Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 255

กระโจมไฟ

หนังสื อสอนการวิเคราะห์ ห้ ุนด้ วยกราฟ


จาก

แมงเม่าสาราญ ณัฐวัฒน์ อ้นรัตน์ 1


การวิเคราะหุ้นก็มี 3 แบบ

1. การวิเคราะห์ทางเทคนิค (Technical Analysis)

2. การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน (Fundamental Analysis)

3. การวิเคราะห์เชิงปริ มาณ (Quantitative Analysis)

2
การวิเคราะห์ ทางเทคนิค (Technical Analysis)
อยากจะถือยาวขึน้ ต้ องรู้เรื่องการวิเคราะห์ แนวโน้ ม trends

ต่ อด้ วยการรู้จกั Price Pattern เพือ่ เข้ าใจในจุดที่ตวั เองยืนอยู่ จะพูดเรื่องการปรับฐาน

เส้ นค่าเฉลีย่ และ Volume Analysis

Candle Sticks จุดแห่ งการเริ่ มต้นซื้ อและขาย จะเล่นแบบไหนก็ตาม

ต่ อด้ วยการเรียน ตัวเลข Fibbonanci เพือ่ สามารถคานวณหาเป้ าหมายขาย

ต่ อด้ วยการรู้ จัก Elliots wave เพื่อคุมแนวโน้มใหญ่เอาไว้ จะได้ไม่หลงทาง

ต่ อด้ วยการรู้ จัก Indicators เนื่องจากการตัดสิ นใจซื้ อเกิดขึ้นไปแล้ว ตรง


Candlestick เราใช้เพื่อตรวจสอบดูวา่ ยังใช่เหมือนที่เราคิดอยูห่ รื อไม่ 3
จุดอ่ อนด้ อยทีส่ ุ ดของการวิเคราะห์ ทางเทคนิค

หากนานักวิเคราะห์ทางเทคนิค 2 คน มาเล่าเรื่ องจากกราฟภาพเดียวกัน อาจจะเล่าที่


แตกต่างกัน 2 เรื่ องก็ได้ เพราะการมองที่ต่างกัน มีประสบการณ์มาจากสิ่ งที่ตนเองรู ้
และความมีอคติต่อตลาด และต่อตัวหุ น้ นั้นๆ เข้ามามีอิทธิ พลต่อการเลือกรู ปภาพ
ในอนาคต ของหุ น้ ตัวนั้นๆ ทายังไง ไม่ให้มีอคติ คิดเอาเอง
4
• นักลงทุนทีม่ คี วามรู้ทาง Technical เต็มหัว แต่ เอาตัวไม่ รอดมี
เยอะ เท่ าทีพ่ บเจอมาจากสาเหตุประมาณนี้ :

1. กลัวและโลภเกินไป ทาให้ อารมณ์ อยู่เหนือ แผนการลงทุนทีว่ างไว้


2. ดูกราฟราคาบ่ อยเกินไป จนไขว้ เขว ไม่ รู้จะเอาไงแน่
3. รู้จักเครื่องมือมีเต็มไปหมด แต่ ไม่ แตกฉาน สุ ดท้ ายก็งง เพราะ
เครื่องมือแต่ ละตัวขัดแย้งกันเอง
4. มีข้อต่ อรองกับตนเองอยู่เสมอ โดยเฉพาะตอนทีร่ าคาผันผวน
5. มีข้อมูลอืน่ นอกจากการฟเข้ ามาเกีย่ วข้ อง ทาให้ ไม่ แน่ ใจ
6. มั่นใจตัวเองมากเกินไป คิดว่ า เก่งกว่ า Mr.Market
การแพ้ตลาด เป็ นเรื่องปรกตินะครับ เพียงแต่ ว่า ห้ ามตาย เก่งทีส่ ุ ด คือ การ
บาดเจ็บเล็กน้ อย แล้วหายกลับมาเร็ว ทันเกมต่ อไป 5
Timeframe คือ เวลาที่ใช้ในการวิเตราะห์
• ผมแบ่งหุ น้ ออกเป็ น 5 กลุ่ม A B C D F จะเป็ นพื้นฐานสาคัญ ในการเรี ยน
วิเคราะห์หุน้ ด้วยกราฟในวันนี้
• กลุ่มหุ น้ พวกนี้ ใช้กลยุทธ์การเล่นที่ไม่เหมือนกันแล้ว ใช้หลักการวิเคราะห์กราฟ
ราคาที่ไม่เหมือนกันอีกด้วย ระยะเวลา หรื อ Timeframe ก็ไม่เท่ากัน
• ชุด A ใช้กราฟราคา ในรู ปแบบ Candlesticks ผมใช้เวลาในการดู 1-3
เดือนก็พอ
• ชุด B C ใช้กราฟราคา ในรู ปแบบ Candlesticks หรื อ Bar charts
ก็ได้ ส่ วนเวลาก็ประมาณ 1-2 ปี และ 3-6 เดือน
• ชุด D F ใช้กราฟราคา ในรู ปแบบ Candlesticks หรื อ Bar charts
ก็ได้ ส่ วนเวลาก็ใช้หลายช่วง ประมาณ 1-2 ปี กับ 3-6 เดือน ระดับ 15 นาที
60 นาที และระดับ 10 ปี
6
ทบทวน

• หุน้ ชุด A คือ หุน้ ที่ดีที่สุดของประเทศ


• หุน้ ชุด B คือ หุน้ ที่ดีที่สุดของกลุ่มอุตสาหกรรมแต่ละประเภท
• หุน้ ชุด C คือ หุน้ ที่ดี แต่ไม่ได้เป็ นอันดับหนึ่ง แต่กเ็ ป็ นเบอร์ 2 เบอร์
3 ของกลุ่มอุตสาหกรรมแต่ละประเภท มีศกั ยภาพจะพร้อมเป็ น B ได้
• หุน้ ชุด D คือ หุน้ ที่เล็กลงไปในกลุ่มอุตสาหกรรมนั้นๆ บางไตรมาสจะ
ขาดทุน บางไตรมาสมีกาไร เงินปันผลมีบา้ ง ไม่มีบา้ ง
• หุน้ ชุด F คือ หุน้ ที่ขาดทุนทุกปี เรี ยกว่า ใกล้จะเจ๊งก็ได้
• ทาไมไม่มี E
• ดูจากรู ปกราฟก็พอรู ้วา่ เป็ นหุน้ ชุด A B C D หรื อ F 7
หุน้ ชุด A
• Timeframe เป็ นไปตาม Fundflow เงินเข้าก็เล่นได้ เงินออกก็ตอ้ งเลิก
เล่น
• ปั ญหาต่อไปที่เราต้องรู ้ คือ เม็ดเงินที่เราเรี ยกว่า Fundflow เข้าหุน้ ตัวไหน
• NVDR ของหุน้ ชุด A เคลื่อนไหวอย่างไร
• NET buy/sell ของตลาดหุ น้ ต่างประเทศย่านเอเชีย
• ตัวนา ตัวตาม ตัวโดนทุบ ต้องดูให้เป็ น
• ตามบทวิเคราะห์โบรกต่างประเทศ ว่าเขา ขยับเป้ าหมายตัวไหน
• MSCI Index เอาหุน้ ตัวไหนเข้า ตัวไหนออก

8
เริ่ มที่หุน้ ชุด A
• BBL SCB KBANK
• PTTGC SCC
• BANPU (อยูช่ ุด B แล้ว)
• PTT PTTEP TOP
• ADVANC

• จังหวะซื้อ ซื้อ โดยเฉพาะช่ วงที่ราคาหุ้นโดนทุบแรงๆ เพือ่ การเล่ นรอบใหญ่ ๆ ควร


จะแบ่ งไม้ ทดสอบ 20% หรือ 5 ไม้
• ซื้อเพือ่ เก็งกาไร ก็ให้ เล่นตัวนาตลาด
• ส่ วนจังหวะขาย ผมแนะนาใช้จุดที่เราพอใจ ในช่วงที่ Fundflow เข้า ก็หา
จังหวะขายสวยๆ อย่ารอจนกว่า Fundflow ออกก่อนแล้วค่อยตัดสิ นใจขาย
ปรกติเรามักจะขายไม่ทนั เขา 9
SET Index ขึ้น หุน้ ชุด A ลงก็ได้ ไม่แปลก

SET Index ลง หุน้ ชุด A ขึ้นก็ได้ ไม่แปลก


10
เรามีหลักในการเลือกหุน้ ตัวใหญ่ชุด A
• ต้องเล่นหุน้ ตัวนาตลาด
• ถ้าท่านกลัวความสู ง ให้เล่นตัวตามตลาด แต่ตอ้ งทาใจ ตลาดขึ้นบวก
20 จุด หุน้ ตามตลาดบางตัวอาจไม่ข้ ึนมาด้วยก็ได้
• ตัวโดนทุบ อย่าเสี่ ยงเล่น แต่พวกเราจะชอบเล่น เพราะชอบของถูก
• ตามการเคลื่อนไหวของ Fundflow อย่างใกล้ชิด
• ตาม Net Buy/sell ในตลาดต่างประเทศย่านเอเชียด้วย
• ตามที่ค่าเงินบาท ว่ามีแนวโน้มแข็งค่าหรื อไม่ เพราะถ้ามี โอกาสที่
Fundflow เข้ามาก็มีมาก
• หุน้ ชุด A บางตัว ไม่ได้วิ่งไปตามดัชนี ไม่เกี่ยวกับการขึ้นลงของดัชนี
เพราะหุน้ ชุด A เป็ นหุน้ เก็งกาไร ไม่ใช่หุน้ ลงทุน
11
จังหวะขาย
• ขายเพราะพอใจกาไรแล้ว ซึ่งปรกติ ต่อรอบของ A จะอยูใ่ นราว 5-
10% ขึ้นอยูก่ บั ว่าท่านเล่นตัวนา หรื อตัวตาม ถ้าปี หนึ่ง ท่านเล่นเพียง
2-4 รอบ ท่านก็จะได้ผลตอบแทนประมาณ 20%
• ขายที่จุดขาย ตอนหลุดกรอบแนวรับ
• ตอนขายให้ขายหมดเลย หรื อ แบ่งไม้ขายมากที่สุดได้แค่ 2 ไม้ ได้แค่
นั้น เพราะฝรั่งขาย เราขายไม่ทนั เขา เขาจะกดดันให้ท่านยอมขายในที่สุด
และท่านต้องเตรี ยมเงินไว้เล่นรอบต่อไป
• ข้อดีของหุน้ ชุด A คือ ติดไม่เกิน 3 เดือน แต่การขายให้ทนั จะช่วยให้
ท่านสบายใจขึ้น
12
จังหวะซื้อ
• ประมาณจุดต่าสุ ดก่อน แล้วทยอยซื้อ
• หาตัวนาตลาดซื้อ
• ลงแรงๆจากข่าวร้ายเฉพาะตัว ซื้อ
• ถ้าไม่มีเวลาตาม ก็รอซื้อตอนฝรั่งขายหนัก เลือกตัวที่ลงแรงที่สุด หลุด
แนวรับสาคัญ แนวที่ 2

13
ตัวอย่างแรงขายหุน้ ชุด A ตอนฝรั่งยังเข้าอยู่

14
ตัวอย่างแรงขายหุน้ ชุด A ตอนฝรั่งขาย

15
คนส่ วนใหญ่
ชอบของถูก
ชอบเล่นหุน้ ที่
ตกแรงๆ
พยายามจะซื้ อที่
จุดต่าสุ ดให้ได้
ไม่ยอมรับว่า
เป็ นเรื่ องที่ทา
ไม่ได้ นอกจาก
ดวงดี เท่านั้น16
ใช้วิชาสะกดรอยจุดต่าสุ ด

17
การหาหุน้ นาตลาด หุน้ ตามตลาด หุน้ โดนทุบ

18
ข้อควรระวัง
• ตัวหุ น้ ที่เคยเป็ นตัวนา อาจจะกลับเป็ นตัวโดนทุบก็ได้ แล้วแต่พ้ืนฐานของหุ น้ ตัว
นั้นๆ ตอนเขาทุบ เราแทบไม่รู้เลยว่าพื้นฐานเปลี่ยนแล้ว เมื่อไม่รู้ ให้เชื่อกราฟ
• ส่ วนหุ น้ ตัวนา นักเก็งกาไรจากต่างประเทศ มักจะชอบไล่ราคาไปให้ไกลสุ ดๆ ทา
ให้เราลังเล ว่าแพงไปหรื อเปล่า
• แต่ถา้ ตัวไหนพื้นฐานไม่ดี เขาก็กระทืบจมดินเลย แม้วา่ เรารู ้สึกว่า โคตรถูกแล้วก็
ตาม เขาก็ไม่ซ้ื อ แถมออกบทวิเคราะห์มาช่วยขายอีก เพื่อไม่ให้มีคนซื้ อ พอเงียบ
สงัด ไม่มีผคู ้ น เขาจะออกมาค่อยๆเก็บ
• ถ้าเราเอาราคาในแต่ละช่วงสั้นๆ 4-6 เดือนมาดู สามารถหาหุ น้ ตัวนา หุน้ ตัวตาม
และหุ น้ ตัวโดนทุบ ได้ดว้ ยชาร์ ตง่ายๆ ใช้เพียงแค่ราคาแค่น้ นั แต่ขอ้ ระวังคือ อาจจะ
มีการเปลี่ยนแปลงได้ โดยเฉพาะหุ น้ ตัวนา กับ หุ น้ ตัวตาม เพื่อไม่ให้พวกเราจับ
ทางเขาได้ ส่ วนตัวโดนทุบไม่ค่อยเปลี่ยน
• ใช้แค่ Candlestick และแนวโน้ม ก็สามารถจับสัญญาณ ซื้ อ และ ขายได้ ไม่
ต้องใช้อะไรให้มนั ซับซ้อน ดูตวั อย่าง 19
หุน้ ชุด A มีวงจรที่สามารถมองเห็นได้ ใช้ดูเพื่อหาตัวเล่น

20
หุน้ ชุด A ลักษณะที่เป็ น ขาขึ้น

21
หุน้ ชุด A ที่เป็ นขาลง

22
หุน้ ขึ้นมาระดับหนึ่งแล้ว ตอนเจอราคาอยูใ่ นกรอบ

23
หุน้ ที่กาลังจะทดสอบแนวต้านสาคัญ

24
หุน้ ชุด A ลักษณะที่เป็ น สามเหลี่ยม

25
แบบฝึ กหัดหุน้ ชุด A ลักษณะที่เป็ น ขาลง

26
สรุ ปวงจรของหุน้ ชุด A
• ลงแล้วทากรอบ
• ผ่าน กรอบได้ข้ ึนไป ทากรอบ
• ผ่านกรอบได้ ไปทา new high
• แล้วไปทากรอบ
• หลุดกรอบล่าง ขาย
• เลิกเล่น
• ลงมาทากรอบ หลุดขาย ทะลุกรอบซื้อ

