Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 49



เอกสารสรุปบทเรียนและการจัดการความรู
หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ
จังหวัดสมุทรสงคราม ประจําป 2553




จัดทําโดย....
สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสมุทรสงคราม
คํานํา

การดําเนินงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพีย งตนแบบ จัง หวัดสมุท รสงคราม ประจําป 2553


ดําเนินการโดยใชยุทธศาสตรจังหวัด ในการปลุกจิตสํานึกใหชาวจังหวัดสมุทรสงครามรักถิ่นกําเนิด อนุรักษ
สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมอันดีงาม ภายใตตัวชี้วัดของ ระดับความสําเร็จของการสนับสนุนสงเสริมการพัฒนา
หมูบาน/ชุมชนดวยกระบวนการมีสวนรวม และยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชน ตามยุทธศาสตรการ
พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ภายใตตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของการพัฒนาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงระดับ
หมูบาน มีการคัดเลือกพื้นที่การดําเนินงาน ในการดําเนินงาน 2 ระดับ คือ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ
ระดับ “พออยู พอกิน” และระดับ “อยูดี กินดี”
ในการดําเนินงานดังกลาวจังหวัดไดพิจารณาคัดเลือกพื้นที่ดําเนินการ จํานวน 2 หมูบาน 2
ระดับ ไดแก บานคลองวัว หมูที่ 5 อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ในระดับ “พออยู พอกิน”และ บาน
คลองชอง หมูที่ 5 ตํา บลคลองโคน อํา เภอเมืองสมุทรสงคราม ในระดับ “อยูดี กินดี ” ภายใตก าร
ดําเนินงานโดยใชความรูพัฒนาหมูบานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกณฑตัวชี้วัดเศรษฐกิจพอเพียง
ของกระทรวงมหาดไทย 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด
เอกสารฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนการสรุปบทเรียนและจัดการความรูของหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง
ตน แบบ จัง หวั ดสมุ ท รสงคราม ประจํ า ป 2553 จํ า นวน 2 หมู บ า น 2 ระดับ เพื่ อ เปน แนวทางในการ
ดําเนินงานตามยุทธศาสตรจังหวัดและยุทธศาสตรกรมการพัฒนาชุมชนและเปนแบบอยางในการดําเนินงาน
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแกหมูบาน/ชุมชน อื่นๆ ตอไป
หวัง เปนอยา งยิ่ง วาเอกสารฉบับ นี้จะเปนประโยชนแกผูศึก ษาผูส นใจทั่วไปและสามารถเปน
แนวทางและแบบอยางแกการดําเนินงานในปตอๆไป
ขอขอบคุณ ทานผูวาราชการจัง หวัดสมุท รสงคราม ผูนํา ชุม ชน กลุม องคก รเครือ ขายชุม ชน
องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนหนวยงานภาคีเครือขายภาครัฐที่มีสวนเกี่ยวของในการสนับสนุนการ
ดํ า เนิ น งานหมู บ า นเศรษฐกิ จ พอเพี ย งต น แบบ จั ง หวั ด สมุ ท รสงคราม ประจํ า ป 2553 ขอขอบคุ ณ มา
ณ โอกาสนี้

คณะผูจัดทํา
สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสมุทรสงคราม
สารบัญ
เรื่อง หนา
คํานํา
โครงการหมูบานพัฒนาตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 1-4
ความรูที่จําเปนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5-6
- ตัวชี้วัดเศรษฐกิจพอเพียงของกระทรวงมหาดไทย 7
การดําเนินงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ “พออยู พอกิน” บานคลองวัว
- การดําเนินงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 8 - 12
- การดําเนินงานตามตัวชี้วัดเศรษฐกิจพอเพียง 12 - 16
- ปจจัยแหงความสําเร็จของการดําเนินงาน 17 - 22
- คําแนะนํา/ขอเสนอแนะ 22
การดําเนินงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ “อยูดี กินดี” บานคลองชอง
- การดําเนินงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 23 - 31
- การดําเนินงานตามตัวชี้วัดเศรษฐกิจพอเพียง 32 - 36
- ปจจัยแหงความสําเร็จของการดําเนินงาน 37 - 38
- คําแนะนํา/ขอเสนอแนะ 38
องคความรูของหมูบานตนแบบตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- องคความรูการทําปุยอินทรียชีวภาพเพื่อลดตนทุนการผลิต 39 - 40
- องคความรูการทํากะปเคยตาดําคลองโคน 41 - 43
ภาคผนวก
เอกสารการประเมินผลตัวชี้วัดของคณะกรรมการระดับจังหวัด
หมูบานพัฒนาตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ
โครงการ หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ
กิจกรรมหลัก หมูบานพัฒนาตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ
กิจกรรม หมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ “พออยู พอกิน” “อยูดี กินดี” “มั่งมี ศรีสุข”
วัตถุประสงค 1) สรางกระบวนการพัฒนาชุมชนในหมูบานดวยหลักการ “ พึ่งตนเอง” ในการแกไขปญหา
ความยากจนของประชาชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2) จัดระบบการบริหารจัดการชุมชนและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
วิธีการ/ขั้นตอนการดําเนินงาน/เงื่อนไขของกิจกรรมและกระบวนการ/ขั้นตอน/วิธีการทํางาน
1. จังหวัดดําเนินการประเมินผลหมูบาน จัดทําทะเบียน/บัญชีหมูบาน ที่ผานเกณฑตามตัวชี้วัดที่
กําหนดและเสนอผลการประเมิน ใหศูนยอํานวยการปฏิบัติการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบทตามปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงจังหวัด (ศจพ.จ.) ตรวจสอบ จัดลําดับและกําหนดเปนหมูบานหรือชุมชนเปาหมาย ดังนี้ คือ
1.1 ระดับ พออยู พอกิน
1.2 ระดับ อยูดี กินดี
1.3 ระดับ มั่งมี ศรีสุข
2. อําเภอดําเนินการพัฒนาหมูบานตามแตลักษณะดวยกิจกรรม ดังนี้
2.1 ระดับหมูบาน “ พออยู พอกิน”
2.1.1 กิจกรรมสงเสริมครอบครัวพัฒนาในหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง “พออยู พอกิน”
(1) ประชุมเชิงปฏิบัติการสรางความรูความเขาใจผูแทนครอบครัวพัฒนาเรียนรู
วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
(2) ศึกษาดูงานประสบการณการพัฒนาวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจากแหลงเรียนรู
ตนแบบพอเพียง
สาระหลักในการประชุมเชิงปฏิบัติการสรางความเขาใจผูแทนครอบครัวพัฒนา ประกอบดว ย
 หลักการดําเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 การศึกษาการดําเนินงานตามแนวพระราชดําริ จากศูนยการศึกษาและพัฒนาอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ หรือแหลงเรียนรูที่มีผลการดําเนินงานเปนตัวอยางได
 กําหนดเปาหมายการพัฒนาหมูบานและเกณฑวัดผล
 จัดทําแผนปฏิบัติการในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชน
-2-
2.1.2 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ/สัมมนา/สาธิตกิจกรรมการดํารงชีวิตตามแนววิถีชีวิตเศรษฐกิจ
พอเพียงระดับ “พออยู พอกิน” อยางนอย 2 ประเภท ประเภทละ 1 วัน ตัวอยางเชน กิจกรรมเพื่อลดรายจาย
กิจกรรมการสงเสริมการออม กิจกรรมสงเสริมการลดการใชพลังงาน การใชพลังงานทางเลือก
พลังทดแทน กิจกรรมการปรับปรุงคุณภาพวัสดุเหลือใชเพื่อใชประโยชนกิจกรรมการการสงเสริมสุขภาพ เปน
ตน
สาระหลักสําคัญในการจัดกิจกรรมสาธิต
- เพื่อฝกทักษะการผลิตของกิน ของใช ในการดําเนินกิจกรรมเพื่อการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง เปนกิจกรรมตามแผนการพัฒนาที่จัดทําไว
2.1.3 กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการผูแทนครอบครัวพัฒนาและแกนนําชุมชน เพื่อติดตามและ
ประเมินผลการจัดทํากิจกรรมการพัฒนาหมูบานและจั ดการความรู
สาระหลักการประชุมจัดการความรู
- เปนการนําความรูจากประสบการณในการทํางานของผูอยูในโครงการพัฒนาหมูบาน มาเรียนรู
รวมกัน คนหาจุดเดน วิธีการที่เปนวิธีสรางความสําเร็จเพื่อเปนความรูที่เปนแบบอยาง และขอบกพรองสรุปผล
ไวเพื่อเปนฐานความรูในการปรับปรุงการดําเนินงาน เพื่อการพัฒนาหมูบานตอไป
- สรุปผลการดําเนินการพัฒนาครอบครัวในภาพรวมจัดทําเปนเอกสารความรูอยางนอย 1 ฉบับ
2.3 ระดับหมูบาน “อยูดี กินดี”
2.3.1 กิจกรรมสงเสริมครอบครัวพัฒนาในหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง “อยูดี กินดี”
(1) ประชุมเชิงปฏิบัติการสรางความรูความเขาใจผูแทนครอบครัวพัฒนาเรียนรูวิถี
เศรษฐกิจ)พอเพียง
(2) ศึกษาดูงานประสบการณการพัฒนาวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจากแหลงเรียนรูตนแบบ
พอเพียง
สาระหลักในการประชุมเชิงปฏิบัติการสรางความเขาใจผูแทนครอบครัวพัฒนา ประกอบดวย .-
- หลักการดําเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- การศึกษาการดําเนินงานตามแนวพระราชดําริ จากศูนยการศึกษาและพัฒนาอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ หรือแหลงเรียนรูที่มีผลการดําเนินงานเปนตัวอยางได
- กําหนดเปาหมายการพัฒนาหมูบานและเกณฑวัดผล
- จัดทําแผนปฏิบัติการในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชน
2.2.2 กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ/สัมมนา/สาธิตกิจกรรมการดํารงชีวิตตามแนววิถีชีวิตเศรษฐกิจ
พอเพียงระดับ “อยูด ี กินดี” อยางนอย 2 ประเภท ประเภทละ 1 วัน ตัวอยาง เชน กิจกรรมเพื่อลดรายจาย
กิจกรรมการสงเสริมการออม กิจกรรมสงเสริมการลดการใชพลังงาน การใชพลังงานทางเลือก
-3-
พลังทดแทน กิจกรรมการปรับปรุงคุณภาพวัสดุเหลือใช เพื่อใชประโยชนกิจกรรมการการสงเสริม
สุขภาพ เปนตน
สาระหลักสําคัญในการจัดกิจกรรมสาธิต
- เพื่อฝกทักษะการผลิตของกิน ของใช ในการดําเนินกิจกรรมเพื่อการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง เปนกิจกรรมตามแผนการพัฒนาที่จัดทําไว
2.2.3 กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการผูแทนครอบครัวพัฒนาและแกนนําชุมชน เพื่อติดตามและประเมินผล
การจัดทํากิจกรรมการพัฒนาหมูบานและจัดการความรู
สาระหลักการประชุมจัดการความรู
- เปนการนําความรูจากประสบการณในการทํางานของผูอยูในโครงการพัฒนาหมูบาน มาเรียนรู
รวมกัน คนหาจุดเดน วิธีการที่เปนวิธีสรางความสําเร็จเพื่อเปนความรูที่เปนแบบอยาง และขอบกพรอง
สรุปผลไวเพื่อเปนฐานความรูในการปรับปรุงการดําเนินงาน เพื่อการพัฒนาหมูบานตอไป
- สรุปผลการดําเนินการพัฒนาครอบครัวในภาพรวมจัดทําเปนเอกสารความรูอยางนอย 1 ฉบับ
2.3 ระดับหมูบาน “มั่งมี ศรีสุข”
2.3.1 กิจกรรมสงเสริมครอบครัวพัฒนาในหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง “มั่งมี ศรีสุข” กลุมเปาหมาย
เปนผูนํา/ผูนํากลุม สมาชิกกลุมและผูแทนครอบครัวพัฒนา
(1) สัมมนา ใหการเรียนรู วิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงและคนหาศักยภาพชุมชนในดานเศรษฐกิจ
เพื่อเชื่อมโยงเครือขายกิจกรรมดานเศรษฐกิจ
(2) ศึกษาดูงานประสบการณการพัฒนาวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงจากแหลงเรียนรูตนแบบพอเพียง
สาระหลักในการประชุมเชิงปฏิบัติการสรางความเขาใจผูแทนครอบครัวพัฒนา ประกอบดวย
- หลักการดําเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- การศึกษาการดําเนินงานตามแนวพระราชดําริ จากศูนยการศึกษาและพัฒนาอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ หรือแหลงเรียนรูที่มีผลการดําเนินงานเปนตัวอยางได
- การบริหารจัดการกลุม องคการและเครือขายการบริหารการพัฒนาชุมชน
- จัดทําแผนพัฒนาพัฒนาหมูบาน ในการพัฒนากลุม/เครือขายและชุมชน
2.3.2 กิจกรรมสงเสริมทักษะดานการจัดการจัดสวัสดิการชุมชนหรือการเสริมสรางเครือขายภายใน/
ภายนอกกิจกรรมการดํารงชีวิตตามแนววิถีเศรษฐกิจพอเพียง กลุมเปาหมายเปนผูนํา /ผูนํากลุม สมาชิกกลุม และ
ผูแทนครอบครัวพัฒนา จํานวน 50 คน อยางนอย 1 ประเภท ตัวอยาง เชน กิจกรรมการเรียนรูเพื่อเสริมสราง
ทักษะดานการจัดการสวัสดิการชุมชน หรือเสริมสรางเครือขายภายในชุมชนหรือนอกชุมชน กิจกรรมการใช
พลังงานทดแทน กิจกรรมการ
-4-
เรียนรูการบริหารจัดการเครือขาย กิจกรรมการบริหารจัดการหมูบานทองเที่ยงเชิงอนุรักษ เปนตน
สาระหลักสําคัญในการจัดกิจกรรมสาธิต
- เพื่อฝกทักษะการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ดวยระบบเครือขาย สรางและพัฒนา
เครือขายการพัฒนาเพื่อการดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนกิจกรรมตาม
แผนการพัฒนาที่จัดทําไว
2.3.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการผูนํา/ผูนํากลุม สมาชิกกลุมและผูแทนครอบครัวพัฒนา ติดตามประเมินผล
และการจัดการความรู
สาระหลักการประชุมจัดการความรู
- เปนการนําความรูจากประสบการณในการทํางานของผูอยูในโครงการพัฒนาหมูบาน มาเรียนรู
รวมกัน คนหาจุดเดน วิธีการที่เปนวิธีสรางความสําเร็จเพื่อเปนความรูที่เปนแบบอยาง และขอบกพรองสรุปผล
ไวเพื่อเปนฐานความรูในการปรับปรุงการดําเนินงาน เพื่อการพัฒนาหมูบานตอไป
- สรุปผลการดําเนินการพัฒนาครอบครัวในภาพรวมจัดทําเปนเอกสารความรูอยางนอย 1 ฉบับ
-5-

