8590 D 62 B 3 F 81 B 50 Da 11 B

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

รายงานเชิงวิชาการ 

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรือง ลิลิตตะเลงพ่าย 

โดย 
 

นายกฤติน โชตินพรัตน์ภัทร   ชันมัธยมศึกษาปที 5/2 เลขที 9 

นางสาวพิมพ์พช
ิ ดา กฤติยาศรีสเุ มธ ชันมัธยมศึกษาปที 5/2 เลขที 15 

นางสาวชังคิด ประทุมมา ชันมัธยมศึกษาปที 5/2 เลขที 19 

นายปณณะ ตังวงศ์กิจ ชันมัธยมศึกษาปที 5/2 เลขที 22 

เสนอ 

อ.พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์ 

ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2561 

โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 

รายงานนีเปนส่วนหนึงของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเปนฐาน (Project Based Learning) 

รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชันมัธยมศึกษาปที 5 
คํานํา 

รายงานเล่มนีเปนส่วนหนึงของวิชาภาษาไทยระดับชันมัธยมศึกษาปที 5 จัดทําขึนเพือจุดประสงค์ ใน

การวิเคราะห์และพิจารณาวรรณคดี เรือง ลิลิตตะเลงพ่าย ทางคณะผูจ


้ ัดทําต้องการจะนําเสนอ ข้อมูลเซิง

วิชาการไม่ว่าจะเปนทางต้านเนือเรือง กลวิธใี นการประพันธ์ หรือแม้กระทังคุณค่าทีวรรณคดี เรืองนีได้มอบให้

ผูอ
้ ่าน และหวังเปนอย่างยิงว่าข้อมูลในรายงานเล่มนีจะสามารถให้ประโยชน์แก่ผท
ู้ ีสนใจ และต้องการทําการ

ศึกษาเกียวกับวรรณคดี เรือง ลิลิตตะเลงพ่าย ได้ไม่มากก็นอ


้ ย หากทางคณะผูจ
้ ัดทําได้ทําสิงผิดพลาดประการ

ใด ต้องขออภัยมา ณ ทีนี และขอน้อมรับทุกคําแนะนําไปปรับปรุง 

ทังนี รายงานเล่มนีสําเร็จได้ด้วยความช่วยเหลือของ อาจารย์พนมศักดิ มนูญปรัชญาภรณ์ ทางคณะ 

ผูจ
้ ัดทําขอขอบพระคุณอาจารย์ทีช่วยเปนผูใ้ ห้คําแนะนําและข้อเสนอแนะเพือทีจะให้คณะผูจ
้ ัดทํานํากลับไป

แก้ไข รายงานเล่มนีได้สาํ เร็จลุล่วง 

คณะผูจ
้ ัดทํา 

 
   


สารบัญ 

คํานํา 

1. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม  3 

1.1 เรืองย่อ  3 

1.2 โครงเรือง      4 

1.3 ตัวละคร  5 

1.4 ฉากท้องเรือง  7 

1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน  8 

1.6 แก่นเรืองหรือสารัตถะของเรือง  9 

2. การอ่านและพิจารณาเนือหาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม    10 

2.1 สรรคํา  10 

2.2 การเรียบเรียงคํา  12 

2.3 การใช้โวหาร  17 

3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม  19 

3.1 คุณค่าด้านอารมณ์  19 

3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม 19 

3.3 คุณค่าด้านอืน ๆ  21 

4. บรรณาบุกรม   23 
 
   


1. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 

1.1 เรืองย่อ 

เมือพระเจ้าหงสาวดี  นันทบุเรง  ได้ขา่ วการสวรรคตของสมเด็จพระมหาธรรมราชา  พระองค์คิดว่า

เหตุการณ์อาจทําให้อยุธยาเกิดการสันคลอนเนืองจากการแย่งชิงราชบัลลังก์ของสมเด็จพระนเรศวร กับสมเด็จ

พระเอกาทศรถ  พระเจ้าหงสาวดีนน
ั ทบุเรงจึงรับสังให้เตรียมกองทัพเพือทีจะตีกรุงศรีอยุธยา  การต่อสูค
้ รังนีนํา

โดยพระโอรส  นันก็คือพระมหาอุปราชา  และมหาราชเจ้านครเชียงใหม่เพือเตือนการทําสงครามไว้ก่อน  ซึง

เหล่าขุนนางต่างชืนชอบความคิดนีเปนอย่างมาก  แต่พระมหาอุปราชาเพิงได้รบ
ั คําทํานายมาจากโหรว่า

