Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

บทความวิจยั รับเชิญ

วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

การหาตาแหน่ งติดตั้งเหมาะทีส่ ุ ดของระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์ แสงอาทิตย์ ขนาดใหญ่ ร่วมกับแบตเตอรี่ NaS


ในระบบจาหน่ ายเพือ่ ลดกาลังไฟฟ้าสู ญเสี ย
Optimal Placement of Large-Scale PV Power Generation Systems with NaS Battery
in Primary Distribution Systems for Loss Reduction

อมรเทพ แพทยานันท์ และ กฤษณ์ ชนม์ ภูมิกติ ติพชิ ญ์


ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
คลองหก อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110
Email: krischonme.b@en.rmutt.ac.th

บทคัดย่ อ
การขาดแคลนวัตถุดิบรวมถึ งความต้องการพลังงานสะอาดสาหรับนามาใช้ในการผลิ ตกระแสไฟฟ้ า ซึ่ งเป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อมเพื่อช่ วยลด
สภาวะโลกร้อน และระบบจาหน่ ายกาลังไฟฟ้ าที่มีการต่อวงจรสายป้ อนหลักแบบเรเดี ยล ทาให้เกิ ดแรงดันตกที่ปลายสายส่ งเป็ นผลให้เกิดกาลังไฟฟ้ า
สู ญเสี ยในระบบ บทความนี้ นาเสนอการหาตาแหน่ งติ ดตั้งเหมาะที่ สุดของระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์กาหนดให้มีขนาด 1 MW ในระบบ
จาหน่ายแบบเรเดียล ซึ่ งจะช่วยลดกาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยเมื่อติดตั้งในตาแหน่ งที่เหมาะสม และปรับปรุ งรู ปร่ างของแรงดันไฟฟ้ าของระบบ การจาลองจะ
ประยุกต์ใช้แบบจาลองของระบบจาหน่ ายแบบเรเดี ยล 33 บัส มาตรฐาน IEEE ทดสอบที่ระดับแรงดันไฟฟ้ าฐานเท่ากับ 22 kV และกาลังไฟฟ้ าปรากฏ
ฐานเท่ากับ 25 MVA มีกาลังไฟฟ้ ารวมของโหลดเท่ากับ 3.72 MW และ 2.3 MVar โดยใช้โปรแกรม MATLAB เป็ นเครื่ องมือในการวิเคราะห์ การติดตั้ง
ระบบผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ทดสอบด้วยวิธีแบบทีละบัสและวิธีการค้นหาแบบตาบู เพื่อหาตาแหน่งติดตั้งเหมาะสมที่สุดในระบบ และทดสอบ
กาลังไฟฟ้ าสูญเสี ยรวมเมื่อติดตั้งระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ร่วมกับระบบชดเชยด้วยแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ ภายใต้เงื่อนไขเสถียรภาพ
แรงดันไฟฟ้ าของระบบไฟฟ้ ากาลังที่สภาวะโหลดคงที่ ผลการทดสอบพบว่าก่อนติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ค่ากาลังไฟฟ้ าจริ งที่สูญเสี ย
เท่ากับ 77.0135 kW หลังติดตั้งในบัสเหมาะสมคือบัสที่ 25 ค่ากาลังไฟฟ้ าจริ งที่สูญเสี ยเท่ากับ 48.6791 kW โดยกาลังไฟฟ้ าสูญเสี ยของระบบลดลงร้อยละ
36.79 ทาให้ระบบมีเสถียรภาพของแรงดันเพิ่มมากขึ้น และผลทดสอบการติดตั้งระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW ร่ วมกับระบบชดเชย
ด้วยแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ ขนาด 200 kW เชื่ อมต่อกับระบบจาหน่ายในบัสที่ 25 ช่ วงเวลา 1 วัน พบว่าระบบชดเชยของแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดี ยม
ซัลเฟอร์ จะช่ วยจ่ายกาลังไฟฟ้ าเข้าสู่ ระบบ ซึ่ งช่ วยลดกาลังไฟฟ้ าสูญเสี ยรวมของระบบได้เป็ นอย่างดี ส่งผลให้ระบบมีเสถียรภาพและความน่ าเชื่ อถือเพิ่ม
มากขึ้น เทคโนโลยีของระบบผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ และระบบชดเชยกาลังไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ น้ นั ยังคงมีการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่ อง สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในระบบไฟฟ้ ากาลังเพื่อรองรับเทคโนโลยีใหม่ในอนาคต

คาสาคัญ: โรงไฟฟ้ าเซลล์แสงอาทิตย์, เทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุด, กาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ย

Abstract
The shortage of material and clean energy for used to produce electricity energy which is environmentally friendly to help reduce global
warming. And the distribution system is connected to main feeder using radial connection which is caused the power loss in the power system. Therefore,
this paper proposes the optimal placement of large-scale photovoltaic (PV) power generation systems size 1 MW in primary distribution systems for
reducing the power loss and improving the voltage profile of the system. The proposed study on this paper is applied on the model of IEEE 33-bus
radial distribution system by using at the based voltage and based apparent power that are 22 kV and 25 MVA respectively. The total real power and
reactive power of system load are 3.72 MW and 2.3 MVar. This analysis is computed by MATLAB program. The trial methods of PV power plant in
each bus and Tabu Search are used to find the optimal placement of the PV power plant. Then, the PV power plant with the sodium-sulfur battery is
installed at the best location under low power loss condition. These are operated under the voltage stability and static loading conditions. The simulation
results found that the power loss of the IEEE 33-bus radial distribution system without PV power plant is 77.0135 kW. After installed the PV power
plant into bus no. 25, the power loss is 48.6791 kW and the power loss can be reduced to 36.79 %. The last simulation result shown the 1 MW PV
power plant combined with the 200 kW sodium-sulfur battery to distribution system at bus no. 25. This proposed method is to improve the power

-36-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

generation and to reduce power loss on power system in order to increase the power system stability and reliability. The technology of photovoltaic
power generation systems and power compensating systems with sodium sulfur battery are still being developed continuously for power system
applications in the future.

Keywords: photovoltaic power plant, optimization technique, power loss

1. บทนา แบบกระจาย (Distributed Generation : DG) ขนาด 1 MW เชื่อมต่อเข้ากับ


ปั จจุบนั เกิ ดสภาวะความขาดแคลนของวัตถุดิบที่ นามาใช้ใน ระบบจาหน่ายแบบเรเดียลโดยนาเทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุดด้วยวิธีการ
การผลิตกระแสไฟฟ้ า และมีแนวโน้มของราคาที่นบั วันจะสู งขึ้น ซึ่ งส่ วน ค้นหาแบบตาบู (Tabu Search : TS) มาช่ ว ยในการหาต าแหน่ ง ติ ด ตั้ง ที่
ใหญ่จะหาวิธีแก้ไขโดยหันไปสนใจเทคโนโลยีดา้ นพลังงานทดแทนที่ มี เหมาะสมของ DG และออกแบบวางแผนการจ่ ายพลัง งานของระบบ
แหล่ งวัตถุ ดิบในการผลิ ตกระแสไฟฟ้ าที่ ได้มาจากธรรมชาติ อาทิ เช่ น ชดเชยกาลังไฟฟ้ าด้วยแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดี ยมซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200
พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ และอื่นๆ ซึ่ งเป็ นพลังงานสะอาดและไม่ kW ต่อร่ วมกับ DG ขนาด 1 MW เพื่อลดกาลังงานสู ญเสี ยในระบบ และ
ส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม โดยแหล่งพลังงานทดแทนในรู ปแบบนี้ จะ ช่ วยในการปรับปรุ งรู ปร่ างของแรงดันไฟฟ้ า (Voltage Profile) ในระบบ
เรี ยกว่า แหล่ งก าเนิ ดไฟฟ้ าแบบกระจาย (Distributed Generation : DG) จาหน่ าย ภายใต้เงื่อนไขเสถี ยรภาพแรงดันไฟฟ้ าของระบบไฟฟ้ ากาลังที่
ซึ่ งปั จจุบนั มี ความนิ ยมนามาเชื่ อมต่อเข้ากับระบบจาหน่ ายเพิ่ มมากขึ้ น สภาวะโหลดคงที่ (Static Load) ส่ งผลให้ ระบบมี เ สถี ยรภาพและความ
โดยจะส่ งผลดีกบั ระบบเมื่อติดตั้งในตาแหน่งที่เหมาะสม น่ า เชื่ อ ถื อ ของระบบเพิ่ม มากขึ้ น จึ ง น าไปสู่ ก ารวิ จ ัย และพัฒ นาระบบ
เมื่อกล่าวถึงการส่ งจ่ายกาลังไฟฟ้ าในระบบจาหน่ายของการ ดังกล่าวขึ้น
ไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาคที่ระดับแรงดัน 22 kVส่ วนใหญ่ของประเทศไทยนั้น ซึ่งองค์ประกอบของการนาเสนอในบทความนี้ จะมีลาดับการ
เป็ นระบบการต่อวงจรสายป้ อนหลักแบบเรเดียล (Radial) ซึ่งหมายถึงการ กล่ าวถึ งดัง ต่ อไปนี้ ระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์ แ สงอาทิ ตย์ข นาดใหญ่
ต่อกระจายออกเชิ งรัศมี เป็ นการจัดรู ปแบบวงจรที่ง่ายและมีราคาต่าที่สุด ระบบจาหน่ ายแบบเรเดี ยล การวิเคราะห์การไหลของกาลังไฟฟ้ า ปั ญหา
[1] ส่ วนข้อเสี ย คือ เมื่อระยะทางในการส่ งกาลังไฟฟ้ าเพิ่มมากขึ้นจะเกิด การไหลของก าลังไฟฟ้ าเหมาะที่ สุ ด ขั้นตอนการแก้ปั ญหาด้วยวิ ธีก าร
แรงดันตกที่ปลายสายส่ ง ซึ่ งจะส่ งผลให้เกิ ดกาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยในระบบ ค้น หาแบบตาบู ระบบชดเชยก าลังไฟฟ้ าด้ว ยแบตเตอรี่ ช นิ ดโซเดี ย ม
นอกจากนั้นแบบจาลองของแหล่ งก าเนิ ดไฟฟ้ าแบบกระจายที่ มีระบบ ซัลเฟอร์ ผลการทดสอบ และสรุ ปตามลาดับ
ผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แ สงอาทิ ตย์ส่ว นใหญ่ จ ะเป็ นแบบจ าลองที่ ระดับ
กิ โลวัตต์ ดังนั้นแบบจาลองที่ มี ข นาดใหญ่ ระดับเมกะวัตต์จะถู ก น ามา 2. ระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ขนาดใหญ่
ประยุกต์ใช้ในบทความนี้ [2], [3] และเมื่อพิจารณาถึงการหาตาแน่งติดตั้ง ระบบผลิ ต ไฟฟ้ าจากเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ข นาดใหญ่ (Large-
เหมาะที่สุดในการติดตั้งระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ขนาดใหญ่ Scale PV Power Generation Systems) หรื อโรงผลิ ต ไฟฟ้ าจากเซลล์
เชื่ อมต่อเข้าสู่ ระบบจาหน่ ายนั้น เทคนิ คการหาค่าเหมาะที่ สุดมี มากมาย แสงอาทิตย์ (PV Power Plant) ในบทความนี้ จะกาหนดให้เป็ น DG ขนาด
หลายวิธี ซึ่งมีท้งั ข้อดี และข้อเสี ยแตกต่างกันไป [4]-[8] โดยบทความนี้ จะ 1 MW โดยเหตุผลอันสื บเนื่ องมาจากมาตรฐานการรับซื้ อพลังงานไฟฟ้ า
เลื อกใช้เทคนิ คการหาค่าเหมาะที่ สุดด้วยวิ ธีก ารค้นหาแบบตาบู (Tabu แบ่ งตามขนาดของการผลิ ตของการไฟฟ้ าส่ วนภู มิ ภ าค [13]-[16] การ
Search : TS) มาช่ วยในการแก้ปัญหาดังกล่าว ในส่ วนของระบบระบบ ควบคุ ม ประเภทผู้ผ ลิ ต ขนาดเล็ ก มาก (Very Small Power Producer :
ชดเชยกาลังไฟฟ้ าด้วยแบตเตอรี่ ช นิ ดโซเดี ยมซัลเฟอร์ (Sodium-Sulfur VSPP) ที่ มีก ารผลิ ตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุน เวียน โดยการจ่ ายปริ ม าณ
Battery : NaS) นั้น เป็ นเทคโนโลยีที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง พลังงานไฟฟ้ าได้ไม่เกิ น 8.0 เมกะวัตต์ / วงจร เมื่อพิจารณาวงจร หรื อสาย
โดยมี ก ารวิ จ ัย ปรั บ ปรุ ง และพัฒ นามาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ งการน ามา ป้ อนแล้วจะพบว่ามีขนาดของกาลังไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั โหลดรวมอยูใ่ นสาย
ประยุก ต์ใ ช้ ใ นระบบไฟฟ้ าก าลัง เพื่ อ การออกแบบวางแผนการจ่ า ย ป้ อนนั้น ด้ว ย ดัง นั้น การก าหนดให้ เ ป็ น DG มี ข นาด 1 MW จะท าให้
พลังงานจะต้อ งเข้าใจโครงสร้ าง หลัก การทางาน และคุ ณสมบัติ ข อง เชื่อมต่อเข้ากับสายป้ อนนั้นได้โดยสะดวกไม่ตอ้ งกังวลถึงขนาดของกาลัง
แบตเตอรี่ [9]-[12] เพื่อให้ได้สมรรถนะ และประสิ ทธิภาพการทางานของ การผลิ ตที่ ใหญ่เกิ นไป ง่ายต่อการศึ กษาทาความเข้าใจ และเป็ นไปตาม
แบตเตอรี่ ที่เหมาะสมที่สุดกับความต้องการวางแผนการจ่ายพลังงานของ มาตรฐานข้อกาหนดของการไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค โดยระบบผลิตไฟฟ้ าจาก
ระบบ เซลล์แสงอาทิตย์ขนาดใหญ่ที่จะนามาเชื่ อมต่อเข้ากับระบบจาหน่าย ซึ่ งมี
ดังนั้นในบทความนี้ จะนาเสนอการหาตาแหน่ งติ ดตั้งเหมาะ โครงสร้างดังรู ปที่ 1 [4] มีส่วนประกอบต่างๆ ดังนี้
ที่สุดของระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิ ตย์ หรื อแหล่ งกาเนิ ดไฟฟ้ า

