Armed Force

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

ACADEMIC TALK

ความร่วมมือทางทหารระหว่างประเทศ
(กองทัพอาเซียน)
International Military Cooperation
(Asean Defence)
พลเรือตรี สุรพงศ์ เจริญวัฒนสุข
รองเจ้ากรมส่งก�ำลังบ�ำรุงทหาร
Rear Admiral Surapong Charoenwadhanasuk RTN
Deputy Director of Joint Logistics
E-mail: Surapong.ch@thaindc.org
บทคัดย่อ
“อาเซียน” เป็นองค์กรความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของกลุ่มประเทศ
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึง่ ผูน้ �ำของสมาชิกประเทศในอาเซียนพยายามทีจ่ ะขีดจ�ำกัดตัวเองในบาง
ครั้งว่า “จะไม่ให้องค์กรก้าวข้ามไปสู่การเป็นองค์กรของความร่วมมือทางการทหาร” เหมือนอย่าง
ที่ซีโต้ (องค์การสนธิสัญญาป้องกันภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) เคยก่อตั้งไว้ แต่หลังจากการ
เปลีย่ นแปลงระบอบการปกครองของประเทศในอินโดจีนในปี 2518 พร้อมกับการถอนตัวของสหรัฐฯ
ออกจากแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปี 2519 ท�ำให้มกี ารพูดคุยกันถึงความเป็นไปได้
ของความร่วมมือทางทหารของประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนเพิ่มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม สิ่งเหล่านี้
ก็มไิ ด้หมายความว่าจะท�ำให้อาเซียนกลายเป็นองค์กรของความร่วมมือทางทหารขึน้ มาได้ตามอิทธิพล
ทางการเมืองในอดีตที่เกิดขึ้น ซึ่งบทความนี้จะพยายามท�ำการส�ำรวจถึงประเด็นและปัญหาของ
ความร่วมมือทางทหารของอาเซียน เพื่อมุ่งที่จะท�ำความเข้าใจแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และ
ปัญหาของความร่วมมือทางทหารที่จะเป็นประเด็นใหญ่ประเด็นหนึ่งซึ่งจะส่งผลกระทบต่อปัญหา
และนโยบายความมั่นคงของไทย ในระยะเวลาข้างหน้าหลังการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยสมบูรณ์
ในปี 2558

ค�ำส�ำคัญ: อาเซียน, กองทัพอาเซียน, องค์การสนธิสัญญาร่วมระหว่างประเทศ

72 รัฏฐาภิรักษ์ วารสารราย 4 เดือน ปีที่ 61 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562


ABSTRACT

“Asean” is an organisation of economic, social and cultural cooperation of


southeast asian countries. The leaders of ASEAN member countries try to limit
themselves at times. “it will not allow the organisation to step into the organisation of military
cooperation.” (East asia treaty organisation). But after the change of regime in Indochina
in 1975 and the withdrawal of the US from the mainland of southeast Asia in 1976, there
has been talk of the possibility of greater military cooperation among ASEAN members.
However these things do not mean that. Asean will become an organisation of military
cooperation. According to the political influence of the past. This article will attempt
to explore these issues and issues of ASEAN military cooperation. To aim to understand
the future trends and the issue of military cooperation. This will be a big issue which
will affect the problems and security policy of Thailand. In the next period after the
entry into the ASEAN community by 2015.

7373
The National Defence College of Thailand Journal Vol. 61 No. 1 January-April 2019
บทน�ำ

สมาคมอาเซียนก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2510 โดยมี โจรสลัดในช่องแคบมะละกา ปัญหาการก่อการร้าย หรือ


จุดประสงค์หลักคือ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกัน ปัญหาด้านสาธารณภัย ทั้งภัยพิบัติที่เกิดจากน�้ำมือของ
ระหว่างประเทศในภูมภิ าค ธ�ำรงไว้ซงึ่ สันติภาพ เสถียรภาพ มนุษย์และภัยพิบัติที่เกิดจากธรรมชาติ ตลอดจนภารกิจ
และความมั่นคงทางการเมือง สร้างสรรค์ความเจริญทาง ทางทหารอืน่ ๆ ทีน่ อกเหนือจากการสงคราม หรือ MOOTW
ด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การกิน (Military Operations Other Than War) นอกจากนี้
ดีอยูด่ บี นพืน้ ฐานของความเสมอภาค และผลประโยชน์รว่ ม ก�ำลังทหารของอาเซียนจะถูกน�ำไปใช้ในการจัดการด้าน
กันของประเทศสมาชิก แรกเริ่มการก่อตั้งมีสมาชิก 5 ความมั่นคงนอกภูมิภาคที่มีผลประโยชน์ของอาเซียน
ประเทศ ประกอบด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ทับซ้อนอยู่ เช่น ภารกิจการรักษาสันติภาพภายใต้กรอบ
สิงคโปร์ และไทย ต่อมาประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียง ของสหประชาชาติ หรืออาจเป็นกรอบของอาเซียนเองใน
ใต้ที่เหลือคือ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม และบรูไน ได้ อนาคต รวมไปถึงภารกิจการปราบปรามโจรสลัดในโซมาเลีย
เข้าร่วมเป็นสมาชิกด้วย ปัจจุบนั มีสมาชิกรวม 10 ประเทศ เป็นต้น จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าบทบาทกองทัพ
และในอนาคตอันใกล้อาจมีติมอร์-เลสเตหรือติมอร์ตะวัน ของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนจะถูกท�ำให้เปลี่ยนไป ไม่
ออกเป็นสมาชิกเพิม่ อีก 1 ประเทศ (ขณะนีย้ งั เป็นประเทศ ว่าจะด้วยความเต็มใจหรือไม่ก็ตาม กองทัพจะถูกท�ำให้มี
ที่เรียกว่าผู้สังเกตการณ์) สมาคมอาเซียนมีส�ำนักงานใหญ่ ความเป็น “สากล” หรือที่ ศ.ดร.สุรชาติ บ�ำรุงสุข ให้ค�ำ
อยู่ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีนายลิม จ๊อก จ�ำกัดความว่า “ต่อไปกองทัพจะต้อง Go Inter นายทหาร
ฮอย เป็นเลขาธิการคนปัจจุบัน และเป็นที่ทราบกันโดย ทั้งระดับสัญญาบัตรและประทวนจะต้องมีความรู้ ความ
ทั่วไปว่าประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ สามารถด้านภาษาอังกฤษในระดับทีส่ ามารถปฏิบตั งิ านร่วม
อาเซียน ได้ตงั้ เป้าไว้วา่ จะรวมตัวกันเป็นประชาคมเดียวกัน กับทหารชาติอาเซียนอื่น ๆ ได้ นายทหารฝ่ายเสนาธิการ
ในปี พ.ศ. 2558 โดยการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน (ASEAN จะต้องเรียนรูแ้ นวคิดและหลักนิยมของกองทัพอาเซียนเป็น
Community) หรือ ASEAN 2015 ซึ่งประกอบไปด้วย 3 หลัก นอกจากแนวคิดและหลักนิยมของกองทัพประเทศ
เสาหลักคือ เสาประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ตนเพียงกองทัพเดียว ระบบอาวุธยุทโธปกรณ์ของอาเซียน
(ASEAN Political and Security Community - APSC) จะถูกหลอมรวมให้เป็นระบบทีส่ ามารถเชือ่ มต่อถึงกันและ
เสาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic สามารถทดแทนกันได้เมื่อจ�ำเป็น ในขณะเดียวกันผู้บังคับ
Community - AEC) และเสาประชาสังคมและวัฒนธรรม บัญชาระดับสูงของกองทัพประเทศสมาชิกอาเซียนต้อง
อาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community - ASCC) ปรับตัวและเรียนรู้ที่จะเป็นผู้สั่งการและบังคับบัญชา
จะเห็นได้วา่ เมือ่ มีการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน หน่วยต่าง ๆ ที่มาจากประเทศสมาชิก เหมือนเมื่อครั้งที่
เกิดขึ้นกองทัพจะรวมตัวกันเป็นหนึ่งเดียว ซึ่งอาจจะเรียก พล.อ.ทรงกิตติ จักกาบาตร์, พล.อ.บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์
ว่า “กองทัพอาเซียน” ภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่าง อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ พล.อ.วินัย ภัททิยกุล
ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน ความขัดแย้งทางทหาร อดีตปลัดกระทรวงกลาโหม เคยกระท�ำมาแล้วในภารกิจ
บริเวณแนวชายแดนจะลดลง หรือหากจะเกิดขึ้นก็จะถูก รองผู้บัญชาการกองก�ำลังนานาชาติ และผู้บัญชาการกอง
จ�ำกัดขอบเขตให้เป็นความขัดแย้งในระดับพืน้ ที่ ก�ำลังทหาร ก�ำลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ (FC: Forces
ของอาเซียนจะถูกน�ำมาใช้เสมือนกองก�ำลังเฉพาะกิจในการ Commander) สิง่ ต่าง ๆ เหล่านี้นับเป็นความท้าทายที่
จัดการปัญหาภายในอาเซียนเอง ไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้าน กองทัพกลุม่ ประเทศสมาชิกอาเซียน จะต้องเผชิญในอนาคต
ความมั่นคงตามแนวชายแดนของประเทศสมาชิก ปัญหา อันใกล้นี้ โดยเฉพาะเมื่อเงื่อนเวลาของการรวมตัวเป็น