พระองค์จะมีดวงถึงฆาต  และรีบกราบทูลพระบิดาไปเช่นนัน  เมือพระบิดา  หรือพระเจ้าหงสาวดีนน


ั ทบุเรงได้

ทราบ  พระองค์ก็พด
ู ประชดประชัน  จึงทําให้พระมหาอุปราชาไม่กล้าขัดพระทัย  และจําใจทีจะต้องยกทัพไปตี

กรุงศรีอยุธยา โดยนันทบุเรงประทานโอวาท 8 ประการแก่พระมหาอุปราชาดังนี  

1. อย่าหูเบาเชืออะไรง่าย ๆ  

2. อย่าตามใจตนเอง  

3. ควรเอาใจทหาร  

4. อย่าไว่ใจคนขีขลาด  

5. ควรศึกษาการจัดทัพให้รอบรู ้  

6. ศึกษาตําราพิซย
้ สงคราม  

7. ให้รางวัลทหาร,​ทีดี  

8. รูจ
้ ักพากเพียร 


ครังหนึงระหว่างศึกของไทยกับพม่า  กัมพูชาได้เข้ามาตีไทย  สมเด็จพระนเรศวรจึงจัดเตรียมทัพเพือที

จะไปแก้แค้นกัมพูชา  แต่พอถึงคราวก็ต้องถอยทัพกลับมาเนืองจากได้ยน
ิ ข่าวมาว่าพม่ากําลังยกทัพมาตีไทย 

พม่ายกทัพมาด้วยทหาร  5  แสนคนนําโดยพระมหาอุปราชาเข้ายึดกาญจณบุรอ
ี ย่างง่ายดาย  จากนันได้เดินทัพ

ต่อไปทางพนมทวน  ขณะกําลังเดินทัพได้เกิดลมเวรัมภาซึงเปนพัดทําให้ฉต
ั รของพระมหาอุปราซาหกลงมา 

พระองค์ตัดสินใจตังค่ายพักทีตําบลตระพังตรุ  ในขณะเดียวกันสมเด็จพระนเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถก็

กําลังเคลือนทัพทางนามาขึนบกทีอําเภอปาโมกข์  บังเกิดศุภนิมต
ิ ขึน  สุดท้ายพระองค์เคลือนพักทัพที  อําเภอ

หนองสาหร่าย  จากนันสมเด็จพระนเรศวรได้ทราบว่าฝงพม่ามาลาดตระเวณอยูแ
่ ถวๆนีพระองค์จึงตระหนักได้

ว่ากรุงศรีอยุธยาจะถูกตีในไม่ชา้   พระนเรศวรทรงรับสังให้กองทัพหน้าบุกเข้าไปโจมตีพม่าและถอยออกมาเพือ

หลอกให้อีกฝงประมาท  แต่แล้วช้างทีพระนเรศวรและพระเอกาทศรถดันเกิดตกมันวิงมัวไปจนอยูก
่ ลางวงทัพ

ของพม่า  นายกองต่างก็ตามกันมาไม่ทัน  ดังนันพระนเรศวรจึงท้าพระมหาอุปราชา  จึงเกิดเปนศึกยุทธหัตถี 

สุดท้ายพระนเรศวรได้ทําการชนะพระมหาอุปราชาเช่นเดียวกับพระเอกาทศรถทีสูก
้ ับมังจาชโร  ความพ่ายครัง

นีทําให้ทัพพม่าได้แตกพ่ายแพ้กลับไป  หลังจากศึกนีพระนเรศวรทรงสังให้มก
ี ารสร้างสถูปเจดียข
์ นหลั
ึ งจากศึก

เพือเปนการให้เกียรติพระมหาอุปราชา 

1.2 โครงเรือง 

ลิลิตตะเลงพ่ายปนเนือเรืองของการสูร้ บระหว่างกษัตริยข
์ องสองประเทศ มีการต่อสูต
้ าม

ขนบธรรมเนียมการรบด้วยการทํายุทธหัตถี เพือดูความสามารถและไหวพริบของกษัตริยท
์ ีจะรบชนะกษัตริย์

อีกฝายหนึงได้จนสําเร็จ 

   


1.3 ตัวละคร ฝายไทย (132-135) 

• ​สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (พระองค์ดํา) 