-37-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

(VmM, PrM, PrA)


.
3f Inverter 22 kV
CB CB

DC side AC side (IscM, VocM, NsM) (Smod, Pmod)

PV Array #1 (Modules : 34 @ 10 kW = 340 kW) (Ns, Np)

(IscA, VocA, Ns)


(TA, G, NOCT)
(IscAE, TcK)
3f Inverter   I scM    V ocM 
CB CB   ,  
Tr 400 / 22 kV
  Tc    Tc  (IscAE, VocAE, TcK)
DC side AC side
(Ns, Np) Io (Io)
PV Array #2 (Modules : 34 @ 10 kW = 340 kW)
(PrA)
(IscA, VocA, Ns)
3f Inverter RsA
CB CB
(RsA)
DC side AC side

PV Array #3 (Modules : 34 @ 10 kW = 340 kW)

รู ปที่ 1 ระบบเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW แบบเชื่อมต่อระบบจาหน่าย PV

การหาพารามิ เ ตอร์ ข องระบบเซลล์แ สงอาทิ ตย์ข นาดใหญ่


จะต้องกาหนดให้อยูใ่ นรู ปแบบของระบบแผงเซลล์ หรื ออาร์ เรย์ (Array)
จาก [2] ได้ น าเสนอเกี่ ย วกั บ การจ าลองตัว ก าเนิ ด ไฟฟ้ าจากเซลล์
แสงอาทิตย์สาหรับการศึกษาระบบจาหน่ ายขนาดใหญ่ เมื่อพิจารณาถึ ง P
DC
G

การหาค่ากาลังสู งสุ ดของระบบแผงเซลล์แสงอาทิตย์ (PV Array) หรื อ รู ปที่ 2 แผนผังการคานวณค่าของแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบอาร์เรย์


กาลังไฟฟ้ าขาออกที่ผลิตได้จากระบบ จะมีข้ นั ตอนของแบบจาลองมีดงั นี้
คือ 1). หารู ปแบบการเชื่ อมต่อของอาร์ เรย์ 2). แปลงสมการคุณลักษณะ โดยเมื่อพิจารณาถึ งสมการ และเงื่อนไขของของระบบแล้ว
ของเซลล์แสง-อาทิตย์ 1 เซลล์ให้เป็ นสมการคุณลักษณะของอาร์ เรย์ 3). พบว่าเป็ นปั ญหาที่มีความซับซ้อนสู ง ดังสมการที่ (13) ซึ่ งมีความสาคัญ
แก้ปัญหาพารามิเตอร์ ของสมกาคุณลักษณะของอาร์ เรย์ และ 4). คานวณ ในการพิจารณาเพื่อเลื อกใช้เทคนิ คการหาค่าเหมาะที่สุดให้เหมาะสมกับ
ค่าสมการคุ ณลักษณะของกราฟเส้ นโค้งความสัมพันธ์ระหว่างกระแส ระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แ สงอาทิ ตย์ข นาดใหญ่ ที่ จะเชื่ อมต่ อ เข้ากับ
และแรงดัน จากนั้นทาการหาค่า P ดังสมการที่ (1) และ (2)
G
DC
ระบบจาหน่ายแบบเรเดียล

P̂ = Î V̂ (1) 3. ระบบจาหน่ ายแบบเรเดียล


P G
DC
= Pmax AE = max( P̂ ) (2) ระบบจาหน่ ายแบบเรเดี ยล คือ การจ่ายไฟฟ้ าออกจากสถานี
ไฟฟ้ าย่อยเพื่อนาพลังงานไฟฟ้ าไปจ่ายให้กบั โหลด ซึ่ งการต่อวงจรสาย
โดยที่ : PGDC คื อ ค่ า ก าลัง ไฟฟ้ าขาออกกระแสตรงส าหรั บ ป้ อนหลักแบบเรเดี ยลนี้ จะไม่มีการเชื่ อมต่อกับสายป้ อนที่ มาจากสถานี
อาร์ เรย์ที่ถูกกาหนดสภาพแวดล้อม (วัตต์) และ Pmax AE คือ ค่ากาลังไฟฟ้ า ย่อยอื่นๆ จึงเป็ นข้อเสี ยกล่าวคือ เมื่อเกิดฟอลต์ที่สายป้ อนใดจะทาให้สาย
สูงสุดสาหรับอาร์เรย์ที่ถูกกาหนดสภาพแวดล้อม (วัตต์) ป้ อนนั้นไฟดับ ทั้งหมด [1] การวางแผนใช้ระบบจาหน่ ายแบบนี้ หากมี
จากขั้นตอนข้างต้นสามารถแสดงเป็ นแผนผังการคานวณค่า โหลดผูใ้ ช้ไฟฟ้ าเพิ่มมากขึ้นในอนาคตก็สามารถที่ จะเพิ่มระบบจาหน่ าย
ต่างๆ ของแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบอาร์เรย์ ได้ดงั รู ปที่ 2 ไฟฟ้ าแบบเรเดี ยล ให้กลายเป็ นระบบจาหน่ ายไฟฟ้ าแบบวงแหวน หรื อ
เมื่อพิจารณาถึ งขั้นตอนสุ ดท้ายของการหาค่ากาลังไฟฟ้ าเพื่อ ระบบจ าหน่ า ยไฟฟ้ าแบบร่ างแหต่ อไปได้ ระบบจาหน่ ายไฟฟ้ าแบบ
เชื่ อ มต่ อ เข้ า กับ ระบบจ าหน่ า ย เช่ น การผลิ ต ไฟฟ้ าด้ ว ยแผงเซลล์ เรเดี ยล นิ ยมใช้สาหรับจ่ายพลังงานไฟฟ้ าไปยังผูใ้ ช้ไฟฟ้ าในพื้นที่ทวั่ ไป
แสงอาทิ ตย์ [5] โดยที่ แ บบจ าลองทางคณิ ตศาสตร์ ข อง [5] ได้มี ปัจ จัย หรื อในชนบท เนื่ องจากระบบจาหน่ ายไฟฟ้ าประเภทที่ ลงทุนต่ า มี การ
เกี่ยวกับการหาขนาดของ DG เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย ซึ่ งในบทความนี้ ไม่ได้ ป้ องกัน ระบบได้ โ ดยวิ ธี ง่ า ย ๆ และลัก ษณะของการวางสายเหล่ า นี้
นามาคิ ด ดังนั้นแบบจาลองทางคณิ ตศาสตร์ ที่ใ ช้ในบทความนี้ คื อ จะ สามารถเข้าใจได้ง่าย แต่มีขอ้ เสี ยคือเสถี ยรภาพและความเชื่ อถื อได้ของ
กาหนดให้ DG จ่ายเฉพาะค่ากาลังไฟฟ้ าจริ ง ที่มีขนาด 1 MW เท่านั้น ระบบไฟฟ้ าต่า [8]

-38-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

ซึ่ งระบบจ าหน่ า ยมาตรฐาน IEEE แบบเรเดี ย ล 33 บัส 32 โดยที่ : S i คื อ ก าลั ง ที่ โ หนด iSi  Pi  jQi  , Yi คื อ
สาขานั้น จะมีกาลังไฟฟ้ ารวมของโหลดขนาด 3.72 MW และ 2.3 MVar ผลรวมของแอตมิ ตแตนซ์ส่ วนลงดิ นทั้งหมดที่ โหนด i และ Vi k 1 คื อ
โดยในบทความนี้ จะเป็ นการประยุกต์ใช้ระบบจาหน่ ายมาตรฐาน IEEE แรงดันที่โหนด i ณ รอบคานวณที่ k  1
แบบเรเดียล 33 บัส 32 สาขา ทาการทดสอบที่ระดับแรงดันไฟฟ้ าฐาน 22 การคานวณกระแสนี้ จะเริ่ มให้ขนาดแรงดันเป็ น 1 p.u. และมุม
kV และ 25 MVA ซึ่ งแรกเริ่ มกาลังไฟฟ้ าจริ ง และกาลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟที่ แรงดันเป็ นศูนย์ที่ทุกๆโหนด ส่ วนการคานวณกระแสในสายจะเริ่ มจาก
สูญเสี ยรวมในระบบมีขนาด 77.0135 kW และ 52.1361 kVar โดยที่บสั ที่ การคานวณที่เรี ยกว่า การแพร่ กระจายถอยหลัง โดยที่รอบคานวณที่ k จะ
1 เป็ นโหนดจ่ายที่เชื่ อมต่อกับระบบส่ งโดยผ่านสถานี ยอ่ ย ซึ่ งการเชื่ อมต่อ คานวณกระแส J ในสายที่ สุด ท้ายเรื่ อยเข้าสู่ รูตโหนด หรื อรู ตบัส โดย
โหนดสาขาจะเริ่ มเชื่ อมต่อจากบัสที่ 1 ไปยังบัสที่ 2 แล้วต่อไปยังโหนด กระแสที่สาย L หาได้จากสมการที่ (4)
สาขาอื่น ๆ ต่อไป ดังแสดงในรู ปที่ 3 [17]
J Lk   I Lk 2   (กระแสในสายที่พงุ่ มาจากโหนด L2 ) (4)
3 5 8 11
14 16 18 20 22 24 26 28
4.2 การคานวณแรงดันทีโ่ หนดโดยวิธีแพร่ กระจายเดินหน้ า
HV/MV
Substation 1 2 4 6 9 12 15 17 19 21 23 25 27 29 30 31 32 33
ซึ่ งอาศัยกฎความสัมพันธ์ของแรงดันเคอร์ ชอฟฟ์ โดยเริ่ มต้น
จากบัส อ้า งอิ ง รู ต โหนด (Root node) หรื อ รู ต บัส (Root bus) โดยที่ ค่ า
7 10 13
แรงดันกาหนดให้มีค่าคงที่ และเฟสเป็ นศูนย์ ส่ วนค่าแรงดันและมุมเฟส
ของแรงดันที่บสั อื่นๆ ถัดจากบัสอ้างอิงในรอบคานวณที่ k จะถูกคานวณ
รู ปที่ 3 แผนภาพเส้นเดียวของระบบจาหน่าย แบบเรเดียล 33 บัส ค่าแรงดันที่บสั เรื่ อยไปสู่ บสั สุ ดท้าย ดังสมการที่ (5)

4. การวิเคราะห์ การไหลของกาลังไฟฟ้า VL2k   VL1k   Z L J Lk  (5)