74 รัฏฐาภิรักษ์ วารสารราย 4 เดือน ปีที่ 61 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562


ประชาคมอาเซียน และเงื่อนเวลาของภัยคุกคามรูปแบบ รูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี
ใหม่ถูกน�ำมาผูกยึดติดกัน กองทัพยิ่งต้องเร่งระดมสรรพ สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้อย่างสะดวกมาก
ก�ำลังและเตรียมก�ำลังพลให้พร้อมที่จะเผชิญกับความ ยิ่งขึ้น และสมาชิกในชุมชนมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอัน
เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น เพื่อเป็น “กองทัพอาเซียน” อัน เดียวกัน
ทรงประสิทธิภาพและมีศกั ยภาพในการร่วมกันพิทกั ษ์รกั ษา ความเป็นมาของอาเซียน
ผลประโยชน์ของประเทศสมาชิกและพร้อมทีจ่ ะก้าวเดินไป สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ด้วยกันในการเผชิญหน้าท้าทายกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN)
ต่าง ๆ ทีน่ บั วันจะทวีความรุนแรงมากขึน้ เรือ่ ย ๆ ในอนาคต ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration)
ดังค�ำขวัญของอาเซียนทีว่ า่ “หนึง่ วิสยั ทัศน์ หนึง่ อัตลักษณ์ หรือปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) เมื่อวันที่ 8
หนึ่งประชาคม” (One Vision, One Identity, One สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศสมาชิก 5 ประเทศ ประกอบ
Community)” ด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ และไทย เพือ่
ในส่วนกองทัพของประเทศไทยนัน้ กระทรวงกลาโหม ส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
เป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักหน่วยงานหนึ่งในความร่วม ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ต่อมา
มือด้านความมั่นคง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งใน 3 เสาหลักของ มีประเทศสมาชิกเพิ่มเติม ได้แก่ บรูไน เวียดนาม ลาว
ประชาคมอาเซียนนั่นคือ เสาหลักด้านประชาคมการเมือง เมียนมา และกัมพูชา ตามล�ำดับ จึงท�ำให้ปัจจุบันอาเซียน
และความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political - Security มีสมาชิก 10 ประเทศ
Community: APSC) ที่ได้จัดท�ำแผนงานการจัดตั้ง อาเซียนสูก่ ารเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558
ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (APSC ปัจจุบนั บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวม
Blueprint) โดยได้ก�ำหนดกรอบความร่วมมือไว้ในด้าน ทั้งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้เปลี่ยนแปลงไปเป็น
ต่าง ๆ ซึ่งประกอบไปด้วย 1. ด้านความมั่นคงทางทะเล อย่างมาก ท�ำให้อาเซียนต้องเผชิญสิ่งท้าทายใหม่ ๆ อาทิ
(Maritime Security) 2. การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ โรคระบาด การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์
(Peacekeeping Operations) 3. การให้ความช่วยเหลือ สิง่ แวดล้อม ภัยพิบตั ิ อีกทัง้ ยังมีความจ�ำเป็นต้องรวมตัวกัน
ด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ิ (Humanitarian เพือ่ เพิม่ อ�ำนาจต่อรองและขีดความสามารถทางการแข่งขัน
Assistance and Disaster Relief) 4. การแพทย์ทหาร กับประเทศในภูมภิ าคใกล้เคียงและในเวทีระหว่างประเทศ
(Military Medicine) 5. การต่อต้านการก่อการร้ายสากล ผู้น�ำอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่าอาเซียนควรจะร่วมมือกันให้
(Counter-Terrorism) ซึ่งกรอบความร่วมมือดังกล่าวนั้น เหนียวแน่น เข้มแข็ง และมั่นคงยิ่งขึ้น จึงได้ประกาศ
มีความเกี่ยวเนื่องและสอดคล้องกับภารกิจของ “กองทัพ “ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2”
ไทย” ทั้งทางตรงและทางอ้อม ภายใต้การก�ำกับดูแลของ (Declaration of ASEAN Concord II) ซึง่ ก�ำหนดให้มกี าร
กระทรวงกลาโหม ทัง้ นี้ ขึน้ อยูก่ บั ภารกิจทีก่ ระทรวงกลาโหม สร้างประชาคมอาเซียนทีป่ ระกอบไปด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่
จะมอบหมาย โดยในส่วนของกองทัพไทยเองก็ได้มีการ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN
เตรียมความพร้อมกับการด�ำเนินงานและการพัฒนามาตาม Political – Security Community) ประชาคมเศรษฐกิจ
ล�ำดับกว่า 20 ปี จนถึงปัจจุบัน อาเซียน (ASEAN Economic Community) และประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio – Cultural
ประชาคมอาเซียนคืออะไร Community) ภายในปี 2563 ซึ่งต่อมาผู้น�ำอาเซียนได้
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือการ ตกลงให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้แล้วเสร็จเร็วขึ้น
รวมกลุม่ ของประเทศสมาชิกอาเซียนให้เป็นชุมชนทีม่ คี วาม มาเป็นภายในปี 2558 ซึ่งรายละเอียดของเสาหลักทั้ง 3
แข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือกับสิ่งท้าทายทั้ง ด้าน ได้แก่
ด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และภัยคุกคาม