ความรูที่จําเปนตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

๑. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง
(Sufficiency Economy)

ทางสายกลาง

พอประมาณ

มีเหตุผล มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี

เงื่อนไขความรู เงื่อนไขคุณธรรม
(รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซื่อสัตว สุจริต ขยัน อดทน สติปญญา แบงปน)

นําไปสู

ชีวิต – เศรษฐกิจ – สังคม – สิ่งแวดลอม – สมดุล – มั่นคง – ยัง่ ยืน


-6-

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณลักษณะ 3 ประการ


ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไมนอยเกินไป ไมมากเกินไป หรือสุดโตงไปขางใด
ขางหนึ่ง และตองไมเบียดเบียนตนเองและผูอื่น
ความมีเหตุผล หมายถึง ทุกการตัดสินใจ การกระทํา การลงทุน ตองเปนไปอยางมีเหตุผล
คํานึงถึงเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ และผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นอยางรอบคอบ
ความมีภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมที่จะเผชิญผลกระทบ และ
เปลี่ยนแปลงดานตาง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากทั้งภายในและภายนอก
ทั้งนี้ ตองมีเงื่อนไขสําคัญ 2 ประการ
มีความรู คือ มีความรอบรู รอบคอบ และระมัดระวังในการนําความรู วิทยาการเทคโนโลยี
ตาง ๆ มาใชในการวางแผนและการปฏิบัติ
มีคุณธรรม คือ มีความตระหนัก มีความซื่อสัตย สุจริต มีความอดทน มีความเพียร และ
ใชสติปญญา ในการดําเนินชีวิต
จะนํามาใชในการจัดการศึกษาไดอยางไร เชน ปรับหลักสูตรสถานศึกษา สอดแทรกในการ
จัดการเรียนรู จัดกิจกรรมการเรียนรู จัดกิจกรรมสงเสริมการดําเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง เผยแพรความรู
สูประชาชน ฯลฯ
- 7-
3. ตัวชี้วัดหลักของการดําเนินงานตามเกณฑชี้วัดของกระทรวงมหาดไทย 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด
3.1 ดานจิตใจและสังคม
1.มีความสามัคคีและความรวมมือของหมูบาน
2. มีขอปฏิบัติของหมูบาน
3. มีกองทุนในรูปแบบสวัสดิการแกสมาชิก
4. ยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย
5. มีคุณธรรมจริยธรรม
6. คนในหมูบานชุมชนปลอดอบายมุข
7. ชุมชนมีความเชื่อมั่นในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

3.2 ดานเศรษฐกิจ
8. มีการจัดทําบัญชีครัวเรือน
9. มีกิจกรรมการลดรายจายสรางรายได
10. การรวมกลุมเพื่อพัฒนาอาชีพหลักของหมูบาน
11. มีกิจกรรมการออมที่หลากหลาย
12. มีการดําเนินงานในรูปแบบวิสาหกิจชุมชน
3.3 ดานการเรียนรู
13. มีขอมูลของชุมชน
14. มีการใชประโยชนจากขอมูลแผนชุมชน
15. มีการคนหาภูมิปญญาทองถิ่นในการสรางคุณคา
16. มีการจัดตั้งศูนยเรียนรู
17. มีการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับศักยภาพของหมูบานชุมชน
18. มีการสรางเครือขายภาคีการพัฒนา
19. มีการปฏิบัติตามหลักการของการพึ่งตนเอง
3.4 ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
20. มีจิตสํานึกของการอนุรักษ
21. มีกลุมองคกรดานสิ่งแวดลอม
22. มีการใชพลังงานทดแทนที่สอดคลองกับสภาพแวดลอมมนุษย
23. มีการสรางมูลคาเพิ่มจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
 การดําเนินงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ “พออยู พอกิน”
บานคลองวัว หมูที่ 5 ตําบลเหมืองใหม อําเภออัมพวา
จังหวัดสมุทรสงคราม
-8-
บริบททั่วไป

บานคลองวัว หมูที่ 5 ตําบลเหมืองใหม อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

ประวัติความเปนมาหมูบาน
คลองวัว ใชเปนลําคลองเล็ก ๆ เปนเสนทางของผูที่เลี้ยงวัวในบริเวณนี้ เปนเสนทางคมนาคมหลัก
ของผูเลี้ยงวัว หมูบาน จึงตั้งชื่อหมูบานตามเสนทางการเลี้ยงวัวหมูที่ 5 บานคลองวัว หมูที่ 5 ตําบลเหมืองใหม
ชาวบานเลาวา การตั้งชื่อบานไดมาจากใชลําคลองเปนชื่อหมูบาน เนื่องจาก บานและตั้งชื่อ วา “บาน
คลองวัว”
อาณาเขตของหมูบาน
ทิศเหนือ ติดตอหมูที่ 6 ตําบลเหมืองใหม อําเภออัมพวา จ.สมุทรสงคราม
ทิศใต ติดตอตําบลบางแค อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม
ทิศตะวันออก ติดตอหมูที่ 6 , 4 ตําบลเหมืองใหม อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม
ทิศตะวันตก ติดตอตําบลวัดประดู อ.อัมพวา จ.สมุทรสงคราม

ลักษณะภูมิประเทศ (ภูมิอากาศ/ฤดูกาล)
บานคลองวัว หมูที่ 5 ตําบลเหมืองใหม เปนพื้นที่ราบลุม มีแมน้ํา ลําคลองกระจายทั่วพื้นที่ ทํา
ใหเหมาะแกการเกษตร เนื่องจากมีความชุมชื้นอยูเสมอ ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจากอาว
ไทยและทะเลจีนใต อากาศเย็นสบาย ฤดูหนาวไมหนาวจัด ฤดูรอนไมรอนเกินไป
ผลิตผลที่นาสนใจของหมูบาน
1. ผลผลิตทางการเกษตร ไดแก ลิ้นจี่ , สมโอ , น้ําตาลมะพราว ที่มีคุณภาพดี
2.โครงการสงเสริมแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่เปนแบบอยางได
ศิลปวัฒนธรรม/ภูมิปญญาทองถิ่น
1. ประเพณีวันสําคัญทางศาสนา เชน วันสงกรานต วันผูสูงอายุ วันครอบครัว
วันปใหม วันลอยกระทง
2. มีศูนยรวมจิตใจ ไดแก วัดศาลาแดง, วัดทุงเศรษฐี
สถานที่ทองเที่ยว/สถานที่บริการ
1.ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ผลไมปลอดสารพิษ ถนนผลไม
2.สวนเกษตรโครงการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
-9-

การคมนาคม (การเดินทางไปยังหมูบาน)
เดินทางโดยรถยนต ระยะจากกรุงเทพฯ – สมุทรสงคราม ประมาณ 70 กิโลเมตร และ
เดินทางตอ ตามถนนสายแมกลอง-ดําเนินสะดวก ถึง ปอมตํารวจอัมพวาสังเกตวัดบางกะพอม เลี้ยวซายขาม
สะพานสุริเยนทร ถึงตําบลเหมืองใหม ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร

ประเพณี/เทศกาลประจําป
ประเพณีวันสําคัญทางศาสนา เชน วันสงกรานต วันผูสูงอายุ วันครอบครัว
วันปใหม วันลอยกระทง

ศักยภาพชุมชน
บานคลองวัว หมูที่ 5 ตําบลเหมืองใหม เปนสถานที่ทําการกํานันตําบลเหมืองใหม เปนแหลง
ทองเที่ยวเชิงอนุรักษ ชมสวนผลไมลิ้นจี่ สวนสมโอปลอดสารพิษ ถนนผลไม และสวนเกษตรในการ
เรียนรูโครงการตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีผูนําชุมชนที่เข สภาพแวดลอมดี เศรษฐกิจดี ถึงแม
จะเปนพื้นที่หางไกลตัวเมือง แตบานคลองวัว เปนแหลงทองเที่ยวแหงหนึ่งที่นักทองเที่ยวนิยมเขามาเที่ยว
ธรรมชาติ และลิ้มรสกับผลไมปลอดสารพิษ

การดําเนินงานหมูบานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบานคลองวัว

1. หลักความพอประมาณ
1.1 กิจกรรมลดรายจาย
1.1.1 ชุมชนมีการปลูกผักสวนครัวไวกินเองเพื่อลดรายจายในครัวเรือน

1.1.2 ชุมชนมีการทําปุยอินทรียชีวภาพไวใชเองเพื่อลดตนทุนการผลิต

-10-

1.2 กิจกรรมเพิ่มรายได
1.2.1 ชุมชนมีรายไดเสริมโดยการรวมกลุมดําเนินการเพาะชํากลาไมไวจําหนายในชุมชน
1.2.2 ชุมชนมีการเพาะชําพันธุกลาไมที่เปนไมทองถิ่น เชน สมโอ ลิ้นจี่ ขายใหกับกลุมเพื่อเปน
การเพิ่มรายไดแกครอบครัว