การคานวณการไหลของกาลังไฟฟ้ าในระบบจาหน่ ายจะทาให้
ทราบระดับ แรงดัน ที่ โ หนดต่ า งๆได้ และค าตอบของการไหลของ โดยที่ : Z L คื อ ค่ า อิ ม พี แ ดนช์ อ นุ ก รมของสายส่ ง ช่ ว ง L
กาลังไฟฟ้ าในระบบจาหน่ายนั้น จะช่วยในการวางแผนเพื่อควบคุมระบบ ระหว่างโหนด L2 และ L1 , L2 คือ โหนดปลายทาง, L1 คือ โหนดต้น
ตลอดจนการขยายระบบให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่ งการคานวณการ ทาง, J คือ กระแสในสาย และ k คือ รอบการคานวณ
ไหลของก าลังไฟฟ้ า ด้ว ยหลัก การใช้ เมทริ ก ซ์ จาโคเบี ยน (Jacobian-
based) เช่น นิ วตันราฟสันโหลด หรื อเก๊าไซเดล นั้นไม่เหมาะสมกับการ 4.3 การเข้ าสู่ คาตอบของแรงดัน
วิเคราะห์ปัญหาการไหลของกาลังไฟฟ้ าสาหรับระบบจาหน่ ายที่บางครั้ง จะกระทาในลักษณะเวียนซ้ าในแต่ล ะรอบของการค านวณ
เกิดปั ญหาเกี่ยวกับการลู่เข้าสู่คาตอบ [18] โดยจะตรวจสอบค่ า mismatch ของแรงดัน ในแต่ ล ะบัส ดัง แสดงใน
ดัง นั้ นในบทความนี้ จะใช้ วิ ธี แ พร่ ก ระจายถอยหลัง และ สมการที่ (6)
เดิ น หน้า (Backward and forward propagations) เพื่ อ แก้ปั ญ หาเกี่ ย วกับ
การลู่ เ ข้า สู่ ค าตอบ ซึ่ งมี ร ายละเอี ย ดของล าดับ ขั้น ตอนการวิ เ คราะห์ V jk   V jk   V jk 1 (6)
ดังต่อไปนี้ 1). รั บข้อมูล ระบบจาหน่ าย 2). จัดล าดับสายส่ ง 3). คานวณ
กระแสในสายส่ งโดยใช้วิธีแพร่ - กระจายถอยหลัง 4). คานวณแรงดันที่ โดยที่ : V jk  คื อ ค่ า ความคลาดเคลื่ อ นของแรงดัน ที่ พ อ
โหนดโดยใช้วิธีแพร่ - กระจายเดิ นหน้า 5). การเข้าสู่ คาตอบของแรงดัน ยอมรับได้ที่บสั j หลังจากการคานวณในรอบที่ k , V jk  คือ แรงดันที่
และ 6). คานวณกระแสในสาย แรงดันที่โหนด และกาลังไฟฟ้ าในสาย
บัส j ในรอบการคานวณที่ k และ Vjk 1 คือ แรงดันที่บสั j ในรอบการ
4.1 การคานวณกระแสแต่ ละสาขาโดยวิธีแพร่ กระจาย
คานวณที่ k  1 การเข้าสู่ คาตอบของแรงดันอาจหาได้จากผลต่างของค่า
ซึ่ งอาศัยกฎความสัมพันธ์ของกระแสเคอร์ ชอฟฟ์ โดยเริ่ มต้น
อื่นๆดังสมการที่ (7)
จากกระแสที่โหนด จะมีค่าดังสมการที่ (3)
 ReV j k     
 
 
 Im V j     (7)
 k 
k   S 
Ii    ki1   YiVi  k 1 (3)  k 

 Vi   V j   
โดยที่ :  คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่พอยอมรับได้ (mismatch)

-39-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

5. ปัญหาการไหลของกาลังไฟฟ้าเหมาะทีส่ ุ ด Min Ploss   P


NB

gi
 PDGi   Pdi  (13)
ปั ญหาการไหลของก าลังไฟฟ้ าเหมาะที่ สุด โดยทัว่ ไปนิ ยม i 1

เรี ยกทับศัพท์ว่า ออปติ มลั เพาเวอร์ โฟลว์ (Optimal Power Flow : OPF) s.t. : {Power Balance, Voltage Limit and Power Limit}
ประกอบด้วยรู ปแบบของการสร้างปั ญหาค่าเหมาะที่สุดสาหรับการไหล
ของกาลังไฟฟ้ าในรู ปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจถึ งขั้นตอนการกาหนดตัว โดยที่ : Ploss คื อ กาลังสู ญเสี ยจริ งทั้งหมดของระบบจาหน่ าย,
แปร ฟังก์ชันวัตถุประสงค์การเลื อกเงื่อนไขบังคับตลอดจนการเลื อกใช้ P คือ กาลังการผลิ ตจริ งของเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ าที่ บส
gi
ั i , Pdi คือ ความ
เทคนิ คสาหรับแก้ปัญหา [19] ต้องการกาลังไฟฟ้ าจริ งที่บสั i , PDGi คือ แหล่งกาเนิ ดไฟฟ้ าแบบกระจาย
ซึ่งในบทความนี้ จะนามาใช้แก้ปัญหาการไหลของกาลังไฟฟ้ า ขนาด 1 MW ที่บสั i และ N B คือ จานวนบัสของระบบจาหน่าย
เหมาะที่สุด ของการหาตาแหน่งติดตั้ง DG ขนาด 1 MW ในระบบจาหน่าย
แบบเรเดียล 33 บัส มาตรฐาน IEEE เพื่อลดกาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยของระบบ 5.3 ระบบเงือ่ นไขบังคับ
ให้มีค่าต่าที่สุด โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ตั ว แปรปรั บ ตั้ งในบทความจะถู ก ปรั บ ตั้ งเพื่ อ ให้ เ กิ ด
กาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยจริ งในระบบน้อยที่ สุด และยังคงอยู่ในช่ วงขี ดจากัด
5.1 สมการรู ปแบบปัญหา ของตัวแปรแต่ละตัว เพื่อให้ระบบไฟฟ้ าทางานอยูใ่ นสภาวะปกติ โดยมี
ซึ่งจะเป็ นการวิเคราะห์การไหลกาลังไฟฟ้ าในสภาวะคงที่ [7] ระบบเงื่อนไขบังคับทั้งเงื่อนไขสมการและอสมการแสดงดังต่อไปนี้
โดยพิจารณาฟังก์ชนั วัตถุประสงค์ร่วมกับขอบเขตเงื่อนไขบังคับที่เป็ นตัว 1). เงื่ อ นไขบัง คับ สมการเป็ นสมการการไหลก าลัง ไฟฟ้ า
แปรควบคุม โดยมีรูปแบบทัว่ ไป แสดงไว้ดงั สมการที่ (8)-(10) (Equality Constraints)

Minimize (8) V j Yi . j cos i . j   i   j   0


NB
f(x) Pg ,i  Pd ,i  V i (14)
Subject to : g( x )  0 , เงื่อนไขสมการ (9) j 1

V j Yi . j sin i . j   i   j   0
NB
h( x )  0 , เงื่อนไขอสมการ (10) Qg ,i  Qd ,i  V
j 1
i (15)

การแปลงเงื่อนไขสมการและอสมการให้เป็ นพจน์ปรับโทษ
และนาไปรวมกับสมการวัตถุ ประสงค์เดิ ม จะได้ฟังก์ชันปรั บ โทษและ โดยที่ : Pg ,i คื อ ก าลัง ไฟฟ้ าจริ ง ผลิ ต ที่ บ ัส i , Pd ,i คื อ ความ
เทอมปรับโทษ ดังสมการที่ (11) และสมการที่ (12) ต้องการกาลังไฟฟ้ าจริ งที่บสั i , Q คือ กาลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟผลิ ตที่บสั
g ,i

i , Q คือ ความต้องการกาลังไฟฟ้ ารี แอคที ฟที่ บส


d ,i ั i , N B คือ จานวน
P( x )  f ( x )   ( x ) (11) บัส,  i , j คือ มุมแอตมิตแตนซ์บสั i ไปยังบัส j , Yi , j คือ ขนาดแอต

 ( x )   g ( x )  max( 0 ,h( x ))
2 2
 (12) มิตแตนซ์บสั i ไปยังบัส j
2). เงื่ อนไขบังคับอสมการเป็ นขอบเขตของตัวแปรที่ปรับตั้ง
โดยที่ : P( x ) คือ ฟั งก์ชันปรับโทษ,  ( x ) คือ เทอมปรับ ปรับตั้ง (Un Equality Constraints)
โทษ และ  คือ ตัวประกอบการปรับโทษ
การใช้วิธีก ารปรั บโทษทาให้ ก ารแก้ปั ญหาจากการหาค่ า ที่ Vmmin
,i
 Vm ,i  Vmmax
,i
(16)
เหมาะสมที่สุดแบบมีเงื่อนไขบังคับ เป็ นการหาค่าที่เหมาะสมที่สุดแบบ P min
g ,i
 Pg ,i  P max
g ,i
(17)
ไม่มีเงื่อนไข ฟังก์ชนั วัตถุประสงค์เปลี่ยนเป็ นฟังก์ชนั ปรับโทษนี้ แทน ซึ่ ง Qgmin,i  Qg ,i  Qgmax,i (18)
ง่ายกว่าและมีรูปแบบสมการที่ไม่ซบั ซ้อน
โดยที่ : Vmmin,i คื อ ขอบเขตของแรงดั น ต่ า สุ ด, Vmmax,i คื อ
5.2 ฟังก์ ชันวัตถุประสงค์ ขอบเขตของแรงดันสู งสุ ด, Pgmin,i คือ ขอบเขตของกาลังไฟฟ้ าจริ งต่าสุ ด,
ฟังก์ชนั วัตถุประสงค์มีหลายปั ญหาที่ นิยมนามาพิจารณา เช่ น
Pgmax คื อ ขอบเขตของก าลั ง ไฟฟ้ าจริ งสู ง สุ ด , Qgmin,i คื อ ขอบเขต
การจ่ า ยโหลดอย่า งประหยัด การลดก าลัง ไฟฟ้ าสู ญเสี ยในระบบ ใน
,i

กาลังไฟฟ้ ารี แอคตีฟต่าสุ ด, Qgmax,i คือ ขอบเขตกาลังไฟฟ้ ารี แอคตีฟสูงสุด


บทความนี้ จะเป็ นการลดค่ากาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยจริ งรวมในระบบไฟฟ้ า
น้อยที่สุดเป็ นฟังก์ชนั วัตถุประสงค์ ดังสมการที่ (13)

-40-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

3). ฟังก์ชนั ปรับโทษ (Penalty Function)


แปลงรู ปฟังก์ชนั f ( x ) ให้เป็ น Floss ดังสมการที่ (19)

f ( x )  f ( Ploss )  Floss (19)

จากสมการที่ (19) เมื่อ f ( Ploss )  Floss จากนั้น จึ งทาการ


แทนเทอมของฟั งก์ชัน Floss จากสมการที่ (13) และเทอมของฟั งก์ชัน TL
xlbest
 ( x ) จากสมการที่ (12) ลงในสมการที่ (11) ดังนั้นฟั งก์ชันปรั บโทษ xnbest
สามารถเขียนได้ตามสมการที่ (20) โดยมีรายละเอียดของเทอมปรับโทษ xgbest
ปลีกย่อย แสดงไว้ดงั สมการที่ (21)-(25) xlbest xgbest
Step

P( x )  Floss   p   q  v   g   c (20) TL

โดยที่ : {Power Balance}


2
 
 p     Pg ,i  Pd ,i   Vi V j Yi . j cos i . j   i   j 
NB NB

(21)
i 1  j 1 
2
 
 q    Qg ,i  Qd ,i   Vi V j Yi . j sin i . j   i   j 
NB NB

(22)
i 1  j 1 

โดยที่ : {Voltage Limit}


v   max0 ,Vm ,i  Vmmax
NB

 2 รู ปที่ 4 แผนผังการทางานของการหาค่าเหมาะที่สุดด้วยวิธีการค้นหาตาบู
,i
i 1

 max0 ,V  Vm ,i 
NB

 min
m ,i
2
(23)
i 1

33
โดยที่ : {Power Limit}
 g    max0 , Pg ,i  Pgmax 
NB
2

i 1
,i
BW-FW Propagations

 max0 , P  Pg ,i 
NB

 min
g ,i
2
(24)
i 1

(TS)
 c    max0 ,Qg ,i  Qgmax,i 
NB
2

i 1
DG 1 MW
 max0 ,Q  Qg ,i 
NB

 min
g ,i
2
(25)
i 1

Min : Ploss
โดยที่ : N B คือ จานวนบัสของระบบจาหน่าย

6. ขั้นตอนการแก้ ปัญหาด้ วยวิธีการค้ นหาแบบตาบู


การหาค่ า เหมาะที่ สุ ด โดยใช้ เ ทคนิ ค ชาญฉลาดถู ก น ามา
ประยุกต์ใช้มากขึ้นในปั จจุบนั เพื่อนามาใช้แก้ปัญหาค่าเหมาะที่สุดที่มี
ความซับซ้อน และเป็ นปั ญหาแบบมัลติ โมดอล (Multimodal Problem) รู ปที่ 5 แผนผังการทดสอบหาตาแหน่งติดตั้งเหมาะที่สุดของ DG
ซึ่งมีจุดต่าสุ ดหลายจุดในปริ ภูมิคน้ หาและมีความไม่เชิ งเส้นสู ง ระเบียบ
ขนาด 1 MW

