ

๏ เ ปน กุ กนํู  ช ว สปเ  กํ อปจข าย ทุ พ ล ํ


อก เมถุนํ ธมํ ปฏเสเวย อนม เ รนคยปิ ชเ เหา
อสํเ ฯ

๏ เ ปน กุ   อรา  อทินํ เถยสตํ ทิเยย ยรูเป


อทิ เน เ เรํ คเห หเนยุ  พเนยุ  ปพาเชยุ  เเ
พาเ มุเ เถเ ตรูปํ กุ อทินํ ทิยเ อยมิ ชเ เหา
อสํเ ฯ

๏ เ ปน กุ สิจ มนุสคหํ ช เเเปย สตหารกํ ส


ปริเยเสย มรณวณํ  สํวเณย มรณาย  สทเปย อเ ปุริส 
ตุยิมิ ปเกน ทุชเตน มตเน ช เสเย  จิตมเ จิตสงเป
อเนกปริเยน มรณวณํ  สํวเณย มรณาย  สทเปย อยมิ
ชเ เหา อสํเ ฯ

๏ เ ปน กุ อนนํ ตริ ม นุ ส ธมํ อตปยิ


ู กํ อลมริ ย ญาณ
ทสนํ สมุจเรย  มิ  ปสมี ตเ อปเรน สมเยน สมนุ
หิยเ  อสมนุหิยเ  ปเ สุเปเ วํ วเทย อน
เมวํ วุ เ อวจํ มิ อปสํ ปสมิ ตุ จํ มุ   ลปินิ อต อธิ 
อยมิ ชเ เหา อสํเ ฯ

~๑๒๘~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ธรรมนิยามสูตร
วเม สุตํ ฯ กํ สมยํ ภค ว฀ยํ หร เชตวเน อถปิณิกส
เม ฯ ตต เขา ภค กู มเน กเ ฯ ภทเน เต กู ภควเ
ปจเสสุ ฯ ภค ตทเจ ฯ
ป  กเ ว ตคนํ อนุ ป   ตคนํ ฐิ  ว  ตุ
ธมฏต ธมนิม สเพ ส อนิ ฯ ตํ ตคเ อสมชุ  อสเม
อสมชุ ิ อสเม จิก เทเส ปเป ปฏเป วร ภช นีก
เ สเพ ส อนิ ฯ
ป  กเ ว ตคนํ อนุ ป   ตคนํ ฐิ  ว  ตุ
ธมฏต ธมนิม สเพ ส อนิ ฯ ตํ ตคเ อสมุช อสเม
อสมชุ ิ อสเม จิก เทเส ปเป ปฏเป วร ภช นี
กเ สเพ ส อนิ ฯ
ป  กเ ว ตคนํ อนุ ป   ตคนํ ฐิ  ว  ตุ
ธมฏต ธมนิม สเพ ส ทุ ฯ ตํ ตคเ อสมุช อสเม
อสมชุ ิ อสเม จิก เทเส ปเป ปฏเป วร ภช นี
กเ สเพ ส ทุ ฯ
ป  กเ ว ตคนํ อนุ ป   ตคนํ ฐิ  ว  ตุ
ธมฏต ธมน
ิ ม สเพ ธ อน ฯ ตํ ตคเ อสมชุ  อสเม
อสมุชิ อสเม จิก เทเส ปเป ปฏเป หร ภช นี
กเ สเพ ธ อน ฯ อทมเ จ ภค อตม เต กู ภควเ ตํ
อนนนุ ิ ฯ

~๑๒๙~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ฝกอานจารึกอักษรขอมภาษาบาลี

~๑๓๐~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
แบบฝกอานพระไตรปฎกอักษรขอม
สุตนปิฏก ขุกนิย
ขุกฐ
--------------------
นเ ตส ภควเ อรหเ สสมุสฯ

๑ สรณคมณ
พุํ สรณํ คมิ
ธมํ สรณํ คมิ
สงํ สรณํ คมิ
ทุยมิ พุํ สรณํ คมิ
ทุยมิ ธมํ สรณํ คมิ
ทุยมิ สงํ สรณํ คมิ
ตยมิ พุํ สรณํ คมิ
ตยมิ ธมํ สรณํ คมิ
ตยมิ สงํ สรณํ คมิ
สรณคมนํ นิฏตํ ฯ