2. ความมีเหตุผล
2.1 ชุมชนมีการจัดทําบัญชีครัวเรือน เพื่อวางแผนการใชจายเงิน

2.2 จัดทําแผนชีวิตของครอบครัว เชน


นางพูล อิ่มอุทร ปราชญชาวบานของเรา ทานเลาใหฟงวา ฉันไมรูหรอกวาแผนชีวิตเปนอยางไร
แตทุกวันนี้ ตื่นนอนขึ้นมาในวันหนึ่ง ๆ
05.00 น. ออกกําลังกายดวยการรดน้ําตนไมรอบบาน ไดแก ฟก แฟง พืชผักสวนครัว
ไมดอกไมประดับ
06.00 น. ตักบาตรหนาบาน ดวยกับขาวจากพืชผักที่ปลูกไว
07.00 น. ออกสวนเก็บหญา ตัดใบตอง เก็บมะนาว
พืชผลที่มีมากก็แจกจายขางบาน เหลือก็สงขายบาง
ทุกวันที่ 15 ของเดือนก็จะตองออกไปประชุมกองทุนหมูบานฝากเงินสัจจะ
ทานเลาใหฟงวา อยูแบบพอเพียง กินที่ปลูก ปลูกทุกอยางที่กิน ทําใหประหยัดคาใชจาย หลังจากทานเลาใหเวที
ฟง ทุกคนเขาใจวา แผนชีวิตไมเห็นอยากเลย เราปฏิบัติตนอยางไรเขียนไว และนํามาปรับเพื่อใหเกิดการ
พอเพียงของตนเอง อะไรที่ไมจําเปนก็ละ เลิก
2.3 ชุมชนมีการเรียนรูจากแหลงเรียนรูของชุมชน เชน เรียนรูสาธิตการทําปุยอินทรียชีวภาพ
2.4 มี “ศูนยการเรียนรูและถายทอดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ศูนยการเรียนรูและถายทอด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมู หมูทที่ ี่ 55 ตํตําาบลเหมื
บลเหมือองใหม
งใหม อํอําาเภออั
เภออัมมพวา
พวา จัจังงหวั
หวัดดสมุ
สมุททรสงคราม
รสงคราม เกิเกิดดขึขึ้น้นจาก
จาก
ความต
ความตอองการ
งการของคนในชุ
ของคนในชุมมชน ชน เพื เพื่อ่อเปเปนนการเสริ
การเสริมมสร
สราางความเข
งความเขมมแข็
แข็งงของ
ของชุชุมมชน
ชน
--1111--
2.5 ชุมชนมีการสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่น วัฒนธรรม เกิดเปนสังคมแหงความเอื้ออาทร


3. การสรางภูมิคุมกัน
3.1 ชุมชนมีการสรางภูมิคุมกันโดยการออมเงินกับกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตระดับตําบล
3.2 ออมเงินกับกลุมสัจจะกองทุนหมูบาน
3.3 ชุมชนมีการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


เงื่อนไข
ความรู
1. ชุมชนมีการเรียนรูจากภูมิปญญาทองถิ่นของตนเอง
2. ชุมชนมีการเรียนรูจากศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงทั้งภายในศูนยฯและนอกศูนย
3. ผูนํามีการเรียนรูทั้งภายในและภายนอก เชน เรียนรูจากการฝกอบรม เรียนรูจากการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ
-12-
คุณธรรม
1. ผูนําใชหลักคุณธรรม ความซื่อสัตย ความเสียสละ ความรับผิดชอบตอชุมชน และยึดหลักการ มี
สวนรวมในการทํางาน
2. สมาชิกในชุมชนมีความศรัทธาในผูนํา มีวิถีชีวิตพอเพียง อยูอยางเอื้ออาทร ในลักษณะ เครือญาติ

การดําเนินงานตามเกณฑตัวชี้วัดเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงมหาดไทย 4 ดาน 23 ตัวชี้วัด


1. ดานจิตใจและสังคม
1.1 มีความสามัคคีและความรวมมือของหมูบาน

- มีการประชุมจัดเวทีประชาคม จํานวนมากกวา 12 ครั้งตอป เชน การประชุมคณะกรรมการ


หมูบานเปนประจําทุกเดือน การประชุมกลุมออมทรัพย ฯ กองทุนหมูบานฯ อาสาสมัครตางๆ
 

- คนในชุมชนมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ผานเกณฑตาม จปฐ. ขอ 38 เรื่องการเปนสมาชิกกลุม


และขอ 41 การทํากิจกรรมสาธารณะ

1.2 มีขอปฏิบัติของหมูบาน ไดแก ขอตกลงระเบียบของกลุมองคกรตางๆในหมูบานเชน กลุมออมทรัพย


ฯ กองทุนหมูบาน กลุมเพาะชํากลาไม กลุมปุยอินทรียชีวภาพตําบลเหมืองใหม
1.3 มีกองทุนในรูปแบบสวัสดิการแกสมาชิก ไดแก กองทุนหมูบาน กลุมออมทรัพย และจัดสวัสดิการ
ชุมชน เกิด แก เจ็บ ตาย
1.4 ยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย ชุมชนมีการเลือกตั้งโดยมีสมาชิกไปใชสิทธิ์เลือกตั้งเกิน 90 ของ
ผูมีสิทธิ์ที่อาศัยอยูจริง และมีครัวเรือนเขารวมในการจัดเวทีประชาคมเกิน รอยละ 70 เชน ประชาคมโครงการ
ชุมชนพอเพียง ประชาคมการทบทวนคุณภาพแผนชุมชน ป 2553
-13-


1.5 มีคุณธรรมจริยธรรม
ชุมชนมีการปฏิบัติศาสนกิจปละ หลายครั้ง เชน การทําบุ ญวันสําคัญทางศาสนา แหเทียนพรรษา
ทอดผาปา สลากภัตน เปนตนโดยมีวัดธรรมประสิทธิ์เปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ มีกิจกรรมประกาศเกียรติคุณ ยก
ยองใหเกียรติบุคคลที่มีคุณธรรมจริยธรรม เชน ผูนําชุมชนไดรับการยกยองเปนผูนําหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง
ศูนยประสานงานองคการชุมชนดีเดน ประจําป 2553
1.6 คนในหมูบานชุมชนปลอดอบายมุข เปนชุมชนปลอดยาเสพติดรอยละ 100 ไดรับการคัดเลือกเปน
หมูบานชุมชนเขมแข็งเอาชนะยาเสพติดและมีการคัดเลือกผูนําทางธรรมชาติจํานวน 31 คน ดูแลปองกันการ
ติดยาเสพติด มีกิจกรรมรณรงคตอตานยาเสพติด มีการสอดแทรกใหความรูดานยาเสพติดในการประชุมทุก
ครั้ง ชุมชนไมติดสุรารอยละ 100 ตาม จปฐ. ขอ 32 ชุมชนไมสูบบุหรี่ผานเกณฑ ชุมชนเปนครอบครัวอบอุน
1.7 ชุมชนมีความเชื่อมั่นในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูมากกวา 6 ครั้งใน
รอบปที่ผานมาและปปจจุบัน มีการทัศนศึกษาดูงานดานเศรษฐกิจพอเพี ยง มีกิจกรรมสาธิตเศรษฐกิจพอเพียง
กิจกรรมการพัฒนาอาชีพและสรางรายได


-14-

2. ดานเศรษฐกิจ
2.1 มีการจัดทําบัญชีครัวเรือน มีการรณรงคการจัดทําบัญชีครัวเรือน โดยแจกจายสมุดบัญชีครัวเรือน
ครบทุกครัวเรือน เพื่อสงเสริมการจัดทําบัญชีครัวเรือน
2.2 มีกิจกรรมการลดรายจายสรางรายได มีการดําเนินกิจกรรมปลูกผักสวนครัว การเลี้ยงปลา เปนการลด
รายจาย และมีการทําอาชีพเสริม เชน การเพาะชํากลาไม การทําปุยอินทรียชีวภาพ เปนตน


2.3 การรวมกลุมเพื่อพัฒนาอาชีพหลักของหมูบาน ครัวเรือนมีสวนรวมเปนสมาชิกกลุม เชน กองทุน
หมูบาน กลุมเพาะชํากลาไม กลุมปุยอินทรียชีวภาพ และมีการรวบรวมองคความรูไวในศูนยเรียนรูเศรษฐกิจ
2.4 มีกิจกรรมการออมที่หลากหลาย เชน การออมกับกลุมออมทรัพยของตําบล การออมเงินสัจจะกับ
กองทุนหมูบาน
2.5 มีการดําเนินงานในรูปแบบวิสาหกิจชุมชน ชุมชนพยายามผลักดันใหกลุมมีการดําเนินงานในรูปแบบ
วิสาหกิจชุมชน ซึ่งขณะนี้อยูในระหวางดําเนินการ
3. ดานการเรียนรู
3.1 มีขอมูลของชุมชน มีการเก็บรวบรวมวิเคราะหขอมูลชุมชน มีการจัดเก็บขอมูล จปฐ. โดยแตงตั้ง
อาสาสมัครในการจัดเก็บ 1 คน/20 ครัวเรือน บันทึกประมวลผลและจัดเก็บไวในศูนยเรียนรูชุมชน

-15-


3.2 มีการใชประโยชนจากขอมูลแผนชุมชน มีการนําขอมูลแผนชุมชนมาใชในการตัดสินใจเพื่อการ


พัฒนาหมูบาน มีการจัดทําแผนชุมชนเปนลายลักษณอักษร และใชประโยชนจากแผนชุมชน มี กิจกรรมที่
หมูบานดําเนินการเองตามแผนชุมชน ไดรับประกาศนียบัตรการรับรองผานเกณฑมาตรฐานแผนชุมชน ป
2553
 
3.3 มีการคนหาภูมิปญญาทองถิ่นในการสรางคุณคา มีการรวบรวมภูมิปญญาทองถิ่นของหมูบานไวและ
มีการจดบันทึกเปนลายลักษณอักษรและสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่นเชน ภูมิปญญาการทําปุยอินทรียชีวภาพ
 
3.4 มีการจัดตั้งศูนยเรียนรูชุมชน ศูนยเรียนรูชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง มีองคความรูที่สามารถเรียนรูไดใน
ศูนยฯ และนอกศูนยฯ
 
-16-
3.5 มีการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับศักยภาพของหมูบานชุมชน มีศูนยเรียนรูที่สามารถเรียนรูดาน
เศรษฐกิจพอเพียง ใชแผนที่ยุทธศาสตรเปนเครื่องมือในการเรียนรู
3.6 มีการสรางเครือขายภาคีการพัฒนา
มีการเรียนรูแลกเปลี่ยนกับเครือขายตางๆในชุมชนและนอกชุมชน เชน เครือขายกองทุนหมูบานระดับ
ตําบล เครือขายศูนยประสานงานองคการชุมชน เครือขายสตรีตําบล เครือขายชมรมผูสูงอายุ เครือขาย
กองทุนหมูบานระดับอําเภอ
 

3.7 มีการปฏิบัติตามหลักการของการพึ่งตนเอง
ชุมชนมีการดําเนินกิจกรรมตามแผนชุมชนในกิจกรรมการพึ่งตนเองเกินรอยละ ๓๐ และมีการแกไข
ปญหาดวยตนเองในปที่ผานมา เชน
4. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
4.1 มีจิตสํานึกของการอนุรักษ ชุมชนมีกิจกรรมใหความรูและการจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติ เชน
การทําปุยชีวภาพโดยใชวัชพืช ผักตบชวา
 
4.2 มีกลุมองคกรดานสิ่งแวดลอม มีการจัดตั้งกลุมเยาวชนดูแลอนุรักษ นกกวัก ปลา เตา กลุมปุยอินทรีย
ชีวภาพตําบลเหมืองใหม
4.3 มีการใชพลังงานทดแทนที่สอดคลองกับสภาพแวดลอมมนุษย มีการรณรงคการใชหลอดตะเกียบ
การรณรงคการใชจักรยานในพื้นที่
4.4 มีการสรางมูลคาเพิ่มจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนหมูบานทองเที่ยวเชิงอนุรักษ และ
อนุรักษวิถีชีวิตวัฒนธรรมความเปนอยู มีการจัดกิจกรรมชมสวนลิ้นจี่ สมโอ กินถึงสวนโดยตรง
-17-
ปจจัยและความสําเร็จของการดําเนินงาน
1. เกิดกระบวนการเรียนรูและกระบวนการพัฒนาอยางตอเนื่อง
 บานคลองวัว หมูที่ 5 ตําบลเหมือง ใหม

อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม มีการพัฒนาชุมชน โดยแกนนําชุมชน คณะกรรมการ
หมูบาน และหนวยงานที่เกี่ยวของตาง ๆ แรกเริ่มจากการ รวมของกลุมแกนนําเพียงไมกี่คนที่
ออกมาพัฒนาและใหความรูแกคนในหมูบาน จนเกิดเปนความรู ความเขาใจ ในบทบาทหนาที่ของคนใน
ชุมชน ที่จะตองออกมามีสวนรวม ในการพัฒนาหมูบานของ ตนเอง

 2. การเขาถึงหัวใจของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา
  ประยุกตใชในวิถีการดําเนินชีวิตของคนในหมูบานคลองวัว ก็จะเปนอีกเรื่องหนึ่งที่ทําใหคนในหมูบาน
อยูอยางพอเพียง ซึ่งคําวา “พอเพียง” ในทัศนะของคนในหมูบาน ก็คือ “พอมี พอกิ อยู
อยาง มีความสุข มีครอบครัวที่ อบอุน” ซึ่งจากนิยามงาย ๆ ของคนในชุมชนนี้เอง

สามารถที่ทําใหคนในหมูบานคลอง วัวเขาถึงหัวใจของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไดงาย


-18-
 3. การบริหารจัดการชุมชน

การบริหารจัดการ
ของคนในชุมชนเริ่มไป ในทิศทางทางเดียวกันมี
ความรู เขาใจรวมกัน ทําใหการพัฒนาหมูบาน
เริ่มไปในทิศทางเดียวโดยนําแผนที่ทางเดิน
ยุทธศาสตรมาเปนแนวทางในการสรางความเขมแข็งของชุมชน 

4. กิจกรรมและผลที่เกิดขึ้น

 “ศูนยการเรียนรูและ 
ถายทอดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
ศูนยการเรียนรูและถายทอดปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง หมู หมูทที่ ี่ 55 ตํตําาบล
บล
เหมื
เหมือองใหม งใหม อํอําาเภออั เภออัมมพวา พวา จัจังงหวั หวัดด
สมุ
สมุททรสงคราม
รสงคราม เกิเกิดดขึขึ้น้นจากความต
จากความตอองการ งการ
ของคนในชุ
ของคนในชุมมชน ชน ทีที่ป่ประสงค
ระสงคจจะะ
 เพืเพื่อ่อเสริ
เสริมมสร สราางความเข
งความเขมมแข็ แข็งงให
ใหชุชมุมชน
ชน 
 โดยส
โดยสงงเสริ เสริมมกระบวนการเรี
กระบวนการเรียยนรู นรู  ได
ไดเเรีรียยนรู
นรูเเรืรื่อ่องราว
งราว ตตาางง
ๆๆ ทีที่ม่มีคีความสนใจ
วามสนใจ เปเปนนประโยชน ประโยชน สามารถนํ สามารถนําาไปปรั ไปปรับบและประยุ
และประยุกกตตใใชชกกับับวิวิถถีชีชีวีวิติตของ
ของ ตนเอง ตนเอง ครอบครั
ครอบครัวว และ
และ
ชุชุมมชนชน เปเปนนแหล แหลงงรวบรวมองค
รวบรวมองคคความรู วามรูแและสื
ละสืบบทอดภู ทอดภูมมิปิปญญญาของทญาของทอองถิ
งถิ่น่นสูสูรรุนุนลูลูกก รุรุนนหลาน
หลาน และเชื
และเชื่อ่อมโยงสู
มโยงสู 
ชุชุมมชนอื
ชนอื่น่น ๆๆ ในลั ในลักกษณะเป
ษณะเปนนเครื เครืออขขาายย เปเปนนแหล
แหลงงรวบรวมสภาวะข
รวบรวมสภาวะขออมูมูลลพืพื้น้นฐานของหมู
ฐานของหมูบบาานอย นอยาางครบถ
งครบถววนน และ
และ
เปเปนนปปจจจุจุบบันัน รวมทั
รวมทั้ง้งเปเปนนแหลแหลงงรวบรวมข
รวบรวมขออมูมูลล ขขาาวสาร วสาร ทีที่ ่ สามารถนํ
สามารถนําาไปใช ไปใชใในการวางแผน
นการวางแผน
พัพัฒฒนาหมู
นาหมูบบาานน การกํ การกําาหนดตํ
หนดตําาแหน แหนงงการพั
การพัฒฒนาอาชี นาอาชีพพให ให  สอดคล สอดคลอองกั งกับบทรั
ทรัพพยากรและองค
ยากรและองค
ความรู
ความรู  และภูและภูมิมปิปญญญาของชุ
ญาของชุมมชน ชน เปเปนนแหล
แหลงงจัจัดดกิกิจจกรรมเสริ
กรรมเสริมม ทัทักกษะษะ เปเปนนสถานที
สถานที่ถ่ถาายทอด
ยทอด
แลกเปลี
แลกเปลี่ย่ยนเรี นเรียยนรู
นรู  ของประชาชนในหมู
ของประชาชนในหมูบบาานน

 
-19-
“เพิ่มรายไดใหกับชุมชน”

 การสงเสริมและสนับสนุนใหชาวบานในหมูบานซึ่งไมมีอาชีพสามารถมีรายไดใหกับครอบครัว ปจจุบัน
ศูนยประสานงานองคการชุมชนตําบลเหมืองใหม มีการถายทอดความรูในเรื่องแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร โดย
มีนั ก ศึ ก ษา ผู นํา ชุ ม ชน จากทั่ว ประเทศเข า มาศึ ก ษาดูง าน
กลุมชาวบานไดนําผลผลิตที่เกิดจากความคิดวา ”เหลือกิน

นําออกจําหนาย เปนรายไดเสริม” ตลอดทั้งป ซึ่งถือเปนการ
เพิ่มรายไดใหแกครัวเรือนอยางแทจริง

“อยูอยางเปนสุข”
การน อมนํา ปรัช ญาเศรษฐกิจ พอเพีย งมาใชเ ปนแนวทางการปฏิบัติ ข องครัวเรื อน ทํา ให
ชาวบานคลองวัว มีความเปนอยูอยาง “พอมี พอกิน พอเพียง” ครอบครัวอยูบนพื้นฐานของความสุข ความ
เขาใจซึ่งกันของคนในครัวเรือน

สรุปความสําคัญขององคความรูที่ถอดบทเรียนได
แกไข
วิธีการดําเนินงานของหมูบานคลองวัว
จุดเริ่มตนของการดําเนินงานของหมูบานคลองวัวอยูที่แกนนําของหมูบานที่มุงมั่น
จะพัฒนาหมูบานใหเปนหมูบานที่มีศักยภาพในการบริหารจัดการหมูบานที่ดี โดยการสรางพลั ง ใหชุมชนดึง
เอาศักยภาพของหมูบานที่มีพรอมอยูแลวออกมาในรูปแบบของการบริหารจัดการหมูบานที่เปนระบบ รวมถึง
สวนราชการตาง ๆ ที่เขามาดําเนินการและใหคําแนะนําในพื้นที่ แตสิ่งที่สําคัญ คือ ชาวบาน กลุม / องคกร
ภายในหมูบาน ซึ่งเปนกําลังสําคัญของหมูบ าน ที่ไดรวมกันแสดงความคิดเห็น และเขามามีสวนรวมใน
กระบวนการบริหารจัดการชุมชนของ บานคลองวัว
เครื่องมือที่สําคัญในการดําเนินการก็คือ การนําหลักการ/ แนวทางในการบริหาร
จัดการชุมชนมาใชในหมูบาน เชน การพัฒนาคน (นําความรูแผนที่ ท างเดินยุท ธศาสตรม าปรับใช ) พื้นที่
พัฒนาแหลงรายได และพัฒนาแผนชุมชน นอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เปนตน

 
-20-

สิ่งที่มีคุณคาตอตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
โดยรวม
สิ่งที่มีคุณคาตอตนเอง แกไข
 ประชาชนที่อาศัยอยูภายใน  หมูบาน
คลองวัว ไดพัฒนาตนเองในดานการมีสวนรวม ในหมูบาน สรางคุณคาใหกับตนเองเกิด
ความภาคภูมิใจในการไดเปนสวนหนึ่งในการพัฒนาหมูบาน โดยนําความรู / ภูมิปญญาดั้งเดิม ที่มีอยูมารวม
กันถายทอดและพัฒนา ซึ่งเปนการนํา องคความรูของแตละบุคคลมารวมคิด รวมทํา นํามาใชประโยชนได
อยางเต็มและยังเปนการยกระดับความรูใหแกคนในหมูบา นอีกดวย

 สิ่งที่มีคุณคาตอครอบครัว 
ครัวเรือนที่อาศัยอยูในหมูบานคลองวัว
  เกิดการพัฒนาตั้งแตระดับของตนเองสูระดับของครัวเรือนจนสามารถพัฒนาเปนครัวเรือนตนแบบในการ
ดําเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งการพัฒนาอยูในรูปแบบของการพัฒนาจากบุคคลสู
ครอบครัว เกิดการรวมตัวเปนกลุมองคกร ที่ทํางานเพื่อสาธารณประโยชนของหมูบานและสามารถนําเปน
แบบอยางของครัวเรือนตนแบบของหมูบาน อื่นได

 
-21-



สิ่งที่มีคุณคาตอชุมชน/ สังคม
แกนนําชุมชนและชาวบานของบานคลองวัว
สามารถนําความรูจากการพัฒนาไปเผยแพรใหกับกลุม องคกรอื่น ๆ ที่สนใจ ในรูปของการใหคําแนะนําใน
ดานการบริหารจัดการของชุมชน การถายทอดภูมิปญญา การดําเนินชีวิต จนปจจุบันสามารถเปนแหลงที่
ใชศึกษาเรียนรู ของกลุม /องคกร ที่สนใจ และชาวบานในหมูบานสามารถถายทอดความรูในเรื่องของการ
พัฒนาไดอยางชัดเจน


 


คําแนะนํา ขอเสนอแนะ
โดยรวม
การพัฒนาหมูบานของบานคลองวัว ในสถานการณปจจุบันนี้ ถือวาประสบผลสําเร็จ อยาง
แกไข
มาก ซึ่งจะเห็นไดจากการที่ชุมชนมีการรวมตัวกันจัด ตั้ง “ศูนยการเรียนรูและถายทอดปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง” ทําใหคนในชุมชนเกิดการเรียนรู มีรายไดเสริมจากการถายทอดภูมิปญญาทองถิ่นและแนวปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง และเปนการสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอนุรักษของหมูบาน โดยดึงเอาศักยภาพของคนและ
วัตถุดิบซึ่งเปนทรัพยากรของหมูบาน/ชุมชน มาพัฒนาและตอยอดใหเกิดประโยชนแกคนในหมูบาน/ชุมชน

การสงเสริมใหประชาชนออกมามีสวนรวมในการรวมบริหารจัดการชุมชนของบานคลองวัว
ปจจัยสําคัญที่ทําใหชุมชนประสบผลสําเร็จไดนั้น คือ การมีสวนรวมของคนในชุมชน โดยใหประชาชนรูถึง
ศักยภาพของตนและศักยภาพของชุมชน ที่จะตองนํามาผนวกกันทั้งสองดาน จึงจะทําให “ชุมชนประสบ
ความสําเร็จอยางยั่งยืนและมั่นคง” ตอไป

การดําเนินงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ “อยูดี กินดี”
บานคลองชอง หมูที่ 5 ตําบลคลองโคน อําเภอเมืองสมุทรสงคราม
จังหวัดสมุทรสงคราม
-22-