27
หุน้ ชุด A ล่าสุ ดตอนนี้ อยูท่ ี่วงจรไหน

28
ข้อดีของหุน้ ชุด A

29
ผมขอสรุ ป หุน้ ชุด A กับวิธีการใช้กราฟราคา
• ใช้กราฟราคา ย้อนหลัง 6 เดือน
• หาแนวรับ แนวต้าน จากจุดสู งสุ ด ด้านซ้าย แล้วทาเป็ นกรอบ
• มีรูปสามเหลี่ยม หรื อ การทา New high ในรอบ 6 เดือน ราคาหุ น้ จะขึ้นแรง
ถ้ามีหลายตัว Set จะเป็ นขาขึ้น
• หุ น้ ตาม คือ หุ น้ ที่ข้ ึนลงตามตลาด มีมา SET จะ Sideway
• หุ น้ โดนทุบ เกิดหลายตัว SET จะลงหนัก
• การหาจุดต่าสุ ด ก็ใช้กราฟ 15 นาที ดูวา่ ตรงไหนมีแรงซื้ อกลับ
• ซื้ อผิด ก็รอ อีกไม่เกิน 3 เดือนก็ข้ ึนมาให้ใหม่ ไม่ตอ้ งกลัว
• การเข้าซื้ อก็แบ่ง 2 ไม้ข้ ึนไป กรณี เก็งกาไร หุ น้ นาตลาด
• เข้าซื้ อ 5 ไม้ กรณี หุ น้ โดนทุบ เริ่ มซื้ อจากแนวรับที่แข็งแรงที่สุด

30
เดือนกรกฏาคม เรากาหนดหุน้ ชุด A คือ
• ตัวนา คือ ไม่มี

• ตัวตามที่น่าสนใจ

• ตัวตามที่เล่นในกรอบ

• ตัวโดนทุบ

31
การเล่น DW

32
หุน้ ชุด B C
• คาตอบที่ตอ้ งหา คือ รอบการเล่น เพราะหุ น้ ชุดนี้ มีท้ งั รอบใหญ่และรอบเล็ก
• จุดทดสอบซื้ อ คือ จุดที่เราตัดสิ นใจเริ่ มซื้ อ ควรจะต้องวาง 5 ไม้ และซื้ อที่จุดที่
ตัวเองมัน่ ใจว่าเป็ นจุดต่าสุ ด และไม่ควรซื้ อวันเดียวกัน
• หรื อจะซื้ อ ตอนที่ข้ ึนไปแล้ว จนมัน่ ใจว่าเป็ นขาขึ้นแน่นอนล้วก็ได้ ผมแนะนา แบบ
นี้มากกว่า
• จุดขาย คือ ขายจุดที่เราควรเริ่ มขาย หรื อขายที่มีสัญญาณขายทางเทคนิค คือ
Candlestick
• ขายมันทุกวันวันละ 20% ประมาณ 5 ไม้จบ
• ขายทั้งหมดที่เหลือ ที่ราคาตัดเส้นค่าเฉลี่ย 20 วัน กรณี หุน้ C และขายทั้งหมดที่
ราคาตัดเส้นค่าเฉลี่ย 50 วัน กรณี หุน้ B
• จริ งๆ แล้วขายไม่น่ามีปัญหา เพราะกาไร แต่ในความเป็ นจริ ง จุดขายกลับมีปัญหา
มากที่สุด จุดขายจะไม่มีใครอยากขาย เพราะข้อมูลพื้นฐานเป็ นบวก ไม่มีลบเลย
แปลกไหม ไม่ยอมขายตามสัญญาณเทคนิค
33
หุน้ ชุด B C
• จุดซื้ อ จุดขาย ของหุ น้ B C ตามสัญญาณเทคนิ ค คือจุดที่ตอ้ งตัดสิ นใจ ถ้าเราไม่
ตัดสิ นใจ คนอื่นจะตัดสิ นใจทาทันที
• ช่วงราคาพักฐานของ B C สมควรนัง่ ดู และต้อง หรื อบังคับเลย ว่าต้องถือเงินนัง่
ดู
• จุดที่ระบุการจบรอบ หรื อ พักฐานยาว คือ การหลุดเส้นค่าเฉลี่ย 50 วัน ของหุ น้
ชุด B และการหลุดเส้นค่าเฉลี่ย 20 วัน ของหุ น้ ชุด C
• ราคายังไม่มีสัญญาณขึ้นรอบใหม่ ต้องไม่เข้าไปเล่นกับหุ น้ ตัวนี้เด็ดขาด ยกเว้นชอบ
มัน่ ใจในพื้นฐานว่าจะกลับมาได้ ให้ทยอยซื้ อแบบเก็งกาไร 20% จนกว่าจะ
มัน่ ใจ
• ความสัมพันธ์ระหว่างกราฟราคากับงบการเงินในแต่ละไตรมาส มีความสัมพันธ์
กัน ภายใต้สมมุติฐานที่วา่ อาจจะมีการใช้ขอ้ มูลวงใน เพื่อประโยชน์ของตัวเองและ
พวกพ้อง ดังนั้น สัญญาณซื้ อหรื อขาย น่าจะเกิดก่อน งบการเงิน หรื อ ข่าวสาคัญ
ออก แต่ไม่เสมอไป 34
• กลยุทธ์ การเล่ นหุ้น B
• บังคับว่าให้เล่นหุ น้ ขาขึ้นเท่านั้น เล่นเป็ นรอบๆ รอบเล็กก็ได้ ใหญ่กไ็ ด้ ตามถนัด
• ปั ญหา คือ เราจะรู ้ได้ไงว่า ขาขึ้น ปั ญหาอีกอย่าง คือ คาว่าเล่นรอบ เมื่อไหร่ เริ่ มรอบ แบบ
ไหนเรี ยกว่าจบรอบ
• หุ น้ เพิ่งจะขึ้น ต้องใจเย็นๆค่อยๆเล่น คนใจร้อนเล่นไม่ได้ ให้เล่นแบบใส่ เงิน 20-30%
เข้าทีละไม้ แบ่งเป็ น 3-5 ไม้กไ็ ด้ อย่าใส่ เต็ม บอกก่อนว่าใจร้อนเล่นไม่ได้
• หุ น้ ขึ้นมากลางทาง ก็ยงั เล่นลงซื้ อ ทา New High ก็ขาย ถ้าตรงกลางทางแบบนี้ ควรจะ
เล่นเก็งกาไร 50% แบ่ง 2 ไม้ ส่ วนพวกต้นทุนต่าก็สามารถถือยาวได้
• แต่ถา้ ราคาหุ น้ ขึ้นมานานเกินปี ขึ้นไป แนะนาให้เล่นเก็งกาไรระยะสั้น3-5วันดีกว่า ส่ วนคน
ที่ถือยาวจะทยอยขายตรงนี้ กไ็ ด้ แล้วไปหาตัวใหม่ ที่เพิ่งเริ่ มขึ้นค่อยๆ เก็บแทน เริ่ มวงจรขา
ขึ้นใหม่
• หุน้ B ที่เป็ นขาลง ผมขอร้องแกมบังคับว่า ห้ามเล่นเด็ดขาด หรื อ ซื้ อแล้วไม่ใช่ ขาขึ้น ก็อย่า
ฝื น ขายออกไป ไปหาตัวใหม่คุม้ กว่า
35
หมดรอบ

เริ่ มรอบใหม่

หนึ่งรอบ มีระยะเวลาอาจจะเป็ น
ปี อาจจะเป็ นเดือน ก็ได้

36
จบรอบ หาจังหวะขาย แล้วรอฟื้ นตัว ผ่านเส้น
ค่าเฉลี่ย 50 วัน แล้วค่อย ซื้ อรอบใหม่
37
แนวโน้ม Sideway ชัดเจน ไม่ควรเล่น ให้หาจังหวะ
ขาย

38
แนวโน้มลง หรื อเปล่า

39
การเปลี่ยนเป็ นแนวโน้ม
Sideway ก็เล่นได้ ลงแรงก็ซ้ื อ

40
41
ลักษณะหุน้ ชุด C เทียบกับ B
• หุน้ C ต่างกับหุ น้ ชุด B ตรงที่ มีแรงเก็งกาไรเข้ามาเกี่ยวข้อง ทาให้ราคาขึ้นลง
รุ นแรงกว่าปรกติ แต่มีแนวโน้มในทางเดียวกัน คือ แนวโน้มของธุรกิจ
• คาว่า หุ น้ ขาขึ้นมี 3 ช่วง คือ ช่วงต้นเพิ่งเริ่ มขึ้น ราคาจะไปช้าๆ สลับกับการโดน
ขายออกมาเป็ นระยะๆ ถ้าแรงขายมาก แปลว่า งบการเงินที่จะประกาศอาจจะไม่ดี
• ช่วงกลางๆ ของการขึ้น จะมีแรงขายปรับฐานลงมาบ้าง แต่ไม่หนักมาก ราคาควร
จะทาจุดสู งสุ ดใหม่ตลอดเวลาทุก 1 เดือน แปลว่า บริ ษทั กาลังฟื้ นตัวอย่างช้าๆ
ราคาจะไม่หลุดเส้นค่าเฉลี่ย 20 และ 50 วัน
• ช่วงท้ายๆ ของการขึ้นราคาจะวิ่งแรงส์ บทวิเคราะห์ส่วนใหญ่แนะนาซื้ อ และใกล้
จะจบรอบ เราจะเห็นการต่อสู ้กนั ระหว่าแรงขายกับแรงซื้ ออย่างหนัก ราคาจะผัน
ผวนขึ้นลงในกรอบ และไม่สามารถทาจุดสู งสุ ดใหม่ ถ้าในระยะเวลา 2-3 เดือน
แปลว่า จบรอบแล้ว แต่ชวั่ คราวหรื อถาวร ไม่รู้ แต่กต็ อ้ งขาย
• ระยะเวลาของรอบ ไม่แน่นอน เป็ นเดือนก็ได้ เป็ นปี เป็ นสองปี ก็ได้ อันนี้แล้วแต่
วงจรของธุรกิจนั้นๆ 42
หุน้ ชุด C
• รอบการเล่น เช่นเดียวกับ B แต่ในรอบของหุ น้ กลุ่ม C มีรอบเก็งกาไรแบบสวิงวง
กว้างเต็มไปหมด หุน้ C แต่ละตัว รอบขึ้นลงไม่จาเป็ นต้องพร้อมกัน บางตัวมาช้า
บางตัวมาเร็ ว บางตัวไม่มาเลยก็ได้ แต่สุดท้ายก็ตอ้ งมา ถ้าแนวโน้มธุรกิจยังเป็ นขา
ขึ้น และเป็ นขาขึ้นของจริ ง
• การประเมินแรงเก็งกาไร ให้ดูวา่ คนในตลาด สนใจกลุ่มไหน ดูจากหนังสื อพิมพ์
ทางธุรกิจก็ได้ ว่าข่าวส่ วนใหญ่เป็ นบวก แล้วเราก็เลือกกลุ่มนั้น ส่ วนตัวไหน ก็เล่น
ตามสัญญาณของเทคนิคเคิล ดูสัญญาณจากเส้นค่าเฉลี่ยไป
• ตรวจสอบข่าวดีที่เกี่ยวกับพื้นฐานของบริ ษทั บริ ษทั ออกข่าวประชาสัมพันธ์บาง
ไหม มีข่าวลืออะไรในตลาดที่เกี่ยวกับหุ น้ ตัวนี้ บา้ ง เป็ นสิ่ งที่ท่านต้องติดตาม เวลา
เล่นหุ น้ C
• เลือกกลยุทธ์เก็งกาไร Let’s Profit Run กับ Stop Loss มาใช้
43
ราคาตอนตัดเส้นค่าเฉลี่ย 50
วัน ห่ างกันมากเกินไป รอ
ตัดสิ นใจ ไม่ทนั กาล

44
เราใช้เส้นค่าเฉลี่ย 20 มา
ช่วยตัดสิ นใจ ขายหมด เพื่อ
มารอรับหุ น้ คืน ที่เส้น
ค่าเฉลี่ย 50 วัน กรณี น้ ี คือ
ไม่รับคืน

45
รอบการเล่นของหุน้ ชุด C
• มี 2 รอบซ้อนกันอยู่ แต่ละรอบมีช่องว่างมากพอที่จะใช้ประโยชน์ได้
• จุดซื้ อของ C มี 2 จุด คือ ตรงเส้นค่าเฉลี่ย 20 วัน กับ 50 วัน
• จุดขายของ C มี 3 จุด
• จุดขายเมื่อเกิดสัญญาณขายของ Candlestick เมื่อขายแล้วไปรอรับคืนที่เส้น
ค่าเฉลี่ย 20 วัน
• จุดขาย เมื่อราคาหลุดเส้นค่าเฉลี่ย 20 วัน ให้ขายออกให้หมด ขายแล้วไปรอรับ
คืนที่เส้นค่าเฉลี่ย 50 วัน
• จุดขาย เมื่อราคาทะลุเส้นค่าเฉลี่ย 50 วันลงไป นับ 2 วัน ให้ดว้ ย
• หุน้ C ที่แข็งแรง ไม่ควรหลุดเส้นค่าเฉลี่ย 20 วัน และในกรณี Panic ก็ไม่
ควรหลุดเส้นค่าเฉลี่ย 50 วัน
46
สรุ ปการวิเคราะห์เทคนิคที่ใช้กบั B C คือ
• การหาแนวโน้ม
• การใช้เส้นค่าเฉลี่ย
• Candlestick กราฟแท่งเทียน
สิ่ งต้องรู ้เพิ่มเติม คือ
• รู ปแบบการพักฐานของราคา
• ปริ มาณซื้อขาย
• ผมแนะนา ให้ตามเล่นเป็ นตัวๆ ไม่ตอ้ งสนใจภาวะตลาด ตลาดลง แต่หุน้
เราไม่หลุดเส้นค่าเฉลี่ย ก็ถือต่อ

47
ตอนที่ตลาดลงแรง
• หุน้ ชุด B ที่แข็งแรง จะยืนเหนือ เส้นค่าเฉลี่ย 50 วันได้
• หุน้ ชุด B ที่มีผลกระทบด้านพื้นฐานของหุน้ กรณี ข่าวร้ายนั้นกระทบต่อ
ความไม่มนั่ ใจของคนในตลาด หุน้ ชุดนี้จะหลุดเส้น 50 วัน
• หุน้ ชุด C หลุด ทั้งเส้น 20 วัน และ 50 วัน แน่นอน กรณี ตลาดปรับ
ฐานครั้งใหญ่ๆ
• หุน้ ชุด C ที่อยูใ่ นกลุ่มเดียวกับหุน้ ชุด B ที่แข็งแกร่ ง จะดีดกลับอย่าง
รวดเร็ ว

48
ตอนนี้มีหุน้ B C ตัวไหนไหม ที่ยนื ได้

49
หุน้ B C ไม่ Cut Loss ได้ไหม
• ตอบว่า ได้ แต่ตอ้ งทา Short against Port ขายที่จุดขาย แล้วเก็บเงินไว้รอรับคืน
ด้านล่าง
• กรณี ติดหุน้ B C สามารถซื้อเฉลี่ยด้านล่างได้ แต่เราต้องเข้าใจวงจรของธุรกิจ หรื อ พื้นฐานหุน้
ตัวนี้เป็ นอย่างดี
• ความยาก คือ การหาราคาที่ใกล้เคียงจุดต่าสุ ดเพื่อจะซื้อ หายากมากสาหรับ B C อาจจะต้องใช้
การวิเคราะห์ SET Index ช่วย
• จะให้หลุดเร็ว อาจจะต้องเพิ่มน้ าหนัก 2 เท่าในจังหวะซื้อเฉลี่ย และต้องค่อยแก้ไขไปทีละตัว
• ประมาณไม่เกิน 1-2 ปี จะกลับมามีกาไร ต้องตอบตัวเองว่าอดทนให้ได้ กับ ความเย้ายวน
ภายนอก เช่น หุน้ ตัวอื่นขึ้น หุน้ เราไม่ข้ ึนได้ไหม
• การเปลี่ยนตัว ก็เป็ นกลยุทธ์ การแก้ไขพอร์ต อีกวิธีหนึ่งที่ดี แต่กม็ ีความเสี่ ยง 2 ตัว คือ หุน้ ที่เรา
ขาย มันขึ้น หุน้ ตัวที่เราซื้ อเพื่อเปลี่ยนตัว ไม่ไปไหน ซวยซับซ้อน ถ้าเข้าใจก็ทาได้ และไม่
จาเป็ นต้องทาพร้อมกัน
50
เข้าเรื่ องทฤษฎี เรื่ อง แนวโน้ม