๒ ทสปท
๑ ณา เวรมณีปทํ สทิมิ
๒ อทิ  เวรมณีปทํ สทิมิ

~๑๓๑~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๓ อพหจริ เวรมณีปทํ สทิมิ
๔ มุ เวรมณีปทํ สทิมิ
๕ สุเมรยมชปท เวรมณีปทํ สทิมิ
๖ ลเช เวรมณีปทํ สทิมิ
๗ นจตทิตสูกทส เวรมณีปทํ สทิมิ
๘ คนเลปนรณมณนภูสน เวรมณีปทํ สทิมิ
๙ สยนมหาสย เวรมณีปทํ สทิมิ
๑๐ ตรูปรชตปฏคหณา เวรมณีปทํ สทิมิ
ทสปทํ นิฏตํ ฯ

๓ ฀ ร
อ฀ ม฀ เย
เก เ นขา ท ตเ
มํสํ รู อฏ อฏมิํ วกํ
หทยํ ยกนํ เมกํ ปิหกํ ปสํ
อนํ อนคุณํ อทริยํ กรีสํ
ปิตํ เสมํ ปุเพา เหิตํ เสเ เมเ
อสุ ว เขเ งณิ ล มุตํ มตเก มตลุงนิ ฯ
฀เ นิฏเ ฯ

~๑๓๒~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๔ มเณรปา
๑ กม  … สเพ ส หารฏ ฯ
๒ เ ม  … ม รูป ฯ
๓ ณิ ม  … เส เวท ฯ
๔ จริ ม  … จริ อริยสนิ ฯ
๕ ป ม  … ปุ นก ฯ
๖ ฉ ม  … ฉ อช฀นิ ยตนิ ฯ
๗ สต ม  … สต เพาช ฯ
๘ อฏ ม  … อริเ อฏงิเ มเ ฯ
๙ นว ม  … นว ส ฯ
๑๐ ทส ม  … ทสหเงหิ สมคเ “อรหา” วุจ ฯ
มเณรปา นิฏ ฯ

๕ มงลสุต
๑ วเม สุตํ กํ สมยํ ภค ว฀ยํ หร เชตวเน อถปิณ ิก ส
เม ฯ อถ เขา อต เทว อก ย ร฀ อกนวณา เกวลกปํ
เชตวนํ เส เยน ภค เตนุปสงมิ ฯ ปสงมิ ภควนํ อเท 
กมนํ อ ฯ กมนํ ฐิ เขา  เทว ภควนํ ย อช
๒ พหู เท มนุส จ มงนิ อจินยุ ฯ
กง เนํ พูหิ มงลมุตมํ ฯ
๓ อเสว จ พานํ ปณิน เสว
ปู จ ปูชนีนํ ตมงลมุตมํ ฯ
๔ ปฏรูปเทสเ จ ปูเพ จ กตปุ

~๑๓๓~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
อตสมฺาปณิธิ จ ตมงลมุตมํ ฯ
๕ พาหุสจ ป นเ จ สุ฀เ
สุ จ   ตมงลมุตมํ ฯ
๖ ปิตุ ปนํ ปุตรส สงเหา
อกุ จ กม ตมงลมุตมํ ฯ
๗ น ธมจริ จ ญาตน สงเหา
อนวนิ กนิ ตมงลมุตมํ ฯ
๘ ร ร  มช จ สเ
อปเ จ ธเมสุ ตมงลมุตมํ ฯ
๙ รเ จ นิเ จ สนฏฐี
ุ จ กต ุ
เลน ธมสวนํ ตมงลมุตมํ ฯ
๑๐ ขนี จ เวจส สมณาน ทสนํ
เลน ธมสก ตมงลมุตมํ ฯ
๑๑ ตเ จ พหจริย อริยสนทสนํ
นิพานสจิริ จ ตมงลมุตมํ ฯ
๑๒ ผุฏส เกธเมหิ จิตํ ยส น กม
อเกํ รชํ เขมํ ตมงลมุตมํ ฯ
๑๓ ทินิ กน สพตมปช
สพต เ฀ คจนิ ตเนสํ มงลมุตมนิ ฯ
มงลสุตํ นิฏตํ ฯ