บริบททั่วไปของชุ
 มชน
บานคลองชอง หมูที่ 5 ตําบลคลองโคน อําเภอเมืองสมุทรสงคราม
บานคลองชอง หมูที่ 5 ตําบลคลองโคน อําเภอเมืองสมุทรสงคราม เปนหมูบานหนึ่งที่นําหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มาเปนแนวทางปฏิบัติในชุมชน ประชาชนใน
หมูบานมีวิถีการดํารงชีวิตอยูกันอยางเอื้ออาทร ประชากรพื้นที่สวนใหญประกอบอาชีพประมง เลี้ยงหอยแครง
หอยแมลงภู ทําอาชีพเสริม เชน ทํากะป ธุรกิจโฮมสเตย ทองเที่ยวทางเรือแกนักทองเที่ยว ผูสนใจวิถีชีวิตการ
ทองเที่ยวเชิงอนุรักษปาชายเลน ซึ่งไปสูการสรางรายได สรางงานในชุมชน ไมเพียงแตทรัพยากรธรรมชาติซึ่ง
เปนสิ่งสรางรายไดใหกับคนในชุมชน โดยสมาชิกในชุมชน มีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรตาง ๆ
เพื่อใหเปนแหลงรายไดที่ยั่งยืนในชุมชน บานคลองชอง มีกลุม องคกรตางๆ ที่เขมแข็ง และสามารถเปนแหลง
เงินทุนใหกับ คนในชุมชน เชน กลุ มออมทรัพ ยเพื่อการผลิต กองทุนหมูบาน กลุมสตรี ธนาคารหมูบา น
ทุกกลุมนํามาซึ่งการสรางรายได และสงเสริมการออม เพื่อสรางภูมิกันใหคนในครอบครัว และชุมชน
จากการดําเนินชีวิตไปสูก ารพัฒนาที่มีศักยภาพทํา ใหคนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความ
เอื้ออาทรตอกัน มีวัดเปนที่ยึดเหนี่ยวพัฒนาจิตใจ มีศิลปวัฒนธรรมที่ดีงามสืบทอดกันมารุนสูรุน มี
กิจกรรมรวมกันในชุมชนอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง ทําใหคนในหมูบานมีความสุขตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจ
พอเพียงภายใตความสมดุล มั่นคง ซึ่งจะนําไปสูความยั่งยืนของตนเองและชุมชนบนพื้นฐานความพอประมาณ
ความมีเหตุผล โดยใชความรูคูคุณธรรม ในการสรางภูมิคุมกันในชีวิต

ประวัติหมูบาน
กรุงศรีอยุธยา มีชาวบานอพยพมาอาศัยในบริเวณปาชายทะเล บริเวณบานเปนแพรกเล็ก ๆ
หรือชองเล็กๆ ซึ่งมีตนไมใหญสองตนลมประสานกันในลําคลองทําใหเกิดชองที่สามารถสัญจรไปมาได ตอมา
ชาวบานไดขยายครอบครัวขึ้น และไดตั้งหมูบานขึ้น เรียกวา “บานคลองชอง” มาจนถึงปจจุบัน
สภาพทั่วไป
บานคลองชองเปนหมูบานติดกับทะเล มี 3 ฤดู ฤดูหนาวไมหนาวจัด ฤดูรอนคอนขางรอน
และฤดูฝนมีฝนตกปานกลาง เปนพื้นที่ชุมน้ํา มีน้ําทวมถึงตลอดทั้งป มีปาชายเลน ชาวบานประกอบอาชีพ
ประมงชายฝง เชน เพาะเลี้ยงหอยแครง หอยแมลงภู เลี้ยงกุง ทํากะปเคยตาดํา มีลมทะเลพัดทุกวัน อากาศดี
บริสุทธิ์ อยูหางจากอําเภอ 20 กิโลเมตร หางจากศูนยกลางตําบล 5 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 3,500ไร
-23-
ทิศเหนือ ติดตอกับ หมูที่ 6 ตําบลคลองโคน และตําบลยี่สาร อําเภออัมพวา
ทิศใต ติดตอกับ หมูที่ 7 ตําบลคลองโคน และทะเลอาวไทย
ทิศตะวันออก ติดตอกับ หมูที่ 4 ตําบลคลองโคน
ทิศตะวันตก ติดตอกับ หมูที่ 7 ตําบลคลองโคน
จํานวนประชากร
จํานวนครัวเรือนทั้งหมด 179 ครัวเรือนจํานวนประชากรทั้งหมด 748 คน
จํานวนประชากรชาย 360 คน จํานวนประชากรหญิง 388 คนแหลงขอมูล
(จปฐ. ป 2553 )
ลักษณะสภาพทางภูมิประเทศ และภูมิศาสตร
แหลงน้ําทางการเกษตร/แหลงน้ํากินน้ําใช
1. คลองชอง
2. น้ําประปา
ลักษณะดิน
เปนดินเค็ม ไมเหมาะกับการเพาะปลูก
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ทรัพยากรน้ํา มีลําคลอง เชื่อมติดกับทะเล
ทรัพยากรธรรมชาติปาชายเลน
การคมนาคม
ถนนลาดยาง จํานวน 1 สาย ระยะทาง 18 กิโลเมตร
ถนนดินลูกรัง จํานวน 1 สาย ระยะทาง 2 กิโลเมตร
สถานที่สําคัญของหมูบาน
1. วัดธรรมประสิทธิ์(วัดคลองชอง) 1 แหง


2. ศาลเจาแมศรีวิไล 1 แหง
-24-
3. โรงเรียนวัดธรรมประสิทธิ์(คลองชอง) 1 แหง

4. สถานีอนามัยบานคลองชอง 4 แหง

5. กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต 1 แหง


6. สถาบันธนาคารหมูบาน 1 แหง

-25-
7. กองทุนหมูบาน (จดทะเบียนเปนนิติบุคคล)

8. ศูนยเรียนรูชุมชน 1 แหง

กลุมองคกรในชุมชน
1. กลุมเลี้ยงหอยแครง
2. กลุมวิสาหกิจชุมชนทํากะป
3. กลุมเกษตรกรคลองชองพัฒนา
4. กลุมพัฒนาสตรีบานคลองชอง
5. กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิตบานคลองชอง
6. กลุมอนุรักษสิ่งแวดลอมบานคลองชอง
7. กองทุนหมูบานคลองชอง(สถาบันการเงินชุมชน)
อัตลักษณชุมชน
“ เปนหมูบานประมงชายฝงและทองเที่ยวเชิงอนุรักษปาชายเลน”
-26-


การดําเนินงานหมูบานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบานคลองชอง

1. ความพอประมาณ
1.1 ชุมชนมีการสงเสริมใหครัวเรือนมีการผลิตเพื่อบริโภคในชุมชนหากมีเหลือจึงจําหนาย

1.2 ชุมชนมีการบริหารเศรษฐกิจชุมชนใหเติบโตเปนลําดับขั้ น
ชุมชนมีการบริหารจัดการชุมชนโดยมีการพัฒนาอาชีพ ใชวิถีชีวิตของชุมชนเปนจุดขายทําให
เปนจุดสนใจแกนักทองเที่ยว ที่เขามาเยี่ยมชมและสัมผัสกับวิถีชีวิตที่ลอมรอบไปดวยทรัพยากรธรรมชาติที่
อุดมสมบูรณ ทําใหปจจุบันมีเศรษฐกิจชุมชนที่กอใหเกิดรายไดแกชุมชนมากมาย เชน กลุมวิสาหกิจชุมชนทํา
กะป กลุมโฮมสเตย กลุมอนุรักษธรรมชาติ กระดานเลน
1.3 ชุมชนสนับสนุนใหครัวเรือนวางแผนการใชจาย และจัดสรรคาใชจายอยางเหมาะสม
ครัวเรือนมีการวางแผนการใชจาย โดยนําเงินสวนหนึ่งมาออมไวกับกลุมองคกรในชุม ชน เชน กองทุน
หมูบาน กลุมออมทรัพย สวนหนึ่งสามารถนําเงินทุนที่มีในชุมชนไปลงทุนประกอบอาชีพ ทําใหชุมชน
มีทุนชุมชนของตนเองที่สามารถชวยเหลือซึ่งกันและกันได
2. ความมีเหตุผล
2.1 สงเสริมการมีสวนรวมและพัฒนาขีดความสามารถของสมาชิกในชุมชน
2.2 สงเสริมใหมีการรวมคิดรวมทํา รวมวางแผน ติดตามประเมินผล
2.3 ชุมชนมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู
 
 
-27-

2.4 ชุมชนจัดทําแผนชุมชนโดยอาศัยความรวมมือของสมาชิกในชุมชน

2.5 ชุมชนมีการจัดตั้งศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน
ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจพอเพียง (กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต ธนาคารหมูบาน) ศูนยเรียนรูการ
ทํากะป ศูนยเรียนรูทางดานสารสนเทศ
2.6 ชุมชนรูจักใชและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางฉลาดและรอบคอบ
ตลอดจนเลือกใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดความยั่งยืน

2.7 ชุมชนเลือกประกอบอาชีพโดยคํานึงถึงศักยภาพของทรัพยากรในชุมชน
3.ภูมิคุมกัน
3.1 สมาชิกในชุมชนสามารถเขาถึงบริการสุขภาพที่ดียามเจ็บปวย

3.2 ชุมชนมีเครือขายรวมมือชวยเหลือแบงปนกัน
-28-

3.3 ชุมชนมีการสํารวจขอมูล ทุนทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น เปนฐานการ


วิเคราะหการพัฒนาและติดตามผลการพัฒนาไดยั่งยืนและเปนระบบ
ทุนทางสังคม ประกอบดวย ผูนําชุมชน กลุมองคกรที่เขมแข็ง ทักษะ ทรัพยากรธรรมชาติ ปา
ชายเลน โรงเรียน สถานีอนามัย ศูนยเรียนรูชุมชน กลุมออมทรัพย ธนาคารหมูบาน กองทุนหมูบาน ลาน
ตากผลผลิต กลุมกะป กลุมสตรี
ทุนทางวัฒนธรรม ประเพณี แหเจาแมศรีวิไล ประเพณีรดน้ําสังขวันสงกรานต วัด
ภูมิปญญาทองถิ่น/ปราชญชาวบาน
นายสงา ฤกษดี หมอยาโบราณ
นายจินดา จันทรสวาง หมอยาโบราณ
นายสุพจน สุวรรณวร หมอนวดแผนไทย
นางเล็ก ชองเจริญ แมครัวงานวัด
นางนอม แพงสกุล ขนมหวานไทย

3.4 ชุมชนมีกิจกรรมเสริมสรางใหเกิดครอบครัวที่อบอุน ตลอดจนใหความสําคัญกับเด็ก เยาวชน


ผูสูงอายุ คนพิการ และผูดอยโอกาสกิจกรรมการประกวดเรีย งความ จัดกิจกรรมใหเด็ก เยาวชน ผูสูงอายุได
พบกัน

3.5 ชุมชนมีกลุมอาสาสมัครชวยเหลือเกื้อกูลสังคมสวนรวมดวยจิตอาสา
-กลุมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติตําบลคลองโคน
-กลุมอนุรักษบานคลองชอง
-อาสาพัฒนาชุมชน
-อาสาสมัครสาธารณสุข
3.6 ชุมชนมีการปลูกปา ปลูกตนไมยืนตน
- ปาชายเลนบานคลองชอง เพลิดเพลินกับกระดานถีบเลน สกีโคลน ฟารมหอยแครง ฟารม
หอยแมลงภู รวมปลูกปาแสมอนุรักษพื้นที่ปาชายเลนเพื่อรักษาระบบนิเวศน ...
- กิจกรรมใหนักทองเที่ยวปลูกปาชายเลน ปลูกตนแสม
-29-

 INCLUDEPICTURE "http://www.baanmaichailane.com/pic/kit2.jpg" \*
MERGEFORMATINET   

3.7 ชุมชนมีระบบการจัดการขยะที่ดี ชุมชนมีระบบการจัดเก็บขยะ โดยใชถุงดําและภาชนะ


รองรับขยะ มีการจัดซื้อถังขยะเพื่อใหเพียงพอตอปริมาณขยะ องค การบริหารสวนตําบลคลองโคนมีการจัดการ
กับระบบการจัดการขยะในชุมชน