51
เปิ ดกราฟดู ก็เห็นราคาหุ น้ ย้อนหลัง
และสิ่ งที่เราเห็น คือ แนวโน้มใน
อดีต แต่ที่เราอยากรู ้ คือ ในอีก 2
วัน 7 วัน 1เดือน 1 ปี ข้างหน้า ขึ้น
ราคาหุ น้ จะเป็ นเช่นใด
รอยต่อ ปรับฐานราคา

ลง

52
การหาแนวโน้ม(Trends)
• เปิ ดกราฟราคาดู ก็รู้ ก็เห็น ด้วยการมองด้วยตา รู ้วา่ หุน้ ตัวนี้มีแนวโน้ม
ในอดีตแบบไหน
• ใช้เครื่ องมือทางเทคนิค เช่น เส้นค่าเฉลี่ย เพื่อหาแนวโน้มในอนาคต
• ความยากของการหาแนวโน้ม คือ มันมีภาพซ้อนของแนวโน้มระยะสั้น
ระยะกลาง ระยะยาว ทับกันอยู่
• การตีเส้นแนวโน้มที่เป็ นแนวรับสาคัญไม่ควรลงไปถึง ถ้าถึงแปลว่า
อาการหนัก ไม่ดีแล้ว ไม่ตอ้ งพยายามหาเหตผลที่จะซื้อ เพราะจะไม่เจอ
จนกว่า รายใหญ่จะขายหมดแล้ว
• การตีเส้นที่เป็ นแนวต้านสาคัญๆ ถ้าทะลุ แปลว่า มีเม็ดเงินมหาศาลเข้า
มาซื้อหุน้ ตัวนี้ เดาได้เลยว่ากาลังจะขึ้นแรง 53
หลักการลงทุน ในวิถีของแนวโน้ม
• แนวโน้มขึ้น เล่นได้เต็มๆ จะเล่นแบบไหนก็ได้ ถือหุน้ ไว้เฉยๆ ก็ได้เงิน
แล้ว
• แนวโน้มลง เล่น TFEX SBL ได้ แต่หุน้ ไม่ควรเล่น
• แนวโน้ม แกว่งตัวข้างๆ เล่นหุน้ ได้ แต่ให้ใช้น้ าหนักแค่ 50%
• ไม่มนั่ ใจว่าเป็ นแนวโน้มใด ให้ถือเงินนัง่ ดู อย่าถือหุน้ นัง่ ดู
• ปลายแนวโน้มขึ้น ควรจะค่อยๆลดน้ าหนัก จาก 100% สู่ 20%
• ปลายแนวโน้มขาลง ค่อยๆเพิม่ น้ าหนักพอร์ต 20% เป็ น 100%
• เราต้องมีเวลาทาการบ้าน ตรวจสอบและตามติดแนวโน้มของราคาหุ น้
และตลาดหุน้ ทุกวันหรื อทุกสัปดาห์ โดยเฉพาะหุน้ ที่เราสนใจหรื ออยูใ่ น
พอร์ตรอขายอยู่
54
แนวโน้ มขึน้ ทาจุดสูงสุดใหม่ เรื่อยๆ

80
60 หลักของขาขึ้น มีแค่ Low ยกขึ้น
40
20
ไม่วา่ จะมีข่าวร้ายยังไงก็ตาม
ราคา New high มีตลอด 55
เล่นหุน้ ขาขึ้นหรื อตลาดขาขึ้น เล่นอย่างไร
• ตลาดขึ้น หุน้ ไม่ได้ข้ ึนทุกตัว ถ้าเป็ นหุน้ ขาขึ้น ท่านซื้อตรงไหนก็ได้
• แล้วจะเข้าซื้อ ตรงไหน ท่านต้องตอบก่อนว่า จะซื้อเพื่อเก็งกาไร หรื อถือ
ลงทุนดี ถ้าเก็งกาไร ต้องใช้กราฟช่วยหาจังหวะ ถ้าท่านซื้อเพื่อลงทุน
ถอยมาก็ซ้ือ ขึ้นซื้อก็ยงั ได้
• อยากจะปรับพอร์ต อย่าคิดว่าตัวไหนกาไรก็ขาย ที่ขาดทุนก็ถือไว้ อันนี้
คิดผิด เพราะท่านอาจขายหุน้ ที่เป็ นแนวโน้ม เป็ นขาขึ้นยาวทิ้งไป
• อยากจะซื้อหุน้ ตัวนี้ เพราะราคาลงมาลึกแล้วนะ ตลาดขึ้น ซื้อตัวนี้ดีกว่า
ราคายังต่าอยู่ อันนี้คิดผิด เพราะหุน้ ที่ท่านสนใจ อาจจะเป็ นหุน้ ขาลง
ระยะยาวได้
• รู ปแบบเพิ่งจะขึ้น รู ปแบบขึ้นมาระยะหนึ่งแล้ว และรู ปแบบ ช่วงปลาย
ของขาขึ้น เป็ นเรื่ องที่ท่าน ต้องเก็บรู ปแบบราคาเอาไว้ เพื่อศึกษา 56
สิ่ งสาคัญ คือการรู้วา่ เมื่อไหร่ จบรอบขาขึ้น
• กรณี เรารู ้จกั ธุรกิจนี้ เป็ นอย่างดี เราจะขายเร็ วไป
• กรณี ใช้กราฟช่วย จะขายทันถ้าทาตามสัญญาณ
• พวกที่ขายไม่ทนั มีสญ ั ญาณขายแล้วไม่ขาย เพราะอ่านข้อมูลแล้วใจเย็น
ยังไม่มีอะไรน่าตกใจ ไม่ขาย

57
การเริ่ มต้นขาขึ้น

58
การเริ่ มต้นแนวโน้มขาขึ้น

59
การจบแนวโน้มขาขึ้น

60
อยากรู ้วา่ ธุรกิจไหน เป็ นขาขึ้น ก็เอาหุ น้ ทุกตัวในธุรกิจนั้นมาดู

61
แนวโน้ มลง ทาจุดตา่ สุดใหม่ ตลอดเวลา

หลักของขาลง มี New Low ไม่มีแรงมาก


พอ ที่ราคาจะทา Higher High ตลาด
หุ น้ ขึ้น ราคาไม่ข้ ึนตาม พอตลาดหุ น้ ลง ราคา
หุ น้ ตัวนี้ลงด้วย แถมลงแรงกว่าเพื่อนๆ 62
เล่นหุน้ ขาลง เล่นได้แค่ไหน
• จริ งๆแล้ว ควรจะเลิกเล่นหุน้ แต่ในความเป็ นจริ ง อาจจะมีประเภทไม่
เห็น ขายไม่ทนั ติดธุระ จึงหลงหุน้ บางตัวค้างพอร์ตอยู่ ต้องแก้ไข
• อยากเล่นก็ให้เล่น ในจังหวะ Rebound แล้วขาย หรื อตั้งจุด
Short against Port และจุดรับคืน ท่านต้องใช้
Technical คานวณหาจุด Rebound และจุดสิ้ นสุ ดของการ
Rebound ในแต่ละรอบ
• แนะนาใช้ Price Pattern , Hamonic Trading และ
Fibonanci number เพื่อหาเป้ าหมาย ในการทา Short
against Port และจุดรับคืน
• สาหรับหุน้ ขาลงให้เลือกตัวที่ ลงมานอนข้างล่าง มาระยะหนึ่งแล้ว มา
วางไม้ทดสอบหาจุดต่าสุ ด โดยการเล่นเก็งกาไรทดสอบไปจนกว่า จะ
เจอจุดต่าสุ ด 63
การเริ่ มต้นแนวโน้มขาลง

64
การจบแนวโน้มขาลง

65
ห้ ุนแกว่ งตัวในกรอบ ขึน้ ลง ไม่ แรง

กรอบบนกรอบล่างอาจจะมี 2 จุดได้ จบแนวโน้มแกว่างตัวด้านข้างแล้ว มักจะต่อด้วย


แนวโน้มขาขึ้น หรื อ แนวโน้มขาลง ยิง่ นานยิง่ รุ นแรง
66
เล่นหุน้ แก่วงตัวข้างๆ เล่นอย่างไร
• กรอบของการแกว่งตัวข้างๆ อาจจะเป็ นรู ปสามเหลี่ยมด้านเท่า สามเหลี่ยมด้านไม่เท่า สามเหลี่ยม
มุมฉาก หรื อสี่ เหลี่ยมผืนผ้าก็ได้ เป็ นได้หลายรู ปแบบ
• ระยะเวลาก็มีท้งั สั้น ทั้งยาว เป็ นอาทิตย์ เป็ นเดือน เป็ นปี
• พร้อม Stop Loss เมื่อหลุดกรอบล่าง เพราะอาจจะเกิดการลงอย่างรุ นแรงแรงได้ ยึด 3 วัน
ด้วย ตรงนี้ให้ระวัง ตอนหลุดกรอบล่าง อาจจะลงเร็ วมาก
• การข้ามกรอบบน ซึ่งเป็ นแนวต้านสาคัญได้ แปลว่ามีเม็ดเงินใหม่เข้ามาแล้ว เตรี ยมตัว
Let’Profit Run ท่านควรจะต้องนัง่ เฝ้ าตรงจุดแนวต้านสาคัญ เพราะถ้าไม่ขา้ มก็ตอ้ งขาย
เช่นกัน หรื อจะขายไปก่อนที่แนวต้าน ถ้าข้ามได้กซ็ ้ือตาม Follow Buy ไปเลย
• ถ้าที่จุดราคาตรงกรอบล่าง ถ้าท่านซื้อยาก bid แล้วไม่ได้หุน้ แปลว่า ราคาหุ น้ รอบนี้มีโอกาส
มากที่จะเปลี่ยนแนวโน้มจาก Sideway เป็ นแนวโน้มขาขึ้นด้วย
• ถ้าตั้งขายตรงกรอบบนแล้วขายยาก หรื อขายไม่ได้ แปลว่า มีโอกาสมากที่จะเปลี่ยนแนวโน้มจาก
แนวโน้มแกว่งตัวด้านข้าง เป็ นแนวโน้มลง
67
จุดเริ่ มต้นของแนวโน้ม Sideway

68
ตัวอย่างจุดจบของแนวโน้ม Sideway
• ถ้าราคาหุน้ มีแนวโน้ม Sideway นานๆ เป็ นปี พอจบแล้ว มักจะเปลี่ยนเป็ น
แนวโน้มขาขึ้น และ ขาขึ้นที่รุนแรง
• ถ้าราคาหุน้ มีแนวโน้ม Sideway นานๆ เป็ นปี พอจบแล้ว เปลี่ยนเป็ น
แนวโน้มขาลง ก็มกั จะลงไม่แรง แต่จะค่อยๆซึ มลง
• ถ้าราคาหุน้ มีแนวโน้ม Sideway ไม่นาน ประมาณไม่เกิน 3 เดือนพอจบแล้ว
มักจะไม่เปลี่ยนแนวโน้มไปจากเดิม เช่น ก่อนช่วงเกิดแนวโน้ม Sideway
เป็ นแนวโน้มขาขึ้นมาก่อน พักฐานราคาเสร็ จ ก็ยงั จะกลับเป็ นขาขึ้นต่อไป
• ถ้าราคาหุน้ มีแนวโน้ม Sideway ประมาณไม่เกิน 3-6 เดือนพอจบแล้ว
มักจะเปลี่ยนแนวโน้มไปจากเดิม เช่น ก่อนช่วงเกิดแนวโน้ม Sideway เป็ น
แนวโน้มขาขึ้นมาก่อน พักฐานราคาเสร็ จ ก็ยงั จะกลับเป็ นขาลง

69
หุน้ ที่อาจจะมีแนวโน้ม Sideway มักจะเป็ นหุน้ C D

70
หลักเรื่ องการตีเส้นแนวโน้มของผม
• ใช้กราฟราคา ระยะ 1-2 ปี เป็ นหลักเริ่ มต้น ในการตีเส้นแนวโน้ม
• ใช้กราฟราคา ระยะ 10 ปี ตรวจสอบดูวา่ มี Downtrend line เส้นไหน
กดอยู่ หรื อไม่
• เส้นแนวโน้มที่ดี ควรจะสัมผัสจุดสาคัญ 3 จุดขึ้นไป
• แต่ละช่วงของเวลา มีเส้นแนวโน้มที่เป็ นของจริ งๆ อยูแ่ ค่ 1 เส้นเท่านั้น
• หุ น้ ขาขึ้นให้ลากเส้นแนวโน้มแบบแนวนอน จากจุดด้านบนทางซ้ายมือเป็ นหลัก
เพื่อหาจุด Follow Buy หรื อ จุด Let Profit Run
• หุ น้ ขาลงให้เลือกจุดด้านล่างเป็ นหลัก แล้วลากเส้นแนวนอน เพื่อหาจุด Stop
Loss
• เส้นแนวโน้ม เส้นข้างบน กับ ข้างล่าง ของแนวโน้มแกว่งตัวด้านข้าง ไม่จาเป็ นต้อง
ขนานกัน 71
ใช้แนวโน้มยาว คุมเกม คุมกลยุทธ์ไว้ ถ้า
คิดว่าเป็ นแนวโน้มขาขึ้น ต้องกล้าซื้ อ
ตอนลงแรงๆ

72
แนวโน้มระยะ 5 ปี เส้นนี้สาคัญ

73
สรุ ปการวิเคราะห์ SET หรื อ หุน้ ด้วยเส้นแนวโน้ม
• จะรู ้เรื่ อง การจบรอบขาขึ้น
• จะรู ้เรื่ อง การจบรอบขาลง
• จะรู ้เรื่ อง การจบรอบการแก่วงตัวด้านข้าง
• จะรู ้วา่ เป็ นรอบขาขึ้นรอบใหม่ ที่รุนแรงกว่าเดิม
• จะรู ้แนวรับ แนวต้าน
• จะรู ้จุดเสี่ ยงซื้อ

74
จุดเสี่ ยงซื้ อ เกิดจากการตีเส้นขนาน

75
ขยาย

จุดเสี่ ยงซื้ อ

76
จุดเสี่ ยงซื้ อ

จุดต่าสุ ดของการลงเมื่อวัน
ศุกร์ที่ 22 มีนาคม
2556 คือ 1464.72

77
การใช้เส้นค่าเฉลี่ย กับ เส้นแนวโน้ม

78
กรณี เส้นแนวโน้มลง คุมราคาไม่ให้ข้ ึน

79
เรื่ องที่สอง เส้นค่าเฉลี่ย

80
การใช้ เส้ นค่ าเฉลีย่ (Moving Average )
หาค่ าแนวรับ และ แนวต้ าน
เส้ นค่าเฉลีย่ แบบธรรมดา มาจากการหา
ค่ าเฉลีย่ ราคาหุ้นในช่ วงเวลาที่กาหนด
เป็ น N วัน SMA

คานวณมาจาก
SMAt = 1/N (Pt+..........+Pt-N+1)
โดย P = ราคา
T = วัน t
N = จานวนวันในค่ าเฉลีย่ เคลือ่ นที่