-41-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

วิธีก าหนดการทางคณิ ตศาสตร์ บางวิธีก าร อาจจะไม่สามารถค้นหาจุ ด


.
ต่าสุดโดยรวมของปั ญหาได้ ทาให้ปัญญาประดิษฐ์หรื อเทคนิคชาญฉลาด 3f Inverter 22 kV
CB CB
ถู ก นามาใช้งานกัน อย่างแพร่ ห ลาย [19] โดยวิธีก ารค้นหาแบบตาบูจะ
DC side AC side
ประกอบด้วยโครงสร้างหลักที่สาคัญ 4 ส่ วนในการทางานดังนี้ 1). ปริ ภูมิ
PV Array #1 (Modules : 34 @ 10 kW = 340 kW)
การค้ น หา (Search Space) 2). เซตข้ า งเคี ย ง (Neighborhood Set) 3).
หน่ วยความจาของการค้นหา (Search Memories) และ 4). เกณฑ์ค วาม
3f Inverter
ทะเยอทะยาน (Aspiration Criteria) โดยมีลาดับการทางานของการหาค่า CB CB
Tr 400 / 22 kV

เหมาะที่สุดด้วยวิธีการค้นหาแบบตาบู แสดงไว้ดงั รู ปที่ 4 DC side AC side

ซึ่งในบทความนี้ จะนาขั้นตอนการแก้ปัญหาด้วยวิธีการค้นหา PV Array #2 (Modules : 34 @ 10 kW = 340 kW)

แบบตาบู ทาการหาตาแหน่งติดตั้ง DG ที่เป็ นแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าจากเซลล์


แสงอาทิตย์ ขนาด 1 MW นามาเชื่อมต่อกับระบบจาหน่ายแบบเรเดียล 33 CB
3f Inverter
CB

บัส มาตรฐาน IEEE เพื่อลดกาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยของระบบให้มีค่าต่าที่สุด DC side AC side

ซึ่งมีลาดับขั้นตอนของการทดสอบ แสดงไว้ดงั รู ปที่ 5 PV Array #3 (Modules : 34 @ 10 kW = 340 kW)

3f Bidirectional
Inverter
7. ระบบชดเชยกาลังไฟฟ้าด้ วยแบตเตอรี่ชนิดโซเดียมซัลเฟอร์ CB CB

ปัญหาของระบบผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ คือ สามารถ DC side AC side Tr 400 / 22 kV


NaS Battery System (Modules : 4 @ 50 kW = 200 kW)
จ่ายพลังงานไฟฟ้ าได้เฉพาะช่ วงเวลากลางวันเท่านั้น การใช้ระบบชดเชย
กาลังไฟฟ้ าด้วยแบตเตอรี่ ก็เป็ นทางออกทางหนึ่ งในการที่จะขยายเวลาการ รู ปที่ 6 ระบบชดเชย NaS ขนาด 200 kW ต่อร่ วมกับ DG ขนาด 1 MW
จ่ายพลังงานไฟฟ้ าให้กบั โหลดของระบบได้ยาวนานขึ้น ซึ่ งในบทความนี้ แบบเชื่ อมต่อกับระบบจาหน่าย
จะเลื อกใช้ระบบชดเชยกาลังไฟฟ้ าด้วยแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์
(Sodium-Sulfur Battery: NaS) ที่ มี ข นาด 200 kW มาใช้ แ ก้ ไ ขปั ญหา ซึ่ งเมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง การจ่ า ยพลั ง งานของระบบชดเชย
ดังกล่าวขั้นต้น และจะเป็ นการแก้ไขเพื่อปรับปรุ งรู ปร่ างของแรงดันใน กาลังไฟฟ้ าด้วยแบตเตอรี่ ชนิดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200 kW แล้ว
ระบบจาหน่ายกาลังไฟฟ้ าให้ดีข้ ึนอีกทางหนึ่ งด้วย นั้น ปั ญหาหลักของการจ่ายพลังงานสาหรั บแบตเตอรี่ ก็คือ ปั ญหาเรื่ อง
จากรู ปที่ 6 แสดงโครงสร้างของแบบจาลองของระบบชดเชย เปอร์ เซ็นต์ความจุที่ถูกใช้งานออกไป (Depth of Discharge : DOD) ซึ่งใน
กาลังไฟฟ้ าด้วยแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200 kW ต่อ บทความนี้ จะเลื อกใช้งานแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดี ยมซัลเฟอร์ (NaS) ที่ 90 %
ร่ วมกับระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW แบบเชื่ อมต่อ ของการคายประจุท้ งั หมด จะมีค่าเท่ากับ 180 kW เพื่อหลี กเลี่ยงปั ญหาที่
กับระบบจาหน่ ายที่ ได้จากการศึ ก ษาโครงสร้ าง หลัก การทางาน และ กล่าวมาแล้วในข้างต้น [9]
คุณสมบัติของแบตเตอรี่ [9]-[12] มาแล้วในข้างต้นนั้น โดยเมื่อพิจารณา
ถึ งขั้นตอนสุ ดท้ายของการหาค่ าก าลังไฟฟ้ าเพื่ อเชื่ อมต่ อเข้ากับ ระบบ
จาหน่ ายจะเป็ นการประยุกต์ใช้แบบจาลองทางคณิ ตศาสตร์ DG เช่ นกัน
ดัง นั้น แบบจ าลองทางคณิ ต ศาสตร์ ข องระบบชดเชยก าลัง ไฟฟ้ าด้ว ย
แบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200 kW ที่ใช้ในบทความนี้
คื อ จะก าหนดให้ NaS จ่ายเฉพาะค่ าก าลังไฟฟ้ าจริ งที่ มีข นาด 200 kW
เท่านั้นโดยเมื่อพิจารณาถึ งขนาดของ NaS จะเป็ นการออกแบบเลื อกใช้
รู ปที่ 7 การเลื่อนเวลาของสัญญาณเอาท์พตุ (Output) ด้วยแบตเตอร์รี่ชนิด
ระบบชดเชยก าลังไฟฟ้ าด้วยแบตเตอรี่ ช นิ ดโซเดี ยมซัล เฟอร์ (NaS) ที่
โซเดียมซัลเฟอร์ (NaS)
ขนาด 200 kW ซึ่ งคิดเป็ น 20 % ของระบบจ่ายพลังงานหลัก นัน่ ก็คือ DG
ขนาด 1 MW เมื่อพิจารณาถึ งระบบชดเชยกาลังไฟฟ้ า ถ้าเลื อกใช้ระบบ
โดยเมื่อพิจารณารู ปที่ 7 จะนามาประยุกต์ใช้เป็ นต้นแบบใน
ชดเชยกาลังไฟฟ้ า ที่มีค่าสูงกว่า 50 % ของระบบหลัก ก็ควรพิจารณาเลือก
การวางแผนการจ่ายพลังงานของระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิ ตย์
ลงทุนสร้างระบบหลักใหม่อีกชุดจึงจะเหมาะสมกว่า
ขนาด 1 MW และระบบชดเชยก าลังไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ช นิ ดโซเดี ยม
ซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200 kW เพื่อนาค่าไปใช้ในการทดสอบต่อไป ซึ่ งมี

-42-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

รายละเอียดดังนี้ 1). การวางแผนการจ่ายพลังงานของระบบผลิ ตไฟฟ้ า 8.1 ผลการทดสอบติดตั้ง DG เข้ าสู่ ระบบจาหน่ ายแบบเรเดียล
จากเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW จะแสดงไว้ดงั ตารางที่ 1 และ 2). การ การทดสอบติดตั้ง DG เข้าสู่ ระบบจาหน่ายแบบเรเดียล เพื่อหา
วางแผนการจ่ายพลังงานของระบบชดเชยกาลังไฟฟ้ าด้วยแบตเตอรี่ ชนิ ด ตาแหน่ งติดตั้งเหมาะที่สุด ซึ่ งช่ วยลดกาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยของระบบเมื่อ
โซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) 200 kW จะแสดงไว้ดงั ตารางที่ 2 ติ ด ตั้ง ในต าแหน่ ง ที่ เ หมาะสม โดยจะแบ่ ง การแสดงผลการทดสอบ
ออกเป็ น 2 ส่ วน คื อ ก่ อนติ ด ตั้ง DG ขนาด 1 MW เข้าสู่ ระบบจาหน่ าย
ตารางที่ 1 การวางแผนการจ่ายพลังงานของระบบผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์ และหลังติดตั้ง DG ขนาด 1 MW เข้าสู่ ระบบจาหน่ายซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้
แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW ดังต่อไปนี้
เวลา กาลังการผลิตกาลังไฟฟ้า กาลังการผลิตกาลังไฟฟ้า 1). ผลการทดสอบก่ อนติดตั้ง DG ขนาด 1 MW เข้าสู่ ระบบ
(ชั่วโมง) (%) (kW)
0-5 0 0 จาหน่ าย โดยจะเป็ นการประยุกต์ระบบจาหน่ ายแบบเรเดี ยล 33 บัส 32
6 4 40 สาขา มาตรฐาน IEEE ซึ่งจะแสดงผลการทดสอบไว้ดงั นี้
7 20 200
8 45 450
1
9 68 680
10 86 860 0.99

Bus Voltages in p.u.


11 95 950
0.98
12 100 1000
13 99 990 0.97
14 90 900
0.96
15 78 780
16 56 560 0.95
1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31 33
17 32 320 Bus No:
18 14 140 รู ปที่ 8 ขนาดแรงดันไฟฟ้ าที่บสั ต่าง ๆ ของระบบจาหน่ายแบบเรเดียล
19-24 0 0
มาตรฐาน IEEE 33 บัส
ตารางที่ 2 การวางแผนการจ่ายพลังงานของระบบชดเชยกาลังไฟฟ้ าด้วย
แบตเตอรี่ NaS ขนาด 200 kW พิจารณากราฟรู ปที่ 8 จะพบว่าก่อนติดตั้ง DG ค่าขนาดแรงดัน
เวลา กาลังการผลิตกาลังไฟฟ้า กาลังการผลิตกาลังไฟฟ้า ที่บสั ต่าง ๆ ของระบบจะลดลงไปจากบัสที่ 1 ที่มีค่าแรงดันไฟฟ้ า = 1 p.u.
(ชั่วโมง) (%) (kW) อย่า งต่ อ เนื่ อ ง สาเหตุ ม าจากการต่ อ วงจรสายป้ อนหลัก แบบเรเดี ย ล
0-10 เก็บประจุ เก็บประจุ
11 เตรี ยมพร้อม เตรี ยมพร้อม กล่าวคื อ เมื่อระยะทางเพิ่มมากขึ้นส่ งผลให้เกิ ดแรงดันตกที่ปลายสายส่ ง
12 25 16.66 โดยบัสสุ ดท้ายหรื อบัสที่ 33 จะถูกมองว่าเป็ นบัสอ่อนแอ (Weak Bus) ซึ่ ง
13 25 16.66
14 25 16.66 มีค่าขนาดแรงดันที่ บสั ต่ าที่ สุดเท่ ากับ 0.963457 p.u. และเป็ นบัสที่ไกล
15 40 26.66 ที่สุด
16 40 26.66
17 40 26.66 0.1
18 25 16.66 0.09
19 25 16.66
Branch Current in p.u.