ทังมวลหมูม
่ าตย์ซอ
้ ง สารพลัน  

ทูลพระจอมจรรโลง เลืองหล้า  

แถลงลักษณะปางบรรพ์ มาเทียบ ถวายแฮ  

แนะทีควรเสด็จค้า เศิกไซร้ไกลกรุง 

โทไท้ทรงสดับถ้อย ทูลถวาย  

ถูกหฤทัยท่านผาย โอษฐ์พร้อง  

สูตริก็ตรงหมาย เหมือนตริ ตูนา  

ตริ บ่ ต่างกันต้อง ต่อนาใจตู 

ดังบทประพันธ์ขา้ งต้น พระนเรศวรมหาราชมีความเปนนักปกครองทีดี ท่านได้พจ


ิ รณาในการเลือกใช้

คน ท่านยังเปนนักปกครองทีรับฟงความคิดเห็นของขุนนาง และข้าราชบริพารอีกด้วย ในบทประพันธ์อืนๆยัง

กล่าวถึงพระองค์ไว้ว่าพระองค์มค
ี วามเปนนักรบ และมีพระปรีชาญาณ หรือก็คือความมีไหวพริบ ฉลาด รอบรู ้

• พระมหาอุปราชา 


พระเนานัคเรศอ้า  เอองค์  

บ่ มีใครคง  คู่รอ
้ น 

จักริจักเริมรงค์  ลุ แล้วแฮ  

พระจักขุน
่ จักข้อน  จักแค้นคับทรวง 

พระคุณตวงเพียบพืน  ภูวดล  

เต็มตรลอดแหล่งบน  บ่อนใต้ 

พระเกิดพระก่อชนม์  ชุบชีพ มานา  

เกรง บ่ ทันลูกได้  กลับเต้าตอบสนอง 

บทประพันธ์ขา้ งต้นแสดงให้เห็นถึงความกตัญ ูของพระมหาอุปราชา โดยพระองค์ได้คราครวญถึง

พระบิดาทีอาจจะต้องขาดคู่คิดในการทําสงคราม ซึงพระองค์ไม่สามารถแสดงความกตัญ ูและตอบแทนพระ

บิดาได้ นอกจากนี ในบทอืนๆได้กล่าวไว้ว่าพระองค์เปนผูท


้ ีมีพระทัยอ่อนไหว และมีขต
ั ติยมานะ หรือการ

ถือตัวว่าเปนกษัตริย ์

   


1.4 ฉากท้องเรือง 

ฉากท้องเรืองในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายนันถูกอ้างอิงจากสถานทีจริง ซึงเปนเหตุการณ์ทีเกิดในพม่า 

และระหว่างการเดินทางของมหาอุปราชา และกองทัพจากพม่าไปกาญจนบุรี ซึงรวมถึงช่วงทีทํายุทธหัตถีของ

พระนเรศวรมหาราช และพระมหาอุปราชา ผูป


้ ระพันธ์ได้เล่าถึงบรรยากาศ ฉาก และสถานทีได้อย่างสมจริง 

เช่น 

ล่วงลุด่านเจดีย์ สามองค์มแ
ี ห่งหัน  

แดนต่อแดนกันนัน เพือรูร้ าวทา  

บทประพันธ์ขา้ งต้นได้กล่าวถึงการเดินทางผ่านกาญจนบุรซ
ี งมี
ึ ด่านเจดียท
์ ังหมดสามองค์ด้วยกัน โดย

เนือเรืองนันได้กล่าวเสมือนจริงตามแหล่งทีตังของกาญจนบุรใี นปจจุบน
ั  

โดยมีฉากท้องเรืองทังหมดดังนี 

● กรุงหงสาวดี เมืองหลวงของพม่า 

● อยุธยา เมืองหลวงของไทย 

● พลับพลาค่ายหลวง ตําบลปาโมก ทีพระนเรศวรทรงพระสุบน


ิ  

● ด่านเจดียส
์ ามองค์ เขตแดนระหว่างไทยกับพม่า อําเภอสังขละบุรี กาญจนบุร ี

● กาญจนบุรี เมืองหน้าด่านของไทยทีพระมหาอุปราชายกทัพเข้ามาก่อน 

● ตําบลตระพังตรุ สุพรรณบุรี ทีพระนเรศวรทรงทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา 

   