81
หลักในการใช้ เส้ นค่ าเฉลีย่
• ต้ องปรับตัวเลขค่ าเฉลีย่ ให้ ใกล้ กบั แนวรับ และแนวต้ าน
ในระยะ 1-3 เดือน ที่ผ่านมามากทีส่ ุ ด
• ใช้ เส้ นค่ าเฉลีย่ เป็ นแนวรับ กรณีห้ ุนตัวนั้นมีแนวโน้ มเป็ นขาขึน้ และเป็ นแนวต้ านใน
กรณีราคาหุ้นเป็ นขาลง
• สั งเกตลักษณะของเส้ นค่ าเฉลีย่ เช่ น การตัดกัน ความห่ างของเส้ นค่ าเฉลีย่ กับราคา
และการลองเอาเส้ นค่ าเฉลีย่ ที่มจี านวนวันที่เท่ ากัน แต่ ใช้ แบบของเส้ นค่ าเฉลีย่ ที่
หลากหลายแตกต่ างกัน เราอาจจะได้ เครื่องมือชุ ดใหม่ ออกมา
• หุ้นแต่ ละตัว มีค่าเฉลีย่ ทีเ่ หมาะสมเป็ นของตัวเอง
• ทาการวิเคราะห์ แล้ว แล้ว Save เก็บเอาไว้ ดูเป็ นกรณีศึกษา เผือ่ ในรอบการเล่ น
ต่ อไปก็ดนี ะคับ

82
หลักการใช้ เส้นค่าเฉลี่ย
ขาย

ซื้ อ เมื่อราคาหุน้ ปรับตัวขึ้นเหนือเส้นค่าเฉลี่ย


ขาย เมื่อราคาหุน้ ปรับตัวลงใต้เส้นค่าเฉลี่ย
ปัญหาคือเส้นค่าเฉลี่ยใช้ตวั เลขเท่าไหร่ ดี
ขาย ขาย

ซื้อ
ซื้อ
ซื้อ
Source:Bisnews
83
Dead Cross
สั ญญาณขาย เมื่อเส้ นสั้ น
ตัดเส้ นยาวลงมา

ท่านต้องไปคิดต่อ Gold Cross


ว่า เอาเส้นอะไร สั ญญาณซื้อ
ตัดเส้นอะไรดี เอา เมือ่ เส้ นสั้ นตัดเส้ นยาวขึน้ ไป
2 เส้นก็พอ

Source:Bisnews

84
43%

36%

34%

59%

85
การใช้ เส้ นค่ าเฉลีย่ หลายเส้ น
(Multiple Moving Average:MMA)
• ค่ าเฉลีย่ เคลือ่ นที่ระยะสั้ น 6 ค่ า ใช้ จานวนวันดังนี้ 3 , 5, 8 , 10 , 12 , 15
• ค่ าเฉลีย่ เคลือ่ นที่ระยะยาว 6 ค่ า ใช้ จานวนวันดังนี้ 30 , 35 , 40 , 45 , 50 , 60

686.59 , 689.73 , 692.11 , 693.76 , 694.75 , 694.99 86


ผมก็มีการใช้งานเส้นค่าเฉลี่ยในแบบของผม
• ปั จจุบนั ผมชอบใช้เส้นค่าเฉลี่ย 20 , 50 , 200 วัน เพราะตอบคาถามผมได้
• ผมชอบใช้ ทั้งค่า SME , EMA คู่กนั เพราะ ใช้ได้และมีความแม่นยาทั้งสอง
ค่า และมีช่องว่างให้เล่นด้วย ผมชอบมองแบบง่ายๆ
• ผมชอบใช้จุดซื้ อที่อยูใ่ ต้เส้น 200 วัน เพื่อเก็บหุ น้ ในระยะยาว และถ้าราคาหุ น้
หลุดลงมาใกล้กบั เส้น 200 วัน แล้วเด้งกลับแปลว่าหุ น้ ตัวนั้นไม่ใช่แนวโน้มขา
ลง
• การที่เส้นค่าเฉลี่ยหลายๆ เส้นมารวมกัน ราคาต่อจากนั้นมีโอกาสจะขึ้นรุ นแรง
• กราฟรายสัปดาห์ และรายเดือน ผมใช้เส้นค่าเฉลี่ยแบบธรรมดา ระดับ 25 วัน
75 วัน และ 200 วัน
• ค่าเฉลี่ยของ Vol ใช้เส้นค่าเฉลี่ย 15 วัน
• ค่าเฉลี่ย ของ RSI ใช้เส้นค่าเฉลี่ย 25 วันและ 45 วัน 87
หุน้ ชุด BC และ C
• BC คือ หุน้ B แต่หวั ใจเป็ น C
• BC ใช้จุดซื้อกับขายที่เส้นค่าเฉลี่ย 20 50 วัน
• C ใช้จุดขายที่ราคาหลุดเส้นค่าเฉลี่ย 20 วัน
• ใช้เส้นค่าเฉลี่ย 50 วัน เป็ นตัวตัดสิ นใจ เลิกเล่น หรื อ ลุน้ ต่อ สาหรับหุน้
ชุด B
• หุน้ ชุด A D F ใช้เส้นค่าเฉลี่ย 100 200 วัน ช่วยดูแนวโน้ม
• หุน้ C D ที่ร้อนแรง ให้เพิ่มเส้นค่าเฉลี่ย 10 วัน เข้าไปช่วยตัดสิ นใจ
ทั้งซื้อและขาย
• ใช้เส้นค่าเฉลี่ย วิเคราะห์ธุรกิจ และงบการเงินที่จะประกาศ
88
ICHIMOKU KINKO chart
กราฟ อิชิมาคุ คินโค

89
ICHIMOKU KINKO chart
ประกอบไปด้วยเส้นค่า 5 เส้นด้วยกันคือ

1. Tenkan-sen เทนกัน เซ็น


2. Kijun-sen คินจวน เซ็น
3. Chikou Span ชิคาว สแปน
4. Senkon Span A เซ็นโคะ สแปน เอ
5. Senkon Span B เซ็นโคะ สแปน บี

90
ICHIMOKU KINKO chart

1. Tenkan-sen เทนกัน เซ็น


(9 period high + 9 period low)/2
(ราคาสูงสุดในรอบ 9 วัน บวก ราคาต่าสุดในรอบ 9 วัน) หาร 2
หรือ “ค่ากลางของราคาหุน้ ในรอบ 9 วันทีผ่ า่ นมา”

91
92
ICHIMOKU KINKO chart

2. Kijun-sen คินจวน เซ็น


(26 period high + 26 period low)/2
(ราคาสูงสุดในรอบ 26 วัน บวก ราคาต่าสุดในรอบ 26 วัน) หาร 2
หรือ “ค่ากลางของราคาหุน้ ในรอบ 26 วันทีผ่ า่ นมา”

93
94
ICHIMOKU KINKO chart

3. Chikou Span ชิคาว สแปน


Close plotted 26 period in the past
(ราคาหุน้ ในอีก 26 วันข้างหน้า)
หรือ ราคาปจั จุบนั Shirt กลับไป 26 วัน

95
ICHIMOKU KINKO chart

4. Senkon Span A เซ็นโคะ สแปน เอ


(Tenkan-sen + Kijun-sen) / 2
“ค่ากลางของราคาหุ น้ ในรอบ 9 วันที่ผา่ นมา บวก
ค่ากลางของราคาหุ น้ ในรอบ 26 วันที่ผา่ นมา” ทั้งหมดหาร 2

5. Senkon Span B เซ็นโคะ สแปน บี


(52 period high + 52 period low) / 2
“ราคาสู งสุ ดในรอบ 52 วัน บวก ราคาต่าสุ ดในรอบ 52 วัน” ทั้งหมดหาร 2

96
เรื่ องที่ 3 ของการวิเคราะห์หุน้ B C คือ Volume
• ให้สังเกต vol ตอนราคาต่าสุ ด ถ้าค่อยๆ เพิม่ ขึ้น แปลว่า ราคาอาจจะเปลี่ยน
แนวโน้มเป็ นขาขึ้น
• Vol เข้ามามาก ราคาหุ น้ ลงแรงด้วย แปลว่า ราคาจะเปลี่ยนเป็ นแนวโน้มขาลง
• ผมใช้เส้นค่าเฉลี่ย 15 วัน กับ Vol เพื่อดูวา่ Vol เข้ามามากกว่าปรกติหรื อไม่
• Vol สู งสุ ดวันไหนและราคาขึ้นมามาก หนึ่ งหรื อสองวันต่อมา ราคามักจะเข้าอยู่
ในช่วงการปรับฐาน
• ราคามีแนวโน้มขึ้น Vol ควรจะเพิม่ ด้วย แต่ไม่จาเป็ น จะให้ดีตอนขึ้นมาได้กลาง
ทาง ไม่มี VOL จะดีกว่า
• ราคาหุ น้ ขึ้น แต่ Vol น้อยลง ตรงกลางทาง ราคาหุ น้ เป็ นจุดเริ่ มต้นของการขึ้น
รอบยาว
97
ถ้าใส่ เราใช้เส้นค่าเฉลี่ย เส้นแนวโน้ม
การวิเคราะห์รูปแบบราคา และ ปริ มาณซื้อขายเข้าไป
ภาพการวิเคราะห์จะเริ่ มชัดขึ้น
ได้คาตอบหลายอย่าง

98
ตัวอย่างการวิเคราะห์หุน้ ชุด B C ด้วย 3 เครื่ องมือ
• เส้นค่าเฉลี่ย
• เส้นแนวโน้ม
• ปริ มาณการซื้อขาย

99
สรุ ปการเล่นหุน้ ชุด B C
• เล่นกับแนวโน้ม
• เล่นเฉพาะแนวโน้มขาขึ้น
• ใช้เส้นค่าเฉลี่ย หรื อ เส้นแนวโน้ม เป็ นตัวตัดสิ นการจบ หรื อ เริ่ มต้นแนวโน้ม แล้ว
เล่นเป็ นรอบๆ หุ น้ บางตัวรอบสั้น บางตัวรอบยาว
• ใช้รูปแบบ Price Pattern เพื่อหาจุดเริ่ มต้นของแนวโน้มใหม่
• ไม่จาเป็ นต้องรู ้วา่ ราคาจะไปได้ไกลสุ ดแค่ไหน
• สภาวะตลาดที่ปรับฐานปรกติ ไม่มีผลต่อ B แต่จะมีผลกับ C
• การปรับฐานขนาดใหญ่ จะส่ งผลต่อหุ น้ C แบบรุ นแรง มากกว่า B
• หุน้ ชุด B จากแนวโน้มขึ้น มักจะต่อด้วยแนวโน้ม Sideway จะไม่
เปลี่ยนเป็ นแนวโน้มขาลงเลย

100
สัปดาห์ที่ลงแรงๆ หุน้ ชุด B แบ่งตัวเองเป็ น 2 กลุ่ม
• ไม่มี higher Low
• มี new low

101
หุน้ B C ที่ผมสนใจ อาทิตย์น้ ี

102
หุน้ ชุด D

103
สัญญาณซื้ อ

104
สัญญาณขาย

105
เรื่ อง Candlestick

106
สัญญานซื้อจุดแรกเกิดที่ Candlesticks
• สัญญาณซื้ อ มักจะเกิดที่ปลายทางของการปรับฐาน และตรงจุดที่มีการผ่านแนวรับ
หรื อแนวต้านสาคัญๆ เราจึงจะเริ่ มตัดสิ นใจซื้ อ ขาย หรื อ ถือ
• ข้อสาคัญของการเลือกหุ น้ ต้องเลือกหุ น้ ที่เป็ นแนวโน้มเป็ นขาขึ้นเท่านั้น
• จุดตัดสิ นใจซื้ อหรื อขาย ตรงปลายทางของการปรับฐาน ช้าไปก็ไม่ดี เร็ วไปก็ไม่ได้
ใจร้อนมากก็ไม่ไหว ใจเย็นไปก็ไม่ได้ของ
• ความยุง่ ยากตรงจุดตัดสิ นใจ สอนกันไม่ได้ ต้องฝึ กฝน
• หุ น้ บางตัวเกิดสัญญาณซื้ อหรื อขายที่ปลายทางของการปรับฐานอย่างชัดเจน มีเวลา
ให้เรา ซื้ อ หรื อขึ้นมาให้ ขาย อีกครั้ง แต่หุน้ บางตัวก็ไม่เปิ ดกาสให้ แต่ผมกลับชอบ
ตัวที่ไม่เปิ ดโอกาสให้ เพราะ เลือกทางชัดเจนแล้ว
• คนส่ วนใหญ่ หาจังหวะซื้ อสวยๆ ได้แล้วก็ขาย ไปหาตัวใหม่ๆเล่น ทาแบบนี้ไป
เรื่ อยๆ ทิ้งตัวเก่า ทั้งที่เรามีขอ้ มูลอยูแ่ ล้ว ทาไมไม่เล่นตัวเดิมๆ การวิง่ วนไปเรื่ อยไม่
107
น่าจะทาให้อตั ราการทากาไรดีข้ ึนหรอก
Candlestick

108
ลักษณะของแท่งเทียนมีอยู่ 3 แบบ คือ
1. แท่งเทียนขาขึ้น Bullish Candlestick ลักษณะของแท่ง
เทียนขาขึ้นนี้ ราคาปิ ดจะอยูส่ ูงกว่าราคาเปิ ด

109
2. แท่งเทียนขาลง Bearish Candlestick ลักษณะของแท่ง
เทียนขาลงคือ
ราคาปิ ดจะต้องต่ากว่าราคาเปิ ด

110
3. Doji โดจิคือ ราคาเปิ ดและราคาปิ ดของแท่งเป็ นราคาเดียวกัน หรื อ
อยูใ่ กล้เคียง
กันมากๆ

111
112
การใช้ Candlestick ในแบบของผม
• ผมเอาไว้ใช้เล่นเก็งกาไรระยะ 1-3 วัน ผมอ่านเป็ นการต่อสู้กนั ระหว่างแรงซื้อกับแรงขาย
• ผมชอบแท่งเทียนมีสีเขียวเล็กๆค่อยๆ เพิ่มจานวนแท่งมากขึ้น แล้วราคาค่อยๆยกฐานขึ้น ชอบ
มากกว่า เขียวยาวๆ ติดต่อกัน หรื อแท่งเทียนสี เขียวบ้างแดงบ้างสลับกันไปมา แต่เป็ นขาขึ้น
• ผมไม่ชอบแท่งเทียนสี แดงขนาดใหญ่ หรื อราคาเปิ ด Gap กระโดดลง มีโอกาสสูงที่ราคาจะไม่
ไปไหนหรื อลงต่อ
• ผมชอบแท่งสี แดงขนาดกาลังดีติดต่อกัน 2-3 แท่ง ในแนวโน้มขาขึ้น ผมจะหาจังหวะเล่น
จังหวะเก็งกาไร Rebound 1-3 วันได้ หรื อ หาจังหวะในการเก็บหุน้
• ผมไม่ชอบแท่งสี เขียวที่ยาวมากๆ วันต่อมามีโอกาสลง
• ผมไม่ชอบเรี ยกชื่อแท่งเทียน ผมจาไม่ได้
• ในแนวโน้ม Sideway การวิเคราะห์แท่งเทียนใช้ไม่ได้ ใช้ได้เฉพาะแนวโน้มขาขึ้น หรื อ ขา
ลงชัดเจน เท่านั้น

113
แรงขายทุบทะลุแรงซื้ อ

แรงขายทุบทะลุแรงซื้ อ

กาลังซื้ อแผ่วลง
กาลังขายเข้มแข็ง

กาลังขายยังคงแรง

กาลังซื้ อแรงอย่างต่อเนื่อง กาลังซื้ อพยายามจะตีให้


ทะลุ แต่ทาไม่สาเร็ จ เรารอกาลังซื้ อที่จะ
ตีฝ่าทะลุอีกครั้ง กาลัง
กาลังซื้ อตีทะลุสาเร็ จ ประมาณ 20 จุดขึ้นไป