7575
The National Defence College of Thailand Journal Vol. 61 No. 1 January-April 2019
1. ประชาคมการเมืองและความมั่นคง (ASEAN ประโยชน์ที่ไทยจะได้รับจากประชาคมอาเซียน
Political – Security Community) อาเซียนมุ่งส่งเสริม 1. ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพ
ความร่วมมือในด้านการเมืองและความมัน่ คงเพือ่ เสริมสร้าง ขั้นพื้นฐาน ป้องกันความขัดแย้งและสร้างความไว้เนื้อ
และธ�ำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค และ เชื่อใจระหว่างประเทศสมาชิก ธ�ำรงสันติภาพในภูมิภาค
ท�ำให้ประเทศในภูมิภาคอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขสามารถ และมีกลไกในการควบคุมการท�ำงานของภาครัฐให้มคี วาม
แก้ปัญหาและความขัดแย้งโดยสันติวิธี โปร่งใสยิ่งขึ้น โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความ
คุณลักษณะของประชาคมการเมืองและความมั่นคง คิดเห็นและร่วมแก้ไขปัญหาต่าง ๆ มากขึ้น
อาเซียน 2. อุปสรรคทางการค้าจะลดลงหรือหมดไป ท�ำให้ไทย
- มีกฎกติกาเป็นพื้นฐานภายใต้ค่านิยมร่วมกัน สามารถขยายการส่งออกสินค้าไปยังสมาชิกกลุ่มอาเซียน
- ความเป็นเอกภาพ มีความสงบสุข มีความแข็งแกร่ง และการรวมเป็นตลาดเดียวกันจะช่วยดึงดูดการลงทุนจาก
และมีความรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงที่ ต่างประเทศ อีกทั้งการคมนาคมและการขนส่งระหว่าง
ครอบคลุมอย่างรอบด้าน ประเทศจะมีความสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
- มีพลวัตและมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศนอกอาเซียน 3. ประชาชนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ปัญหาความยากจนจะลดลง โดยสามารถเข้าถึงโอกาส
2. ประชาคมเศรษฐกิ จ (ASEAN Economic ทางการศึกษาได้อย่างทั่วถึง มีสวัสดิการทางสังคมที่มั่นคง
Community) อาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจ และมีสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น
อาเซียนโดยมีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นตลาดและฐานการ
ผลิตเดียว มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน และ ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
แรงงานฝีมืออย่างเสรี รวมทั้งการเคลื่อนย้ายเงินทุนที่เสรี กับงานด้านความมั่นคง
ยิ่งขึ้น เสาหลักด้านการเมืองและความมั่นคง ซึ่งมีกระทรวง
คุณลักษณะของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กลาโหมเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ มีเครื่องมือหลักคือ
- เป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน “คณะกรรมการด�ำเนินการเพื่อจัดตั้งประชาคมการเมือง
- มีขีดความสามารถสูงในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ และความมัน่ คงอาเซียน” ซึง่ เป็นผูก้ �ำหนดยุทธศาสตร์ของ
- มีพัฒนาการทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน ไทย เพื่อเตรียมความพร้อมส�ำหรับการจัดตั้งประชาคม
- สามารถบูรณาการเข้ากับระบบเศรษฐกิจโลก การเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 นอกจาก
นี้ยังมีกลไกส�ำคัญอีกกลไกหนึ่งคือ “การประชุมรัฐมนตรี
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio กลาโหมอาเซียน” หรือ ADMM (ASEAN Defense
Cultural Community) มุง่ หวังประโยชน์จากการรวมกัน Ministers Meeting) และ “การประชุมรัฐมนตรีกลาโหม
เพื่อท�ำให้ประชาชนมีการอยู่ดีกินดี ปราศจากโรคภัย อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา “หรือ ADMM-Plus ซึ่งมี
ไข้เจ็บ มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่ง ประเทศสมาชิกประกอบด้วย สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ
อันเดียวกัน เอื้ออาทรและแบ่งปันกัน และประเทศคู่เจรจา 8 ประเทศคือ สหรัฐฯ จีน รัสเซีย
คุณลักษณะของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ที่ได้
- การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีการก�ำหนดหัวข้อในความร่วมมือเพื่อเตรียมการเป็น
- การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม ประชาคมอาเซียนไว้ 5 ด้าน ในการประชุม ADMM-Plus
- ความยุติธรรมและสิทธิ ครัง้ แรกทีก่ รุงฮานอย ประเทศเวียดนาม เมือ่ ปี พ.ศ. 2553
- การส่งเสริมความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย
- การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน 1. ด้านความมั่นคงทางทะเล (Maritime Security)
- การลดช่องว่างทางการพัฒนา 2. การปฏิบัติการรักษาสันติภาพ (Peacekeeping

76 รัฏฐาภิรักษ์ วารสารราย 4 เดือน ปีที่ 61 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562