1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 

บทรําพึงรําพันของพระมหาอุปราซาถึงนาง    

มาเดียวเปลียวอกอ้า  อายสู 

สถิตอยูเ่ อ้องค์ด ู ละห้อย 

พิศโพ้นพฤกษ์พบู  บานเบิก ใจนา 

พลางคะนึงนุซน้อย  แน่งเนือนวลสงวน 

สลัดไดใดสลัดบ้อง  แหนงนอน ไพร  

เพราะเพือมาราญรอน  เศิกไสร้ 

สละสละสมร  เสมอชือ ไม้นา 

นึกระกํานามไม้  แม่นแม้นทรวงเรียม 

สายหยุดหยุดกลินฟุง  ยามสาย 

สายบ่หยุดเสน่หห
์ าย  ห่างเศร้า 

กีคืนกีวันวาย  วางเทวษ ราแม่ 

ถวิลทุกขวบคาเช้า  หยุดได้ฉน
ั ใด 

ฯลฯ 

   


คําประพันธ์ทีกล่าวถึงคือส่วนหนึงของบทพรรณนาการเดินทางเมือครังทีพระมหาอุปราชาต้องพราก

จากนางสนมเพือไปตีกรุงศรีอยุธยา บทนิราศนีบ่งบอกถึงความเศร้า ความรัก ความคิดถึง ห่วงใย อาลัยอาวรณ์ 

ทีพระมหาอุปราชามีต่อนางสนมของพระองค์ ผูป
้ ระพันธ์นาํ สิงทีพบเห็นระหว่างทางในธรรมชาติมาประพันธ์

และโยงกับความรูส
้ ก
ึ ของพระมหาอุปราชา รวมถึงมีการเล่นคําซา และใช้คําถามเชิงวาทศิลปเพือเน้นอารมณ์

ทีต้องการสือ 

1.6 แก่นเรืองหรือสารัตถะของเรือง 

ผูป
้ ระพันธ์บทลิลิตตะเลงพ่ายพึงทีจะสะท้อนถึงความรักชาติ ความกล้าหาญ และความเสียสละ ของ

บรรพบุรุษไทย นอกเหนือจากนี ผูอ


้ ่านยังสามารถตระหนักถึงพระราชภารกิจของกษัตริยไ์ ทยในสมัยทีมี

สงครามเพือปกปองอธิปไตย และบ้านเมืองให้อยูอ
่ ย่างสงบร่มเย็นต่อไป วรรณคดีเรืองนีจึงถูกนํามาใข้สร้าง

กําลังใจให้ชาวไทยรักและเทิดทูนแผ่นดินของตนมากยิงขึน 

   


2.​ ​การอ่านและพิจารณาเนือหาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 

2.1 สรรคํา 

2.1.1 การใช้คําทีเหมาะกับเนือเรืองและฐานะของบุคคล 

เบืองนันนฤนาถผู้ สยามินทร์ 

เบียงพระมาลาผิน ห่อนพ้อง 

ศัสตราวุธอรินทร์    ฤาถูก องค์เอย 

เพราะพระหัตถ์หากปอง ปดด้วยขอทรง 

ในโคลงบทนี ผูแ
้ ต่งเลือกใช้คําทีฟงแล้วไพเราะ และมีลักษณะทีดูแล้วเปนคําราชาศัพท์ทีไม่ค่อยนิยม

ใช้ เนืองจากเปนบทประพันธ์นนเอ่
ั ยถึงพระมหากษัตริย์ การทีผูแ
้ ต่งใส่ใจในรายละเอียดจุดนีทําให้ผอ
ู้ ่านเห็น

ภาพได้ชด
ั เจนและอ่อนไหวไปตามเนือความ  

คําทีถูกนํามาใช้แทนคําทีเรามักคุ้นหู ได้แก่ 

นฤนาถ  หมายถึง กษัตริย ์  

สยามินทร์  หมายถึง กษัตริยแ


์ ห่งสยาม  

พระมาลา  หมายถึง  หมวก  

พระหัตถ์  หมายถึง มือ  

   

10 
2.1.2 การใช้คําโดยคํานึงถึงเสียง  

2.1.2.1 ใช้คําสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะในทุกบทและมีบางบททีแทบทังวรรคมีคําสัมผัส

พยัญชนะ ตัวอย่าง เช่น  

กรตระกองกอดแก้ว เรียมจักร้างรสแคล้ว  

คลาดเคล้าคลาสมร  

จําใจจรจําจากสร้อย อยูแ
่ ม่อย่าละห้อย  

ห่อนช้าคืนสม แม่แล   

2.1.2.2 ใช้คําทีเลียนเสียงสิงธรรมชาติ ตัวอย่าง เช่น “….เจ้าพระยาไชยานุภาพ เจ้าพระยาปราบไตร

จักร ตรับตระหนักสําเนียง เสียงฆ้องกลองปนศึก อึกเอิกก้องกาหล เร่งคํารนเรียกมัน ชันหู ชูหางเล่น แปร้น

แปร๋แลคะไขว่.”  