สรุป รายย่อยนั่งดูต่อไป
114
รู ปแบบแท่งเทียนสมัยใหม่ มักจะใช้ 3-4 แท่งขึ้นไป

115
สัญญาณเตือนของแท่งเทียนก่อนตลาดปรับฐานใหญ่

116
สัญญาณเตือนในรอบเดือนมิย.2556 มีไหม
• รู ปแบบการไม่มีหุน้ ตัวนา ของหุน้ ชุด A
• รู ปแบบ การขายหุน้ BANK
• แปลว่ารู ปแบบการเตือนมี 2 แบบ
• หุน้ ชุด A กรณี ฝรั่งขาย จะไม่เห็นหุน้ ตัวนาตลาด
• หุน้ ชุด C D ที่เคย HOT มากๆ เริ่ มมีแรงขายแปลกๆ หนักๆ แปลว่า
รายใหญ่ในประเทศจะออกจากตลาด หุน้ จะปรับฐานไม่แรง
• หุน้ ชุด B จะเป็ นตัวตาม ตลาดลงก็ลงด้วย ลงแรงหรื อไม่ข้ ึนอยูก่ บั
พื้นฐาน และหุน้ ชุด B จะมีปัญหา เฉพาะช่วงที่ฝรั่งขาย
117
กราฟแท่งเทียนแปลกๆ ที่เคยเกิดขึ้นในอดีต มักจะเป็ นหุ น้
ชุด D

118
รู ปร่ าง ที่รายย่อยชอบ เป็ นจุดที่ทาให้ขาดทุนมาก

119
เรื่ องต่อไปที่ตอ้ งรู้คือการปรับฐานของราคา
• หลังจากราคาขึ้นมาได้สกั ระยะ มักจะต้องเกิดรู ปแบบการปรับฐานของ
ราคา ที่เรี ยกว่า Price Pattern เพื่อจะเลือกทางเดินต่อไป เราจะรู ้
ว่า ราคาจะปรับฐานสั้นๆ หรื อ จบขาขึ้น หรื อขาลงกันแน่ ก็ต่อเมื่อการ
ปรับฐานราคาอันนั้นจบไปแล้ว
• รู ปแบบราคาที่ปรับฐาน แนะนาให้ถือเงินแล้วนัง่ ดู น่าจะปลอดภัยกว่า
เพราะ โอกาสมีแค่ 50:50 ตรงนี้ ห้ามเอาความเชื่อ หรื ออคติเข้ามา
ปน
• แผนภูมิแบบแท่งเทียน Candlesticks จะบอกมีสญ ั ญาณว่าไปต่อ
หรื อลง ในช่วงปลายของการปรับฐานราคา
• ปริ มาณซื้อขายจะเป็ นตัวช่วยยืนยัน ว่าจบหรื อไปต่อ มันจะมีเข้ามา
ในช่วงปลายของแนวโน้ม พร้อมๆ กับ Candlesticks
120
รู ปแบบราคา
• การวิเคราะห์รูปแบบของราคา (PRICE PATTERN) จาก
แผนภูมิแท่งแบ่งได้เป็ น 3 ประเภท คือ
• รู ปแบบของราคาที่บอกถึงการเปลี่ยนทิศทางใหม่
(REVERSAL TREND)
• รู ปแบบของราคาที่บอกถึงทิศทางต่อเนื่อง
(CONTINUATION TREND)
• รู ปแบบของราคาที่ไม่ไปได้ทางใดทางหนึ่ง (SIDEWAYS
PATTERN)
121
รูปแบบของราคาทีบ่ อกถึงการเปลีย่ นทิศทางใหม่
(REVERSAL TREND)

เมื่อมีรูปแบบนี้เกิดขึ้น แผนภูมิแบบแท่งจะบอกถึงสัญญาณเตือนว่าจะมีการ
เปลี่ยนแปลงในแนวโน้มของราคา โดยมีรูปแบบที่สาคัญ ๆ ดังนี้
• รู ปแบบตัววี (V FORMATION)
• รู ปแบบหัวกับไหล่ (HEAD & SHOULDERS)
• รู ปแบบสองหัวหรื อสามหัวที่จุดต่า และสองหัวหรื อสามหัวที่จุดยอด
(DOUBLE/TRIPLE BOTTOMS &
DOUBLE/TRIPLE TOPS)
• รู ปแบบจาน (THE ROUNDING TURN)
• รู ปแบบสามเหลี่ยมแบบปลายกว้าง (BROADENING
TRIANGLE) 122
รู ปแบบตัววี (V FORMATION)

• เกิดจากการเคลื่อนไหวของราคาเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว ในลักษณะขึ้นหรื อลงเป็ นเส้นชัน โดยมีรูป


คล้ายกับตัว V
• ในหุน้ ขาลง (V-Bottom) โดยจะบอกถึงการเปลี่ยนแนวโน้มจากลงเป็ นขึ้น
• ตัว V กลับหัวในหุน้ ขาขึ้น (V-Top) โดยจะบอกถึงการเปลี่ยนแนวโน้มของหุน้ จากขึ้นเป็ น
ลง อย่างไรก็ดี รู ปแบบตัว V นี้ควรจะเกิดพร้อมกับ GAP หรื อ Candle Sticks
รู ปแบบเปลี่ยนทิศทาง ก็จะส่ งเสริ มกัน
• ปัญหาของรู ปนี้ คือ เกิดไปแล้วถึงรู ้ ไม่ได้เฝ้ า ก็ไม่เห็น บางทีไม่ทนั เผลอไม่ดูหุน้ แค่สองอาทิตย์
ก็เหมือนกลับมาที่เดิม เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น คนที่นงั่ ดู หัวใจวายไป 3 คนแล้ว
• ความยากอยูท่ ี่ตอ้ งเสี่ ยงซื้ อ ในจังหวะที่ราคาถูกแรงเทขาย ส่ งผลทาให้ราคาลดลงอย่างรุ นแรง
ข่าวร้ายมาแบบไม่ต้ งั ตัว ปรกติผมใช้การซื้อในวันที่ 3 ของการลง และถ้าโทรไปหาลูกค้า แล้ว
ไม่มีใครซื้อแปลว่า ใกล้จุดต่าสุ ดแล้ว
• พอๆ กับตอนขึ้นแรงๆ ก็ไม่มีใครอยากขาย ผมไม่เข้าใจเหมือนกันว่า ก็รู้วา่ หุน้ ขึ้นแล้วก็ตอ้ ง ลง
หุน้ ลงแล้งก็มีข้ ึน 123
• รูปแบบหัวกับไหล่ทจี่ ุดต่า (HEAD & SHOULDERS
bottom) หัวกับไหล่ทจี่ ุดยอด (HEAD &
SHOULDERS TOP)

บอกถึงการเปลี่ยนทิศทางของราคาหุน้ จากแนวโน้มขึ้น
เป็ น แนวโน้มลง ประกอบด้วย 3 ยอด ยอดที่สูงที่สุด เรี ยกว่า หัว
(HEAD) ส่ วนยอดที่ต่าลงมาสองข้าง จะเรี ยกว่า ไหล่หรื อบ่า
(SHOULDERS) โดยปริ มาณการซื้อขายใน Head จะน้อย
กว่า ไหล่ซา้ ย ส่ วน VOL ไหล่ขวา จะน้อยที่สุด
มีเส้นเชื่อมตรงฐานเรี ยกว่า เส้นคอ (NECKLINE) และเส้นนี้ไม่
จาเป็ นต้องเป็ นแนวนอนเสมอไป แต่ไม่ควรจะเป็ นเส้นที่ชนั มากเกินไป
เช่นกัน เมื่อราคาหุน้ ตกทะลุผา่ นเส้นคอ (NECKLINE) มักจะมา
พร้อมกับปริ มาณการซื้อขายที่สูงขึ้น แสดงให้เห็นว่าราคาจะมีแนวโน้ม
ยืนยันแล้ว ว่าจะลง 124
125
• รูปแบบ สองหัวหรือสามหัวทีจ่ ุดต่า และสองหัวหรือสามหัวทีจ่ ุดยอด
(DOUBLE/TRIPLE BOTTOMS &
DOUBLE/TRIPLE TOPS)

• กรณีสองหัว (DOUBLE TOPS) รู ปแบบของราคาจะมี


ลักษณะคล้ายตัว M โดยจะมียอด 2 ยอด ปริ มาณการซื้อขายหุน้ ในยอด
แรก จะมากกว่าปริ มาณการซื้อขายหุน้ ในยอดที่ 2
• หลังจากนั้นราคาจะลดลงอย่างรุ นแรง โดยเฉพาะจะที่ทะลุผา่ นเส้นคอลง
ไป ซึ่งถือว่าเป็ นจุดขายจุดสุ ดท้าย เพราะถ้าคุณไม่ขาย คนอื่นขาย
• ระยะทางที่จะลงไปได้น้ นั จะลงไปได้อย่างน้อยเท่ากับระยะห่างระหว่าง
ยอด ถึงเส้นฐาน หรื อ คอก็ได้ ส่ วนจะลงไปได้แค่ไหน ไม่ได้บอกไว้

126
127
• กรณีสองหัวทีจ่ ุดต่า (DOUBLE BOTTOMS)

• รู ปแบบคล้ายตัว W มีลกั ษณะกลับทางกันกับกรณี สองหัวที่จุดยอด


(DOUBLE TOPS) โดยกรณี สองหัวที่จุดต่า (DOUBLE
BOTTOMS) จะเกิดที่จุดต่าสุ ด จะบอกถึงตลาดกาลังจะ
เปลี่ยนเป็ นแนวโน้มขึ้น เพราะมีแรงซื้อแบบมีนยั สาคัญเกิดขึ้น จึงควร
เริ่ มทดสอบไม้ซ้ือไม้แรกที่จุด หัวที่สอง และ ณ จุดที่ราคาตัดเส้นคอ
(NECKLINE) ขึ้นมา ให้ใช้เป็ นไม้ Follow Buy

128
129
• กรณีสามหัวทีจ่ ุดยอด (TRIPLE TOPS)
• รู ปแบบนี้จะมียอดอยู่ 3 ยอด โดยปริ มาณการซื้อขายหุน้ จะลดลงในแต่
ละยอดตามลาดับ
• การทายอดแต่ละยอด เท่ากัน หรื อไม่เท่ากันก็ได้ ตรงนี้มกั จะเกิด
Divergent ทั้ง MACD และ RSI
• โดยยอดแรกจะน่ามีปริ มาณการซื้อขายหุน้ มากที่สุด และในยอดที่ 3
น่าจะมีปริ มาณการซื้อขายน้อยที่สุด
• ขณะที่ปริ มาณการซื้อขายหุน้ จะเพิ่มมากขึ้นอีกครั้ง ตอนหลุดเส้นฐาน
หรื อ เส้นคอ
• ระยะเวลาที่ใช้เกิดรู ปนี้ ควรจะอยู่ 3-6 เดือน ขึ้นไป
130
131
132
• รูปแบบจาน (THE ROUNDING TURN)
• ราคาหุน้ จะก่อตัวคล้ายรู ปจานโดยแบ่งเป็ น
• รูปแบบจานหงาย (ROUNDING BOTTOM)
• มีลกั ษณะเป็ นรู ปครึ่ งวงกลม ปริ มาณการซื้อขายหุน้ จะลดลงไปเรื่ อยใน
ช่วงแรก แล้วจะค่อยๆเพิ่มขึ้นตามราคาหุน้ ที่คอยๆขึ้นเช่นกัน บอกถึงว่า
ราคาหุน้ ตัวนี้มีแนวโน้มที่จะขึ้น
• ราคามักจะขึ้นไปตามผลประกอบการ ส่ วนใหญ่ผลประกอบการออกมา
ได้ 2 ไตรมาสแล้ว ตลาดยังไม่รับรู ้กม็ ี เนื่องจากเราหลงลืม และละเลย
มันไป
• ระยะเวลาการทาก้นของชาม จะเป็ นปี ขึ้นไป จนถึงหลายปี

133
134
• รู ปแบบจานควา่ (ROUNDING Top)

• มีลกั ษณะคล้ายจานคว่า บอกให้ทราบถึงว่าราคามีแนวโน้มจะลดลง โดยมีลกั ษณะ


ปริ มาณการซื้ อขายหุ น้ จะค่อยลดลง เมื่อราคาหุ น้ เป็ นแนวโน้มไม่ทาจุดสู งสุ ดใหม่
• ราคาหุ น้ จะมีลกั ษณะแนวโน้มแบบแกว่งตัวด้านข้าง เป็ นระยะเวลาหลายเดือน บาง
วันอาจจะมีราคาหุน้ กระตุกเป็ นระยะๆ
• ข่าวดี เรื่ องผลประกอบการกาไรที่ทรงตัว ไม่มีอตั ราการเติบโต เรามักไม่ค่อยเห็น
เพราะเราฝังใจว่า มันเป็ นหุ น้ ดี ไม่มีอะไรหรอก รวมถึงคาสัมภาษณ์ของเจ้าของหุ น้
ยังออกมาเชียรให้ถือหุน้ ให้ความหวังเราเป็ นระยะๆ
• ข่าวดี เรื่ องเงินปั นผล และ โครงการฝันหวานในอนาคต ก็มีหยอดออกมาตลอด
• สุ ดท้ายจะจบลงด้วยผลประกอบการที่แย่ลง ราคาที่ลดลงอย่างรุ นแรง

135
136
รู ปแบบช่ องว่ าง (GAP) เกิดขึ้นเมื่อผูค้ นในตลาด มีความต้องการซื้อหรื อขายหุน้ ตัวใดตัว
หนึ่งอย่างรุ นแรง รอไม่ได้ ต้องทาตอนเปิ ดตลาดนี่แหละ ทาให้เกิดช่องว่างของราคาเปิ ด ใน
ลักษณะที่มีการกระโดดขึ้นหรื อลงก็ได้ โดยรู ปแบ่งช่องว่าง แบ่งเป็ น

• COMMON GAP เกิดขึ้นในหุน้ ที่ซ้ื อขายกันไม่มาก ช่องว่างชนิดนี้ไม่มีความสาคัญ


บางทีกเ็ กิดจากการคียอ์ อเดอร์ผดิ ก็เป็ นได้ ทิศทางของราคาหุน้ ที่เกิด Gap ประเภทนี้ เกิดแล้วก็
สามารถปิ ดช่องว่างได้ภายไม่กี่วนั และแนวโน้มของหุน้ ตัวนี้ จะเป็ น Sideway

• BREAKAWAY GAP เกิดขึ้นเมื่อราคาหุน้ ทะลุออกจากรู ปแบบที่ก่อตัวมาครั้ง


ก่อน เช่น การทะลุผา่ นแนวต้านสาคัญ รู ปสามเหลี่ม หรื อรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า โดยรู ปแบบ
BREAKAWAY GAP นี้เป็ นการเริ่ มต้นวิง่ ของแนวโน้มใหม่ และควรจะเกิดพร้อมกับ
ปริ มาณการซื้อขายที่สูง

137
• CONTINUATION/RUNAWAY GAP เมื่อราคาหุน้
วิง่ ขึ้นมาระดับหนึ่ง (โดยส่ วนใหญ่จะประมาณครึ่ งทางของแนวโน้มทั้งหมด) แล้ว
เกิดข่าวดี ที่เซอร์ ไพรส์ตลาด ราคากระโดดห่ างออกจนเป็ นช่องว่างจากราคาเดิมอีก
ครั้ง แปลว่า ราคายังสามารถวิ่งต่อไปได้อีก

