History I Week 12 (สัปดาห์สุดท้าย)

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 40

History I

Week 12 (สัปดาห์สุดท้าย)
SECULAR SONG IN GERMANY, SPAIN,
AND ENGLAND
Germany

• เพลงนอกวัดที่สาคัญสุดของเยอรมันในช่วงศต.16
คือ Lied (Song) and Tenorlied (Tenor Song)
• แต่งในรูปแบบ bar form (AAB)
• แต่งสาหรับคนร้องเท่านั้น ไม่มีเครื่องดนตรีเล่น
ประกอบ
Spain
• เพลงนอกวัดหลักในสเปนคือ villancico
• ทานองหลักจะอยู่แนวบนสุดเสมอ
England: English madrigal
• เพลง madrigal ของอังกฤษมีต้นแบบจาก
madrigal ของอิตาลี และใช้เทคนิค word painting
• English madrigal มีเนื้อหาที่รื่นเริงกว่า มีท่อนร้อง
“fa la la” และมีลักษณะคล้ายเพลงเต้นรา
England: Lute Song

• เป็น madrigal แบบ strophic สาหรับลูท และนักร้อง ซึ่ง


แนวร้องจะมีหนึ่งแนวหรือมากกว่าก็ได้
• ทานองจะอยู่ในแนวบนสุด
Sacred Vocal Music
in 16th Century
ในศต.16 มีดนตรีในวัดที่สาคัญอยู่ 2 ประเภทคือ
Music of the Reformation (ดนตรีสาหรับการปฏิรูป)
และ Music of the Counter-Reformation
(ดนตรีที่ตอบโต้การปฏิรูป)
The Reformation
การปฏิรูป
• คือการก่อกบฎทางศาสนาเพื่อต่อต้านอานาจของโบสถ์
คาทอลิก
• การปฏิรูปเริ่มขึ้นในประเทศเยอรมัน เมื่อมาติน ลูเธอร์ตอก
กระดาษ list ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับข้อปฎิบัตขิ องโบสถ์ บน
ประตูของโบสถ์ในเมือง Wittenberg ในปี 1517
• การเคลื่อนไหวนี้ได้ก่อให้เกิดการปฎิรูปทางศาสนาทั่วทั้งทวีป
ยุโรปตอนเหนือ
Martin Luther เป็นนักร้อง
นักดนตรีที่สามารถเล่น Flute
และ Lute และเป็นนักประพันธ์
เขาชื่นชมผลงานของ Josquin
des Prez
MUSIC OF THE REFORMATION
(ดนตรีสำหรับปฏิรูปทำงศำสนำ = นิกำยโปรเตสแตนท์)
Germany-The Lutheran Church
• มาติน ลูเธอร์ ตระหนักถึงพลังของดนตรี ว่าสามารถกระจาย
ความศรัทธาในนิกายโปรเตสแตนท์ได้ ดังนั้นดนตรีจึงมี
บทบาทสาคัญในโบสถ์ลูเทอแรน
• นิกายโปรเตสแตนท์เพิ่มการใช้ภาษาพื้นเมืองในพิธีกรรมทาง
ศาสนา เพื่อให้ผู้เข้าร่วมเข้าใจพิธีกรรมได้มากขึ้น
• ทางด้านดนตรี ยังใช้ดนตรีแบบนิกายคาทอลิกเหมือนเดิมทั้ง
บทสวดแนวเดียว (Chant) และบทเพลงหลายแนว
(Polyphony) แต่แปลคาร้องจากภาษาละตินเป็น
ภาษาเยอรมัน หรือแต่งคาร้องใหม่ในภาษาเยอรมัน
Germany-The Lutheran Church