~๑๓๔~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๖ รตนสุต
๑ นีธ ภูนิ สคนิ
ภุนิ  นิ ว อนลิเก
สเพว ภู สุม ภวนุ
อเปิ สกจ สุณนุ ตํ ฯ
๒ ต หิ ภู นิเมถ สเพ
เมตํ กเถ นุ ปย
ทิ จ รเ จ หรนิ เย พลึ
ต หิ เน รกถ อปม ฯ
๓ ยํ ิ ตํ ธ  หุรํ 
สเคสุ  ยํ รตนํ ปณีตํ
น เ สมํ อ฀ ตคเตน
ทมิ พุเ รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๔ ขยํ คํ อมตํ ปณีตํ
ยทช สกมุนี สหิเ
น เตน ธเมน สม฀ ิ
ทมิ ธเม รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๕ ยมุเสเ ปริวณยี สุจึ
สธินนริกหุ

~๑๓๕~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
สธิ เตน สเ น ช
ทมิ ธเม รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๖ เย ปุค อฏสตํ ปส
จริ นิ ยุนิ เหานิ
เต ท฀เณย สุคตส ว
เตสุ ทิ นิ มหปนิ
ทมิ สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๗ เย สุปยุ มน ทเฬน
นิมิเ เตมสนมิ
เต ป฀ป อมตํ วคย
ล มุ นิพ
ุ ภุ
ทมิ สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๘ ยถนขีเ ปฐ เ 
จตุพิ เต อสมกมิเ
ตถูปมํ สปุริสํ วมิ
เ อริยสนิ อเวจ ปส
ทมิ สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ

~๑๓๖~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๙ เย อริยสนิ วยนิ
คมีรปเน สุเทนิ
าปิ เต เหานิ ภุสปม
น เต ภวํ อฏมทิยนิ
ทมิ สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๑๐ สหาวส ทสนสมย
ตยสุ ธ ชหิ ภวนิ
สยทิฏ จิจิต
ลพตํ ปิ ยท฀ ิ ฯ
๑๑ จตูหเยหิ จ ปมุเ
ฉนิ อภเพา ตุ
ทมิ สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๑๒ าปิ เ กมํ กเ ปกํ
เยน ยุท เจต 
อภเพา เ ตส ปฏจย
อภพ ทิฏปทส วุ
ทมิ สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๑๓ วนปคุเม ย ผุสิตเค

~๑๓๗~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
นเส ปฐม฀ เม
ตถูปมํ ธมวรํ อเทสยิ
นิพานมึ ปรมํ หิย
ทมิ พุเ รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๑๔ วเ วร วรเ วหเ

อนุตเ ธมวรํ อเทสยิ
ทมิ พุเ รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๑๕ ขีณํ ปุณํ นวํ น฀ สมวํ
รตจิยเก ภว฀
เต ขีณพี อรุฬิฉ
นิพนิ ธี ยยมทีเ
ทมิ สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เตน สเจน สุว฀ เหาตุ ฯ
๑๖ นีธ ภูนิ สคนิ
ภุนิ  นิ ว อนลิเก
ตคตํ เทวมนุสปูชต
 ํ
พุํ นมสม สุว฀ เหาตุ ฯ
๑๗ นีธ ภูนิ สคนิ
ภุนิ  นิ ว อนลิเก

~๑๓๘~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ตคตํ เทวมนุสปูชต
 ํ
ธมํ นมสม สุว฀ เหาตุ ฯ
๑๘ นีธ ภูนิ สคนิ
ภุนิ  นิ ว อนลิเก
ตคตํ เทวมนุสปูชต
 ํ
สํฆํ นมสม สุว฀ เหาตุ ฯ
รตนสุตํ นิฏตํ ฯ

~๑๓๙~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
คําอานพระไตรปฎกอักษรขอม
สุตฺตนฺตปฏก ขุทฺทกนิกาย
ขุทฺทกปา
--------------------
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส.

๑. สรณคมน
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ.
ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ.
สํฆํ สรณํ คจฺฉามิ.
ทุติยมฺป พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ.
ทุติยมฺป ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ.
ทุติยมฺป สํฆํ สรณํ คจฺฉามิ.
ตติยมฺป พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ.
ตติยมฺป ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ.
ตติยมฺป สํฆํ สรณํ คจฺฉามิ.
สรณคมนํ นิฏิตํ.

๒. ทสสิกฺขาปท
๑. ปาณาติปาตา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.
๒. อทินฺนาทานา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.
๓. อพฺรหฺมจริยา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.
๔. มุสาวาทา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.
๕. สุราเมรยมชฺชปมาทฏานา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ
๖. วิกาลโภชนา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.
๗. นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.
๘. มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏานา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.
๙. อุจฺจาสยนมหาสยนา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.
๑๐. ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ.
ทสสิกฺขาปทํ นิฏิตํ.