2.1.2.3 ใช้คําอัพภาส คําอัพภาส หมายถึง คําทีมีเสียงสระอะ เพือซาตัวอักษรนําของคําศัพท์เพือ

ความพ้องเสียงอย่างไพเราะ ตัวอย่าง เช่น “…สาดปนไฟยะแย้ง แผลงปนพิษยะยุง่ พุง่ หอกใหญ่คะคว้าง ขว้าง

หอกซัดคะไขว่ไล่คะคลุกบุก บัน เงือดาบฟนฉะฉาด ง่าง้าวฝาดฉะฉับ…” 

2.1.3  การใช้คําพ้องเสียง และคําซา สร้างความน่าสนใจแก่บทประพันธ์จากการนําคําพ้องความหมาย

มารวมกัน  เพือสร้างอารมณ์อ่อนไหวให้ผอ
ู้ ่านด้วยการเปรยว่า  ดอกสายหยุดตอนบ่ายก็หยุดส่งกลิน  แต่ความ

รักนันถึงบ่ายแล้วก็ยงั ไม่หยุด  

สายหยุดหยุดกลินฟุง ยามสาย 

สายบ่หยุดเสน่หห
์ าย ห่างเศร้า 

กีคืนกีวันวาย วางเทวษ ราแม่ 

ถวิลทุกขวบคาเช้า หยุดได้ฉน
ั ใด 

11 
2.2 การเรียบเรียงคํา 

ผูป
้ ระพันธ์ได้มก
ี ารสรรคําและนําคํามาเรียบเรียงในทางทีทําให้เกิดอารมณ์คล้อยตามกับฉากทีกําลัง

เกิดขึน ตัวอย่างของหนึงในกลวิธก
ี ารเรียบเรียงคือเรียบเรียงประโยคให้เนือหาเข้มข้นขึนไปตามลําดับดุจขัน

บันไดจนถึงขันสุดท้ายทีสําคัญทีสุด เห็นได้จากบทประพันธ์ในตอนยุทธหัตถี และชัยชนะของไทย 

พลอยพลาเพลียกถ้าท่าน  ในรณ 

บัดราชฟาดแสงพล-  พ่ายฟอน 

พระเดชพระแสดงดล เผด็จคู่ เข็ญแฮ 

ถนัดพระอังสาข้อน  ขาดด้าวโดยขวา 

อุรารานร้าวแยก  ยลสยบ 

เอนพระองค์ลงทบ  ท่าวดิน 

เหนือคอคชซอนซบ  สังเวช 

วายชิวาตม์สด
ุ สิน  สูฟ
่ าเสวยสวรรค์ 

ลิลิตตะเลงพ่ายเปนการประพันธ์แบบลิลิตสุภาพ ซึงประกอบด้วย ร่ายสุภาพ และโคลงสุภาพ โดย

สามารถแบ่งได้เปนโคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงสีสุภาพ โดยบทประพันธ์นมี


ี การใช้ทังสามรูปแบบแต่

ได้แต่งสลับกันเพือให้เกิดการเชือมสัมผัสอยูเ่ รือยๆ 

   

12 
ร่ายสุภาพ 

ร่ายสุภาพ คือร่ายทีมีอย่างตา ๕ วรรคต่อ ๑ บท แต่ละวรรคมีทังหมด ๕ คํา วรรคหน้าจะสัมผัสกับคํา

ที ๑ ๒ และ ๓ ของวรรคถัดไป ซึงโคลงสองสุภาพจะถูกใช้ในตอนจบ 

ตัวอย่าง  

ศรีสวัสดิเดชะ ชนะราชอรินทรี ยินพระยศเกริกเกรียง เพียงพกแผ่นฟากฟา 

หล้าหล่มเลืองชัยเชวง เกรงพระเกียรติระย่อ ฝอใจห้าวบมิหาญ ลาญใจแกล้วบมิกล้า 

บด้าอาตมีออกรงค์ บคงอาตม์ออกฤทธี ท้าวทัวทิศทัวเทศ ไท้ทก


ุ เขตทุกด้าว 

น้าวมกุฎมานบ น้าวพิภพมานอบ เถลิงพระเกียรติฟงฟา


ุ ลือตรลบแหล่งหล้า 

โลกล้วนสดุดี 

แผนผัง และคําเอกคําโท 

   