3.8 ชุมชนมีแผนปฏิบัติในการอนุรักษและจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
มีแผนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยกลุมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติบานคลองชอง และ
มีกิจกรรมโครงการที่เกี่ยวของกับการอนุรักษทรัพยากรบรรจุไวในแผนชุมชนและแผนพัฒนาตําบล จัดเวที
ประชาคมการอนุรักษทรัพยากรสัตวน้ํา
 
3.9 ชุมชนมีกิจกรรมใหการศึกษาแกเด็กเยาวชน ทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน เพื่อเด็กไดมี
โอกาสเรียนรูจากกิจกรรมแหลงเรียนรูตางๆอยางตอเนื่อง มีการจัดกิจกรรมใหแกเด็กในโรงเรียน
บานคลองชอง เชน การทําขนม กิจกรรมนันทนาการ สรางความสัมพันธ
 
-30-

3.10 ชุมชนมีความหลากหลายดานการผลิต อาชีพหลัก อาชีพรอง ตลาดหลัก และตลาดรอง


เพื่อลดความเสี่ยง ชุมชนมีอาชีพหลักในการทําประมง และมีการสรางอาชีพเสริม เชน การ
ทํากะป การทําธุรกิจโฮมสเตย สกีน้ํา ถีบกระดานเลน ลองเรือชมวิถีชีวิต กระเตง
 HYPERLINK "http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://picdb.thaimisc.com/k/keeratikul/3275-
4.jpg&imgrefurl=http://samutsongkhram.kapook.com/kapi/&h=533&w=800&sz=61&tbnid=qzG8ppTodVD
3LM::&tbnh=95&tbnw=143&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%25A0%25E0%25B8%25B2%25E0
%25B8%259E%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259B%25E0%25B8%25B4%25
E0%25B8%2584%25E0%25B8%25A5%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%258A%
25E0%25B9%2588%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587&hl=th&usg=__PeCjJ2ADRIrJ5HaN7czHN
g3Ozmk=&ei=PYwSSsj2DpKHkQWpkcn_Dg&sa=X&oi=image_result&resnum=1&ct=image"  
INCLUDEPICTURE
"http://www.google.co.th/images?q=tbn:qzG8ppTodVD3LM::picdb.thaimisc.com/k/keeratikul/3275-4.jpg"
\* MERGEFORMATINET     
3.11 ชุมชนมีการสรางคนในหลายชวงอายุ ใหมีศักยภาพในการเปนผูนํา
คณะกรรมการกลุมองคกรตางๆ ในชุมชน พยายามสรางแกนนํารุนใหมขึ้นมา
บริหารงานเพื่อรองรับการดําเนินงานใน
3.12 ชุมชนมีการสรางงานภายในชุมชน เพื่อปองกันอพยพแรงงาน มีการสรางอาชีพเสริม
เชนเรียนการทําขนมไทย

3.13 มีกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต/สถาบันการเงินชุมชนที่ มีกลุมองคกรการเงินที่เขมแข็ง
เชนกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กองทุนหมูบาน ธนาคารหมูบาน และมีการจัดสวัสดิการใหแกชุมชน เชน
สวัสดิการจากกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต เงินฌาปนกิจ
-31-
 SHAPE \* MERGEFORMAT  
การดําเนินงานตามตัวชี้วัดเศรษฐกิจพอเพียงกระทรวงมหาดไทย
4 ดาน 23 ตัวชี้วัด

1. ดานจิตใจและสังคม
11 มีความสามัคคีและความรวมมือของหมูบาน

- มีการประชุมจัดเวทีประชาคม จํานวนมากกวา 12 ครั้งตอป เชน การประชุมคณะกรรมการ


หมูบานเปนประจําทุกเดือน การประชุมกลุมออมทรัพย ฯ กองทุนหมูบานฯ อาสาสมัครตางๆ

- คนในชุมชนมีสวนรวมในกิจกรรมตางๆ ผานเกณฑตาม จปฐ. ขอ 38 เรื่องการเปนสมาชิกกลุม


และขอ 41 การทํากิจกรรมสาธารณะ

1.2 มีขอปฏิบัติของหมูบาน ไดแก ขอตกลงระเบียบของกลุมองคกรตางๆในหมูบานเชน กลุมออมทรัพย


ฯ กองทุนหมูบาน สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน มีประเพณีที่สืบทอดกันมา เชน ประเพณีแหเจาแมศรีวิไ ล
เปนที่เคารพบูชาและยึดเหนี่ยวจิตใจของคนในหมูบาน การรดน้ําสังขวันสงกรานต ซึ่งมีความเชื่อวา การไดรด
น้ําสังขคหบดีของหมูบานจะทําใหร่ํารวย
1.3 มีกองทุนในรูปแบบสวัสดิการแกสมาชิก ไดแก กองทุนหมูบาน กลุมออมทรัพย ธนาคารหมูบาน
ซึ่งมีการจัดสวัสดิการ เกิด แก เจ็บ ตาย ตลอดจนการบริจาคเงินแก วัด เด็กยากจน ดอยโอกาส
สาธารณประโยชนหมูบาน
1.4 ยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย ชุมชนมีการเลือกตั้งโดยมีสมาชิกไปใชสิทธิ์เลือกตั้งเกิน 90 ของ
ผูมีสิทธิ์ที่อาศัยอยูจริง ผานเกณฑ จปฐ. ขอ 42 และมีครัวเรือนเขารวมในการจัดเวทีประชาคมเกิน รอยละ 70
เชน ประชาคมโครงการชุมชนพอเพียง ประชาคมการทบทวนคุณภาพแผนชุมชน ป 2553 มีผูเขารวม
ประชาคมรอยละ 88 ของครัวเรือนทั้งหมด
1.5 มีคุณธรรมจริยธรรม
ชุมชนมีการปฏิบัติศาสนกิจปละ หลายครั้ง เชน การทําบุญวันสําคัญทางศาสนา แหเทียนพรรษา
ทอดผาปา แหเจาแมศรีวิไล ซอมแซมเมรุวัดธรรมประสิทธิ์ สลากภัตน งานกองทุนแมของแผนดิน เปนตน
โดยมีวัดธรรมประสิทธิ์เปนที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ มีกิจกรรมประกาศเกียรติคุณ ยกยองให เกียรติบุคคลที่มีคุณธรรม
จริยธรรม เชน ผูนําชุมชนไดรับการยกยองเปนผูนําหมูบานเศรษฐกิจพอเพียง ผูนํากลุมออมทรัพยฯ ไดรับการ
ยกยองเปนผูนํากิจกรรมกลุมออมทรัพยดีเดน ป 2553
-32-
1.6 คนในหมูบานชุมชนปลอดอบายมุข เปนชุมชนปลอดยาเสพติดรอยละ 100 ไดรับการคัดเลือกเปน
หมูบานชุมชนเขมแข็งเอาชนะยาเสพติดและมีการคัดเลือกผูนําทางธรรมชาติจํานวน 35 คน ดูแลปองกันการ
ติดยาเสพติด มีกิจกรรมรณรงคตอตานยาเสพติด มีการสอดแทรกใหความรูดานยาเสพติดในการประชุม ทุก
ครั้ง ชุมชนไมติดสุรารอยละ 100 ตาม จปฐ. ขอ 32 ชุมชนไมสูบบุหรี่ผานเกณฑรอยละ 90 ชุมชนเปน
ครอบครัวอบอุนผานเกณฑ จปฐ.ขอ 21
1.7 ชุมชนมีความเชื่อมั่นในปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดกิจกรรมการเรียนรูมากกวา 6 ครั้ง
ในรอบปที่ผานมาและปปจจุบัน มีการทัศนศึกษาดูงานดานเศรษฐกิจพอเพียง มีกิจกรรมฐานการเรียนรูดาน
เศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดกิจกรรมสาธิตการออมทรัพย กิจกรรมการพัฒนาอาชีพและสรางรายได

2.ดานเศรษฐกิจ
2.1 มีการจัดทําบัญชีครัวเรือน มีการรณรงคการจัดทําบัญชีครัวเรือน โดยแจกจายสมุดบัญชีครัวเรือน
จํานวน 104 ครัวเรือน เพื่อสงเสริมการจัดทําบัญชีครัวเรือน

2.2 มีกิจกรรมการลดรายจายสรางรายได มีการดําเนินกิจกรรมปลูกผักสวนครัว 5 ชนิด เปนการลด


รายจาย และมีการทําอาชีพเสริม เชน การทํากะป การทําน้ําสมควันไม การนวดแผนไทย เปนตน
-33-

2.3 การรวมกลุมเพื่อพัฒนาอาชีพหลักของหมูบาน ครัวเรือนมีสวนรวมเปนสมาชิกกลุม เชน กลุม


ออมทรัพย กองทุนหมูบาน กลุมอนุรักษปาชายเลน กลุมเลี้ยงหอยแครง และมีการรวบรวมองคความรูไวใน
ศูนยเรียนรูชุมชน
2.4 มีกิจกรรมการออมที่หลากหลาย ครัวเรือนมีการเก็บออมรอยละ 80.40 มีกลุมออมทรัพยเพื่อ
การผลิต กองทุนหมูบาน กองทุนเจาแมศรีวิไล สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ธนาคารหมูบาน กลุมสตรี
ฯลฯ

2.5 มีการดําเนินงานในรูปแบบวิสาหกิจชุมชน หมูบานชุมชนมีการจัดตั้งกลุมวิสาหกิจชุมชนกะป


คลองโคนแมกลอง เปนกลุมที่มีการดําเนินการโดยการผลิตเพื่อบริโภคในชุมชนเหลือไวขายและปนผลแก
สมาชิก ทําใหชุมชนมีอาชีพเสริมเพิ่มรายไดแกสมาชิกกลุม

3. ดานการเรียนรู
3.1 มีขอมูลของชุมชน มีการเก็บรวบรวมวิเคราะหขอมูลชุมชน มีการจัดเก็บขอมูล จปฐ. โดยแตงตั้ง
อาสาสมัครในการจัดเก็บ 1 คน/20 ครัวเรือน บันทึกประมวลผลและจัดเก็บไวในศูนยเรียนรูชุมชน
3.2 มีการใชประโยชนจากขอมูลแผนชุมชน มีการนําขอมูลแผนชุมชนมาใชในการตัดสินใจเพื่อการ
พัฒนาหมูบาน มีการจัดทําแผนชุมชนเปนลายลักษณอักษร และใชประโยชนจากแผนชุมชน มีกิจกรรม ที่
หมูบานดําเนินการเอง รอยละ 30 ของแผนชุมชน ไดรับประกาศนียบัตรการรับรองผานเกณฑมาตรฐานแผน
ชุมชน ป 2553
 
3.3 มีการคนหาภูมิปญญาทองถิ่นในการสรางคุณคา มีการรวบรวมภูมิปญญาทองถิ่นของหมูบานไว
และมีการจดบันทึกเปนลายลักษณอักษรและสืบทอดภูมิปญญาทองถิ่น เชน
-34-

ภูมิปญญาการทํากะป กล่ําปลาดุก การเลี้ยงหอยแครง หอยแมลงภู การทําน้ําสมควันไม การนวด


แผนไทย

3.4 มีการจัดตั้งศูนยเรียนรูชุมชน ศูนยเรียนรูชุมชนมีองคความรูที่สามารถเรียนรูไดในศูนยฯ และ นอก