• นักประพันธ์เพลงศาสนาของนิกายโปรเตสแตนท์ยังคงแต่ง
เพลงMass และ Motet อยู่ แต่ไม่จากัดว่าต้องมีคาร้องเป็น
ภาษาละตินเท่านั้น
• ลูเธอร์ต้องการให้ทุกคนร้องเพลงสวดด้วยกันในพิธี เพราะเขา
เชื่อว่าการที่ได้ร้องเพลงสวดพร้อมกันจะทาให้เกิดความ
ศรัทธาและเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในการสรรเสริญพระเจ้า
• ดนตรีประเภทที่สาคัญที่สดุ ในโบสถ์ลูเทอแรนคือ Chorale
(คอรัล)
Chorale

• คล้ายกับ plainchant คือตอนเริ่มแรกจะใช้บทกลอนที่ร้องซ้าๆ


และทานองที่มีจังหวะเรียบง่าย โดยร้องเป็น unison
• หลังจากนั้นพัฒนาเป็นการร้อง 4 แนว
• มีลักษณะจังหวะที่ชัดเจน โดยดูจากความสั้นและยาวของตัวโน้ต
• ที่มาของ chorale มี 4 แหล่ง 1. ดัดแปลงมาจากเพลงสวด
Gregorian chant 2. เอามาจากเพลงร้องภาษาเยอรมันที่
เกี่ยวกับศาสนา 3 เพลงนอกวัด 4. แต่งขึ้นมาใหม่
Luther’s chorale Nun komm, der Heiden Heiland
Luther’s Ein’feste Burg
The best known tune for chorale
Johann Walter’s Ein’feste Burg
Example of chorale in polyphonic setting

Like a Tenorlied, with the main melody in the tenor and three other voices move at a fast speed
England
การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ
• การปฏิรูปทางศาสนานาโดยกษัตริย์ Henry VIII ของอังกฤษ
• สาเหตุมาจาก กษัตริย์ Henry VIII ต้องการจะหย่ากับ Catherine
of Aragon เพราะไม่สามารถให้กาเนิดลูกชายได้ แต่พระสันตปาปา
ปฏิเสธคาขอหย่า
• กษัตริย์ Henry VIII จึงประกาศแยกโบสถ์ของอังกฤษออกจากการ
ปกครองของกรุงโรมในปี 1527 ตั้งเป็นนิกาย Church of England
Henry VIII
England
การปฏิรูปศาสนาในอังกฤษ
• มีการตีพิมพ์หนังสือบทสวดเล่มแรกในปี 1549 ชื่อ Book of
Common Prayer ซึ่งเริ่มใช้ภาษาอังกฤษมาแทนที่ภาษาละตินใน
พิธกี รรม
• พิธีกรรมการรับศีลยังคงใช้รูปแบบของ Mass
• นักประพันธ์/นักดนตรียังใช้เพลง Mass และ motet ที่มีอยูแ่ ล้ว
เพียงแต่เปลี่ยนคาร้องเป็นภาษาอังกฤษ
• ภายหลังนักประพันธ์ได้เริ่มแต่ง motet ในภาษาอังกฤษ บท
ประพันธ์ประเภทนี้เรียกว่า anthems
Anthems

• มี 2 รูปแบบ: full และ verse anthem


• The full anthem จะให้วงคอรัสร้องตั้งแต่เริ่มจนจบเพลง
• ส่วน The verse anthem จะสลับกันร้องระหว่างท่อนสาหรับวง
คอรัสกับท่อนสาหรับนักร้องเดี่ยวร้องกับเครื่องดนตรีประกอบ
• นักประพันธ์ Anthems ที่สาคัญของยุคศต.16 คือ Thomas Tallis
(ca. 1505-1585) และ William Byrd (1542-1623)
ตัวอย่าง Anthems

• ตัวอย่าง Full Anthems


• Tallis: Verily Verily I say Unto You
เป็น full anthem ในยุคเริ่มแรก ใช้พื้นผิวแบบ chord
เกือบทั้งเพลง
• ตัวอย่าง Full Anthems ของช่วงปลายศต.16
• Byrd: Sing Joyfully Unto God –
เป็น Texture ที่ใช้เสียงร้อง 6 เสียง (เป็นลักษณะที่พบเห็นเป็นปกติ
ในปลายศต. 16) และใช้ Form Through-Composed
THE COUNTER-REFORMATION
(กำรตอบโต้กำรปฏิรูปทำงศำสนำ)
The Counter-Reformation