13 
โคลงสองสุภาพ 

โคลงสองสุภาพ  คือ  โคลงทีมี  ๓  วรรค  ต่อหนึงบท  โดยสามารถทีจะมีทังหมด  ๕  คํา  ในวรรคที  ๑  และ  ๒  แต่

วรรคที ๓ สามารถมีได้แค่ ๔ คํา รวมกันแล้วจะมี ๑๔ คํา ต่อ ๑ บท และมีคําสร้อยตอนท้ายเพิมได้อีก ๒ คํา 

ตัวอย่าง 

ถับถึงทวารกรุงแก้ว  เดียรดาษพลคลาดแคล้ว 

คลาคล้ายคลาขบวน 

แผนผังคําเอกคําโท 

  

14 
โคลงสามสุภาพ 

โคลงสามสุภาพ คือ โคลงทีมี ๔ วรรค ใน ๑ บท โดยแต่ละวรรคมี ๕ คํา ยกเว้นวรรคสุดท้ายทีมี ๔ คํา ซึงใน

วรรคนีสามารถเติมคําสร้อยได้อีก ๒ คํา 

ตัวอย่าง 

ภูบาลอืนอํานวย  อวยพระพรเลิศล้น 

จงอยุธย์อย่าพ้น  แห่งเงือมมือเทอญ พ่อนา 

แผนผังคําเอกคําโท 

  

15 
 

โคลงสีสุภาพ  

โคลงสีสุภาพ คือ โคลงทีมีทังหมด ๔ บาท ใน ๑ บท โดยแต่ละบาทมี ๒ วรรค ประกอบด้วย ๕ คําในวรรคแรก 

และ ๒ คําในวรรคหลัง ยกเว้นในบาท ๔ ทีมีวรรคหลัง ๔ คํา และในบาทที ๑ และ บทที ๓ มีคําสร้อยเพิมได้

บาทละ ๒ คํา  

ตัวอย่าง 

ไพรินทรนาศเพียง  พลมาร 

พระดังองค์อวตาร แต่กี 

แสนเศิกห่อนหาญราญ  รอฤทธิ พระ  

ดาลตระดกเดชลี  ประลาตหล้าแหล่งสถาน 

แผนผัง และคําเอกคําโท 

   

16 
2.3 การใช้โวหาร 

- อุปมาโวหาร 

ไพรินทรนาศเพียง พลมาร  

พระดังองค์อวตาร แต่กี  

แสนเศิกห่อนหาญราญ รอฤทธิ พระ   

ดาลตระดกเดชลี ประลาตหล้าแหล่งสถาน 

อุปมาโวหาร หมายถึง การเปรียบเทียบสองสิงทีต่างจําพวกกัน โดยสามารถใช้ได้ในหลากหลายรูป

แบบ ทังการเปรียบเทียบโดยการยกตัวอย่าง โยงความคิดระหว่างสองสิง ซาคํา และใช้คําในการเปรียบ เช่น 

เสมือน คล้าย ราว ดัง ดุจ เพียง เปนต้น จากคําประพันธ์ขา้ งต้น สามารถสังเกตในวรรคที ๑ และ ๒ ของ บที ๑ 

ว่ามีคําว่า เพียง และดังมาเพือใช้ในการเปรียบเทียบว่า ข้าศึกศัตรูทีพ่ายแพ้ไปเหมือนพลยักษ์ สมเด็จพระ

นเรศวรก็เหมือน องค์พระนารายณ์อวตารลงมา 

- อติพจน์โวหาร 

พระคุณตวงเพียบพืน  ภูวดล 

เต็มตรลอดแหล่งบน  บ่อนใต้ 

พระเกิดพระก่อชนม์  ขุมชีพ มานา 

เกรง บ่ ทันลูกได้  กลับเด้าตอบสนอง 

   

17 
อติพจน่โวหาร  หมายถึง  โวหารทีมีการกล่าว  หรือเปรียบเทียบอย่างเกินจริง  โดยจะเน้นการแสดง

ความรูส
้ ก
ึ ให้กลมกลืน  เพือทีจะดึงดูดความสนใจจากผูอ
้ ่านได้เปนอย่างดี  โดยบทประพันธ์ขา้ งต้นได้กล่าวเกิน