• EXHAUSTION GAP เป็ นการกระโดยขึ้นหรื อลงของราคาครั้ง


สุ ดท้าย หลังจากนั้น ราคาหุ น้ เริ่ มปรับตัวลงหรื อจบรอบ ปริ มาณการซื้ อขายหุ น้ จะมี
เข้ามาสู งมาก หลังจากนั้นราคาจะเปลี่ยนแนวโน้มไปจากเดิมอย่างรวดเร็ ว ซึ่ ง
GAP ชนิ ดนี้ หากเกิดภายหลังจาก BREAKAWAY GAP และ
CONTINUTION GAP จะช่วยให้การยืนยันการจบรอบ

138
139
หุน้ ชุด A

140
หุน้ ชุด B

141
หุน้ ชุด C

142
หุน้ ชุด D

143
รูปแบบของราคาทีบ่ อกถึงทิศทางต่ อเนื่อง
(CONTINUATION TREND)

เป็ นการพักตัวชัว่ คราว ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของแนวโน้ม ราคายังคง


ไปในทิศทางเดียวกันกับแนวโน้มที่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้ เช่น ถ้าราคา
หุน้ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น แล้วเกิดรู ปแบบดังกล่าว มีโอกาสสูงที่จะขึ้น
ต่อไปอีกขั้นหนึ่ง ยังไม่จบแนวโน้มขาขึ้น
มี 2 รู ปแบบ คือ FLAG และ PENNANT
รู ปแบบธง (FLAG) แบ่งเป็ น 2 แบบ คือ
BULLISH FLAG
BEARISH FLAG
รูปแบบธงปลายแหลม (PENNANT) มีแบบเดียว
144
รู ปแบบธงของแนวโน้ มขึน้
(BULLISH FLAG)

145
(BEARISH FLAG)

146
รูปแบบธงปลายแหลม (PENNANT)

รู ปแบบธงปลายแหลม
(PENNANT)

147
รู ปแบบของราคาที่ยงั ไม่ เลือกทางว่ าจะไปทางไหน (SIDEWAYS
PATTERN)
ราคาก็เลยออกข้ าง ยังเลือกไม่ ถูกว่ าจะไปทางไหน ราคาจะแกว่ งตัว
นาน 6 เดือนขึน้ ไป บางหุ้นเป็ น 1-2 ปี ก็มี มี 2 ลักษณะคือ
RECTANGLE หรื อ TRIANGLE

1 รู ปสี่ เหลีย่ มผืนผ้ า (RECTANGLE) เกิดจากการเคลื่อนไหว


ของราคาไปทางด้านข้าง (SIDEWAYS) ทาให้เกิดเส้นหนุน
(SUPPORT LINE) และเส้นต้าน (RESISTANCE LINE)
ในลักษณะเส้นขนานในแนวนอน ขนาดความกว้างของกรอบราคาประมาณ
10-20%
148
149
2 รูปสามเหลีย่ ม SYMMETRICAL TRIANGLE
มี 2 รู ปแบบ คือ

1. ASCENDING TRIANGLE
เป็ นรู ปสามเหลี่ยมที่สร้างจากเส้นที่ลากต่อกันระหว่างจุดยอดกับ
จุดยอดที่เอียงลงในกรอบบน และเส้นที่ลากระหว่างฐานกับฐาน จะเอียง
ขึ้น ราคาหุน้ จะวิ่ง อยูใ่ นกรอบ การทะลุผา่ นกรอบล่าง หรื อ กรอบบนได้
จะเป็ นสัญญาณต้องซื้อ กรณี ทะลุข้ ึน หรื อ ขาย กรณี ทะลุลง

150
เวลาปรับฐานประมาณ 6 เดือนขึ้นไป

151
2 .DESCENDING Triangle

เป็ นรู ปสามเหลี่ยมที่สร้างจากเส้นที่ลากต่อกันระหว่างจุดยอดกับจุด


ยอด ในลักษณะเอียงลง และเส้นลากระหว่างฐานกับฐาน จะเป็ นไปใน
แนวราบ เมื่อราคาหุน้ วิ่งทะลุผา่ นเส้นแนวรับลงมาทางด้านล่างได้ จะ
เป็ นสัญญาณให้ขาย ต้องรอบคอบตอนแทงลง อาจะไม่ลงจริ ง ออกเป็ น
รู ป Sideway ขนาดใหญ่แทนก็ได้

152
153
154
155
156
157
หุน้ ชุด A

158
หุน้ ชุด B

159
หุน้ ชุด C

160
หุน้ ชุด D

161
162
การวิเคราะห์หุน้ D F
• ใช้ Candlestick ให้สัญญาณซื้ อตรงจุด Follow Buy
• ใช้ PRICE Pattern ผ่านการพักฐานราคาระยะไม่เกิน 3 เดือน
• เลือกหุน้ ที่มีอนาคต หรื อหาเป้ าหมายราคา จาก
• ขนาดการปรับฐานของ Price Pattern
• Fibonannci
• Harmonic
• Elliots
• Technical Indicators สนับสนุนว่า เป็ นขาขึ้น
• วิเคราะห์งบการเงิน ของมีคุณภาพไหม ข่าวลือเป็ นจริ งได้ไหม
• เสี่ ยงสู ง ผลตอบแทนสู ง ช้าตาย เร็ วรอด ท่องไว้
163
หุน้ ชุด D F
• ใช้ Technical Analysis เต็มรู ปแบบ ซึ่ งเราจะเรี ยนกันวันนี้
• ต้องฝึ กสร้างความอดทนต่อความร่ ารวย โดยการพักสายตาจากการเฝ้ าจอบ้าง
หลังจากใช้สติปัญญาทั้งหมดในการตัดสิ นใจเข้าซื้ อหุ น้ แล้ว สักประมาณ 1-2
ชัว่ โมง โดยการไปนวดแผนโบราณแล้วค่อยกลับมาดู
• ฝึ กความไวในการตัดสิ นใจ และวางคาสั่งซื้ อขายให้เร็ ว อย่าลังเล อย่าคิดมาก
• ฝึ กตามพฤติกรรมการวางคาสั่งซื้ อขายของรายใหญ่ ดูการเคาะซื้ อ ดูวา่ ไม้ซ้ื อ เป็ น
แบบไหน แบบไหนมาแล้วราคาหุ น้ จะขึ้น แบบไหนมาแล้วราคาหุ น้ จะลง อย่าดู
Ticker แบบไม่มีจุดหมาย ดูที่หุน้ ที่เราตาม อย่าเฮตามเพื่อน ไม่มีประโยชน์
• ตัวหุ น้ ที่เล่นของหุ น้ ชุด D เปลี่ยนไป นับตั้งแต่มี Value Investor
เกิดขึ้น หุ น้ เล็กๆ ไม่มีขอ้ มูลพื้นฐานสนับสนุน ไม่ได้รับการสนใจจากนักเก็งกาไร
รายใหญ่ในประเทศอีกต่อไป
164
หุน้ D F ต้องรอบตัว

• ลักษณะการเล่น ว่าที่ผา่ นมา เจ้า เขาเล่นสั้นรอบเดียวจบ หรื อเล่นยาวหลายรอบ


• ดูกระแสการเก็งกาไร ว่าตลาดช่วงนี้อยูต่ รงไหน ชอบหุ น้ แบบนี้หรื อไม่
• ใช้การหาข่าววงใน ให้ในจริ งๆ
• ใจต้องยอมรับได้ ว่าไม่มีเงินก้อนนี้แล้ว เวลาเล่นจะช่วยให้จิตใจสงบ ทาใจร่ มๆ
• รอบของการ Let Profit Run ไม่เกิน 5 วัน นับแต่วนั ที่ข้ ึน เท่าทุนขาย
• การ Stop Loss ต้องทาทันทีที่มีสัญญาณขาย หรื อ Stoplossที่ 3%
• จังหวะไหนทากาไรได้ตอ้ งทา เช่น เปิ ดกระโดดต้องขาย เพื่อเก็บกาไร และค่อยหา
จังหวะซื้ อคืน ต้องไม่หลงรัก อย่าย่ามใจ หรื อปั กใจว่า เรื่ องที่ได้ยนิ มา ใช่แน่นอน
มันเคยให้กาไรเยอะ มันก็เอากลับเยอะ

165
โชคชะตา ดวงก็สาคัญ
• วันนี้ทาไมใจร้อน ขายเร็ วทั้งวัน
• จะซื้อ ต้องมีคนมาขัดจังหวะทุกที
• หมัน่ ทาบุญ ฝึ กสมาธิ
• ภาวะตลาด สาคัญ ตลาดขาลง หยุด
• ถ้าเล่นไปเริ่ มขาดทุนก็ตอ้ ง พัก
• สัญญาณเก็งกาไรปิ ด ดูที่ SET

166
C D F ในตลาดขาขึ้นเล่นแบบ
• ให้ Follow Buy ข้างล่าง ปลอดภัย แต่ตอ้ งทาใจ แรงขายเยอะ
• การ Follow Buy ตรงกลาง ปลอดภัย แรงขายไม่เยอะ น่าสนใจมาก
• การ Follow Buy ด้านบน เสี่ ยง แต่ผลตอบแทนก็มาก เช่นกัน
• การเฝ้ าหุ น้ ดูไม้เล็กๆ เคาะนา ไม้ใหญ่เคาะขวา หรื อ การเติมซื้ อหรื อขาย ต้องฝึ กดู
เป็ นประจา การดูนิสัยหุ น้ เช่น เช้าดัน บ่ายปล่อยลง ช่วงเวลาสี่ โมงรายใหญ่เข้าไล่
ซื้ อหุ น้ ตัวนี้เป็ นประจา เหล่านี้ ตอ้ งจดเอาไว้ในบันทึก
• ตามข่าวในหนังสื อพิมพ์ ถ้าหุ น้ ขึ้นแล้วหาข่าวไม่เจอ แปลว่า ราคายังไปได้อีก แต่
ถ้าออกข่าวทางหนังสื อพิมพ์แล้ว แบบนี้ราคาไปยาก ถ้ามีแรงขายให้ขายตามไปเลย
แต่ถา้ ราคายังไปต่อไม่ลง ทาจุดสู งสุ ดได้ใหม่ แปลว่า จะมีข่าวเป็ นซี รี่ยอ์ อกมา ข่าว
ยังไม่จบ
• การวางไม้ซ้ื อของเรา ต้องมีไม้ทดสอบ ไม้ถอย ไม้ไล่ อย่าซื้ อไม้ใหญ่ไม้เดียว ต่าสุ ด
2 ไม้
167
เรื่ องของ ข่าว

168
ใครมีข่าวเกี่ยวกับหุน้ ไหม เราใช้กราฟเช็คได้

169
หุน้ D กับ Candle/price
pattern/trendline/ Volume

170
• Jesse Livermore ได้ รับการยอมรับว่ าเป็ นตานานของนักเก็งกาไรที่
ยิง่ ใหญ่ กฎการเก็งกาไรของเขา บอกเอาไว้
• 1) นักเก็งกาไรถ้ าปราศจากเงิน คุณก็เก็งกาไรไม่ ได้ การซื้อหุ้นเต็มจานวนใน
คราวเดียวทีร่ าคาเดียวนั้นอันตรายมาก ให้ ทยอยซื้อ เมือ่ แน่ ใจว่ าสิ่ งที่คดิ ไว้ ถูกต้ อง
ค่ อยซื้อเต็มจานวน
• 2) กาหนดจุดตัดขาดทุน STOP LOSS ถ้ าซื้อหุ้นแล้ วราคาหุ้นไม่ ขึน้
ตามที่คาดการณ์ ไว้ แถมลงมาอีกต่ างหาก ต้ องกาหนดว่ าจะยอมขาดทุนได้ ไม่ เกิน
กีเ่ ปอร์ เซ็นต์
• 3) คุณไม่ จาเป็ นต้ องลงทุนตลอดเวลา จะเล่ นต่ อเมื่อเห็นโอกาสกาไรเท่ านั้น
• 4) อย่ารีบทากาไร ต้ องปล่ อยราคาหุ้น หรือ Let Profit Run ถ้ า
หุ้นยังมีโอกาสจะวิง่ ไปเรื่อย ๆ อย่ ารีบขาย “ กาไรไม่ เคยทาร้ ายใคร”
• 5) เมือ่ ได้ กาไร ต้ องเก็บเงินสดออกไป อย่ าเอาเงินกาไรไปเล่นต่ อ นี่กเ็ ป็ น
กฏข้ อเดียวที่ J.L. บอกว่ า นี่เป็ นกฏข้ อที่ตวั เองไม่ ได้ ทา เป็ นสาเหตุหลักทีท่ าให้
เขาผิดพลาด เงินที่ได้ มา ต้ องเสี ยคืนกลับไปในตลาดหมด

171
Follow Buy
ด้านบน

172
Follow Buy Follow
ด้านล่าง ปลอดภัย Buy ด้านกลาง
แต่แรงขายเยอะ

173
ตัวอย่างที่ไม่สามารถผ่านเป็ น Follow Buy ได้

ขึ้นรู ปมาก็ตอ้ งรู ้เป็ นหุ น้ ที่รายใหญ่


เขาดันขึ้นมา จะด้วยเหตผลอะไรก็
แล้วแต่ ให้ต้ งั หลัก ที่จุด
Follow Buy

174
พอลงมาแล้ว ก็อย่าติดใจ กลับเข้าไปใหม่
ผลตอบแทน ไม่คุม้ กับความเสี่ ยง

เรี ยกว่า หุ้นฝั่งซ้ าย กับ ฝั่งขวา

หุ น้ ฝั่งซ้าย หุ น้ ฝั่งขวา

175
สัญญาณเก็งกาไรของตลาดปิ ด

ตามที่วงไว้ คือ สัญญาณเก็งกาไร ปิ ด

176
สรุ ปการเล่นหุน้ ชุด D F
• ต้องเล่นในตลาดขาขึ้น ตอนขาลงต้องหยุดเล่น
• ต้องรู ้จกั คาว่า สัญญาณเก็งกาไรปิ ด
• ได้เงิน ต้องเก็บ ต้องรู ้พอ
• มีโอกาสชนะก็เข้า
• ไม้สุดท้าย ต้อง ขาดทุน
• ห้ามถือยาว ถ้าไม่รู้จริ ง เรื่ อง พื้นฐาน
• ท่าตาย คือ เจ้าของหุน้ ขาย เจ้ามือตาย Force sell

