Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

KUNZELSTAB PENETRATION TEST (KPT)

การทดสอบ KPT (Kunzelstab Penetration Test) เป็ นวิธีการหยัง่ ทดสอบชั้นดินในสนาม


โดยหลักการคือใช้ตมุ ้ ตอกน้ าหนัก กระแทกส่ งหัวเจาะรู ปกรวย (Cone Head) ผ่านชั้นดินลงไป
ซึ่ งแรงต้านการเคลื่อนที่ของหัวเจาะจะมีความสัมพันธ์ก ับคุณสมบัติของชั้นดิน และผลของการ
ทดสอบสามารถใช้ประมาณค่ากาลัง ความหนาของชั้นดิน และสามารถระบุได้ว่าเป็ นชั้นดิน
อ่อน หรื อชั้นดินแข็งได้ ซึ่ งวิธีน้ ีสามารถทาการทดสอบได้เกือบทุกพื้นที่ และได้ผลทดสอบ
ในทันที
หัวเจาะนารู ปกรวย (Cone Head) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25.2 มม. มีมุมปลายที่ 60
องศา

หัวเจาะนา
(Cone Head)

- แท่งเหล็กบอกระดับหรื อก ้านเจาะ (Rod) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มม.

แท่ งเหล็กบอกระดับ
หรือก้านเจาะ (Rod)
- ตุม้ ตอกน้ าหนัก (10 กิโลกรัม) มีระยะยก 50 เซนติเมตร ทาการทดสอบโดยการนับ
จานวนครั้งของการตอกทุกระยะ 20 เซนติเมตร

ตุ้มตอกน้ำหนักเหล็ก

- ก ้านเหล็กนา (Guide Rod) สาหรับควบคุมการเคลื่อนที่ของตุม้ ตอกน้ าหนักเหล็ก


โดยทาเครื่ องหมายไว้ที่ระยะ 67 เซนติเมตร เพื่อให้ได้ระยะยกที่ 50 เซนติเมตร

ก้ ำนเหล็กนำ
(Guide Rod)

- ทัง่ เหล็ก / ทัง่ รองตอก (ANVIL)

ทั่งเหล็ก / ทั่งรองตอก
- แท่นระดับ หรื อแผ่นเหล็กรองพื้นปรับระดับ (BASE PLATE)

แท่ นระดับ

- แท่นถอน เพื่อใช้ในการถอนแท่งเหล็กบอกระดับใต้พ้นื ดินที่ทาการทดสอบ

แท่ นถอน

- ก ้านถอนหรื อ Raw Bar ใช้สวมแขนแท่นถอน


ชุ ด KUNZELSTAB PENETRATION TEST

ก้านเหล็กนา

ตุม้ ตอกน้ าหนักเหล็ก 10 กก.


ก้านจับยกตุม้ ตอกน้ าหนัก

ทัง่ เหล็ก / ทัง่ รองตอก ก้านจับประคองทัง่ เหล็ก

ความยาว 1 เมตร
มีขีดบอกระดับ แท่งเหล็กบอกระดับ

ช่องละ 10 เซนติเมตร

แท่นระดับ /
แผ่นเหล็กรองระดับ หัวเจาะนา (CONE HEAD)
ขั้นตอนการประกอบเครื่องมือทดสอบ KPT
1. ยึดหัวเจาะนา (CONE HEAD) ให้ติดก ับปลายของแท่งเหล็กบอกระดับท่อนแรกที่จะใช้
ทดสอบ โดยการหมุนเกลียวด้วยเครื่ องมือหมุนยึดให้แน่น

2. นาทัง่ เหล็กมายึดก ับปลายด้านบนของแท่งเหล็กบอกระดับให้แน่น แล้วนาตุม้ น้ าหนักมา


วางบนทัง่ เหล็ก จากนั้นเอาก ้านเหล็กนามาสอดผ่านรู ของตุม้ ตอกน้ าหนักเหล็ก แล้วหมุน
ยึดก ับทัง่ เหล็กให้แน่น โดยวางแผ่นระดับไว้ตรงตาแหน่งที่ตอ้ งการ เพื่อทาการทดสอบ
3. การต่อแท่งเหล็กบอกระดับ เมื่อเหล็กชิ้นแรกถูกตอกจมลงไปจนถึงขีดบอกระดับขีด
สุ ดท้าย ให้หยุดการตอก แล้วถอดชุดทัง่ เหล็ก และตุม้ ตอกน้ าหนักเหล็กออก โดยการ
หมุนก ้านเหล็กนาออกจากทัง่ เหล็ก แล้วยกตุม้ ตอกน้ าหนักเหล็กลงจากทัง่ เหล็ก จากนั้น
หมุนทัง่ เหล็กออกจากเหล็กบอกระดับ แล้วนาแท่งเหล็กบอกระดับชิ้นต่อไปมาต่อก ับ
แท่งเหล็กบอกระดับชิ้นแรก โดยการหมุนยึดเกลียวให้แน่นด้วยเครื่ องมือ แล้วประกอบ
เข้าเหมือนก ับขั้นตอนที่การประกอบเครื่ องมือทดสอบข้อที่ 2 ทาเช่นนี้ไปจนครบจานวน
แท่งเหล็กบอกระดับชิ้นที่ 3 , 4, 5 และ 6 ชิ้นแล้วแต่กรณี