จริงเกียวกับการเจรจาระหว่างพระมหาอุปราชากับพระเจ้านันทบุเรง  ซึงคือพระราซบิดา  กล่าวว่าพระคุณของ

บิดานีนมีมากกว่าผืนแผ่นดิน และยิงใหญ่กว่าสวรรค์ขนฟาหรื
ั อบาดาล 

- อุปลักษณ์โวหาร 

หัสดินปนธเรศไท้ โททรง 

คือสมิทธิมาตงค์ หนึงอ้าง 

หนึงคือคิรเิ มขล์มง คลอาสน์ มารเอย 

เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม 

อุปลักษณ์โวหาร คือ การเปรียบเทียบสิงหนึงเปนอีกสิงหนึง โดย “คือ” และ “เปน” มักใช้ในการ

เปรียบเทียบ เพือแสดงให้เห็นถึงคุณสมบัติระหว่างสองสิง ซึงโวหารนีจะทําให้ภาษากระชับมากยิงขึน โดยใน

บทประพันธ์นกล่
ี าวถึงการเปรียบเทียบช้างทรงของพระนเรศวรมหาราชเปนช้างสมิทธิมาตงค์ของพระอินทร์ 

พระมหาอุปราชาเปนช้างคิรเิ มขล์ของพญาวสวัตดีมาร 

   

18 
3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าใบวรรณคดีและวรรณกรรม 

3.1 คุณค่าด้านอารมณ์ 

ตัวอย่างเซ่น 

มาเดียวเปลียวอกอ้า  อายสู 

สถิตอยูเ่ อ้องค์ด ู ละห้อย 

พิศโพ้นพฤกษ์พบู  บานเบิก ใจนา 

พลางคะนึงนุชน้อย  แน่งเนือนวลสงวน 

เนืองจากพระมหาอุปราชาจําเปนต้องจําใจยกทัพมาต่อสูก
้ ับไทย เพราะคําสังของพระเจ้าหงสาวดี จึง

เกิดบทประพันธ์นขึ
ี น ซึงสือถึงอารมณ์รก
ั คิดถึงและอาลัย ทีต้องจากพรากกับพระสนมมาอยูต
่ ่างเมืองเปน

เวลานาน บทนีพยายามอธิบายถึงความรูส
้ ก
ึ ของพระมหาอุปราชาและก่อให้ผอ
ู็ ่านเกิดความรูส
้ ก
ึ ร่วมกัน 

3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม 

ในเรืองนีสือถึงคุณธรมมในด้านความกตัญ ูในหลายๆด้าน  ทังความกตัญ ูต่อพระบิดา  และความ

กตัญ ูต่อบ้านเมืองของตนทีจะต้องดูแลและรักษาไว้  นอกจากนียังมีการสือถึงความซือสัตย์ของทหารและขุน

กรีทีช่วยกันปกปองบ้านเมืองตัวเอง  ไม่มใี ครคิดทรยศเลย  ดังเช่นตัวอย่างทีมหาอุปราชารําพึงรําพันกับตัวเอง

ดังนี 

   

19 
ณรงค์นเรศด้าว  ดัสกร 

ใครจักอาจออกรอน  รบสู ้

เสียดายแผ่นดินมอญ  มอด ม้วยแฮ 

เหตูบม
่ ม
ี อ
ื ผู ้ อืนต้านทานเข็ญ 

   

20 
3.3 คุณค่าด้านอืน ๆ 

3.3.1 คุณค่าด้านวรรณคิลป 

วรรณคดีเรืองลิลิตตะเลงพ่ายถือเปนหนึงในวรรณคดีทีถูกแต่งขึนมาได้อย่างยอดเยียมเพราะเปนการ

แต่งโดยนําข้อเท็จจริงจากประวัติศาสตร์มาผสมผสานกับความสร้างสรรค์ทีแต่งขึนเองโดยใช้จินตนาการ โดย

การผสมผสานนีเปนการรวมกันอย่างลงตัวทําให้เนือเรืองออกมาสมจริงและน่าอ่าน นอกจากนีในด้านการ

ดําเนินเรืองก็ทําได้ค่อนข้างดี เนืองจากเปนเนือเรืองทีสะเทือนอารมณ์และทําให้ผอ
ู้ ่านรูส
้ ก
ึ ตืนเต้น มีเหตุการณ์

หลายๆช่วงทีสือถึงความเศร้าโศก ความตืนเต้นเร้าใจ และความรืนรมย์ เช่นเหตุการณ์ตอนกวีชมความงาม