Operations) สิงคโปร์และบรูไน ในขณะเดียวกันก็มปี ระเทศสมาชิกทีม่ ี
3. การให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการ ประชากรยากจนอย่างมากด้วยเช่นกัน ความเหลือ่ มลำ�้ ทาง
บรรเทาภัยพิบตั ิ (Humanitarian Assistance Anddisaster เศรษฐกิจนี้เองที่จะท�ำให้เกิดการหลั่งไหลและการเคลื่อน
Relief) ย้ายของประชากรจากประเทศสมาชิกทีย่ ากจนไปสูป่ ระเทศ
4. การแพทย์ทหาร (Military Medicine) สมาชิกที่ร�่ำรวยเพื่อแสวงหาชีวิตและโอกาสที่ดีกว่า การ
5.การต่อต้านการก่อการร้ายสากล (Counter- อพยพโยกย้ายถิ่นฐานครั้งใหญ่นี้จะท�ำให้เกิดปัญหาความ
Terrorism) มั่นคงของมนุษย์มากมาย ทั้งปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ
ในปัจจุบนั กระทรวงกลาโหมของไทยก�ำลังปรับตัวปรับ ปัญหาการขยายตัวของเครือข่ายก่อการร้ายสากล ปัญหา
องค์กร เช่น จัดตั้งกองอาเซียน ส�ำนักงานนโยบายและ ยาเสพติด ปัญหาการก่อก�ำเนิดของกลุม่ แก๊งอิทธิพลเหนือ
ยุทธศาสตร์ ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม เป็นต้น ตลอด ชนชาติของตนในดินแดนประเทศอืน่ เหมือนเช่นทีเ่ คยเกิด
จนปรับแผนงาน โครงการต่าง ๆ เพือ่ เตรียมความพร้อมใน ขึน้ ในสหภาพยุโรป อันส่งผลให้กลุม่ มาเฟียจากยุโรปตะวัน
การก้าวเข้าสูค่ วามเป็นกลาโหมอาเซียน เช่น พัฒนาการฝึก ออกเข้าไปแผ่ขยายอิทธิพลในยุโรปตะวันตก หรือกรณีกลุม่
และศึกษาของก�ำลังพลในกองทัพในด้านการใช้ภาษา “โรฮิงญา” (Rohingya) ที่ก�ำลังเป็นปัญหาอยู่ในปัจจุบัน
อังกฤษและภาษาของชาติในอาเซียน ตลอดจนบูรณาการ นอกจากนี้ยังมีปัญหาการค้ามนุษย์ที่สามารถกระท�ำได้
แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี ของกระทรวงกลาโหมและหน่วย ง่ายขึน้ เมือ่ เส้นแบ่งเขตแดนของประเทศสมาชิกอาเซียนได้
ขึ้นตรงให้สามารถรองรับภารกิจและความรับผิดชอบเมื่อ จางหายไปกับความเป็นประชาคมอาเซียน ปัญหาด้าน
มีการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียน นอกจากนี้ยังมีการ สาธารณสุขเป็นภัยด้านความมั่นคงของมนุษย์ที่จะต้อง
บูรณาการกิจกรรมต่าง ๆ ของกองทัพอาเซียนที่ได้มีการ จับตามองเช่นกัน เพราะประชาชนผู้โยกย้ายถิ่นฐาน
จัดท�ำไว้อยู่แล้ว เช่น การประชุมผู้บัญชาการทหารสูงสุด เหล่านี้จะน�ำโรคภัยไข้เจ็บนานาชนิดติดตัวไปยังประเทศ
อาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ (ACDFIM: ASEAN Chief of อืน่ รวมไปถึงการก่อมลภาวะทางสาธารณสุขขึน้ ในประเทศ
Defense Forces Informal Meeting) การแข่งยิงปืน ทีต่ นอพยพไปอยูอ่ นั เนือ่ งมาจากความยากจนและด้อยการ
อาเซียน การประชุมเจ้ากรมข่าวทหารอาเซียนอย่างไม่เป็น ศึกษา เช่น การก�ำเนิดสลัมใหม่ ๆ ขึ้นในชุมชนเมือง การ
ทางการ เป็นต้น ละเลยสุขภาพ ตลอดจนสุขอนามัยจนอาจก่อให้เกิดโรค
ในเวลานี้จึงเกิดค�ำถามขึ้นมาว่า ภัยด้านความมั่นคง ระบาดครัง้ ใหญ่ขนึ้ ในทศวรรษหน้าได้ เช่น การแพร่ระบาด
ของประชาคมอาเซียนมีอะไรบ้าง แล้วกองทัพอาเซียนจะ ของไข้หวัดนกทีอ่ าจกลับมาสูก่ ลุม่ ประเทศอาเซียนอีกครัง้
ต้องเตรียมความพร้อมอย่างไรเพื่อรับมือกับสิ่งดังกล่าวที่ หากปราศจากความระมัดระวังในการโยกย้ายถิ่นฐาน
จะเกิดขึน้ ในอนาคต “ศ.ดร.สุเนตร ชุตนิ ธรานนท์ ผูอ้ �ำนวย นอกจากนี้การรวมตัวของประชาคมอาเซียนยังอาจ
การสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” ได้กล่าว ก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมในหลาย ๆ ด้านซึง่ ผลของความ
ถึงภัยด้านความมั่นคงของประชาคมอาเซียนในอนาคตมี ไม่เท่าเทียมนี้จะตกอยู่กับประเทศสมาชิกที่ด้อยโอกาส
อยู่ 3 ประการคือ ตัวอย่างทีเ่ ห็นได้ชดั ในปัจจุบนั คือกรณีการบริหารน�ำ้ ในลุม่
1. ภัยด้านความมั่นคงของมนุษย์ น�้ำโขง ซึ่งแต่ละประเทศพยายามแสวงหาประโยชน์ของ
2. ภัยพิบัติจากธรรมชาติ ตนเองโดยไม่น�ำพาต่อความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้ กับประเทศ
3. การแผ่ขยายอ�ำนาจของประเทศมหาอ�ำนาจนอก สมาชิกอื่น หรือต่อสภาวะสิ่งแวดล้อมของภูมิภาค หรือ
ภูมิภาค กรณีการลักลอบตัดไม้พะยูงบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา
สิ่งแรกที่ประชาคมอาเซียนจะต้องเผชิญคือ ภัยด้าน ทีห่ ากปราศจากการบริหารจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพจะกลาย
ความมั่นคงของมนุษย์ ทั้งนี้ เพราะในปัจจุบันประเทศ เป็นอีกปัญหาหนึง่ ของอาเซียนในอนาคตปัญหาด้านความ
สมาชิกอาเซียนมีความแตกต่างทางเศรษฐกิจอย่างมาก มัน่ คงอีกปัญหาหนึง่ ทีป่ ระชาคมอาเซียนจะต้องเผชิญก็คอื
อาเซียนมีประเทศทีป่ ระชากรมีรายได้สงู ติดอันดับโลกอย่าง ภัยพิบตั จิ ากธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ บ่อยครัง้ และมีความรุนแรง