0.08
0.07
20 25 16.66 0.06
21 เตรี ยมพร้อม เตรี ยมพร้อม 0.05
22-24 เก็บประจุ เก็บประจุ 0.04
0.03
0.02
0.01
8. ผลการทดสอบ 0
1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25 27 29 31
ผลการทดสอบโดยใช้โปรแกรม MATLAB เป็ นเครื่ อ งมื อ Bus No:
รู ปที่ 9 ขนาดกระแสไฟฟ้ าที่สาขาต่าง ๆ ของระบบจาหน่ายแบบเรเดียล
หลัก ในการช่ ว ยวิ เ คราะห์ และแก้ปั ญ หาของระบบในส่ ว นต่ า ง ๆ ที่
มาตรฐาน IEEE 33 บัส
ต้องการทาการทดสอบ มี รายละเอี ย ดล าดับ ขั้นตอนการแสดงผลการ
ทดสอบดังต่อไปนี้
พิจารณากราฟรู ปที่ 9 จะพบว่าก่อนติดตั้ง DG ค่าขนาดกระแส
ที่สาขาต่าง ๆ ของระบบจะมีค่าแตกต่างกัน สาเหตุมาจากภาระของโหลด
แต่ละสาขาที่แตกต่างกัน ทาให้กระแสไฟฟ้ าที่ไหลในตัวนาของสายป้ อน

-43-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

บางสาขายัง มี ค่ า สู งเกิ น ไป ส่ งผลให้ ส ายป้ อนแต่ ล ะสาขามี ขี ด บัสที่ 25 แล้วนั้นจะได้ค่ากาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยจริ งของระบบมีค่าต่าที่สุด =
ความสามารถรั บ กระแสไฟฟ้ าของโหลดได้ล ดลง โดยที่ ส าขาที่ 1 มี 48.6791 kW และค่าขนาดแรงดันที่บสั ต่าง ๆ ของระบบจะถูกปรับปรุ งให้
ค่ากระแสสู งที่สุดคือ 0.094083 p.u. ดี ข้ ึ น สาเหตุ มาจาก DG จะช่ ว ยจ่ า ยก าลังไฟฟ้ าจริ งเข้าสู่ ระบบจึ ง ช่ ว ย
ยกระดับ ค่ า แรงดัน ที่ บ สั ต่ าง ๆ ให้ สู ง ขึ้ น ด้วย โดยก่ อ นติ ดตั้ง DG บัส
0.16
สุ ดท้ายจะถู กมองว่าเป็ นบัสอ่อนแอ (Weak Bus) ซึ่ งมี ค่าขนาดแรงดันที่
Optimal Real Power Production

0.14
0.12
บัส ต่ า ที่ สุ ด และเป็ นบัส ที่ ไ กลที่ สุ ด แต่ ห ลั ง จากติ ด ตั้ง DG แล้ว จะ
0.1
เปลี่ยนไปเป็ นบัสที่ 28
in MW

0.08
0.06
0.04 0.1
Base Case Branch Current
0.02 0.09 Branch Current after DG Installation

Bracch Current in p.u.


0.08
0
5 10 15 20 25 30 0.07
Bus No: 0.06

รู ปที่ 10 ค่าการผลิตกาลังไฟฟ้ าจริ งที่เหมาะสมสาหรับระบบจาหน่าย 0.05


0.04
แบบเรเดียล มาตรฐาน IEEE 33 บัส 0.03
0.02
0.01
0
พิจารณากราฟรู ปที่ 10 จะพบว่าก่อนติดตั้ง DG ค่ากาลังไฟฟ้ า 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32
Bus No :
จริ งที่เหมาะที่สุดของระบบที่ปลายสายส่ งของระบบมีค่าลดต่าลงเช่ นกัน รู ปที่ 12 ขนาดกระแสไฟฟ้ าที่สาขาต่าง ๆ ของระบบจาหน่ายแบบเรเดียล
สาเหตุมาจากค่าแรงดันที่บสั ต่าง ๆ และค่ากระแสของแต่ละสาขาซึ่ งเป็ น มาตรฐาน IEEE 33 บัส ก่อนและหลังติด DG
สัดส่ วนโดยตรงซึ่ งกันและกัน ดังนั้นจะส่ งผลให้เกิ ดกาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ย
ในระบบที่ปลายสายส่ งค่อนข้างมาก โดยมีการผลิ ตค่ากาลังไฟฟ้ าจริ งที่ พิ จ ารณากราฟรู ป ที่ 12 จะเป็ นการเปรี ยบเที ย บค่ า ขนาด
เหมาะที่สุดของระบบต่าสุด = 13.2551 kW และสูงสุด = 151.4956 kW กระแสไฟฟ้ าที่ ส าขาต่ าง ๆ ของระบบจาหน่ ายแบบเรเดี ยล มาตรฐาน
2). ผลการทดสอบหลังติด ตั้ง DG ขนาด 1 MW เข้าสู่ ระบบ IEEE 33 บัส ก่ อนและหลังติ ด DG โดยใช้ก ารทดสอบติ ดตั้ง DG เข้าสู่
จาหน่ ายแบบเรเดี ยล แบบทีละบัส (Trial DG) และผลการทดสอบติดตั้ง ระบบจาหน่ายแบบเรเดียล แบบทีละบัส (Trial DG) และการหาค่าเหมาะ
DG เข้าสู่ ระบบจาหน่ายแบบเรเดี ยล โดยใช้เทคนิ คการหาค่าเหมาะที่สุด ที่สุดแบบตาบูคน้ หาตาแหน่งติดตั้ง DG ขนาด 1 MW ในบัสที่ 25 แล้วนั้น
แบบตาบู ที่นามาใช้แก้ปัญหาการวิเคราะห์หาตาแหน่ งติดตั้งเหมาะที่สุด พบว่าหลังติดตั้ง DG ค่าขนาดกระแสไฟฟ้ าที่สาขาต่าง ๆ ของระบบจะถูก
นั้น จะได้ค่ า ต่ า ง ๆ ของผลการทดสอบที่ เ ท่ า กัน ซึ่ งจะแสดงผลการ ปรับปรุ งให้ดีข้ ึน สาเหตุมาจาก DG จะช่ วยจ่ายกาลังไฟฟ้ าจริ งเข้าสู่ ระบบ
ทดสอบไว้ดงั นี้ จึงช่วยลดระดับค่าระแสไฟฟ้ าที่สาขาต่าง ๆ ด้วย ซึ่ งผลที่ได้น้ นั จะเห็นว่า
ค่ากระแสจะลดลงไม่มากนัก โดยมีผลสื บเนื่ องมาจากความต้องการของ
1
Base Case Voltage
Voltage after Optimal DG 1 MW Installation ภาระโหลดของระบบที่ตอ้ งการกระแสที่ ตอ้ งจ่ายให้โหลดของระบบมี
0.99
ค่าคงที่ และบทความนี้ เ ป็ นการทดสอบภายใต้เงื่ อนไขเสถี ยรภาพของ
Bus Voltage in p.u.

0.98
แรงดันไฟฟ้ าของระบบไฟฟ้ ากาลังที่สภาวะโหลดคงที่ (Static Load) ด้วย
0.97
พิจารณาตารางที่ 3 จะเป็ นการเปรี ยบเทียบค่ากาลังไฟฟ้ าจริ งที่
0.96
สูญเสี ย และกาลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟที่สูญเสี ย ของระบบจาหน่ ายแบบเรเดียล
0.95
1 3 5 7 9 11 13 15 17
Bus N0 :
19 21 23 25 27 29 31 33 มาตรฐาน IEEE 33 บัส โดยที่ ก่อนติดตั้ง DG ขนาด 1 MW เข้าสู่ ระบบ
รู ปที่ 11 ขนาดแรงดันไฟฟ้ าที่บสั ต่าง ๆ ของระบบจาหน่ายแบบเรเดียล จาหน่าย ซึ่งจากผลการจาลองการไหลของการคานวณค่ากระแสไฟฟ้ าแต่
มาตรฐาน IEEE 33 บัส ก่อนและหลังติด DG ละสาขาโดยวิ ธีแ พร่ ก ระจายถอยหลัง และการค านวณแรงดันไฟฟ้ าที่
โหนดโดยวิ ธี แ พร่ ก ระจายเดิ น หน้ า ของระบบจ าหน่ า ยแล้ ว จะได้ค่ า
พิ จ ารณากราฟรู ป ที่ 11 จะเป็ นการเปรี ยบเที ย บค่ า ขนาด กาลังไฟฟ้ าจริ งและกาลังไฟฟ้ ารี แ อคทีฟที่ สูญเสี ยรวมในระบบจะอยู่ที่
แรงดันไฟฟ้ าที่บสั ต่างๆ ของระบบจาหน่ ายแบบเรเดี ยล มาตรฐาน IEEE 77.0135 kW และ 52.1361 kVar ตามลาดับ
33 บัส ก่อนและหลังติ ด DG โดยใช้การทดสอบติ ดตั้ง DG เข้าสู่ ระบบ หลังติด DG โดยใช้การทดสอบติดตั้ง DG เข้าสู่ ระบบจาหน่าย
จาหน่ ายแบบเรเดี ยล แบบทีละบัส (Trial DG) และการหาค่าเหมาะที่สุด แบบเรเดียล แบบทีละบัส (Trial DG) และการหาค่าเหมาะที่สุดแบบตาบู
แบบตาบูคน้ หาตาแหน่ งติดตั้ง DG ขนาด 1 MW พบว่าหลังติดตั้ง DG ใน ค้นหาตาแหน่งติดตั้ง DG ขนาด 1 MW ในบัสที่ 25 แล้วนั้น ค่ากาลังไฟฟ้ า

-44-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

จริ งที่สูญเสี ย = 48.6791 kW และกาลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟที่สูญเสี ย = 32.5590 การรายงานผลของการทดสอบรันโปรแกรม MATLAB โดย
kVar โดยที่ ก าลัง ไฟฟ้ าสู ญ เสี ยของระบบลดลง 36.79 % kW และ การทดสอบติ ด ตั้ง DG เข้าสู่ ระบบจ าหน่ ายแบบเรเดี ย ล แบบที ล ะบัส
กาลังไฟฟ้ ารี แอคที ฟที่ สู ญเสี ยของระบบลดลง 37.54 % ทาให้ ระบบมี (Trial DG) และการทดสอบติด ตั้ง DG เข้าสู่ ระบบจาหน่ ายแบบเรเดี ยล
เสถียรภาพของแรงดันเพิ่มมากขึ้น และสุ ดท้ายจะแสดงถึงบัสที่ติดตั้ง DG ซึ่ งใช้เทคนิ คการหาค่าเหมาะที่ สุดแบบตาบู โดยทาการทดสอบทั้งหมด
แล้วให้ค่ากาลังไฟฟ้ าจริ งที่สูญเสี ยของระบบต่าที่สุดถัดมาอีก 4 บัสได้แก่ 30 ครั้ง เปรี ยบเทียบกัน แล้วจึงนาค่ามาหาค่าเฉลี่ย ต่าง ๆ ที่ตอ้ งการเพื่อ
บัสที่ 23 บัสที่ 21 บัสที่ 27 และบัสที่ 29 ตามลาดับ รายงานผลการทดสอบของ ผลการทดสอบสมรรถนะในการค้นหาต่าสุ ด
แสดงดังตารางที่ 4 ผลการทดสอบจานวนรอบการค้นหาที่ใช้ * TS Max
ตารางที่ 3 ผลการจาลองการหาตาแหน่ งติดตั้งเหมาะที่สุดของ DG โดยใช้ Iter = 50 แสดงดังตารางที่ 5 และผลการทดสอบความเร็ วในการค้นหา
การค้นหาแบบทีละบัส และการหาค่าเหมาะที่สุดแบบตาบู (วินาที) แสดงดังตารางที่ 6 โดยที่จากตารางที่ 4 - 6 แสดงให้เห็นว่าวิธีการ
System Method Bus DG Ploss Qloss Loss Reduction ทดสอบติดตั้ง DG เข้าสู่ ระบบจาหน่ายแบบเรเดียล ซึ่ งใช้เทคนิ คการหาค่า
No. Size kW kVar %
1
เหมาะที่ สุดแบบตาบู มีสมรรถนะที่ เหนื อกว่าวิธีการทดสอบติ ดตั้ง DG
Real Reactive
MW Power Power เข้าสู่ ระบบจาหน่ ายแบบเรเดียลแบบทีละบัส (Trial DG) ไม่ว่าจะเป็ นตัว
77.0135 52.1361 วิธีการของสมรรถนะเอง จานวนรอบการค้นหาที่ใช้ในการค้นหาก็น้อย
25 1 48.6791 32.5590 36.79 37.54 กว่า รวมถึงความเร็ วในการค้นหาคาตอบก็เร็ วกว่า ซึ่ งโดยรวมแล้วจะเป็ น
Trial DG 23 1 48.7054 32.5696 36.75 37.52
33 Bus
การบ่งบอกถึงความมีสมรรถนะที่ดีในการหาคาตอบของวิธีการ
And 21 1 48.7662 32.5911 36.67 37.48
TS 27 1 49.0506 32.8487 36.30 36.99 Convergence curve (best solution)
29 1 49.3663 33.2560 35.89 36.21 150
140
130