ของธรรมชาติทีสือถึงความรืนรมย์ และเหตุการณ์ตอนการทําสงคราม ทีมีการใช่ถ้อยคําทีทําให้รูส


้ ก
ึ ฮึกเหิมดัง

เช่นในกลอนต่อไปนี 

สองโจมสองจู่จ้วง  บํารู 

สองขัตติยสองขอชู  เชิดดา 

กระลึงกระลอกดู  ไวว่อง นักนา 

ควาญขับคชแข่งคา  เข่นเขียวในสนาม ฯ 

   

21 
3.3.2 คุณค่าด้านสังคม 

ในด้านสังคมวรรณคดีนพยายามคงข้
ี อเท็จจริงจากพงศาวดารทังหมดไว้ ทังลายละเอียดต่างๆ จํานวน

ต่างๆ รวมถึงชือของบุคคลและเมืองต่างๆ  

วรรณคดีนยั
ี งมีการสือถึงเรืองการใช้หลักจิตวิทยาในการต่อสูใ้ นสงคราม ยกตัวอย่างเช่น สถานการณ์

ในตอนทีสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระเอกาทศรถถูกสถานการณ์บงั คับให้เข้าไปในวงล้อมของ 

ข้าศึก พระนเรศวรตังสติและใช้สติปญญาอันเฉียบแหลม จากนันจึงเริมจากการกล่าวสรรเสริญความยิงใหญ่

และอํานาจของพระมหาอุปราชา หลังจากนันก็กล่าวเพิมอีกว่าการสูด
้ ้วยยุทธหัตถีนนเปนการละเล่
ั นของ

กษัตริยช
์ าตินก
ั รบ การทําศึกยุทธหัตถีกับ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชครังนีจะต้องถูกเล่าลือไปอีกนานด้วย

ความกล้าหาญของพระอุปราซา เพราะเหตุนพระมหาอุ
ี ปราชาจึงต้องจําใจรับคําท้าและออกไปสูเ้ พือรักษา

ศักดิศรีของตนและเชือสายกษัตริยข
์ องตนเอง โดยเหตุการณ์นแสดงถึ
ี งไหวพริบ และการใช้หลักจิตวิทยาได้

อย่างดีเยียม 

นอกเหนือจากฉากทีกล่าวมาข้างต้น ยังมีฉากทีเปนการขอโทษของเหล่าแม่ทัพทีเดิมทัพตามมาไม่ทัน 

แต่เนืองจากฝงสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเปนฝายชนะสงคราม จึงเหมือนเปนการส่งเสริมให้ชย
ั ชนะครังนียิง

ใหญ่มากขึนเพราะสามารถชนะได้ด้วยตัวคนเดียว สุดท้ายท่านทรงตัดสินใจลดหย่อนการลงโทษให้กับเหล่า

แม่ทัพทังหมด 

ด้วยเหตุผลต่างๆทีได้กล่าวมา วรรณคดีเรืองนีจึงเปนวรรณคดียอดนิยมของคนไทย และเปนวรรณคดี

ทีใช้ปลุกความรักชาติในตัวคนไทยทีอ่อน นอกจากนียังมีการนําไปใช้ในสือการสอนต่างๆอีกด้วย 

   

22 
บรรณาบุกรม 

กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวง. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน. หนังสือเรียน รายวิชาพีน


ฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์ ขันมัธยมศึกษาปที ๕. ลาดพร้าว : โรงพิมพ์ สกลค. ๒๕๕๑. ๑๓๑ หน้า 

ชนิดา ฉิมนาคพันธ์. ลิลิตตะเลงพ่าย [ออนไลน์]. 

เข้าถึงเมือวันที ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒. สืบค้นได้จาก 


https://sites.google.com/site/lilittalengphay8​ 8/3-laksna-kha-praphanth 

jasminebow. ​คณุ ค่าทีได้รบั จากเรืองลิลิตตะเลงพ่าย [ออนไลน์]. 


เข้าถึงเมือวันที ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒. สืบค้นได้จาก ​https://literaturethai.wordpress.com/
2012/07/01/คุณค่าทีไค้รบ ั จากเรื-4/ 

kruaphichitblog. ​วิเคราะห์ลิลิตตะเลงพ่าย [ออนไลน์]. 

เข้าถึงเมือวันที ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๒. สืบค้นได้จาก 


https://teachertonthai.wordpress.com/2017/10/28/first-blog-post/ 

23 

You might also like