• หลังจากที่ศาสนจักรได้คว่าบาตรลูเธอร์ไปในปี 1521 ในข้อหาเป็น


ปฎิปักษ์ทางด้านศาสนา ทางศาสนจักรโรมันคาทอลิกได้เริ่มมี
ความคิดว่าจะตอบโต้กับการปฎิรูปศาสนาอย่างไรดี
• Pope Paul III ได้จัดการประชุมเพื่อพิจารณาหาวิธีการรับมือกับ
การปฎิรูปศาสนา โดยเริ่มประมาณปี 1540 ในช่วงที่นิกายโปรเตส
แตนท์ก่อตัง้ อย่างมั่นคงแล้ว
• การประชุมพิเศษนี้เรียกว่า The Council of Trent จัดการประชุม
กันที่เมือง Trent ทางตอนเหนือของอิตาลี ตั้งแต่ปี 1545 -1563
• ผลของการประชุมกันของ The Council of Trent ทาให้มีการ
สังคายนาศาสนานิกายคาทอลิกทั้งด้านพิธกี รรม กฎระเบียบต่างๆ
ที่เป็นต้นตอของปัญหาที่ทาให้เกิดการประท้วงขึ้น (ปัญหาใหญ่คือ
การใช้อานาจในทางที่ผิดของศาสนจักร และความหย่อนยานใน
กฎระเบียบ)
MUSIC OF THE COUNTER-REFORMATION
(ดนตรีสำหรับตอบโต้กำรปฏิรูปทำงศำสนำ = นิกำยโรมันแคทอลิก)
Music of the Counter-Reformation

• การประชุมลงมติให้เลิกใช้ Sequences และ Tropes


• คาร้องของดนตรีศาสนาจะต้องชัดเจนและเข้าใจได้
• ไม่ควรใช้ทานองของเพลงนอกวัด หรือเพลงฆารวาสมาแต่งเพลง
แมส เพราะเหมือนเป็นการดูหมิ่นศาสนา
• ควบคุมการแต่งเพลงศาสนาแบบ polyphony เนื่องจากทาให้ผู้ฟัง
ไม่เข้าใจคาร้อง
Music of the Counter-Reformation

• ดนตรี polyphony ในโบสถ์ จะมีได้ก็ต่อเมื่อคาร้องชัดเจนและเข้าใจ


ได้เท่านั้น ถ้าไม่เช่นนั้นต้องกลับไปใช้ plainchant ที่เป็น
monophony
• ตัวอย่าง Palestrina: Missa Papae Marcelli
Mass แบบ 6 เสียงที่มีคาร้องชัดเจน เพราะแต่งแบบ Syllabic
Style และให้ Texture แบบ Chord
นักประพันธ์ชาวอิตาลีแถวหน้าในศต. 16
มีชื่อเสียงในการแต่งเพลงในวัด (masses
and motet)
ดนตรีของ Palestrina กลายเป็นต้นแบบ
ของดนตรีในโบสถ์ในศตวรรษต่อๆ มา
แต่งเพลง Mass ไว้ 104 เพลง (4-8 แนว)
และแต่ง Motet 375 เพลง

Giovanni Pierluigi da Palestrina


(1525/1526-1594)
Palestrina musical style
สไตล์ทางดนตรีของ Palestrina
• ทุกแนวเสียงมีความสาคัญเท่าเทียมกัน
• จังหวะเคลื่อนที่อย่างลื่นไหล
• ควบคุมการใช้เสียง dissonance อย่างระมัดระวัง
• เขียนเพลงในแต่ละแนวได้ไม่มีจุดบกพร่อง
Instrumental Music
บทประพันธ์สาหรับเครื่องดนตรี
แบ่งเป็น 4 ประเภท