7777
The National Defence College of Thailand Journal Vol. 61 No. 1 January-April 2019
มากขึ้น ปัญหานี้เป็นปัญหาเร่งด่วนที่ประชาคมจะต้องรีบ สู่ประชาคมอาเซียน เนื่องจากอาเซียนในปัจจุบันเกิดช่อง
หาแนวทางแก้ไขร่วมกัน เพราะจากสถิติที่ผ่านมาจะเห็น ว่างทางอ�ำนาจขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยสังเกตได้จากการที่
ได้วา่ ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติทมี่ คี วามรุนแรงจ�ำนวนกว่าครึง่ ไม่มปี ระเทศมหาอ�ำนาจใดสามารถสัง่ การอาเซียนได้เหมือน
หนึง่ ในโลกเกิดขึน้ ในภูมภิ าคนีแ้ ทบทัง้ สิน้ ไม่วา่ จะเป็นเหตุ ในอดีตทีผ่ า่ นมา ท�ำให้มหาอ�ำนาจพยายามใช้อ�ำนาจในรูป
การณ์สึนามิในไทยและอินโดนีเซียเมื่อปี พ.ศ. 2547 พายุ แบบต่าง ๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยี
ไซโคลนนาร์กิสในพม่า การระเบิดของภูเขาไฟ “เมอราปิ” ความรู้ ซึ่งถือเป็นอ�ำนาจเชิงอ่อนโยน (Soft Power) หลั่ง
(Merapi) และแผ่นดินไหวในเมืองยอคยาการ์ตาและบันดุง ไหลเข้าสู่ประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างไม่ขาดสาย ทั้งจาก
ของอินโดนีเซีย พายุไต้ฝุ่นในเวียดนามและฟิลิปปินส์ จีน สหรัฐฯ รัสเซีย อินเดีย และสหภาพยุโรป รวมถึงการ
น�้ำท่วมครั้งใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ประเทศไทย ขยายตัวคืบคลานเข้ามาทางด้านการทหารในรูปของการ
ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ปัญหา ฝึกร่วม การค้าอาวุธ การสนับสนุนยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ทั้ง
ด้านภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติได้ท�ำให้กองทัพของแต่ประเทศ ในรูปแบบการให้เปล่าและรูปแบบเงินกูร้ ะยะยาว จนท�ำให้
สมาชิกอาเซียนปรับบทบาทจากการเป็นหน่วยงานที่ท�ำ เกิดการถ่วงดุลอ�ำนาจของมหาอ�ำนาจในอาเซียนอย่าง
หน้าที่ในการพิทักษ์รักษาอ�ำนาจอธิปไตยมาสู่ความเป็น ชัดเจน นอกจากนีย้ งั มีปรากฏการณ์ทไี่ ม่มใี ครคาดคิดว่าจะ
องค์กรทีท่ �ำหน้าทีใ่ นการพิทกั ษ์รกั ษาชีวติ และทรัพย์สนิ ของ เกิดขึ้นในพม่า เมื่อประธานาธิบดีบารัค โอบามา เดินทาง
ประชาชนจากภัยธรรมชาติ ซึ่งในอนาคตกองทัพอาเซียน เยือนพม่าเมือ่ เข้าด�ำรงต�ำแหน่งประธานาธิบดีครัง้ ที่ 2 ภาย
จะมีบทบาทอย่างมากในการท�ำหน้าที่ปฏิบัติการด้าน หลังจากที่เดินทางมาเยือนไทย เป็นการแสดงให้เห็นว่า
บรรเทาสาธารณภัย ซึง่ ณ เวลานีก้ องทัพของกลุม่ ประเทศ ความขัดแย้งกรณีสิทธิมนุษยชนและประชาธิปไตยในพม่า
สมาชิกอาเซียนได้เตรียมการในเรื่องนี้ค่อนข้างมากแล้ว จะไม่เป็นอุปสรรคด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอีกต่อ
ดังจะเห็นได้จากความร่วมมือด้านต่าง ๆ เช่น การจัดท�ำ ไป อีกทั้งพม่าจะไม่ถูกผลักให้ออกจากสังคมโลกแต่จะ
เอกสาร “แนวความคิดว่าด้วยการใช้ทรัพยากรและ ค่อย ๆ ถูกดึงกลับเข้ามาอย่างช้า ๆ บนพื้นฐานของการมี
ศักยภาพทางทหารอาเซียนในการช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ผลประโยชน์ร่วมกัน การกลับมาสู่ภูมิภาคอาเซียน ตลอด
และการบรรเทาภัยพิบัติ” ที่กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย จนเอเชีย-แปซิฟิกของสหรัฐฯ นั้นเนื่องมาจากนโยบาย
เป็นผู้ยกร่างขึ้นมา รวมไปถึงความร่วมมือในการฝึกร่วม “การปรับสมดุล” (Rebalancing Policy) ซึง่ เป็นนโยบาย
บรรเทาสาธารณภัยมากมายที่เกิดขึ้นในห้วง 2-3 ปีที่ผ่าน ที่ พ ยายามปรั บ สมดุ ล ความสั ม พั น ธ์ กั บ ประเทศใน
มา เช่น การฝึกร่วมบรรเทาสาธารณภัยของกองทัพอาเซียน ตะวันออกกลางและอัฟกานิสถาน กับประเทศต่าง ๆ ใน
ครั้งที่ 1 (AHX: ASEAN Humanitarian Assistance and ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ภายหลังจากที่สหรัฐฯ ได้ทุ่มเท
Disasterrelief Exercise) เมื่อเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. 2554 ทรัพยากรและความสนใจไปยังภูมภิ าคตะวันออกกลาง นับ
ณ ฐานทัพชางงี ประเทศสิงคโปร์ การฝึกร่วมบรรเทา ตั้งแต่เหตุการณ์ 9/11 ในปี พ.ศ. 2544 ส่งผลให้ละเลย
สาธารณภัยร่วมระหว่างกองทัพไทยและมาเลเซียภายใต้ ความสัมพันธ์กบั ประเทศในภูมภิ าคเอเชีย-แปซิฟกิ เกือบจะ
รหัส JCEX THAMAL 2011 (Jointcombined Exercise สิ้นเชิง ดังนั้น สหรัฐฯ ภายใต้การบริหารงานของ
Thailand and Malaysia 2011) และการฝึกร่วมบรรเทา ประธานาธิบดีโอบามาจึงพยายามที่จะหันมาฟื้นฟูความ
สาธารณภัยไทย-กัมพูชาในปี พ.ศ. 2555 ตามด�ำริของ สัมพันธ์กับประเทศเหล่านี้ขึ้นมาใหม่ เพราะประเทศ
ผูบ้ ญ
ั ชาการทหารสูงสุดของไทย นอกจากนีย้ งั มีการฝึกร่วม พันธมิตรดั้งเดิมในภูมิภาคนี้ไม่ว่าจะเป็นไทย ฟิลิปปินส์ ที่
บรรเทาสาธารณภัยของกองทัพอาเซียนครัง้ ที่ 2 ทีป่ ระเทศ เคยเดินเคียงบ่าเคียงไหล่กับสหรัฐฯ มาตั้งแต่ยุคสงคราม
บรูไน ในปี พ.ศ. 2556 ภัยความมั่นคงอีกรูปแบบหนึ่งของ เย็น ล้วนแต่ก�ำลังมีบทบาทและความส�ำคัญมากขึ้นใน
ประชาคมอาเซียนที่ “ศ.ดร.สุเนตร ชุตนิ ธรานนท์ ผูอ้ �ำนวย ภูมภิ าคนีท้ งั้ สิน้ อีกทัง้ ยังไม่สามารถปฏิเสธได้วา่ สหรัฐฯ มี
การสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” กล่าว ส่วนส�ำคัญในการสร้างประวัตศิ าสตร์เอเชีย-แปซิฟกิ ในรอบ
ถึงคือ การขยายอ�ำนาจของประเทศมหาอ�ำนาจต่าง ๆ เข้า 100 ปีทผี่ า่ นมา การกลับเข้ามาของสหรัฐฯ ในครัง้ นีจ้ งึ ต้อง