ศูนยฯ ตามฐานการเรียนรูตางๆ จํานวน 9 ฐานการเรียนรู

3.5 มีการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับศักยภาพของหมูบานชุมชน
มีศูนยเรียนรูที่สามารถเรียนรูดานคอมพิวเตอร เรียนรูดานการออมทรัพยฯ เรียนรูการทําบัญชี
อิเล็กทรอนิกส และเรียนรูจากการทดลองปฏิบัติจริง
3.6 มีการสรางเครือขายภาคีการ
มีการเรียนรูแลกเปลี่ยนกับเครือขายตางๆในชุมชนและนอกชุมชน เชน เครือข ายกองทุนหมูบาน
ระดับตําบล เครือขายศูนยประสานงานองคการชุมชน เครือขายสตรีตําบล เครือขายชมรมผูสูงอายุ เครือขาย
กองทุนหมูบานระดับอําเภอ
3.7 มีการปฏิบัติตามหลักการของการพึ่งตนเอง
ชุมชนมีการดําเนินกิจกรรมตามแผนชุมชนในกิจกรรมการพึ่ งตนเองเกินรอยละ 30 และมีการแกไข
ปญหาดวยตนเองในปที่ผานมา เชน ถนนชํารุด มีการดําเนินการซอมแซมโดยใชแรงงานคนในหมูบาน
สรางสะพานโดยใชแรงงานในชุมชน และมีการแกปญหาน้ําประปาไมไหลโดยขอความชวยเหลือจาก อบจ. ได
ทันตอความเดือนรอน ฯลฯ
-35-

4. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
4.1 มีจิตสํานึกของการอนุรักษ ชุมชนมีกิจกรรมใหความรูและการจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติ เชน
ใชมัคคุเทศกทองถิ่นในการใหความรู มีกิจกรรมการปลูกปา ชายเลนแกนักทองเที่ยว มีการจัดกิจกรรม ลอย
กระทงเมล็ดพันธุกลาไมชายเลนแกนักทองเที่ยวทุกฤดูกาล มีการจัดตั้งกลุมอนุรักษปาชายเลน

4.2 มีกลุมองคกรดานสิ่งแวดลอม มีการจัดตั้ง กลุมอนุรักษปาชายเลน รณรงคการจัดเก็บขยะทั้งบนบก


และในทะเล มีกลุมผูใชน้ํา มีเครือขายกลุมอนุรักษในระดับตํา บล รวมกันทุกหมูบาน
4.3 มีการใชพลังงานทดแทนที่สอดคลองกับสภาพแวดลอมมนุษย มีการรณรงคการใชหลอดตะเกียบ
มีการวางแผนทําโครงการกาชคารบอนจากถานไมโกงกางบรรจุไวในแผนชุมชน มีการใชกังหันลม
(แตยังดําเนินการเพียงบางสวน)
4.4 มีการสรางมูลคาเพิ่มจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปนหมูบานทองเที่ยวเชิงอนุรักษปาชาย
เลน และอนุรักษวิถีชีวิตวัฒนธรรมความเปนอยู มีกิจกรรมการปลูกปาชายเลนแกนักทองเที่ยว ถีบ
กระดานเลน ลองเรือชมวิถีชีวิตชาวประมง การทําน้ําสมควันไม เปนตน
-36-
ปจจัยแหงความสําเร็จของการดําเนินงานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. การใชหลัก (4M) ในการบริหารจัดการชุมชน
ดานคน (Man)
1 คนมีความสามัคคี เอื้ออาทร

2 ผูนํามีคุณธรรม/เสียสละ/มีความรูความสามารถ

3 การมีสวนรวมของสมาชิกในชุมชน/ความรวมมือ

4 กลุมองคกรมีความเขมแข็งและมีการบริหารจัดการที่ดี

5 สมาชิกในชุมชนมีความศรัทธาในการทํางานของผูนําและอยูกันในลักษณะเครือญาติ

ดานทุน (Money)
1. ความอุดมสมบูรณของทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ไมวาจะเปน ทรัพยากรน้ํา ปาชายเลน และ
อากาศบริสุทธิ์

2. ทุนดานการเงิน มีทุนที่เปนตัวเงินสามารถเปนแหลงทุนแกสมาชิกชุมชน หลากหลาย ทั้งแหลงทุน


ที่เปนทางการ เชน กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต ธนาคารหมูบาน สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
และแหลงทุนที่มีการจัดตั้งขึ้นเอง เชน กองทุนเจาแมศรีวิไล

3. ทุนทางวัฒนธรรม มีวัฒนธรรมที่หลากหลาย ที่กอใหเกิดความเอื้ออาทรในชุมชน

ดานเทคโนโลยี (Material)
1. มีการสงเสริมการใชเทคโนโลยีสมัยใหมในการดําเนินงาน เชนการใชอิเล็กทรอนิกในการทํา
บัญชีกองทุน ธนาคารหมูบาน

2. สงเสริมการเรียนรูคอมพิวเตอรแกคนในชุมชน Internet ตําบล

3. สงเสริมการใชศูนยเรียนรูชุมชนเปนแหลงเรียนรู

ดานการบริหารจัดการ (Management)
1..มีกลุมองคกรที่มีการบริหารจัดการชุมชนที่ดี เชน กลุมออมทรัพยฯ กลุมสตรีฯ

2.มีการวางระเบียบ กฎที่เปนลายลักษณอักษรและขอปฏิบัติรวมกันของชุมชน
-37-

3. ชุมชนมีการบริหารจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เชน มีการจัดตั้งกลุมอนุรักษ ปา


ชายเลน เพื่อดูแลไมใหปาถูกทําลาย

2. การใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการชุมชน
1. หลักนิติธรรม
มีการดําเนินงานตามระเบียบที่กําหนดและใชมติเสียงขางมากของสมาชิก
2. หลักคุณธรรม
ยึดหลัก คุณธรรม 5 ประการ ดังนี้
1. มีความซื่อสัตยตอกัน
2. มีความเสียสละเพื่อสวนรวม
3. มีความรับผิดชอบรวมกัน
4. มีความเห็นอกเห็นใจกัน
5. มีความไววางใจกัน
3. หลักความโปรงใส
มีการบริหารดวยความโปรงใส เชน มีการตรวจสอบบัญชีโดยคณะกรรมการตรวจสอบเปนประจํา ทุก
เดือนโดยจะทําการตรวจสอบในวันที่มีการฝากเงินสัจจะและวันกูยืมเงินโดยมีคณะกรรมการตรวจสอบเกินกึ่ง
หนึ่งในการทําการตรวจสอบ
4. หลักการมีสวนรวม
การดําเนินงานใชหลักการมีสวนรวมกันระหวางสมาชิกชุมชน
5. หลักความรับผิดชอบ
มีความรับผิดชอบรวมกันในการดําเนินกิจกรรมหมูบาน มีความรับผิดชอบในการบริหารจัดการในแต
ละหนาที่ทุกคนตองปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของ ตนเองและตองมีความรับผิดชอบเพื่อผลประโยชนของ
สมาชิก
6. หลักความคุมคา
การดําเนินงานของชุมชน เนนการสรางงาน สรางอาชีพใหกับคนในชุมชน และการจัดตั้งกลุมก็เพื่อชวยเหลือ
กันในมวลสมาชิก โดยเนนความสามัคคี การมีสวนรวม และเงินที่เปนผลกําไรจะมีการจัดสรรโดยคํานึง
ประโยชนและความคุมคาของสมาชิกและเพื่อสาธารณประโยชนที่จําเปนในชุมชน
-38-
ความภาคภูมิใจของชุมชนในการนําแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช
การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียง ทําใหชุมชนมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับสายน้ํา ภูมิใจกับการมีแหลง
ทองเที่ยวเชิงอนุรักษปาชายเลน การอนุรักษไวซึ่งทรัพยากรธรรมชาติที่ยังคงความอุดมสมบูรณของแหลงใน
การประกอบอาชีพ ทําใหชุมชนมีรายไดในการดํารงชีวิต และประกอบกับกลุมองคกรที่สามารถผลักดันให
ชุมชน รูจักการออมเงิน สงเสริมใหชุมชนมีการเอื้ออาทร สรางความสามัคคีในชุมชนบานคลองชอ ง และทุก
พื้นที่ในตําบลคลองโคน การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงทําใหชุมชนบานคลองชอง รูจักความพอประมาณ
มีเหตุผลในการใชชีวิต และมีภูมิคุมกันยามเดือดรอน และที่สําคัญชุมชนบานคลองชองผูคนมีคุณธรรมใน
การทํางานเพื่อชุมชนนําไปสูชุมชนที่มีการพัฒนาที่ยั่งยืนตอ ไป

คําแนะนํา/ขอเสนอแนะการดําเนินงาน

1. การดําเนินงานหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตองดําเนินการแบบคอยเปนคอยไป

2. สงเสริมใหกลุมองคกรในชุมชนเปนแกนนําในการดําเนินงานตามวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง

3. การดําเนินชีวิตเศรษฐกิจพอเพียงตองดําเนินการตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่

4. ควรมีการสงเสริมการเลี้ยงไกพันธพื้นเมืองไวกินเอง

5. หนวยงานภาครัฐสงเสริมสนับสนุนการดําเนินงานอยางตอเนื่อง

6. สงเสริมใหชุมชนมีการอนุรักษไวซึ่งวัฒนธรรมที่ดีงามที่ปฏิบัติสืบทอดกันมา เพื่อใหชุมชนไดมี
สวนรวมและเกิดความรักหวงแหนชุมชน นําไปสูความเอื้ออาทรและมีวัฒนธรรมที่ดีงาม
-39-
สรุปองคความรูของหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ

1. บานคลองวัว หมูที่ 5 ตําบลเหมืองใหม อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม


“ปุยอินทรียชีวภาพตําบลเหมืองใหม เพื่อลดตนทุนการผลิต”
ประวัติความเปนมา
ตําบลเหมืองใหม มีการดําเนินการจัดตั้งกลุมปุยอินทรี ยชีวภาพ ขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2553 เริ่มตนเกิด
จากการแลกเปลี่ย นเรีย นรูรวมกันของผูนํา ชุม ชน แกนนํา กลุม องคกร ผูนํา ทางศาสนา มีการจุดประกาย
ความคิดของแกนนําชุมชนวา ปจจุบันชุม ชนมีการประกอบอาชีพ หลัก คือการทํา สวนผลไม สม โอ ลิ้นจี่
แตปจ จุบัน ชุม ชนมีก ารใช ปุย เคมีทํ า ให เกิดป ญหาดา นสุข ภาพ สง ผลใหมี ค นเจ็บ ป วย เกิ ดปญ หาดิ นเสี ย
ผลผลิตไมไดผลดีเทาที่ควร ทําใหจุลินทรียในดินตาย ผูนําชุมชนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู วางแผนในการ
แกไขปญหา จึงมีการจัดตั้ง กลุมปุยอินทรียชีวภาพตําบลเหมืองใหม
การรวมกลุมจัดตั้งกลุมปุยชีวภาพตําบลเหมืองใหม เกิดขึ้นภายใตการนํา ของ กํานันตําบลเหมืองใหม
และเจ า อาวาสวั ด อิ น ทารามและเจ า อาวาสวั ด ทุ ง เศรษฐี ได ป ระสานงานกั บ สถานี พั ฒ นาที่ ดิ น จั ง หวั ด
สมุทรสงคราม และมีการสรา งอาคาร โรงปุย ซึ่งตั้งอยู บริเวณ วัดทุง เศรษฐี โดยมีการบริหารงานภายใต
คณะกรรมการชุดปจจุบันประกอบดวย
1. นายสุเทพ เพ็งอุดม ตําแหนง ประธานกลุม
2. นายฝน ทรัพยสมบูรณ ตําแหนง รองประธานกลุม
3. นายมนู เพิ่มทวีทรัพย ตําแหนง รองประธานกลุม
4. นายชวน มีสกุล ตําแหนง ฝายจัดซื้อ
5. นายสะอาด อิ่มอุทร ตําแหนง ฝายการตลาด
6. นางโอ แสงบริสุทธ ตําแหนง เลขานุการ
การริเริ่มกอตั้ง
1. ประชุมสมาชิกผูสนใจในระดับตําบล
2. ระดมหุนจากสมาชิก โดยมีการกําหนด หุนละ 100 บาท มีจํานวนสมาชิกเริ่มกอตั้ง จํานวน 90
คน จํานวน 300 หุน เปนเงิน 30,000 บาท
การสงเสริมสนับสนุนงบประมาณจากสวนราชการ
1. กอสรางโรงปุย โดย สถานีพัฒนาที่ดิน จังหวัดสมุทรสงคราม
2. การจัดซื้อวัตถุดิบ โดยองคการบริหารสวนตําบลเหมืองใหม
3. งบยุทธศาสตรจังหวัดสมุทรสงคราม โดยผูวาราชการจังหวัดสมุทรสงคราม (รถแมคโคขนาดเล็ก)
4. งบยุทธศาสตรอยูดี มีสุข 50,000 บาท (ซื้อวัตถุดิบ และรับซื้อ ผักตบชวาในชุมชน
-40-