ตัวอย่ ำงกำรต่ อแท่ งเหล็กบอกระดับ


ขั้นตอนการทดสอบ KPT
จับก ้านจับประคองทัง่ เหล็กให้อยูใ่ นแนวดิ่ง แล้วยกตุม้ ตอกน้ าหนักเหล็กให้ส่วนบน
ของตุม้ ตอกน้ าหนักเหล็กขึ้นไปชนก ับก ้านเหล็กนา แล้วปล่อยลงอย่างอิสระ ทาเช่นนี้ไปเรื่ อยๆ
จนขีดแท่งเหล็กบอกระดับจมลงที่ 20 เซนติเมตร แล้วจดบันทึกผลการตอก
ซึ่ งได้จากการนับจานวนครั้งในการตอกในช่วง 20 เซนติเมตรหรื อ 2 ขีดของแท่งเหล็ก
บอกระดับ ทาในลักษณะเดียวก ันจนถึงขีดสุ ดท้ายของแท่งบอกระดับ และนาข้อมูลทีจ่ ดบันทึก
ได้ไปประมวลผลทางด้านวิศวกรรม

บันทึกผลจานวนครั้ง
ในการตอก

แท่งเหล็กระดับที่ 1

แท่งเหล็กระดับที่ 2

แท่งเหล็กระดับที่ 3
ตัวอย่างการทดสอบ KPT ในแต่ละจุดงานที่ติดตั้ง
ขั้นตอนการเก็บกู้อุปกรณ์
1. เมื่อเสร็จสิ้นการทดสอบให้ถอดก ้านเหล็กนาออกจากทัง่ เหล็ก แล้วยกตุ่มตอกน้ าหนัก
เหล็กลงจากทัง่ เหล็ก จากนั้นหมุนทัง่ เหล็กออกจากแท่งเหล็กบอกระดับ

1.1 หมุนออกจากทัง่ เหล็ก

1.2 ยกตุ่มตอกน้ าหนักเหล็กออก


1.3 หมุนทัง่ เหล็กออกจาก
แท่งเหล็กบอกระดับ
เมื่อถอดอุปกรณ์ส่วนบนออกหมดจะเหลือแท่งเหล็กบอกระดับยังอยูใ่ ต้พ้นื ดิน

2. นาแท่นถอนมาสวมก ับแท่งเหล็กบอกระดับ โดยการสลับหน้าของบล็อคถอนให้คว่าลง


แล้วกดบล็อคถอนลงให้แท่งเหล็กบอกระดับโพล่ข้ นึ มาเหนือบล็อคถอนประมาณ 5–10
เซนติเมตร
3. จากนั้นนาก ้านถอนหรื อ Raw Bar สวมเข้าที่แขนถอน ค่อยๆงัดขึ้นลงจนกว่าแท่งเหล็กบอก
ระดับจะโพล่ข้ นึ จากใต้ดินครบทุกแท่ง
ข้ อควรระวังในการหยัง่ ทดสอบด้วยวิธี KUNZELSTAB PENETRATION TEST
1. ความลึกของการทดสอบที่เหมาะสม 6.0 – 8.0 เมตร และควรทาการเก็บตัวอย่างดินด้วย
HAND AUGER ทุกครั้งที่มีการทดสอบ (ถ้าต้องการทดสอบที่ลึกกว่านี้ควรเปลี่ยนวิธีการ
ทดสอบ)
2. พื้นที่การทดสอบใกล้ก ันไม่จาเป็ นต้องมีค่า NKPT เท่าก ัน เนื่องจากปัจจัยทางด้านรู ปร่ าง
รู ปทรง และของเม็ดดินเม็ดทราย
3. ค่าการทดสอบ NKPT ที่เท่าก ัน ไม่ได้บ่งบอกถึงลักษณะของชั้นดินประเภทเดียวก ัน
4. การทดสอบในชั้นทราย อิทธิพลของแรงเสี ยดทานรอบก ้านเหล็กไม่ได้มีนยั สาคัญมาก
นักเมื่อเทียบก ับการทดสอบในชั้นดินเหนียวที่มีผลเพิ่มขึ้นตามความลึก
5. พึงระลึกอยูเ่ สมอว่าค่า NKPT ที่ได้จากการทดสอบชั้นดินนั้น อาจจะมีค่าสู งกว่าค่าปกติ
เพราะฉะนั้นการนาค่าไปใช้งาน อาจจะต้องเพิ่มค่าอัตราส่ วนความปลอดภัยให้มากขึ้น
6. การหยัง่ ทดสอบแต่ละครั้ง ควรทดสอบให้เสร็จทันที ไม่ควรปล่อยทิง้ ไว้นานเกินไปแล้ว
จึงมาตอกทดสอบ

เปรียบเทียบข้ อดี และข้ อเสียในการทดสอบด้วยวิธี KUNZELSTAB


ข้อดี ข้อเสี ย
1. น้ าหนักเบา เคลื่อนย้ายสะดวก 1. ทดสอบได้ไม่ลึกนัก
2. สามารถทดสอบได้ทนั ที 2. ไม่สามารถจาแนกชั้นดินได้
3. ใช้แรงงานคนน้อย 3. ผลการทดสอบที่ได้ควรใช้อย่าง
4. วิธีการง่าย และอุปกรณ์ทดสอบไม่ ยงุ่ ยากซับซ้อน ระมัดระวัง
5. ค่าใช้จ่ายถูก เมื่อเทียบก ับการทดสอบด้วยวิธีอื่น 4. การแปรผลในชั้นดินเหนียวอาจ
6. ค่าที่ได้สามารถนาไปใช้งานได้ทนั ที ไม่ตอ้ งรอ มีขอ้ ผิดพลาด
ผลจากห้องปฏิบตั ิการ

You might also like