~๑๔๐~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
๓. ทฺวตฺตึสาการ
อตฺถิ อิมสฺมึ กาเย
เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ,
มํสํ นฺหารู อฏิ อฏิมิฺชํ วกฺก,ํ
หทยํ ยกนํ กิโลมกํ ปหกํ ปปฺผาสํ,
อนฺตํ อนฺตคุณํ อุทริยํ กรีสํ,
ปตฺตํ เสมฺหํ ปุพฺโพ โลหิตํ เสโท เมโท,
อสฺสุ วสา เขโฬ สิงฺฆาณิกา ลสิกา มุตฺตํ มตฺถเก มตฺถลุงฺคนฺติ.
ทฺวตฺตึสากาโร นิฏิโต.

๔. สามเณรปฺหา
๑. เอกนฺนาม กึ ? … สพฺเพ สตฺตา อาหารฏิติกา.
๒. ทฺเว นาม กึ ? … นามฺจ รูปฺจ.
๓. ตีณิ นาม กึ ? … ติสฺโส เวทนา.
๔. จตฺตาริ นาม กึ ? … จตฺตาริ อริยสจฺจานิ.
๕. ปฺจ นาม กึ ? … ปฺจุปาทานกฺขนฺธา.
๖. ฉ นาม กึ ? … ฉ อชฺฌตฺติกานิ อายตนานิ.
๗. สตฺต นาม กึ ? … สตฺต โพชฺฌงฺคา.
๘. อฏ นาม กึ ? … อริโย อฏงฺคิโก มคฺโค.
๙. นว นาม กึ ? … นว สตฺตาวาสา.
๑๐. ทส นาม กึ ? … ทสหงฺเคหิ สมนฺนาคโต “อรหา”ติ วุจฺจตีต.ิ
สามเณรปฺหา นิฏิตา.

๕. มงฺคลสุตฺต
[๑] เอวมฺเม สุตํ:- เอกํ สมยํ ภควา สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปณฺฑิกสฺส อาราเม.
อถ โข อฺตรา เทวตา อภิกฺกนฺตาย รตฺติยา อภิกฺกนฺตวณฺณา เกวลกปฺป เชตวนํ โอภาเสตฺ
วา เยน ภควา, เตนุปสงฺกมิ; อุปสงฺกมิตฺวา ภควนฺตํ อภิวาเทตฺวา เอกมนฺตํ อฏาสิ.
เอกมนฺตํ ิตา โข สา เทวตา ภควนฺตํ คาถาย อชฺฌภาสิ :
[๒] พหู เทวา มนุสฺสา จ มงฺคลานิ อจินฺตยุ.
อากงฺขมานา โสตฺถานํ พฺรูหิ มงฺคลมุตฺตมํ.
[๓] อเสวนา จ พาลานํ ปณฺฑิตานฺจ เสวนา
ปูชา จ ปูชนียานํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ.

~๑๔๑~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
[๔] ปฏิรูปเทสวาโส จ ปุพฺเพ จ กตปุ ฺ ตา
อตฺตสมฺมาปณิธิ จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ.
[๕] พาหุสจฺจฺจ สิปฺปฺจ วินโย จ สุสิกฺขิโต
สุภาสิตา จ ยา วาจา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ.
[๖] มาตาปตุอุปฏานํ ปุตฺตทารสฺส สงฺคโห
อนากุลา จ กมฺมนฺตา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ.
[๗] ทานฺจ ธมฺมจริยา จ าตกานฺจ สงฺคโห
อนวชฺชานิ กมฺมานิ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ.
[๘] อารตี วิรตี ปาปา มชฺชปานา จ สฺโม
อปฺปมาโท จ ธมฺเมสุ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ.
[๙] คารโว จ นิวาโต จ สนฺตุฏี จ กตฺุตา
กาเลน ธมฺมสฺสวนํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ.
[๑๐] ขนฺตี จ โสวจสฺสตา สมณานฺจ ทสฺสนํ
กาเลน ธมฺมสากจฺฉา เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ.
[๑๑] ตโป จ พฺรหฺมจริยฺจ อริยสจฺจานทสฺสนํ
นิพฺพานสจฺฉิกิริยา จ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ.
[๑๒] ผุฏสฺส โลกธมฺเมหิ จิตฺตํ ยสฺส น กมฺปติ
อโสกํ วิรชํ เขมํ เอตมฺมงฺคลมุตฺตมํ.
[๑๓] เอตาทิสานิ กตฺวาน สพฺพตฺถมปราชิตา
สพฺพตฺถ โสตฺถึ คจฺฉนฺติ ตนฺเตสํ มงฺคลมุตฺตมนฺติ.
มงฺคลสุตฺตํ นิฏิตํ.