78 รัฏฐาภิรักษ์ วารสารราย 4 เดือน ปีที่ 61 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562


จับตามองอย่างใกล้ชิด ในขณะเดียวกันจีนก็ก�ำลังขยายวง ระดับกระทรวงกลาโหมเข้ามาประชุมร่วมกันที่ประเทศ
อ�ำนาจเข้าสูป่ ระเทศพม่าและเวียดนาม ซึง่ เคยเป็นคูส่ งคราม มาเลเซีย เมือ่ ปี พ.ศ. 2549 และจากนัน้ ได้มกี ารพัฒนาการ
และความขัดแย้งในอดีต เพือ่ หาทางถ่วงดุลอ�ำนาจกับชาติ มาโดยต่อเนื่อง และได้ขยายความร่วมมือกับกระทรวง
ตะวั น ตก ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในขณะนี้ จึ ง ไม่ ไ ด้ อ ยู ่ ที่ ว ่ า กลาโหมประเทศคู่เจรจาอีก 8 ประเทศคือ สหรัฐอเมริกา
มหาอ�ำนาจจะเข้ามาอย่างไร แต่อยู่ที่ว่าประชาคมอาเซียน ญี่ปุ่น จีน ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ อินเดีย รัสเซีย และ
จะวางตัวอย่างไร ในเมื่อปัจจุบันอาเซียนเองก็ยังมีปัญหา นิวซีแลนด์ โดยได้จัดการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน
กับมหาอ�ำนาจดังกล่าวอยู่ไม่น้อย เช่น ปัญหาข้อพิพาทใน และรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจา (ASEAN Defense
หมู่เกาะทะเลจีนใต้ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรน�้ำมัน Minister – Plus : ADMM – Plus) ซึ่งการด�ำเนินการทั้ง
ที่นับวันจะหาได้ยากยิ่งในปัจจุบัน หรือปัญหาการเดินเรือ 2 กรอบการประชุมคือ ADMM และ ADMM - Plus ได้น�ำ
ในล�ำน�้ำโขง เป็นต้น ปัญหาทั้งหมดที่กล่าวมาข้างต้นเป็น ไปสู่การจัดตั้ง Concept Paper ที่ทางกระทรวงกลาโหม
สิง่ ทีก่ องทัพกลุม่ ประเทศสมาชิกอาเซียนจะต้องเตรียมการ จะต้องด�ำเนินการ ในปัจจุบันมีเอกสารที่ส�ำคัญจ�ำนวน 9
รับมืออย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะหากใช้รูปแบบ ฉบับคือ
ของกองทัพ “อียู” ในสหภาพยุโรปเป็นแบบแผน 1. เอกสารแนวความคิดว่าด้วยการใช้ทรัพยากรและ
ศักยภาพทางทหารอาเซียน ในการให้ความช่วยเหลือด้าน
บทบาทของหน่วยงานด้านความมั่นคงของประเทศไทย มนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ (Concept Paper
กับการด�ำเนินการให้ความร่วมมือด้านความมั่นคง on the Use of Asean Military Assets and Capacities
ในกรอบประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) in Humanitarian Assistance and Disaster Relief) ซึ่ง
การพัฒนาของการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนใน ยกร่างโดยกระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย
ปี พ.ศ. 2558 ได้มคี วามก้าวหน้าไปอย่างมาก ภายหลังจาก 2. เอกสารแนวความคิดว่าด้วยความร่วมมือระหว่าง
ที่ได้มีการจัดท�ำกฎบัตรอาเซียนหรือธรรมนูญอาเซียนใน กลาโหมอาเซียนกับองค์กรภาคประชาสังคมในด้านความ
ปี พ.ศ. 2551 เพื่อวางกรอบทางกฎหมาย และโครงสร้าง มั่นคงรูปแบบใหม่ (Concept Paper on the Use of
องค์กร ซึง่ จะน�ำไปสูก่ ารจัดท�ำแผนงานการจัดตัง้ ประชาคม Asean Defense Establishments and Civil Society
อาเซียน (Blueprints) ในทั้ง 3 เสาหลักคือ Organizations (Csos) Cooperation on Non–
1. การเมืองและความมั่นคง Traditional Security) ซึ่งยกร่างโดยกระทรวงกลาโหม
2. เศรษฐกิจและสังคม ไทย
3. วัฒนธรรม 3. เอกสารแนวความคิดในกรอบการประชุมรัฐมนตรี
โดยมีเป้าหมายหลักในการรวมตัวทีส่ �ำคัญคือ การสร้าง กลาโหมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม
ประชาคมทีม่ คี วามแข็งแกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือ ป้องกันประเทศของอาเซียน (Admm Concept Paper
กับสิ่งท้าทายทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง เศรษฐกิจ และ on Establishing ASEAN Defense Industry
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ประชาชนมี Collaboration) ซึง่ ยกร่างโดยกระทรวงกลาโหมมาเลเซีย
ความเป็นอยู่ที่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ 4. เอกสารแนวความคิดในกรอบการประชุมรัฐมนตรี
ได้อย่างสะดวกมากยิง่ ขึน้ และประชาชนในอาเซียนมีความ กลาโหมอาเซียนว่าด้วยการจัดตัง้ เครือข่ายศูนย์ปฏิบตั กิ าร
รู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจากการพัฒนาการดังกล่าว รักษาสันติภาพของอาเซียน (ADMM Concept Paper on
แต่ละเสาหลักได้จัดตั้งองค์กรในระดับต่าง ๆ เพื่อรองรับ Establishing of ASEAN – Peacekeeping – Centers
การเป็นประชาคมอาเซียนดังกล่าว เช่น กระทรวงกลาโหม Network) ซึ่งร่วมยกร่างโดยกระทรวงกลาโหมไทยและ
ประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดตั้งการประชุมรัฐมนตรี กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซีย
กลาโหมอาเซียน (ASEAN Defense Minister Meet: 5. เอกสารแนวความคิดและแผนงานในกรอบการ
ADMM) และมีการเริ่มแนวคิดครั้งแรกโดยเจ้าหน้าที่ใน ประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหม

7979
The National Defence College of Thailand Journal Vol. 61 No. 1 January-April 2019
ประเทศคู่เจรจาของคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการให้ 2558
ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบัติ 2. การจัดตั้งกลุ่มงานด้านกฎหมายของกระทรวง
(ADMM - Plus Concept Paper and Initial Workplan กลาโหมเกี่ยวกับงานด้านอาเซียน
of the Experts’ Working Group on HADR) ซึ่งร่วมยก 3. การบูรณาการกิจกรรมอาเซียนที่มีอยู่แล้ว เช่น
ร่างโดยกระทรวงกลาโหมเวียดนามและกระทรวงกลาโหม การประชุมระดับผูบ้ ญ ั ชาการเหล่าทัพอาเซียน การประชุม
จีน ระดับเจ้ากรมยุทธการอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ และ
6. เอกสารแนวความคิดในกรอบการประชุมรัฐมนตรี การจัดการแข่งขันยิงปืนระดับกองทัพอาเซียน โดยมอบให้
กลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจาว่า กองบัญชาการกองทัพไทยเป็นผู้รับผิดชอบ
ด้วยคณะท�ำงานผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคงทางทะเล 4. การจัดท�ำแผนงานงบประมาณด้านกิจการอาเซียน
(ADMM-Plus Concept Paper on Maritime Security โดยเฉพาะงานการฝึกร่วมในปี พ.ศ. 2556 ของคณะท�ำงาน
Expert Working Group) ซึ่งร่วมยกร่างโดยกระทรวง ผู้เชี่ยวชาญ (Experts’ Working Group: EWGS) ทั้ง 5
กลาโหมมาเลเซียและกระทรวงกลาโหมออสเตรเลีย ด้าน และงานอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องให้แยกออกจากงานงบประจ�ำ
7. แผนงานในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม และมีการจัดตั้งค�ำขอในระดับกระทรวงกลาโหม เพื่อเป็น
อาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจาของคณะ พื้นฐานการด�ำเนินการด้านงบประมาณเกี่ยวกับเรื่องดัง
ท�ำงานผู้เชี่ยวชาญด้านการปฏิบัติการรักษาสันติภาพ กล่าวต่อไปในอนาคต
ระหว่างปี พ.ศ. 2554-2556 (ADMM–Plus Work Plan 5. การเพิ่มประสิทธิภาพ และจัดตั้งหน่วยงานที่
of the Experts’ Working Group on Peacekeeping เกี่ยวกับการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ เช่น การปรับปรุง
Operations 2011-2013) ซึ่งร่วมยกร่างโดยกระทรวง ประสิทธิภาพกรมกิจการชายแดนทหาร ส�ำนักงานประสาน
กลาโหมฟิลิปปินส์ และกระทรวงกลาโหมนิวซีแลนด์ ภารกิจกับประเทศเพือ่ นบ้าน ส�ำนักงานผูช้ ว่ ยทูตทหาร การ
8. แผนงานในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหม จัดตัง้ กองความมัน่ คงชายแดนในระดับการะทรวงกลาโหม
อาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมคู่เจรจาว่าด้วยคณะท�ำงาน เป็นต้น
ผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ทางทหาร (ADMM-Plus 6. การส่งมอบภารกิจที่ไม่ใช่ภารกิจการป้องกัน
Concept Workplan on Experts’ Working Group on ประเทศและการสนับสนุนการจัดตั้งหน่วยงานราชการ
Military Medicine) ซึ่งร่วมยกร่างโดยกระทรวงลาโหม อื่น ๆ ท�ำหน้าที่แทนทหาร เช่น การป้องกันชายฝั่ง งาน
สิงคโปร์ และกระทรวงกลาโหมญี่ปุ่น ด้านจับกุมผู้ลักลอบหลบหนีเข้าเมือง จับกุมยาเสพติด
9. เอกสารแนวความคิดในกรอบการประชุมรัฐมนตรี ตามแนวชายแดน
กลาโหมอาเซียนกับรัฐมนตรีกลาโหมประเทศคู่เจรจาว่า 7. การปรับปรุงหน่วยยุทโธปกรณ์ บุคลากร ให้มคี วาม
ด้วยคณะท�ำงานผูเ้ ชีย่ วชาญด้านการต่อต้านการก่อการร้าย เป็นสากลและสามารถรองรับการจัดตั้งกองก�ำลังอาเซียน
(ADMM-Plus Concept Paper on Experts’ Working ในอนาคต เช่น ภารกิจการลาดตระเวนในช่องแคบมะละกา
Group on Counter – Terrorism) ซึ่งร่วมยกร่างโดย การปราบปรามโจรสลัดในอ่าวเอเดน ชุดช่วยเหลือผูป้ ระสบ
กระทรวงกลาโหมอินโดนีเซียและกระทรวงกลาโหมสหรัฐฯ ภัยขนาดเล็กด้าน Humanitarian Assistance and
จากการพัฒนาการดังกล่าวท�ำให้กระทรวงกลาโหม Disaster Relief: HADR
จ�ำเป็นต้องปรับปรุงการด�ำเนินการให้สอดคล้อง โดย 8. การปรับปรุงแผนการป้องกันประเทศ กระทรวง
กระทรวงกลาโหมอยู่ระหว่างการจัดท�ำแนวทางในการ กลาโหม โดยเฉพาะในกรณีส่งมอบภารกิจการป้องกัน
ปฏิบัติของกระทรวงกลาโหมในการรองรับการจัดตั้ง ชายแดนให้กับต�ำรวจตระเวนชายแดน และกรณีการส่ง
ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ดังนี้ มอบภารกิจทีไ่ ม่ใช่ภารกิจการป้องกันประเทศให้กบั หน่วย
1. ปรับปรุงยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศกระทรวง ราชการอื่น ๆ
กลาโหมในการรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 9. การเสนอแผนงานและงบประมาณที่ต้องการ 3 ปี

80 รัฏฐาภิรักษ์ วารสารราย 4 เดือน ปีที่ 61 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562