• Intabulations
• Variations
• Freely composed works and not followed
vocal model งานที่แต่งอย่างอิสระ และไม่ได้สร้างขึ้น
จากเพลงร้อง
• Dance music
INTABULATIONS
Intabulations
• การปรับแต่งเพลงร้องที่มีอยู่แล้วให้สามารถนามาเล่นกับเครื่องสายประเภท
ดีดหรือคีย์บอร์ดได้
• เครื่องดีดได้แก่ lute, guitar, vihuela
• เครื่องคีย์บอร์ดได้แก่ clavichord, organ, harpsichord
• Frottole intabulate da sonare organi เป็นโน้ตสาหรับเครื่องดนตรีที่
ตีพิมพ์เป็นครั้งแรก ปี 1517 ประกอบด้วยเพลง frottole ที่ดัดแปลงสาหรับ
คีย์บอร์ด
VARIATIONS
Variations
• มี 2 ท่อนขึ้นไป โดยแต่งขึ้นจากไอเดียทางดนตรีเดียวกันแต่แต่งโดยใช้
เทคนิคที่ต่างกัน

• Variations ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการส่วนใหญ่จะมี 2 ท่อน โดยที่ท่อนที่ 2


จะมีทานองเหมือนกันท่อนแรกแต่จะแตกต่างกันที่ความเร็ว และอัตรา
จังหวะ

• ตัวอย่าง Antonio de Cabezon: Diferencias sobre el canto de la


Dama le demanda
(“Variations on the Song “The Lady Demands It”)
FREELY COMPOSED WORKS
งานที่แต่งอย่างอิสระ
ประเภทที่สาคัญได้แก่: ricercar, fantasia, toccata, canzone,
and prelude
Ricercar
• แปลว่าการค้นหา
• บทประพันธ์อิสระไม่มรี ูปแบบที่ตายตัว เพื่อค้นหา thematic idea
หรือ mode
• ใช้เทคนิค improvisation
• ตัวอย่าง Spinacino: Ricercar from collection Intabolatura
de lauto (“Lute Intabulations”) (1507)
• ในช่วงหลัง ricercar พัฒนาจนมีรูปแบบที่ใช้เทคนิค imitation
มากขึ้น
• ตัวอย่าง Gabrielli: Ricercar del duodecimo tuono (1589)
Toccata
• แปลว่าการกด การสัมผัส
• เป็นบทประพันธ์อิสระ แบ่งเป็น section อย่างชัดเจน
• ประกอบด้วยประโยคเพลงที่เคลือ่ นทีอ่ ย่างรวดเร็ว
• แต่งสาหรับ keyboard
• นักประพันธ์ toccata ที่สาคัญ: Claudio Merulo
Fantasia

• เป็นบทประพันธ์ที่แต่งขึ้นโดยอยู่ในกรอบความคิดเดียวกันกับ
toccata
• เป็นบทประพันธ์อิสระ และ ใช้เทคนิค improvisation ในการ
นาเสนอความคิดทางดนตรี
DANCE MUSIC
Dance types
ประเภทของดนตรีเต้นรา
• Pavane: เพลงเต้นราที่สง่างามและมีจังหวะช้า อยู่ในอัตราจังหวะ 2 และใช้
binary form
ตัวอย่าง Byrd: Pavana, the earle of Salisbury
• Bourree: เพลงเต้นราที่สนุกสนาน อยู่ในอัตราจังหวะ 2 และมี upbeat ที่
เด่นชัดในตอนขึ้นต้นของแต่ละ section
ตัวอย่าง Praetorius: Dances from Tersichore
• Galliarde: เพลงเต้นราที่รื่นเริง ว่องไว มีก้าวที่กว้าง
• Rondo: เพลงเต้นราโดยที่เต้นกันเป็นวงกลมขนาดใหญ่และมีจังหวะสนุกสนาน

You might also like