177
ขอตัวอย่าง

178
กลยุทธ์การเล่น TFEX ผมเล่นเหมือนหุน้ F
• กฏข้อที่ 1 การถือสัญญา หรื อ Position ข้ามคืน เซี ยนหลายคนห้ามไว้ ไม่อยากให้ทา
แบบนั้น พยายามอย่าค้างคืน บอกเขาว่า ขอชัว่ คราว
• กฏข้อที่ 2 ต้องเล่นไปตามแนวโน้มใหญ่ ถ้าแนวโน้มใหญ่เป็ นขาขึ้นก็ตอ้ งอยูฝ่ ั่ง Long
position เข้าไว้ เล่นแบบทุกครั้งที่มีการปรับฐานลงมา ก็เปิ ด long Position
ได้เลย แต่ถา้ แนวโน้มใหญ่เป็ นขาลงก็ให้อยูฝ่ ั่ง Short Position อย่าคิดสวนตลาด
เป็ นอันขาด ห้ามคาดการณ์ดว้ ยว่า ลงมาแรงแล้วตลาดน่าจะกลับได้
• กฏข้อที่ 3 ได้นอ้ ยๆ ได้เรื่ อยๆ ท่านว่าดีกว่า ได้คาใหญ่ๆ การกินคาใหญ่ท่านต้องมัน่ ใจว่า
การมองแนวโน้มระยะกลางของท่านว่าไม่พลาด
• กฏข้อที่ 4 การเล่นในฝั่ง Long Position ท่านสามารถเห็นแนวโน้มง่ายกว่า การ
เล่นอยูใ่ นฝั่ง Short Position ดังนั้นการทา Short Position ใครชักช้า ทา
ช้า คิดช้า เสี ยเปรี ยบทันที บางทีคิดได้แต่ไม่ทนั กิน
179
• กฏข้อ 5 เรี ยกว่าท่าตายของการเล่น TFEX
• ท่าแรกอยูท่ ี่ การถือ Position ข้ามคืนเต็มพอร์ต โดยเฉพาะในจังหวะที่สถานกาณ์ใน
ต่างประเทศผันผวน อาจจะส่ งผลให้เกิดการผันผวนขึ้นลงรุ นแรงของตลาดหุ น้ ไทย ใน
วันรุ่ งขึ้น หรื อแม้แต่การถือสถานะข้าม ในช่วงพักครึ่ งวันของตลาดไทย ก็ตอ้ งระวัง
• ท่าตาย ท่าที่ 2 คือ การหลุดแนวรับหรื อทะลุแนวต้านสาคัญ แล้วไม่ปิด Position
การเปลี่ยนทิศทางหรื อแนวโน้มในระดับสาคัญๆ ท่านต้องตัดสิ นใจทาอะไรสักอย่าง ข้อ
ควรระวัง อาจจะมีผเู ้ ล่นรายใหญ่ เข้ามาทาให้หลุดแนวรับสาคัญ หรื อทะลุแนวต้านสาคัญ
แล้วย้อนทางตลบหลังท่าน เป็ นไปได้ ก็ตอ้ งใช้ประสบการณ์สู้วา่ ลงจริ งหรื อลงหลอกๆ
• ท่าตาย ท่าที่ 3 ของการเล่น TFEX คือ การกลยุทธ์ซ้ื อถัวเฉลี่ย เหมือนซื้ อหุ น้ อาศัย
ความคุน้ เคย อันนี้บอกได้เลยว่า การซื้ อเฉลี่ยในตลาด TFEX อาจจะโดนหนักถึงตาย
ได้ ภายในครั้งเดียว โดยเฉพาะช่วงใกล้ๆปิ ดซี รีย ์

180
• กฏข้อที่ 6 การใช้เครื่ องมือของการวิเคราะห์เชิงเทคนิค
• อาวุธที่เอาชนะ TFEX ได้ คือ เครื่ องมือทางเทคนิค ที่ท่านถนัดเพียงอัน
เดียวหรื อ สองเครื่ องมือเท่านั้น ผมถนัดเส้น Moving average ผม
ก็ใช้เพื่อเป็ นจุดตัดสิ นใจ และคุมแนวโน้ม ผมไม่ใช้อย่างอื่น ผมต้องการให้
ระยะเวลาในการตัดสิ นใจ เร็ วที่สุดเท่าที่จะทาได้

• กฏข้อสุ ดท้าย ความแน่นอน คือ ความไม่แน่นอน ผิดทางต้องรี บแก้ไข อย่า


มัน่ ใจอะไรเกินไป อย่าหึกเหิ มเกินไป จริ งๆ เหมือนการเล่นกอล์ฟ

• รู ้วา่ ผิดผลาดบ่อยๆ ให้นงั่ พัก พอสมาธิกบั ความมัน่ ใจกลับมาแล้ว ก็เขาไป


ใหม่
181
ตัวอย่าง

182
การวิเคราะห์กราฟที่วา่ ด้วย การทานายอนาคต
• มีคนชอบใช้วา่ เป็ น เทคนิเคิลขั้นสูง
• เป็ นความพยายามของมนุษย์ที่จะเห็นอนาคตก่อนคนอื่นให้ได้
• ยิง่ ดูไกล ยิง่ มีโอกาสผิดสูง
• เก็บรู ปแบบที่เกิดบ่อยๆ เอาไว้

183
การหาเป้ าหมาย ว่าราคาหุน้ จะขึ้นไปที่ไหน
• จากเส้นแนวโน้ม Trendline
• จาก Price Pattern

นอกจากนั้น ในบทท้ายๆ เราสามารถหาเป้ าหมายในการขึ้นแต่ละรอบ ทั้ง


รอบสั้นรอบยาว ได้จาก
• Harmonic Patterns
• Elliots Wave
• Harmonic Elliots Wave
184
ตัวอย่างการหาเป้ าหมายจากแนวโน้มขาขึ้น

185
การหาเป้ าหมายจาก Price Pattern
• จากฐานของรู ปสามเหลี่ยม

186
เรื่ องต่อไป คือ Fibonacci

187
• เลโอนาร์โด ปี ซาโน (Leonardo Pisano) หรื อ เลโอนาร์โด ฟี โบนัชชี
(Leonardo Fibonacci) หรื อรู ้กนั ในชื่อสั้น ๆ ว่า ฟี โบนัชชี
(Fibonacci) เป็ นนักคณิ ตศาสตร์ ชาวอิตาลี มีชื่อเสี ยงโด่งดังจากการค้นพบ
เลขลาดับฟี โบนัชชี และมีบทบาทในการเผยแพร่ การเขียนและวิธีการคานวณระบบ
จานวนฐานสิ บที่ให้ค่าตาม หลักแบบอาราบิก ที่ใช้กนั ในปั จจุบนั

เขาค้นพบลำดับฟี โบนักซี คือ 0, 1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34,


55, 89, 144, 233, ..., โดยที่เลขสองตัวข้างหน้าบวกกันกลายมาเป็ น
ผลลัพธ์ ของอีกตัวหนึ่ งทางด้านขวา เช่น 2+3 =5 ไปเรื่ อย ๆ

หากคานวณอัตราส่ วนของเลขจานวนใด ๆ กับจานวนที่สูงขึ้นถัดไป ผลที่ได้เท่ากับ


0.618 ตัวอย่างเช่น 21/34 = 0.618

ทานองเดียวกัน หากคานวณอัตราส่ วนระหว่างตัวเลขสลับกัน ผลที่ได้เท่ากับ


0.382 ตัวอย่างเช่น 13/34 = 0.382 188
สรุ ปตัวเลข Fibonacci
• 0.236(23.6%)
• 0.382(38.2%)
• 0.500(50%)
• 0.618(61.8%)
• 0.764(76.4%)
• 1.000(100%)
• 1.318(131.8%)
• 1.618(161.8%)
• 2.618(261.8%)
• 4.236(423.6%)

• บางตารา ใช้ตวั เลข สแควร์รูท 2 สแควร์รูท 5 และค่าพาย 22/7


189
ตัวเลขจากตาราสมัยใหม่
• 14.6 • 66.7 • 114.6 • 223.6
• 23.6 • 76.4 • 123.6 • 261.8
• 33.3 • 85.4 • 138.2 • 276.4
• 38.2 • 90.0 • 166.7 • 285.4
• 41.4 • 94.4 • 176.4 • 294.4
• 50 • 100.0 • 185.4 • 361.8
• 58.6 • 105.6 • 190.2 • 376.4
• 61.8 • 109.2 • 194.4 • 385.6
• 423.6
190
ถ้า 166.7% คือ 1567
176.4 คือ 1658
138.2% คือ 1340

หุน้ D ให้ใช้แบบนี้

191
เรื่ องต่อไป คือ Harmonic

192
• Harmonic จะมีท้ งั หมด 6 Pattern มีดงั นี้ครับ

• 1. ABCD Pattern

• 2.Three Drive Pattern

• 3.Gartley Pattern

• 4.Crab Pattern

• 5.Bat Paatern

• 6.Butterfly Pattern

• ล่าสุ ด The Shark Pattern ,The Dragon Pattern


193
194
The AB=CD Pattern

• The Fibonacci numbers in the pattern must


occur at specific points. BC must retrace to 0.618
or 0.786. Of AB
• This retracement sets up the BC projection that
should converge at the 1.27 or 1.618. Of BC
• It is important to note that a .618 retracement at
the C point will result in a 1.618 BC projection.
• A .786 retracement at the C point will result in a
1.27 projection.

195
• ABCD Pattern ก็แบ่งออกเป็ น 2 รู ปแบบครับ คือ Bullish
ABCD และ Bearish ABCD

มี 2 ค่า คือ .618 กับ .786


196
197
198
The Bat pattern
• The Bat pattern is a precise harmonic pattern
discovered by Scott Carney in 2001.
• The pattern incorporates the 0.886XA
retracement, as the defining element in the
Potential Reversal Zone (PRZ).
• The B point retracement must be less than a
0.618, preferably a 0.50 or 0.382 of the XA leg.
• The Bat utilizes a minimum 1.618BC projection.
In addition, the AB=CD pattern within the Bat is
extended and usually requires a 1.27AB=CD
calculation. 199
CD จะมีความยาว
1.618 ของ BC
2.618 ของ CD
หรื อ .886 ของ XA

AB ดีดตัวขึ้นมาใน
ตัวเลข .382 และ BC เทียบกับ XA
0.50 เกินกว่านี้
ไม่ใช่รูปค้างคาว BC เทียบกับ AB 200
201
the Butterfly pattern
• The structure of the Butterfly pattern was
discovered by Bryce Gilmore. In my experience, I
believe an Ideal Butterfly Pattern, which requires
specific Fibonacci ratio to define the structure -
including a mandatory 0.786 retracement of the
XA leg as the B point - offers more precise
Potential Reversal Zones (PRZ) and more
significant trading opportunities.
• the Butterfly pattern must include an AB=CD
pattern to be a valid signal. Frequently, the
AB=CD pattern will possess an extended CD leg
that is 1.27 or 1.618 of the AB leg.
202
• Although this is an important requirement for
a valid trade signal, the most critical number
in the pattern is the 1.27 XA leg. The XA
calculation is usually complemented by an
extreme (2.00, 2.24, 2.618) BC projection.
These numbers create a specific Potential
Reversal Zone (PRZ) that can yield powerful
reversals, especially when the pattern is in all-
time (new highs/new lows) price levels.

203
CD จะมีความยาว
1.618 ของ BC
2.618 ของ BC
หรื อ 1.27และ1.618
ของ XA

BC เทียบกับ XA

AB ดีดตัวขึ้นมาในตัวเลข
BC เทียบกับ AB
.786 เท่านั้น ต่ากว่านี้ กว่านี้
ไม่ใช่รูปผีเสื้ อ 204
205
The Crab is a Harmonic pattern
• The Crab is a Harmonic pattern discovered by
Scott Carney in 2001. The critical aspect of this
pattern is the tight Potential Reversal Zone
created by the 1.618 of the XA leg and an
extreme (2.24, 2.618, 3.14, 3.618) projection of
the BC leg but employs an 0.886 retracement at
the B point unlike the regular version that utilizes
a 0.382-0.618 at the mid-point. The pattern
requires a very small stop loss and usually
volatile price action in the Potential Reversal
Zone.
206
CD จะมีความยาว 2.24
ของ BC 2.618 ถึง
3.618 ของ BC
หรื อ 1.27และ1.618
ของ XA

BC เทียบกับ XA
AB ดีดตัวขึ้นมาใน
ตัวเลข .618 ของ
BC เทียบกับ AB
XA หรื อน้อยกว่าก็ได้
207
208
The Gartley pattern
• The Gartley pattern was outlined by H.M. Gartley
in his book Profits in the Stock Market,
published in 1935. Although the pattern is named
"The Gartley," the book did not discuss specific
Fibonacci retracements! It was not until "The
Harmonic Trader" was released that the specific
retracements of the B point at a .618 and the D
point at a .786 were assigned to the pattern.
• There are others who have assigned Fibonacci
retracements to this framework. However, they
use a variety of Fibonacci numbers at the B and
D points.

209
• . Despite these variations, the Fibonacci
retracements that yield the most reliable
reversals are the .618 at the B point and the
.786 at the D point. Furthermore, the pattern
should possess a distinct AB=CD pattern that
converges in the same area as the 0.786 XA
retracement and the BC projection (either 1.27
or 1.618). The most critical aspect of the Gartley
is the B point retracement, which must be at a
0.618 of the XA leg.

210
211
212
The Shark Pattern

The Dragon Pattern

•มีเขียนไว้ในตารา แต่จะต้องเสี ยเงิน เขาถึงจะบอกรู ปร่ าง


213
ตัวอย่างการวิเคราะห์

214
Harmonic Elliots Wave

215
216
217
ตารา Elliots wave

218
ELLIOTS WAVE
• เครื่ องมือวิเคราะห์ Elliot Wave (อีเลียตเวฟ) จะทาให้เรามองเห็นอารมณ์
ของตลาด (Market Emotion ในส่ วนของอารมณ์ตลาดนี้ อาจจะไม่
จาเป็ นต้องเลือกหุ น้ ที่มีขนาดใหญ่มาเล่นก็ได้ แต่ขอให้มีผรู ้ ่ วมเล่นจานวนมากๆ ก็
พอ หุ น้ ตัวเล็กๆก็สามารถวิเคราะห์ Market Emotion ได้
• ปรกติเขาจะใช้อีเลียตเวฟวิเคราะห์ตลาดหุ น้ ใหญ่ๆ หรื อหุ น้ ขนาดใหญ่ ทองคา
น้ ามัน อัตราแลกเปลี่ยน มากกว่าการเอาไปใช้วเิ คราะห์หุน้ หรื อตลาดขนาดเล็ก แต่
โดยส่ วนตัวของผม ใช้กบั หุ น้ กลาง หุ น้ เล็ก ก็ใช้ได้เหมือนกัน
• คุณสมบัติของอีเลียตเวฟ คือ การคาดการณ์เป้ าหมายราคาในแต่ละคลื่น ออกมาเป็ น
ตัวเลขผ่านทางรู ปแบบ และกฏ (Pattern and Rules) ที่กาหนดไว้ ตาม
ตัวเลข FIBO
• รู ปแบบต่างๆของกราฟในแต่ละคลื่น มีแค่ 2 แบบ คือ Impulse phase
และ Correction Phase
219
• การเริ่ มต้นศึกษา Elliots wave จึงต้องเริ่ มจากการเข้าใจ กฏ
พื้นฐาน และ เอารู ปที่เกิดบ่อยๆ มาเก็บไว้ จากนั้นให้ลองคาดการณ์วา่
ปัจจุบนั ว่าน่าจะเป็ นรู ปแบบใด เอารู ปแบบและกฏไปวางทาบ เพื่อจะได้
มองเห็นอนาคต
• รู ปแบบมีหลายรู ปแบบมาก ทั้ง รปแบบ Impuse และ
Correction แต่ทุกรู ปแบบและกฏเกณฑ์มีระบุไว้ในตาราอยูแ่ ล้ว
และบอกขนาดของคลื่นในแต่ละคลื่นอยูแ่ ล้ว เพียงแต่วา่ เราใช้เป็ น
หรื อไม่

220
221
5

B
3

A
4

C
1

รู ปแบบมาตรฐานเดิม ที่รู้กนั หมดแล้ว


2

222
5 5
3 2
B
3 1
4 C
5 1 A
4 2
B
3 B
3 2 4
A 5 1
C A
4 3
1
1 4 5 C
5
B 2
3
A
1
4 C
2
2
223
รู ปแบบ Hamonic Elliots Wave
• 1 2ABC45
A B C คือ คลื่นที่ 3 ซึ่ งปรกติ มี 5 แต่ หนังสื อเล่มนี้
บอกว่า มีอีก 3 คลื่น ใน A จะมี 5 คลื่น ใน B มี 3 คลื่น
และ C มี 5 คลื่น