๖. รตนสุตฺต
[๑] ยานีธ ภูตานิ สมาคตานิ
ภุมฺมานิ วา ยานิ ว อนฺตลิกฺเข
สพฺเพว ภูตา สุมนา ภวนฺตุ
อโถป สกฺกจฺจ สุณนฺตุ ภาสิต.ํ
[๒] ตสฺมา หิ ภูตา นิสาเมถ สพฺเพ
เมตฺตํ กโรถ มานุสิยา ปชาย
ทิวา จ รตฺโต จ หรนฺติ เย พลึ
ตสฺมา หิ เน รกฺขถ อปฺปมตฺตา.

~๑๔๒~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
[๓] ยํ กิฺจิ วิตฺตํ อิธ วา หุรํ วา
สคฺเคสุ วา ยํ รตนํ ปณีตํ
น โน สมํ อตฺถิ ตถาคเตน
อิทมฺป พุทฺเธ รตนํ ปณีตํ
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๔] ขยํ วิราคํ อมตํ ปณีตํ
ยทชฺฌคา สกฺยมุนี สมาหิโต
น เตน ธมฺเมน สมตฺถิ กิฺจิ
อิทมฺป ธมฺเม รตนํ ปณีตํ
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๕] ยมฺพุทฺธเสฏโ ปริวณฺณยี สุจึ
สมาธิมานนฺตริกฺมาหุ
สมาธินา เตน สโม น วิชฺชติ
อิทมฺป ธมฺเม รตนํ ปณีตํ.
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๖] เย ปุคฺคลา อฏสตํ ปสฏา
จตฺตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนฺติ
เต ทกฺขิเณยฺยา สุคตสฺส สาวกา
เอเตสุ ทินฺนานิ มหปฺผลานิ
อิทมฺป สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๗] เย สุปฺปยุตฺตา มนสา ทเฬฺหน
นิกฺกามิโน โคตมสาสนมฺหิ
เต ปตฺติปตฺตา อมตํ วิคยฺห
ลทฺธา มุธา นิพฺพุตึ ภุฺชมานา
อิทมฺป สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๘] ยถินฺทขีโล ปวึ สิโต สิยา
จตุพฺภิ วาเตภิ อสมฺปกมฺปโย
ตถูปมํ สปฺปุริสํ วทามิ
โย อริยสจฺจานิ อเวจฺจ ปสฺสติ
อิทมฺป สํเฆ รตนํ ปณีตํ

~๑๔๓~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๙] เย อริยสจฺจานิ วิภาวยนฺติ
คมฺภีรปฺเน สุเทสิตานิ
กิฺจาป เต โหนฺติ ภุสปฺปมตฺตา
น เต ภวํ อฏมมาทิยนฺติ
อิทมฺป สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๑๐] สหาวสฺส ทสฺสนสมฺปทาย
ตยสฺสุ ธมฺมา ชหิตา ภวนฺติ
สกฺกายทิฏิ วิจิกิจฺฉิตฺจ
สีลพฺพตํ วาป ยทตฺถิ กิฺจิ.
[๑๑] จตูหปาเยหิ จ วิปฺปมุตฺโต
ฉจฺจาภิานานิ อภพฺโพ กาตุ
อิทมฺป สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๑๒] กิฺจาป โส กมฺมํ กโรติ ปาปกํ
กาเยน วาจายุท เจตสา วา
อภพฺโพ โส ตสฺส ปฏิจฺฉทาย
อภพฺพตา ทิฏปทสฺส วุตฺตา
อิทมฺป สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๑๓] วนปฺปคุมฺเพ ยถา ผุสฺสิตคฺเค
คิมฺหานมาเส ปมสฺมึ คิเมฺห
ตถูปมํ ธมฺมวรํ อเทสยิ
นิพฺพานคามึ ปรมํ หิตาย
อิทมฺป พุทฺเธ รตนํ ปณีตํ
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๑๔] วโร วรฺู วรโท วราหโร
อนุตฺตโร ธมฺมวรํ อเทสยิ
อิทมฺป พุทฺเธ รตนํ ปณีตํ
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.