8.2 ผลการทดสอบเทคนิคการหาค่ าเหมาะทีส่ ุ ดแบบตาบู


Objective

120
110
นามาใช้แก้ปัญหาการวิเคราะห์หาตาแหน่ งติ ดตั้งเหมาะที่สุด 100

โดยจะแบ่งผลของการทดสอบออกเป็ น 2 ส่ วน ดังนี้ คือ ผลการทดสอบ 90


80
สมรรถนะของวิธีการ และผลการทดสอบผลรัศมีการค้นหาของกลไกการ 0 1 2 3 4 5
Generation in progress
6 7 8 9

สร้างคาตอบข้างเคียง ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้ รู ปที่ 13 การลู่เข้าสู่คาตอบโดยใช้การค้นหาแบบตาบู ครั้งที่ 1


1). ผลการทดสอบสมรรถนะของวิ ธี การ จะเป็ นการ
Convergence curve (best solution)
เปรี ยบเทียบความเร็ วในการค้นหาคาตอบระหว่างการทดสอบติดตั้ง DG 150

เข้าสู่ระบบจาหน่ายแบบเรเดียล แบบทีละบัส (Trial DG) และการทดสอบ 140


130
ติดตั้ง DG เข้าสู่ระบบจาหน่ ายแบบเรเดียล โดยใช้เทคนิ คการหาค่าเหมาะ
Objective

120

ที่สุดแบบตาบู ซึ่ งแต่ละวิธีจะทาการทดสอบทั้งหมด 30 ครั้ง โดยมีลาดับ 110


100
ขั้นตอนการแสดงผลการทดสอบดังต่อไปนี้ 90

ตารางที่ 4 ผลการทดสอบ สมรรถนะในการค้นหาต่าสุด 80


0 1 2 3 4 5 6 7 8 9
Generation in progress
Methods min fobj. average max fobj. S.D.
fobj. ภาพที่ 14 การลู่เข้าสู่คาตอบโดยใช้การค้นหาแบบตาบู ครั้งที่ 2- 30
Trial DG 91.9312 109.0572 145.6204 17.7576
TS 91.9312 91.9312 91.9312 0 จากรู ปที่ 13 และ 14 เป็ นการรายงานผลของการทดสอบรั น
ตารางที่ 5 รายงานผลทดสอบ จานวนรอบการค้นหาที่ใช้ 50 รอบ โปรแกรม MATLAB โดยการทดสอบติดตั้ง DG เข้าสู่ ระบบจาหน่ายแบบ
Methods min Iter. average max Iter. S.D.
Iter. เรเดี ยล ซึ่ งใช้เทคนิ คการหาค่าเหมาะที่สุดแบบตาบู โดยทาการทดสอบ
Trial DG 33 33 33 0 ทั้งหมด 30 ครั้ ง โดยรู ปที่ 13 เป็ นรายงานผลของการทดสอบการลู่ เข้าสู่
TS 8 8.7000 9 0.4661 คาตอบครั้งที่ 1 พร้อมทิศทางของการลู่เข้าสู่คาตอบ รู ปที่ 14 เป็ นรายงาน
ตารางที่ 6 งานผลทดสอบ ความเร็ วในการค้นหา (วินาที)
Methods min time average max time S.D. ผลของการทดสอบการลู่เ ข้าสู่ ค าตอบครั้ งที่ 2 - 30 โดยแกน x จะเป็ น
time จานวนรอบของการคานวณ จากภาพทั้งสองแสดงให้เห็ นถึงสมรรถนะ
Trial DG 1.4617 1.5375 1.7351 0.0658
TS 0.6105 0.6914 0.7943 0.0440
ของวิธีการ

-45-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

2). ผลการทดสอบผลรั ศ มี ก ารค้น หาของกลไกการสร้ า ง การค้นหาคาตอบน้อยที่สุด โดยขอบเขตที่ (+9 และ -9) จะเริ่ มเกิ ดการลู่
ค าตอบข้า งเคี ย ง โดยจะมี ผ ลต่ อ สมรรถนะการค้น หาที่ ดี ที่ สุ ด ซึ่ งจะ ออกของเวลาและจานวนรอบในการค้นหาคาตอบ
กาหนดขอบเขตของรัศมีการค้นหาทั้งหมด 9 ขอบเขต โดยที่แต่ละวิธีจะ
ทาการทดสอบทั้งหมด 30 ครั้ ง การกาหนดขอบเขตของรั ศมีการค้นหา 8.3 ผลการทดสอบระบบชดเชยกาลังไฟฟ้าจากแบตเตอรี่
ทั้งหมด 9 ขอบเขตมี ดังนี้ (+1 และ -1) (+2 และ -2) (+3 และ -3) (+4 และ น ามาใช้ แ ก้ ปั ญ หาการปรั บ ปรุ ง รู ป ร่ างของแรงดัน ไฟฟ้ า
-4) (+5 และ -5) (+6 และ -6) (+7 และ -7) (+8 และ -8) (+9 และ -9) ซึ่งผล (Voltage Profile) ของระบบ โดยจะแบ่ งผลของการทดสอบออกเป็ น 2
การทดสอบของจานวนรอบการค้นหาที่ใช้ * TS Max Iter = 50 รอบ และ ส่วน ซึ่ งมีรายละเอียดดังนี้
ความเร็ วในการค้นหา (วินาที) จานวน 30 ครั้ง ต่อ 1 ขอบเขตของรัศมีการ 1). ผลการทดสอบกาลังการผลิตของ DG ที่เป็ น PV ขนาด 1
นาค่าที่ได้มาคานวณหาค่า เปอร์เซ็นต์ที่ลดลงของเวลาที่ใช้ในการคานวณ MW และ NaS ขนาด 200 kW ในช่ วงเวลาของการทดสอบ 1 วันจะเป็ น
ของขอบเขตของรัศมีการค้นหา ดังสมการที่ (26) เพื่อนาค่าที่ได้ไปพล็อต การรายงานผลการนาค่าของการออกแบบการวางแผนการจ่ายพลังงาน
กราฟ ของระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์แ สงอาทิตย์ขนาด 1 MW จากตารางที่ 1
และการวางแผนการจ่ า ยพลัง งานของระบบชดเชยก าลัง ไฟฟ้ าจาก
ตารางที่ 6 รายงานผลทดสอบค่าเฉลี่ยของ ไฟล์ tsmaim – tsmain_8 โดย แบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดี ยมซัลเฟอร์ (NaS) 200 kW จากตารางที่ 2 ไปสร้ าง
ใช้ TS กาหนด Max Iter = 50 รอบ, จานวน 30 ครั้ง กราฟของก าลังการผลิ ตกาลังไฟฟ้ า ในช่ วงเวลา 1 วัน เพื่อนาค่ าไปใช้
Roun File for Positive Negative Mean of Mean of ทดสอบในหัวข้อต่ อไป โดยมี ลาดับ ขั้น ตอนการแสดงผลการทดสอบ
d Testing : Value : Value : Time Iteration
No : (sec) (Round)
ดังต่อไปนี้
1 - 30 tsmain . m +1 -1 0.9706 8.6333 1500
1400 PDG-gen
1 - 30 tsmain_1 . m +2 -2 0.8342 7.7000 1300
Power Generation (kw)

1200
1100
1 - 30 tsmain_2 . m +3 -3 0.7585 6.7667 1000
900
800
1 - 30 tsmain_3 . m +4 -4 0.6107 5.8333 700
600
500
1 - 30 tsmain_4 . m +5 -5 0.4658 4.4000 400
300
200
1 - 30 tsmain_5 . m +6 -6 0.3895 3.6667 100
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
1 - 30 tsmain_6 . m +7 -7 0.3022 2.8000 Time (Hour)

1 - 30 tsmain_7 . m +8 -8 0.1772 1.6000 รู ปที่ 16 กาลังการผลิตกาลังไฟฟ้ า ในช่วงเวลา 1 วัน ของ DG ที่เป็ น PV


1 - 30 tsmain_8 . m +9 -9 0.2805 2.6000
ขนาด 1 MW ขณะโหลดคงที่ ในช่วงเวลา 1 วัน

100 พิจารณากราฟรู ปที่ 16 จะแสดงการรายงานผลการนาค่าของ


80
การออกแบบการวางแผนการจ่ายพลังงานของ DG ที่ เ ป็ นระบบผลิ ต
Computation Time ( % )

60
Percent Reduction of

40
20 ไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW ขณะโหลดคงที่ ในช่ วงเวลา 1
0
-20 วัน
-40
-60
-80 1500
1400 PV-gen
-100 1300
tsmain tsmain_1 tsmain_2 tsmain_3 tsmain_4 tsmain_5 tsmain_6 tsmain_7 tsmain_8
Power Production (kW)

1200
Set for any tsmain of File ( set ) 1100
1000
รู ปที่ 15 เปอร์เซ็นต์ที่ลดลงของเวลาที่ใช้ในการคานวณที่ tsmain ต่าง ๆ 900
800
700
600
500
400
จากตารางที่ 6 และรู ปที่15 จะรายงานผลการทดสอบผลรัศมี 300
200
100
การค้นหาของกลไกการสร้ างคาตอบข้างเคียง ซึ่ งจะมีผลต่อสมรรถนะ 0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
Time (Hour)
การค้น หาที่ ดี ที่สุ ด โดยขอบเขตที่ ดี ที่สุ ดคื อ (+8 และ -8) จะอยู่ที่ ภาพ
รู ปที่ 17 กาลังการผลิตกาลังไฟฟ้ า ในช่วงเวลา 1 วัน ของ DG ที่เป็ น PV
ผลทดสอบค่าเฉลี่ยของ ไฟล์ tsmain_7 ซึ่ งจะใช้เวลาและจานวนรอบใน
ขนาด 1 MW ในช่วงเวลา 1 วัน

-46-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

พิจารณากราฟรู ปที่ 17 จะแสดงการรายงานผลการนาค่าของ พิจารณากราฟรู ปที่ 19 จะแสดงการรายงานผลการนาค่าของ


การออกแบบการวางแผนการจ่ายพลังงานของระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์ การออกแบบการวางแผนการจ่ายพลังงานของระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์
แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW ขณะเวลาต่าง ๆ ในช่วงเวลา 1 วัน ซึ่ งช่ วงเวลา แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW และการนาค่าของการออกแบบการวางแผนการ
12.00 น. หรื อเที่ยงวัน DG ที่เป็ นแบบ PV จะผลิตกาลังไฟฟ้ าได้สูงที่สุด จ่ ายพลังงานของระบบชดเชยก าลัง ไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ช นิ ดโซเดี ย ม
เนื่องจากเป็ นช่วงเวลาที่แผงของเซลล์แสงอาทิตย์ได้รับความเข้มของแสง ซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200 kW ขณะเวลาต่าง ๆ ในช่วงเวลา 1 วัน มาสร้าง
สู ง ที่ สุ ด จึ ง สามารถผลิ ต กระแสไฟฟ้ าได้ สู ง ที่ สุ ด เช่ น กัน ในขณะที่ กราฟการออกแบบระบบของแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) เพื่อ
แรงดันไฟฟ้ าแทบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ใช้เป็ นระบบชดเชยให้ DG จากกราฟจะแสดงให้เห็นว่าระบบชดเชยของ
แบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) จะมีประโยชน์ที่สาคัญ 2 ส่ วนคื อ
30
NaS-gen อันดับแรกระบบของแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) จะช่ วย DG
Power Production (kW)