• ขาขึ้นจึงมี 1 A C 5 b
• ขาลงมี 2 B 4 a c
224
225
รู ปแบบคลื่นปรับฐาน (Corrective Wave) คือ ขาลงมี 2 B 4 a c ยากต่อการ
คาดการณ์ คลื่นปรับฐานอาจจะมีลกั ษณะที่ค่อนข้างซับซ้อน ต่อเนื่อง ยาวนาน หรื อสั้นๆ
แล้วจบ เราสามารถแบ่งเป็ น 6 รู ปแบบคือ

Zig-Zag : ประกอบด้วยคลื่นย่อยชุด 5 ลูก - 3 ลูก - 5 ลูก

Flat : ประกอบด้วยคลื่นย่อยชุด 3 ลูก - 3 ลูก - 5 ลูก

Irregular : ประกอบด้วยคลื่นย่อยชุด 3 ลูก - 3 ลูก - 5 ลูก

Horizontal Triangle : รู ปแบบคลื่น 5 ลูก มีรูปแบบเป็ นสามเหลี่ยม ABCDE


ประกอบด้วยคลื่นย่อยชุด 3 ลูก - 3 ลูก - 3 ลูก - 3 ลูก - 3 ลูก

Double Three : รู ปแบบคลื่น abc 2 ชุดโดยมีคลื่น x เป็ นตัวเชื่อมระหว่าง 2


คลื่น

Triple Three : รู ปแบบคลื่น abc 3 ชุดโดยมีคลื่น x 2 ชุดเป็ นตัวเชื่อม


226
3
3 3
5
5 5
5 3
3

227
228
229
กฏที่ใช้ได้ผล สาหรับ คลื่นคลื่นปรับฐาน (Corrective
Wave)
กฏข้ อที่ว่า : Wave 4 จะต้ องไม่ ต่ากว่ ายอดของ Wave 1

• คลื่น 4 เป็ นคลื่นปรับฐาน จะลงลึกเท่าไหร่ กไ็ ด้ แต่ตอ้ งไม่ต่ากว่าจุด


สูงสุ ดของคลื่น 1 หากต่ากว่า แสดงว่าเรานับ "ผิด" ต้องเริ่ มนับใหม่
• มีความสัมพันธ์ระหว่างWave 2 กับ Wave 4 คือหาก Wave
2 มีความซับซ้อน คือ ไม่ลง a-b-c แล้วจบเลย แต่อาจเล่นในรู ปแบบ
อื่นที่มีความซับซ้อนยาวนาน การก่อตัวของ Wave 4 จะไม่เกิด
รู ปแบบการปรับฐานที่มีความซับซ้อนเหมือน wave 2
• ความซับซ้อนคือ การต่อกันไปของรู ปแบบการปรับฐาน เช่น Zig-
Zag ต่อด้วย Flat ต่อด้วย Double Three 230
คลื่น Impulse ประเด็นสาคัญ คือ อาจจะมีมากกว่า 5 คลื่นได้ เป็ นลักษณะของคลื่นยืดตัว
ปรกติมกั จะ ยืดตัว ที่ คลื่นที่ 3 หรื อ คลื่นที่ 5

231
มีการกาหนดเป้ าหมายที่น่าจะเป็ นของ Elliots Wave แต่ละคลื่นไว้ดงั นี้

• PRICE OBJECTIVE ความสู งของคลื่นที่ 2 = < 0.382, 0.5,


0.618, 1.00 > ของคลื่น1(W1)

• คลื่นที่ 3(W3) = < 1.00, 1.618, 2.618 > ของคลื่น1(W1)

• คลื่นที่ 5 มักจะไม่ยาวกว่าคลื่น3 และส่ วนใหญ่จะเท่ากับคลื่น1

• คลื่น B = 0.50, 0.618 ของคลื่น A แบบปรกติ

• สุ ดท้ายคือ คลื่น C ยาว = < 0.618, 1.00, 1.618 ของคลื่น A 232


กฏทีเ่ กีย่ วกับขนาดของคลืน่ เพิม่ เติม
1.ในคลื่น 5 ถ้าโครงสร้างมีแค่ 3 คลื่นย่อย มักจะเป็ นคลื่น 5 ที่ fail

2.ถ้าคลื่น 3 วัดความยาวคลื่นได้ 161.8% ของคลื่น 1


คลื่น 5 ก็จะมีความยาวคลื่นเท่าคลื่น 1

3.ถ้าคลื่น 3 ยาวไม่ถึง 161.8% ของคลื่น 1 คลื่น 5 ก็มกั จะเป็ นคลื่นยืด

4. ถ้าคลื่น 4 พักตัวเกิน 50% ของคลื่น 3 อาจะทาให้เกิดคลื่น 5 ที่ fail

5. คลื่น 3 มีโอกาสขึ้นมาได้อย่างน้อย 161.8% เมื่อวัดจากความยาวของยอดขา


1 ถึง ขา 2 และหากแรงๆ ก็จะไป 261.8% หรื อกระทัง่ 423.6% ก็ได้

233
รู ปแบบสามเหลี่ยม
ทแยงมุม ที่เกิดใน
คลื่นลูกที่ 5
เราอาจจะเรี ยกว่า
Wedge ก็ได้

โมเมนตัมของคลื่นลูก
ที่ 5 อ่อนกาลังเกินไป
ทาให้รูปคลื่น 5
ล้มเหลว 234
ตัวอย่างการใช้ Elliots Wave
• Elliots wave มาจากการสังเกตรู ปร่ าง ถ้าใช้ตามทฤษฎี การนับ
คลื่นก็จะทาได้ไม่ยาก แต่ถา้ ไม่ใช่ หรื อมองไม่ออก ท่านก็อาจจะต้อง ไป
ใช้ทฤษฎีอื่นแทน อย่าไปฝื น
• ถ้าคิดว่าใช่ จึงนาเอา กฏการพยากรณ์ ปลายของคลื่น มาใช้ เพื่อหา
เป้ าหมายระยะยาว
• ท่านต้องจาไว้วา่ ท่านถือยาวไหวไหม หรื อ ถ้าไม่ใช่ เราจะไหวตัวทัน
หรื อแก้ไขอย่างไร เพราะ ยิง่ มองไกล โอกาสผิดผลาด ย่อมมีเยอะขึ้น

235
Technical Indicators

• Commodity Channel
Index (CCI)
• Moving Average • Chaikin Money Flow
Convergence /Divergence • Elliot oscillator
(MACD) • Historical volatility
• Average Directional
• Exponential Moving • McClellan Oscillator
Movement Index (ADX)
Average (EMA) • Money Flow Index
• On Balance Volume
• Relative Strength Index (MFI)
(OBV)
(RSI) • Negative Volume Index
• Parabolic SAR (pSAR)
• Slow stochastic (NVI)
• Bollinger Bands
• Swing Index Ect.
• Williams %R

236

จัดทาโดย ธวัชชัย ไกรศรี วรรธนะ


RSI : RELATIVE STRENGTH
INDEX
• ดัชนี กาลังสัมพัทธ์ (RSI) คือ การคานวณหาพละกาลัง ที่ซ่อนตัวอยูข่ องตลาด
หรื อของหุน้ ใดหุน้ หนึ่ง (INTERNAL STRENGTH) โดยดูจาก
อัตราส่ วนที่ “แกว่ง” ไปมาอยูร่ ะหว่างการขึ้นลงโดยคิดเป็ นเปอร์ เซ็นต์ และภายใน
“เวลา” ที่กาหนด ซึ่ งส่ วนใหญ่จะใช้ระยะเวลา 14 วัน เราจึงเรี ยกว่า 14 RSI
• สู ตรการคานวณ 14 RSI
• RSI = 100 - 100
1+RS
• RS = ค่าเฉลี่ยของจานวนวันที่เปลี่ยนแปลงเพิม่ ขึ้นของราคาปิ ดใน 14 วัน
ค่าเฉลี่ยของจานวนวันที่เปลี่ยนแปลงลดลงของราคาปิ ดใน 14 วัน

237
Relative Strength Index (RSI)
โดย J. Welles Wilder

สู ตรการคานวณ
RSI = 100 – 100 *RS มาจาก = จานวนวันที่ราคาปิ ดบวก
จานวนวันที่ราคาปิ ดลบ
(1 + RS*)
RSI ที่คานวณได้ จะมีค่าอยูร่ ะหว่าง 0 ถึง 100
หลักการใช้ งานทีน่ ิยม ข้ อเสี ยของ RSI
จากสมการทางคณิ ตศาสตร์หากราคามีราคาปิ ดใกล้เคียง
≥ 70 คือ Over Bought กันหลายๆ วันอาจจะมีผลทาให้ค่า RS = 1 จากนั้นเมื่อ
ต้องขายทากาไร นาไปคานวณในสมการที่ใช้หาค่า RSI จะมีแนวโน้มที่
ทาให้ RSI วิ่งเข้าสู่ 50 (ค่ากลาง) นามาสู่ขอ้ เสี ยคือ เมื่อ
≤ 30 คือ Over Sold RSI ต่ากว่า 30 เราจะเข้าไปซื้อ แต่เมื่อราคาปิ ดใกล้เคียง
ต้องซื้อเพราะหุน้ กาลัง กันในช่วงเวลาหนึ่งจะทาให้ค่า RSI สูงขึ้นได้โดยราคา
ไม่จาเป็ นต้องขึ้นเลย เช่น RSI เพิ่มจาก28 เป็ น 45 โดยที่
ราคาถูก ราคายังเท่ากับตอนที่เราซื้อมาตอนแรก
238
จัดทาโดย ธวัชชัย ไกรศรี วรรธนะ
ความผิดพลาดของ RSI

267
RSI เท่ าเดิมแต่ ราคาลดลง 25 บาท
242

239
RSI – Relative Strength Index
SET INDEX
RSI ปรับตัวขึ้นเหนือค่า 70 “ซื้ อ”มากเกินไป
RSI ปรับตัวขึ้นต่าค่า 30 “ขาย”มากเกินไป

Over Bought
Source:Bisnews

Over Sold 240


การใช้งาน RSI ในแบบของผม
• ผมชอบ RSI ที่อยูร่ ะดับ 70 ขึ้นไปและยืนอยูไ่ ด้ เพื่อการเก็งกาไร ของหุ น้ ชุด
CDF
• หุน้ A หุน้ B ถ้า RSI ขึ้นทดสอบระดับ 70 ยังไงก็ตอ้ งเตรี ยมตัวขาย
• ผมใช้ Divergence ในระดับ Day ระดับ Week เพื่อกาหนด
แผนการลงทุนในระยะ 1-3 เดือน
• ผมใส่ เส้นค่าเฉลี่ย 25 กับ 45 เข้าไปช่วยมอง ถ้ายังอยูเ่ หนือได้ ก็พอลุน้ ได้
• ผมใช้กราฟรายวัน คนที่สอนเรื่ อง RSI ให้ผม เขาใช้รายสัปดาห์ กับ รายเดือน
• RSI ต่ากว่า 60 ไม่น่าสนใจ เล่นรอบก็ไม่ได้ เก็งกาไรก็ไม่ได้ ยิง่ ต่ากว่า 40
รอบแรกไม่น่าเล่นเลย เล่น Rebound ก็ไม่น่าเล่น
241
• หุน้ ชุด A ให้แยกเป็ นตัวนา RSI ระดับ 70-75 ก็ไม่ควรซื้อ ถ้าเกิด
สัญญาณขายทาง Candlesticks ก็ให้ขายตามเลย ไม่ตอ้ งหมดก็
ได้
• หุน้ ชุด A ให้แยกเป็ นตัวตาม RSI ระดับ 70 ก็ไม่ควรซื้อ
• หุน้ ชุด B ตัวนา RSI ระดับ 75-80 ก็ไม่ควรซื้อ ถ้าเกิดสัญญาณ
ขายทาง Candlesticks ก็ให้ขายตามเลย แต่ไม่ตอ้ งหมด
• หุน้ ชุด C ตัวนา RSI ระดับ 80-85 ก็ไม่ควรซื้อ ถ้าเกิดสัญญาณ
ขายทาง Candlesticks ก็ให้ขายตามเลย แต่ไม่ตอ้ งหมด
• หุน้ ชุด D F ตัวนา RSI ระดับ 85-90 ก็ไม่ควรซื้อ ถ้าเกิด
สัญญาณขายทาง Candlesticks ก็ให้ขายตามเลย หมดได้เลย

242
RSI ที่ใช้กบั หุน้ ชุด A

243
RSI กับหุน้ ชุด B C

244
RSI กับหุน้ ชุด D F

245
หุน้ RSI ต่าๆ

246
หาได้ไหมว่าตอนนี้หุน้ D F ตัวไหน RSI เกิน 70

247
Moving Average Convergence-Divergence
(MACD)

• MACD Line: (12-day EMA - 26-day EMA)


Signal Line: 9-day EMA of MACD Line
MACD Histogram: MACD Line - Signal
Line
• MACD(5,35,5) is more sensitive than
MACD(12,26,9) and might be better suited
for weekly charts.

248
MACD – SET Index
ซื้อ เมื่อ MACD ปรับตัวขึ้นเหนือค่า 0
ขาย เมื่อ MACD ปรับตัวลงต่ากว่าค่า 0

ซื้อ ขาย ซื้อ

Source:Bisnews 249
Moving Average Convergence/Divergence (MACD)

วิธีคานวณ
MACD Line: (12 วัน EMA – 26 วัน EMA)
Signal Line: 9 วัน EMA ของเส้น MACD

หลักการใช้ งาน (ง่ ายๆ)


ซื้อเมื่อ MACD ตัดเส้น Signal ขึ้น
ขายเมื่อ MACD ตัดเส้น Signal ลงให้ขาย

บางสานักบอกว่า MACD ตัด 0 ขึ้นให้ซ้ื อ


MACD ตัด 0 ลงให้ขาย
หลายครั้งก็ใช้ได้ แต่หลายต่อหลายครั้งก็เสี ยใจกันไป
250
จัดทาโดย ธวัชชัย ไกรศรี วรรธนะ
การใช้งาน MACD
• ใต้ 0 ไม่สนใจ เหนือ 0 ค่อยเริ่ มดู
• ดูระดับ Day และระดับ Week ควบคู่กนั ไป
• Macd ตัด 0 ขึ้นเริ่ มดูได้เลย 3 แท่งยืนได้ confirm มีลุน้ ขึ้น
อย่างน้อยในอีก 3-5 วันข้างหน้า
• Macd ตัด 0 ลงเลิกดูได้เลย 3 แท่งยืนไม่ได้ confirm ลง
• ระดับ week ใช้ยนื ยันได้ดีกว่าในระยะยาว โดยเฉพาะการยืนอยู่
เหนือ หรื อใต้ศูนย์ ถ้าตัดแล้ว โอกาสที่ราคาจะกลับมาลาบาก
• ดูความอ้วนสูงใหญ่ของ MACD
• ใน Efinance มี D-macd ฟังชัน่ นี้ น่าใช้
251
ตัวอย่าง

252
253
จังหวะในการเล่นหุน้
• ตลาดหุน้ มีจงั หวะ ช้า กลางๆ เร็ ว
• ผูล้ งทุนก็มีจงั หวะในการเล่น
• การวิเคราะเชิงเทคนิค มีระยะปลอดภัยในการวิเคราะห์ ต้องไม่ไกล
เกินไป ไม่ใกล้อนาคตเกินไป
• เกมของเรา เป้ าหมายของเรา ไม่จาเป็ นต้องเหมือนใคร
• รายใหญ่ ก็มีเกมของเขา ไม่เหมือนกัน
• ความโลภ กับ ความกลัว จะบังคับเรา ให้ฝืนเล่นผิดจังหวะ
• สูไ้ ม่ไหว ก็ไม่เล่นหุน้ ก็ได้ ถ้าไม่เล่น แล้วทาอะไร

254
จบม่ะ

255

You might also like