วัตถุดิบ/สวนประกอบของปุยอินทรียชีวภาพตําบลเหมืองใหม
1. จัดซื้อวัตถุดิบ ประกอบดวย มูลสัตว ขี้ไก ขี้วัว (จังหวัดราชบุรี)
2. รําขาว (จังหวัดราชบุรี)
3 . ขุยมะพราว (อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม)
4. กากน้ําปลา (โรงงานน้ําปลาจังหวัดสมุทรสงคราม)
5. ปุยน้ําชีวภาพ (ทําเอง)
6. พงด.2 (พัฒนาที่ดิน)
7. ปลาเปดจากตลาดปลาแมกลอง
8. ซื้อผัก ตบชวา ในเขตตํา บลเหมืองใหม และตําบลใกลเคียง อีกสวนหนึ่ง จากการเก็บขยะของ
หมูบาน ลอกคลอง
ขั้นตอน/กระบวนการผลิต
1. นํามูลสัตว จํานวน 60 % รําขาว 10 % วัชพืช 10 % กากน้ําปลา 10 % น้ําชีวภาพ 5 % ปลา
เปด 5 %
2. นําสวนประกอบของวัตถุดิบมาวางซอนกัน
3. ใชมูลสัตวเปนชั้นรองกน
4. ชั้นที่ 2 เปนวัชพืชสลับสับเปลี่ยนกับรําขาว
5. คลุกเคลาสวนผสมทั้งหมดใหเขากันพรอมฉีดน้ําชีวภาพ
6. หมักไวประมาณ 45 วัน
7. กลับปุยที่หมักไวทุก 7 วัน เพื่อปองกันจุลินทรียตาย
8. หลั ง จากนั้ นตรวจสอบโดยการใช มือจั บ ดู ถา ปุย มี ค วามเย็นแลว สามารถนํา มาบรรจุภัณ ฑใ ส
กระสอบได
ราคา/การจําหนาย
การจําหนายปลีก ก.ก. ละ 3 บาท
จําหนายเปนกระสอบ ก.ก. ละ 75 บาท
ผลการจําหนายตอเดือน
ประมาณเดือนละ 20,000 /กิโลกรัม/เดือน
แหลงจําหนาย
1. เกษตรกรสวนลิ้นจี่ในตําบลเหมืองใหม
2. พื้นที่ตําบลใกลเคียง เชน บางนางลี่ วัดประดู บางแค และจังหวัดราชบุรี
-41-

2. บานคลองชอง หมูที่ 5 ตําบลคลองโคน อําเภอเมืองฯ จังหวัดสมุทรสงคราม


“องคความรูกะปเคยตาดําตําบลคลองโคน”

ประวัติความเปนมา

บานคลองชอง เปนหมูบานอยูในตําบลคลองโคน อําเภอเมืองฯ จังหวัด


สมุทรสงคราม ลักษณะทางภูมิประเทศเปนที่ราบชายฝงทะเลที่น้ําทะเลทวมถึงและ
เคยทวมถึง จึงทําใหดินมีความอุดมสมบูรณจากการทับถมของดินตะกอนที่พัดมา
จากลุมน้ําตอนบน ตะกอนน้ําทะเล รวมทั้งผืนปาโกงกาง ปาแสม ตลอดแนว
ชายฝงทะเล และจากปาบริเวณฝงแมน้ํา เปนที่อยูอาศัย อันอุดมสมบูรณของสัตวน้ํา
ตางๆ โดยเฉพาะกุงทะเล และ “ เคยตาดํา ” ประชาชนประกอบอาชีพหลักทําการ
ประมง มีวิถีชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีวิถีชีวิตแบบเรียบงาย
ไมฟงุ เฟออยูกับแบบเครือญาติมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ

 ดวยภูมิปญญาทองถิ่นของบรรพบุรุษชาวคลองโคนที่ไดคิด และ
ริเริ่มการประกอบอาชีพทํานากุงธรรมชาติ และการทํา “กะปเคยตาดํา” หรือ
“ กะปคลองโคน ” ซึ่งผลิตดวยกรรมวิธีที่เปนเอกลักษณเฉพาะของชาวคลอง
โคน จนทําใหเปนที่รูจักกัน ทั่วประเทศ


กลุมกะปเคยตาดํา จํานวน 2 กลุม

กลุมวิสาหกิจชุมชนกะปคลองชอง ม. 5 ตําบลคลองโคน จํานวน 1 กลุม

นางประนอม สกุลแฟง หมู 5 ตําบลคลองโคน อ.เมืองฯ

กลุมกะปเคยตาดําตําบลคลองโคน ม.๒

บานเลขที่ 69 หมูที่ 2 ต.คลองโคน อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม 75000 ประธานกลุม


ระดับตําบล : นายสมหมาย สมปรุง บานเลขที่ 19/2 หมูที่ 2 ต.คลองโคน อ.เมืองฯ
จ.สมุทรสงคราม 75000 โทร. 059-8875573
-42-

อัตลักษณ / จุดเดนของผลิตภัณฑ 

ลักษณะที่โดดเดนของกะปเคยตาดําคลองโคน ตําบลคลองโคนมีพื้นที่อยูติดชาย ทะเลที่
เปนดินเลน เมื่อถึงฤดูฝน น้ําฝนจะไหลผานจังหวัดกาญจนบุรี ,ราชบุรี พรอมกับพัดพาสารอาหารที่มี
คุณคาลงสูแมน้ําแมกลอง และเมื่อน้ําฝนที่มีรสจืดไดไหลลงมาผสมกับน้ําทะเล ที่มีรสเค็มจะเกิดเปน
น้ํากรอย รวมกับพื้นที่ที่เปนดินเลน สัตวน้ําตางๆโดยเฉพาะ “เคยตาดํา” จะมารวมตัวกันมาก ณ
แหลงอาหารบริเวณนี้ สัตวน้ําเหลานี้จะเจริญเติบโตเร็ว เมื่อนํามาประกอบอาหารจะมีรสชาติอรอย
และดวยกรรมวิธีการผลิต “กะปเคยตาดํา” ซึ่งคิดคนโดยภูมิปญญาทองถิ่นของบรรพบุรุษชาวคลอง
โคนสืบทอดมาสูชนรุนหลังที่ไมที่ใดเหมือน กะปคลองโคนจึงมีกลิ่นหอม รสชาติอรอย สามารถ
เก็บไวไดนานโดยไมตองใสสี และสารกันบูดเลย



ความสัมพันธกับชุมชน
 วัตถุดิบที่ใชในการผลิต ขั้นตอนการผลิต และการบรรจุภัณฑนั้นไดมาจากสมาชิกและคนในชุมชนมี
สวนรวมชวยกันหา ชวยกันทําขึ้นมา รายไดจากการจําหนาย สวนหนึ่งแบงปนกัน อีกสวนแบงไวกองกลางเพื่อ
ใชในการพัฒนารวมกัน ทําใหสภาพเศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้นและอีกสวนหนึ่งนั้นนํากลับไปอนุรักษ
สิ่งแวดลอมที่ดีงามเพื่อใหสามารถผลิตกะปไดเปนอยางดี

วัตถุดิบและสวนประกอบ

วัตถุดิบประกอบดวย
1.เคยตาดําสด
 2.เกลือสมุทร
อุปกรณประกอบดวย
เคยตาดํา มีขนาดเล็ก เกลือสมุทร
 1. อวนละวะ(อวนไนลอนสีน้ําเงินตาถี่ ) ตัดทําเปนปกคลายรูมาก
ปตัว V มีหาง ถุงยาว
2.ไมไผ ยาว 4 เมตร (ใชปกยึดละวะที่กางรอเคยตาดําในทะเล )
3. กาละมัง และ หลัว ไวใสเคยสดที่ไดจากทะเล
-43-

 ต
ขั้นตอนการผลิ
เมื่อถึงฤดูหนาเคยตาดําเขาฝง ชาวบานจะนําเรือออกไปรอเคยตาดําในทะเลทั้งน้ําขึ้นและน้ําลง เมื่อไดตัว
เคยตาดํามาแลวนําไปใสตะกราแลงตาถี่มาก เพื่อแยกตัวเคยตาดําออกจากลูกกุง ลูกปลา เศษใบไม จะไดเปนตัวเคยตา
ดําอยางเดียว นําเคยตาดํามาใสหลัวตั้งพักไวใหน้ําแหง จึงนํามาใสในกะละมังพรอมเกลือสมุทรตามสูตร คลุกเคลาให
เขากันกอนจึงนํามาใสโองมังกรหมักทิ้งไวประมาณ 2 คืน จึงนําเคยตาดําออกมาตากแดดประมาณ 3 วัน จนเคยตา
ดําแหงดีแลวก็สามารถนําออกจําหนายใหกับผูบริโภคได กะปคลองโคนจะมีเปนฤดูกาล ตองมีการซื้อหรือเก็บ
กักตุนไวเพื่อใหพอตอความตองการของผูบริโภค จึงตองใชเงินทุนมากในแตละป

เทคนิค / เคล็ดลับในการผลิต
 1.เมื่อไดเคยตาดํามาแลว ตองรีบหาแหลงน้ําที่ใส สะอาด เพื่อแลงหรือแยกตัวเคยออกจาก ลูกกุง
ลูกปลา และเศษใบไมใหเคยสะอาด (ถาแลงเคยตาดําในน้ําที่ขุน ดินเลนที่ปนมากับน้ําจะไปจับเหงือกตัว
เคยตาดํา พอนําไปตากแหง
จะทําใหเคยตาดําหรือกะปนั้นไมสวย หรืออาจทําใหกะปที่ตากมีสีดํา และไมมีกลิ่นหอม)
2.เมื่อไดเคยตาดํามาแลวตองผสมเกลือตามสูตร และใสโองมังกรหมักไวกอน จึงนําออกมาตาก
แดดครึ่งวัน จากนั้นกลับเอากะปจากดานลางขึ้นตากอีกครึ่งวัน ตอนเย็นเก็บมารวมกันแลวจึงใชมือนวดให
เขากัน พอเชาก็นํามาตากแดดใหมประมาณ 5 วันแลวเก็บมาใสโองมังกรอีกประมาณ 2 เดือน จะไดกะปที่
ไดมาตรฐาน หอม อรอย ถูกใจผูบริโภค




การรอเคยตาดํา เคยตาดําที่สะอาด การผสมเคยตาดํากับ
เกลือสมุทร

การหมักกะป ตากกะปในเรือนกะจก กะปคลองโคน


คณะผูจัดทํา

ผูสนับสนุนการจัดทํา
1. นายพูนศักดิ์ ทองใย พัฒนาการจังหวัดสมุทรสงคราม
2. นายอาทร พิมชะนก หัวหนากลุมงานสงเสริมเพื่อการพัฒนาชุมชน
3. นางอัจฉรา วรรณวงศ พัฒนาการอําเภออัมพวา
4. นายจินต สมพงษเจริญ พัฒนาการอําเภอเมืองสมุทรสงคราม
5. เจาหนาที่สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภออัมพวา
6. เจาหนาที่พัฒนาชุมชนอําเภอเมืองสมุทรสงคราม
ผูจัดทํา/ขอมูล
1. นายณัฐดนัย โสมโสรส นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ
2. นางณัฐภรณ กอนกําเนิด นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ
3. นางวิไลลักษณ วุฒิกรณ นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ
ปก/รูปเลม
1. นายณัฐดนัย โสมโสรส นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ
2. นายวีระพงษ อางทอง นักวิชาการพัฒนาชุมชนชํานาญการ
3. นางเกื้อกูล ไชยานนท เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน
4. นางอามร ถุงทอง เจาพนักงานธุรการชํานาญงาน

**************************

You might also like