25

20 จ่ายกาลังไฟฟ้ าในช่วงความต้องการของโหลดสู งสุ ด คือช่ วงเวลา 12.00-


15 14.00 น. อันดับที่สองระบบของแบตเตอรี่ โซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) จะช่วย
10 ยืดเวลาการจ่ายกาลังไฟฟ้ าให้กบั โหลดได้ยาวนานขึ้น คือช่วงเวลา 19.00-
5
21.00 น. ซึ่ งจะช่ วยในแก้ปัญหาการปรั บ ปรุ งรู ปร่ างของแรงดัน ไฟฟ้ า
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
Time (Hour) (Voltage Profile) ของระบบ ดัง มาจากสาเหตุ ที่ DG และระบบของ
รู ปที่ 18 กาลังการผลิตกาลังไฟฟ้ า ในช่วงเวลา 1 วัน ของ NaS ขนาด 200 แบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) เมื่ อเชื่ อมต่อเข้าสู่ ระบบจาหน่ าย
kW ขณะในช่วงเวลา 1 วัน แบบเรเดี ยล ในบัส ที่เหมาะสมจะช่ วยเพิ่มหรื อยกระดับแรงดันที่ปลาย
สายส่ ง เพราะ DG และระบบของแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS)
พิจารณากราฟรู ปที่ 18 จะแสดงการรายงานผลการนาค่าของ จะช่ วยจ่ายกาลังไฟฟ้ าเข้าสู่ ระบบ ส่ งผลให้ระบบมีเสถี ยรภาพและความ
การออกแบบการวางแผนการจ่ายพลังงานของระบบชดเชยกาลังไฟฟ้ า น่าเชื่อถือเพิ่มมากขึ้น
จากแบตเตอรี่ ชนิดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200 kW ขณะเวลาต่าง ๆ 2). ผลการทดสอบกาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมเมื่อติ ดตั้ง DG และ
ในช่วงเวลา 1 วัน ซึ่ งจะใช้ค่า DOD = 90 % ดังนั้นความจุรวมทั้งหมดจึงมี NaS ในบัสที่ 25 ในช่ วงเวลาของการทดสอบ 1 วันจะเป็ นการรายงานผล
แค่ 180 kW ที่นาไปใช้งานได้ จากกราฟจะพบว่าที่เวลา 11.00-12.00 น. การน าค่ า ที่ ไ ด้จ ากการสร้ า งกราฟของก าลัง การผลิ ต ก าลัง ไฟฟ้ าใน
และ 21.00-22.00 น. จะเป็ นช่วงเตรี ยมพร้อม โดยที่ช่วงเวลา 12.00-15.00 ช่วงเวลา 1 วัน มาทาการทดสอบหากาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมที่บสั 25
น. และ 18.00-21.00 น. จะเป็ นช่วงคายประจุมีค่าเท่ากับ 25 % หรื อ 16.66
kW ของความจุท้งั หมดของ 180 kW และสุ ดท้ายที่ช่วงเวลา 15.00-18.00 ตารางที่ 7 ผลการทดสอบกาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมเมื่อติดตั้ง DG และ Nas
น. จะเป็ นช่ วงคายประจุมีค่ าเท่ ากับ 40 % หรื อ 26.66 kW ของความจุ ในบัสที่ 25 ในช่วงเวลาของการทดสอบ 1 วัน
เวลา กาลังไฟฟ้าสู ญเสี ย กาลังไฟฟ้าสู ญเสี ย กาลังไฟฟ้าสู ญเสี ย
ทั้งหมดของ 180 kW เช่ นกัน ซึ่งเวลาในการคายประจุจะเท่ากับ 9 ชัว่ โมง (ชั่วโมง) รวมของ DG รวมของ NaS รวมของ DG + NaS
และเวลาในการเก็บประจุจะเท่ากับ 13 ชั่วโมง โดยเริ่ มเก็บประจุต้ งั แต่ (kW) (kW) (kW)
0-5 0 0 0
เวลา22.00-11.00 น. ของวันต่อไป 6 136.5804 0 136.5804
7 125.0283 0 125.0283
1500
1400 PDG-gen
8 110.3348 0 110.3348
1300 PV-gen 9 100.3495 0 100.3495
Power Production (kW)

1200
1100
1000
NaS-gen
10 94.8415 0 94.8415
900
800
11 92.8339 0 92.8339
700
600
12 91.9312 138.4080 91.6639
500
400
13 92.0996 138.4080 91.8223
300
200
14 93.8883 138.4080 93.5201
100
0
15 97.0423 137.6205 96.2652
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
Time (Hour) 16 105.1422 137.6205 103.9992
17 117.4697 137.6205 115.9177
รู ปที่ 19 กาลังการผลิตกาลังไฟฟ้ า ในช่วงเวลา 1 วัน ของ DG ที่เป็ น PV 18 129.1616 138.4080 127.9901
ขนาด 1 MW ร่ วมกับ NaS ขนาด 200 kW ขณะ ในช่วงเวลา 1 วัน 19 0 138.4080 138.4080
20 0 138.4080 138.4080
21-24 0 0 0

-47-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

ตามตาแหน่ งของก าลังการผลิ ตก าลังไฟฟ้ าในช่ วงเวลา 1 วัน ของการ ออกแบบคือ 16.66 kW และ 26.66 kW ซึ่ งยังไม่รวมค่ าของ DG ซึ่ งก็ มี
ออกแบบการวางแผนการจ่ายพลังงานของระบบผลิ ตไฟฟ้ าจากเซลล์ ข้อดีคือทาให้รู้วา่ ขนาดของระบบที่ผลิตกาลังไฟฟ้ าในรู ปแบบต่าง ๆ ถ้ามี
แสงอาทิ ตย์ข นาด 1 MW และการวางแผนการจ่ายพลังงานของระบบ กาลังการผลิ ตที่ มี ค่ าน้อย เมื่ อเชื่ อมต่ อเข้ากับ ระบบจาหน่ ายแล้วจะลด
ชดเชยกาลังไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดี ยมซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200 กาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมของระบบได้นอ้ ยเช่นกัน
kW โดยใช้เทคนิ คการหาค่าเหมาะที่สุดแบบตาบู มาใช้ในการวิเคราะห์ 150

Total Power Loss at Bus 25 (kW)


ดังตารางที่ 7 โดยมีลาดับขั้นตอนการแสดงผลการทดสอบดังต่อไปนี้ จาก 140
130
Ploss of NaS

120
ตารางที่ 7 จะแสดงการรายงานผลการทดสอบกาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมเมื่อ 110
100
90
ติดตั้ง DG และแบตเตอรี่ ชนิดโซเดียมซัลเฟอร์ (Nas) ในบัสที่ 25 ในช่วง 80
70
60
เวลาของการทดสอบ 1 วัน นาผลที่ได้มาสร้ างกราฟการรายงานผลการ 50
40

ทดสอบในรู ปที่ 20-22


30
20
10
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
150 Time (Hour)
Total Power Loss at Bus 25 (kW)

140 Ploss of PV
130
120
รู ปที่ 21 กาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมเมื่อติดตั้ง NaS ในบัสที่ 25 ในช่วงเวลา
110
100
90
ของการทดสอบ 1 วัน
80
70
60 150
Total Power Loss at Bus 25 (kW)
50 140 Ploss of
40 130 PV+NaS
30 120
20 110
10 100
0 90
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
Time (Hour) 80
70

รู ปที่ 20 กาลังไฟฟ้ าสูญเสี ยรวมเมื่อติดตั้ง DG ในบัสที่ 25 ในช่วงเวลา


60
50
40

ของการทดสอบ 1 วัน 30
20
10
0
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
Time (Hour)
พิจารณากราฟรู ปที่ 20 จะแสดงการรายงานผลการนาค่าที่ได้ รู ปที่ 22 กาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมเมื่อติดตั้ง DG ร่ วมกับ NaS ในบัสที่ 25
จากการสร้างกราฟของกาลังการผลิ ตกาลังไฟฟ้ าในช่ วงเวลา 1 วัน มาทา ในช่วงเวลาของการทดสอบ 1 วัน
การทดสอบหาก าลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมที่ บสั 25 ตามตาแหน่ งของกาลัง
การผลิตกาลังไฟฟ้ าในช่ วงเวลา 1 วัน ของการออกแบบการวางแผนการ พิจารณากราฟรู ปที่ 22 จะแสดงการรายงานผลการนาค่าที่ได้
จ่ายพลังงานของระบบผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW จาก จากการสร้ างกราฟของกาลังการผลิ ตกาลังไฟฟ้ าในช่ วงเวลา 1 วัน มาทา
กราฟจะแสดงให้เห็ นว่ากาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมจะมีค่าสู งเมื่อ DG เริ่ มจ่าย การทดสอบหาก าลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมที่ บสั 25 ตามตาแหน่ งของกาลัง
ก าลัง ไฟฟ้ าในช่ วงเวลา 6.00 น. และช่ วงใกล้ห ยุด จ่ ายก าลังไฟฟ้ าใน การผลิ ตกาลังไฟฟ้ าในช่ วงเวลา 1 วัน ของการออกแบบการวางแผนการ
ช่วงเวลา 18.00 น. ในทางตรงกันข้ามในช่ วงที่ DG จ่ายกาลังไฟฟ้ าสู งสุ ด จ่ายพลังงานของระบบผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW และ
คือในช่วงเวลา 12.00 น. กาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมจะมีค่าน้อยที่สุด ซึ่งหมาย ของการออกแบบการวางแผนการจ่ า ยพลั ง งานของระบบชดเชย
ถ้า ติ ด ตั้ง DG เข้า สู่ ร ะบบจ าหน่ า ยในต าแหน่ ง ที่ เ หมาะสมจะช่ ว ยลด กาลังไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200 kW จาก
กาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมของระบบได้ดีที่สุดในช่ วงเวลาที่ DG มีการจ่าย กราฟจะแสดงให้ เ ห็ น ว่ า พฤติ ก รรมของก าลัง ไฟฟ้ าสู ญ เสี ย รวมจะ
กาลังไฟฟ้ าในช่วงที่สูงที่สุด เหมือนกับรู ปที่ 20 ซึ่งจากพฤติกรรมดังกล่าวสามารถสรุ ปได้คือ ช่ วงเวลา
พิจารณากราฟรู ปที่ 21 จะแสดงการรายงานผลการนาค่าที่ได้ ที่ DG และระบบชดเชยกาลังไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดี ยมซัลเฟอร์
จากการสร้างกราฟของกาลังการผลิ ตกาลังไฟฟ้ าในช่วงเวลา 1 วัน มาทา (NaS) จ่ า ยก าลังงานไฟฟ้ าร่ วมกัน เข้า สู่ ร ะบบจาหน่ ายสู ง สุ ด ช่ วงเวลา
การทดสอบหาก าลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมที่ บสั 25 ตามตาแหน่ งของกาลัง 12.00 น. จะช่ วยลดกาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมของระบบจาหน่ ายได้สูงสุ ด
การผลิตกาลังไฟฟ้ าในช่ วงเวลา 1 วัน ของการออกแบบการวางแผนการ กล่าวคือมีค่ากาลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวมของระบบจาหน่ ายต่าที่สุด แต่เมื่อถึ ง
จ่ายพลังงานของระบบชดเชยก าลัง ไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ช นิ ดโซเดี ย ม ช่ วงที่ DG เริ่ มจ่ายกาลังไฟฟ้ าเข้าสู่ ระบบได้น้อยลง เนื่ องจาก DG เป็ น
ซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200 kW จากกราฟจะแสดงให้เห็ นว่ากาลังไฟฟ้ า ระบบผลิตไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ จึงทาให้มีช่วงที่ผลิ ตกาลังไฟฟ้ าได้
สูญเสี ยรวมจะมีค่าสูงเนื่องจากระบบชดเชยกาลังไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ชนิ ด แตกต่ างกัน รวมถึ งช่ วงที่ ตอ้ งหยุดผลิ ตกาลังไฟฟ้ า ดังนั้นระบบชดเชย
โซเดี ยมซัล เฟอร์ (NaS) ขนาด 200 kW ขณะนี้ ท าการทดสอบที่ค่ าการ กาลังไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) จะช่ วยเป็ นตัวเสริ ม