~๑๔๔~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
[๑๕] ขีณํ ปุราณํ นวํ นตฺถิ สมฺภวํ
วิรตฺตจิตฺตายติเก ภวสฺมึ
เต ขีณพีชา อวิรุฬฺหิฉนฺทา
นิพฺพนฺติ ธีรา ยถายมฺปทีโป
อิทมฺป สํเฆ รตนํ ปณีตํ
เอเตน สจฺเจน สุวตฺถิ โหตุ.
[๑๖] ยานีธ ภูตานิ สมาคตานิ
ภุมฺมานิ วา ยานิ ว อนฺตลิกฺเข
ตถาคตํ เทวมนุสฺสปูชิตํ
พุทฺธํ นมสฺสาม สุวตฺถิ โหตุ.
[๑๗] ยานีธ ภูตานิ สมาคตานิ
ภุมฺมานิ วา ยานิ ว อนฺตลิกฺเข
ตถาคตํ เทวมนุสฺสปูชิตํ
ธมฺมํ นมสฺสาม สุวตฺถิ โหตุ.
[๑๘] ยานีธ ภูตานิ สมาคตานิ
ภุมฺมานิ วา ยานิ ว อนฺตลิกฺเข
ตถาคตํ เทวมนุสฺสปูชิตํ
สํฆํ นมสฺสาม สุวตฺถิ โหตูต.ิ
รตนสุตฺตํ นิฏิตํ.

~๑๔๕~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก

แบบฝกหัด บทที่ ๕

ตอนที่ ๑ : ปริวรรตอักษรขอมเปนอักษรไทย
คําสั่ง : จงปริวรรตขอความดานลางนี้ดวยอักษรไทย
วนํ เก ลิ ภค ธิมนุ มหา
ชเ กุนิ สธิ อรหํ หํสช อรหเ
ตุรค เวทคู ณี สต
ุ คจ คุณวณี
เถน สยมู ร฀ สมนุ สุณา นปาส
ทูต มนี พหนิ ปิตูสุ ฉพีส ปส
ธเน เม ครุเ ตูนํ อกํ กมนํ
 ขนิ มุนิส อ฀เ ส พุวจนํ

ตอนที่ ๒ : ฝกอานอักษรขอมภาษาบาลี
๑. พหุมิ เจ สหิตํ สเ มํ ธมเทสนํ ส เชตวเน วหรเ เ
สหายเก กู รพ กเถ ฯ

๒. เ เ นน ม ธเ จ นเ จ เทเ ปเ เ เ มมจเยน
ส ฯ

๓. ยเหํ ภนิ อริย  เ มิ สิจ ณํ ช


เเเป ฯ เตน สเจน เ฀ เต เหาตุ เ฀ คพส ฯ

~๑๔๖~
เอกสารประกอบการสอน
รายวิชา : อักษรจารึกในพระไตรปฎก
ตอนที่ ๓ : ปริวรรตอักษรไทยเปนอักษรขอม
คําสั่ง : จงปริวรรตขอความดานลางนี้ดวยอักษรขอม

ติโลกวิชยราชปตติทานคาถา
ยงฺกิฺจิ กุสลํ กมฺมํ กตฺตพฺพํ กิริยํ มม
กาเยน วาจามนสา ติทเส สุคตํ กตํ
เย สตฺตา สฺโน อตฺถิ เย จ สตฺตา อสฺโน
กตํ ปุฺผลํ มยฺหํ สพฺเพ ภาคี ภวนฺตุ เต
เย ตํ กตํ สุวิทิตํ ทินฺนํ ปุฺผลํ มยา
เย จ ตตฺถ น ชานนฺติ เทวา คนฺตฺวา นิเวทยุ
สพฺเพ โลกมฺหิ เย สตฺตา ชีวนฺตาหารเหตุกา
มนุฺํ โภชนํ สพฺเพ ลภนฺตุ มม เจตสาติ ฯ

ตอนที่ ๔ : ทบทวนการเขียนอักษรขอม
๑. จงเขียนพยัญชนะวรรคทั้งตัวเต็มและตัวเชิงมาใหครบ (เขียนดวยอักษรขอม)
๒. จงเขียนพยัญชนะเศษวรรคทั้งตัวเต็มและตัวเชิงมาใหครบ (เขียนดวยอักษรขอม)
๓. จงเขียนสระในภาษาบาลีทั้งสระจมและสระลอยมาใหครบ (เขียนดวยอักษรขอม)

~๑๔๗~

You might also like