-48-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

และยืดเวลาในการจ่า ยก าลัง ไฟฟ้ าเข้า สู่ ร ะบบ ซึ่ งช่ ว ยลดก าลัง ไฟฟ้ า เอกสารอ้ างอิง
สูญเสี ยรวมของระบบได้เพิ่มขึ้นอีกเล็กน้อยในช่วงระยะเวลาหนึ่ งเท่านั้น [1] ชวลิ ต ดารงรัตน์ , การส่ งจ่ ายกาลังไฟฟ้า.หจก.เอชเอน การพิมพ์:
บริ ษทั ซี เอ็ดยูเคชัน่ จากัด, 2533. หน้า 93-94.
9. สรุป [2] Golder, A. S., Photovoltaic Generator Modeling for Large
ผลการวิเคราะห์หาตาแหน่งติดตั้งเหมาะที่สุดของระบบผลิ ต Scale Distribution System Studies, Master of science Thesies in
ไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์ เชื่ อมต่อเข้ากับระบบจาหน่ ายแบบเรเดียลโดย Electrical Engineering, Drexel University, October 2006.
นาเทคนิ คการหาค่าเหมาะที่สุดแบบตาบู มาช่วยในการแก้ปัญหาของการ [3] Namin, M. H. “ et al.” “Large scale photovoltaic power generation
หาตาแหน่งติดตั้งเหมาะที่สุด ในบทความนี้ จะเป็ นการประยุกต์ใช้ระบบ modeling, control method and analyzing,” IEEE International
จาหน่ ายแบบเรเดี ยล 33 บัส 32 สาขา มาตรฐาน IEEE ใช้แรงดันไฟฟ้ า [4] Conference on Clean Electrical Power (Electronic), 2009, pp.
ฐานเท่ากับ 22 kV และกาลังไฟฟ้ าปรากฏฐานเท่ากับ 25 MVA ซึ่ งจะมี 159-164. Available: IEEE organization/IEEEXploer (8 August
กาลังไฟฟ้ ารวมของโหลดเท่ากับ 3.72 MW และ 2.3 MVar ตามลาดับ ผล 2010).
การทดสอบในขั้น แรกนั้น พบว่ า ก่ อ นติ ด ตั้ง DG ค่ า ก าลัง ไฟฟ้ าจริ ง ที่ [5] อมรเทพ แพทยานันท์ และกฤษณ์ชนม์ ภูมิกิตติพิชญ์, “การศึกษา
สูญเสี ย = 77.0135 kW และกาลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟที่สูญเสี ย = 52.1361 kVar เทคนิ ค สาหรั บ การก าหนดตาแหน่ งที่ เ หมาะสมของระบบผลิ ต
แต่หลังติ ดตั้ง DG เข้าสู่ บสั ที่ 25 แล้วนั้น ค่ากาลังไฟฟ้ าจริ งที่ สูญเสี ย = ไฟฟ้ าจากเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ข นาดใหญ่ ใ นระบบจ าหน่ า ยแบบ
48.6791 kW โดยที่กาลังไฟฟ้ าสูญเสี ยของระบบลดลง 36.79 % kW ทาให้ เรเดียล”, การประชุ มสั มมนาเชิงวิชาการ ครั้งที่ 3 “รู ปแบบพลังงาน
ระบบมี เ สถี ย รภาพของแรงดัน เพิ่ ม มากขึ้ น ในขั้น ที่ ส องผลของการ ทดแทนสู่ ชุม ชนแห่ งประเทศไทย”, 15-17 ธันวาคม 2553, หน้า
ทดสอบแสดงให้ เห็ น ว่าวิ ธีการทดสอบติ ด ตั้ง DG เข้าสู่ ระบบจาหน่ าย 155-162.
แบบเรเดี ยล ซึ่ งใช้เทคนิ คการหาค่าเหมาะที่ สุดแบบตาบู มี สมรรถนะที่ [6] วิชิต เครื อสุ ข, “การหาตาแหน่ งและขนาดกาลังผลิตที่ เหมาะสม
เหนือกว่าวิธีการทดสอบติดตั้ง DG เข้าสู่ ระบบจาหน่ายแบบเรเดี ยล แบบ ของเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ าแบบกระจายโดยวิ ธีก ารหาค่ าเหมาะสม
ทีละบัส (Trial DG) ไม่วา่ จะเป็ นตัววิธีการของสมรรถนะเอง จานวนรอบ ที่สุดแบบใช้การเคลื่อนที่กลุ่มของอนุภาคที่เหมาะสมที่สุด”,
การค้น หาที่ ใ ช้ใ นการค้น หาก็ น้ อ ยกว่า รวมถึ งความเร็ ว ในการค้น หา [7] การประชุ มวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยศรี ปทุม, 14 สิ งหาคม
คาตอบก็เ ร็ วกว่า ซึ่ งเป็ นการบ่งบอกถึ งความมี สมรรถนะที่ ดี ในการหา 2552
คาตอบของวิธีการ และผลการทดสอบผลรัศมีการค้นหาของกลไกการ [8] Pukar, M., Weerakom, O. and Nadarajah, M.,“Optimal placement
สร้ างคาตอบข้างเคียง โดยจะมี ผลต่อสมรรถนะการค้นหาที่ ดีที่สุด โดย of wind turbine DG in Primary distribution systems for real loss
ขอบเขตที่ดีที่สุดคือ (+8 และ -8) จะอยูท่ ี่รูปผลทดสอบค่าเฉลี่ ยของ ไฟล์ reduction”, Energy for Sustainable Development: Prospects
tsmain_7 ซึ่งจะใช้เวลาและจานวนรอบในการค้นหาคาตอบน้อยที่สุด ใน and Issues for Asia (Electronic), 2006, pp. 1-6. Available: World
ขั้นสุ ดท้ายผลของการทดสอบระบบชดเชยกาลังไฟฟ้ าจากแบตเตอรี่ ชนิ ด Academy of Science, Engineering and Technology (8 August
โซเดี ยมซัลเฟอร์ (NaS) ขนาด 200 kW ต่อร่ วมกับระบบผลิ ตไฟฟ้ าจาก 2010).
เซลล์แสงอาทิตย์ขนาด 1 MW แบบเชื่ อมต่อกับระบบจาหน่ าย โดยจะมี [9] อุเทน ลีตน และธนัดชัย กุลวรวานิชพงษ์, “การแก้ปัญหากาลังงาน
ประโยชน์ที่สาคัญ 2 ส่วนคือ อันดับแรกระบบของแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียม สูญเสี ยในสายส่ งต่าที่สุดโดยใช้ผลเฉลยการไหลกาลังไฟฟ้ าเหมาะ
ซัล เฟอร์ (NaS) จะช่ วย DG จ่ า ยก าลังไฟฟ้ าในช่ วงความต้อ งการของ ที่ สุ ดที่ อาศั ย ปั ญญ าเ ชิ งก ลุ่ ม ”, กา ร ปร ะ ชุ ม วิ ชากา ร ท า ง
โหลดสู ง สุ ด คื อ ช่ ว งเวลา 12.00-14.00 น. อัน ดับ ที่ ส องระบบของ วิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 33, ธันวาคม 2553,หน้า 81-84.
แบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดียมซัลเฟอร์ (NaS) จะช่ วยยืดเวลาการจ่ายกาลังไฟฟ้ า [10] ยุทธนา เอี่ยมสมบูรณ์, การหาตาแหน่ งและขนาดของเครื่องกาเนิด
ให้ก ับโหลดได้ยาวนานขึ้น คือช่ วงเวลา 19.00-21.00 น. ซึ่ งจะช่ วยใน ไฟฟ้าแบบกระจายที่เหมาะสมเพื่อลดกาลังสู ญเสี ยและเพิ่มความ
แก้ปัญหาการปรั บปรุ งรู ป ร่ างของแรงดัน ไฟฟ้ า (Voltage Profile) ของ เชื่อถือได้ ในระบบจาหน่ ายโดยวิธีการค้ นหาแบบตาบู, วิทยานิพนธ์
ระบบ เพราะ DG และระบบของแบตเตอรี่ ชนิ ดโซเดี ยมซัลเฟอร์ (NaS) ปริ ญ ญาโท สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมไฟฟ้ า คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์
จะช่ วยจ่ายกาลังไฟฟ้ าเข้าสู่ ระบบ ซึ่ งจะช่ วยลดก าลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยรวม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2551.
ของระบบได้เป็ นอย่างดี ส่ งผลให้ระบบมีเสถี ยรภาพและความน่ าเชื่ อถื อ [11] Zahrul, F. “ et al.”, “Modeling of Sodium Sulfur Battery for Power
เพิ่มมากขึ้น System Applications,” ELEKTRIKA Journal of Electrical

-49-
บทความวิจยั รับเชิญ
วารสารเครื อข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ า
EENET Journal Vol. 1, No.1 (1), Jan-Jun 2017

[12] Engineering, 2007, Vol. 9, No. 2, pp. 66-72. Available: Faculty [25] ธนัดชัย กุ ล วรวานิ ช พงษ์, การหาค่ าเหมาะที่ สุด ในระบบไฟฟ้ า
of Electrical Engineering UniversitiTeknologi Malaysia (8 กาลัง. ครั้ งที่ 1. กรุ งเทพ: บริ ษทั จรั ลสนิ ทวงศ์ก ารพิมพ์ จากัด ,
February 2013). 2554. หน้า 411, 225, 262-268.
[13] กรมพัฒ นาพลัง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พ ลัง งานกระทรวง [26] อมรเทพ แพทยานัน ท์ แ ละกฤษณ์ ช นม์ ภู มิ กิ ต ติ พิ ช ญ์ , การหา
พลังงาน, รายงานฉบับสมบู ร ณ์ โครงการการศึ กษาประเมิ นและ ต าแหน่ ง ติ ด ตั้ง เหมาะที่ สุ ด ของระบบ ผลิ ต ไฟฟ้ าจากเซลล์
จัดทาแผนงานวิจัยพลังงานทดแทน (Energy Storage) ตามกรอบ แสงอาทิตย์ขนาดใหญ่ในระบบจาหน่ ายแบบเรเดี ยล เพื่อลดกาลัง
แผนพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน 15 ปี (Online), 2555. Available: งานสู ญ เสี ย ”, การประชุ ม วิ ช าการเครื อ ข่ า ย วิ ศ วกรรมไฟฟ้ า
http://e-lib.dede.go.th/mm-data/Bib14393.pdf (12 กุ ม ภ า พั น ธ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้ งที่ 5 (EENET2013) คณะ
2555). วิศวกรรม ศาสตร์ มทร.พระนคร, 27-29 มีนาคม 2556, หน้า 9-12.
[14] NGK INSULATOR, LTD., Typical System (Online), 2 5 5 6.
Available:http://www.ngk.co.jp/english/products/power/nas/prin
ciple/index.html (8 กุมภาพันธ์ 2556).
[15] Hokkaido Electric Power Co., Inc., Shining New Light on Solar
Power Challenges and Prospects of PV Power Generation
[16] Wakkanai Mega Solar Project(Online),2 5 5 6.Available:
http://www.Docstoc.com/docs/24424390/Shining-New-Light-on-
Solar-Power-Challenges-and-Prospects(8 กุมภาพันธ์ 2556).
[17] สานักงานนโยบายและแผนพลังงานกระทรวงพลังงาน, ผู้ผลิต
ไฟฟ้าขนาดเล็ก (Online), 2542. Available: http://www.eppo.go.th/
[18] power/pw-ElecPriv-T-02.html (17 กรกฎาคม 2553).
[19] การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค, ระเบียบการไฟฟ้าส่ วนภูมิภาคว่ าด้ วยข้ อ
กาหนดการเชื่ อมต่ อ ระบบโครงข่ า ยไฟฟ้ า พ.ศ. 2551 (Online),
2552. Available:http://www.pea.or.th/vspp/etc/ connection_code
.pdf (17 กรกฎาคม 2553).
[20] การไฟฟ้ านครหลวง, ระเบีย บการรั บซื้อไฟฟ้าจากผู้ ผลิต ไฟฟ้า
พลั ง งานหมุ น เวี ย นขนาดเล็ ก มาก ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2547
(Online), 2 5 5 3 . Available:http://www.mea.or.th/internet/
Elecvalue/VSPP/VSPPReportWeb.pdf (17 กรกฎาคม 2553).
[21] การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค, ระเบียบการไฟฟ้าฝ่ ายจาหน่ ายว่ าด้ วยการ
เดินเครื่องกาเนิดไฟฟ้าขนานกับระบบของการไฟฟ้าฝ่ ายจาหน่ าย
[22] (VSPP) (Online), 2549. Available: http://
www.pea.co.th/vspp/vspp/Connection%2010%20MW.pdf (5
กรกฎาคม 2553).
[23] IEEE, IEEE Standard 33-Bus Radial Distribution (Online),
Available: http://www. ieee.org, IEEE Standard 33-Bus Radial
Distribution System (14 สิ งหาคม 2553).
[24] ธวัช เกิดชื่ น และกฤตวิทย์ บัวใหญ่, “เทคนิ คการคานวณการไหล
ของกาลังในระบบจาหน่าย”,การประชุ มเครือข่ ายวิศวกรรมไฟฟ้า
ม ห า วิ ท ย า ลั ย เท ค โ น โล ยี ร าช ม ง ค ล (EENET2008) ค ณ ะ
วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี, 2552, หน้า 1-13.

-50-

You might also like