(2556-2558) ในการด�ำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง งบประมาณจากรัฐบาลเพิ่มเติมโดยกระทรวงกลาโหม ซึ่ง
ในข้อ 5-8 หากกระทรวงกลาโหมได้จัดท�ำเป็นแนวทางเรียบร้อยแล้ว
10. พิจารณาจัดหางบประมาณหรือทุนเพือ่ การวิจยั การด�ำเนินการต่อไปในอนาคตจะไม่ประสบปัญหายุ่งยาก
ของกระทรวงกลาโหมอาเซียน มากนัก
11. ยกระดับศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์สถาบันป้องกัน แนวทางในข้อ 5-9 เป็นการปรับปรุงภารกิจการ
ประเทศเป็นศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ในระดับกระทรวง จัดเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558
กลาโหม เป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนและมีความส�ำคัญเป็นอย่างสูง
จากแนวทางดังกล่าวจะเห็นได้ว่าในข้อ 1 และ 2 นั้น เนื่องจากกระทรวงกลาโหมเป็นหน่วยงานขนาดใหญ่ มี
จะเป็นงานทีส่ ว่ นใหญ่อยูใ่ นระดับนโยบาย โดยมีหน่วยงาน ก�ำลังพลและยุทโธปกรณ์จ�ำนวนมาก และได้รบั มอบหมาย
เกีย่ วข้องทีส่ �ำคัญคือ ส�ำนักนโยบายและแผนกลาโหม และ ภารกิจที่หลากหลายและมีความส�ำคัญต่อประเทศมาก
กรมพระธรรมนูญที่จะด�ำเนินการในการพิจารณาแก้ไข อย่างไรก็ตาม การด�ำเนินการในด้านนี้มีความจ�ำเป็นอย่าง
กฎหมายร่างกฎระเบียบ และประสานหน่วยงานในระดับ สูง ซึ่งแนวทางต่าง ๆ นั้นน่าจะมีทิศทางในการด�ำเนินการ
กระทรวง เช่น กระทรวงการต่างประเทศ สภาความมัน่ คง ที่ส�ำคัญ ดังนี้
แห่งชาติ กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงพัฒนาความ 1. กระทรวงกลาโหมต้องเพิม่ ระดับความไว้เนือ้ เชือ่ ใจ
มั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งหน่วยงานในระดับปฏิบัติของ ระหว่างกลาโหมไทยและกลาโหมประเทศเพื่อนบ้านให้มี
กระทรวงกลาโหม ในการจัดท�ำแผนงานต่าง ๆ ขึ้นรองรับ ความโปร่งใส และสามารถแบ่งปันข้อมูลข่าวสาร ซึ่ง
ซึง่ การด�ำเนินการทีส่ �ำคัญในระยะแรกปี พ.ศ. 2555 ให้แล้ว กระทรวงกลาโหมจะต้องเพิ่มบุคลากรและงบประมาณให้
เสร็จคือ การปรับปรุงยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ หน่วยงานที่รับผิดชอบ
กระทรวงกลาโหมให้ครอบคลุมการด�ำเนินการในกรอบ 2. กระทรวงกลาโหมต้องส่งมอบภารกิจทีไ่ ม่ใช่งานใน
อาเซียน โดยงานในระยะต่อไปที่ส�ำคัญคือ การจัดตั้งกลุ่ม ด้านการป้องกันประเทศให้กบั หน่วยงานอืน่ ๆ ในการด�ำเนิน
งานด้านกฎหมายของอาเซียน พิจารณากฎระเบียบทีส่ �ำคัญ การ เช่น การป้องกันชายฝัง่ การรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
ทีจ่ ะเกิดขึน้ เช่น กลไกระงับข้อพิจารณาตามกฎบัตรอาเซียน ต่าง ๆ การจับแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง การปราบ
แนวปฏิบัติในทะเลจีนใต้ (Code of Conduct: COC) ปรามยาเสพติดตามแนวชายแดน
เป็นต้น 3. การปรับปรุงหน่วย บุคลากร ยุทโธปกรณ์ การฝึก
การด�ำเนินการเพื่อบูรณาการงานในอาเซียนในข้อ 3 ให้มีความทันสมัย เพื่อเตรียมการในการจัดตั้งกองก�ำลัง
นั้ น เป็ น การด�ำเนิ น การในกรอบอาเซี ย นที่ ส�ำคั ญ ที่ ไ ด้ อาเซียน และการปฏิบตั ภิ ารกิจสหประชาชาติ หรือภารกิจ
ด�ำเนินการอยู่แล้ว และจะด�ำเนินการต่อไปในอนาคต ซึ่ง อื่น ๆ ในภูมิภาคที่ส�ำคัญ เช่น การลาดตระเวนร่วมใน
กองบัญชาการกองทัพไทยเป็นองค์กรที่ส�ำคัญที่จะต้อง ช่องแคบมะละกา การปราบโจรสลัดในอ่าวเอเดน การช่วย
บูรณาการการด�ำเนินการของเหล่าทัพเกีย่ วกับเรือ่ งดังกล่าว เหลือด้านมนุษยธรรม และการบรรเทาภัยพิบตั ิ รวมทัง้ การ
โดยให้มกี ารประสานสอดคล้องกับการด�ำเนินการของหน่วย ปฏิบัติการรักษาสันติภาพ โดยในเบื้องต้นให้จัดเตรียมชุด
งานในระดับนโยบาย การด�ำเนินการภายใต้เอกสารแนว ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติขนาดเล็ก เช่น ชุดแพทย์ หรือ
ความคิดต่าง ๆ ในกรอบการประชุม ADMM และ ADMM- ชุดสุนัขทหาร เพื่อจัดท�ำเป็นบัญชีเตรียมพร้อม (Standby
Plus ในข้อ 4 เป็นการถ่ายทอดความร่วมมือลงสูก่ ารปฏิบตั ิ Arrangement) ของกองก�ำลังดังกล่าวในกรอบอาเซียน
โดยเฉพาะในปี พ.ศ. 2556 นั้นจะมีการฝึกร่วมภายใต้ ซึ่งน่าจะส�ำเร็จได้ก่อนภายในปี 2558
เอกสารดังกล่าวจ�ำนวนมาก ซึ่งจะต้องใช้งบประมาณ 4. ปรับแผนการป้องกันประเทศให้สอดคล้องกับการ
ค่อนข้างสูงและจะกระทบต่อภารกิจประจ�ำของหน่วย เป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 โดยให้เป็นภารกิจใน
ดังนั้น แนวทางในการด�ำเนินการคือการจัดท�ำแผนงาน กรอบของอาเซียนเป็นส�ำคัญ โดยเฉพาะกรณีการส่งมอบ
โครงการเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว และขอรับการสนับสนุน ภารกิจการป้องกันชายแดนให้กับต�ำรวจตระเวนชายแดน

8181
The National Defence College of Thailand Journal Vol. 61 No. 1 January-April 2019
เป็นต้น ได้ว่าจะเป็นหลักประกันของชาติและของอาเซียนได้อย่าง
5. การด�ำเนินการดังกล่าวเป็นเรื่องส�ำคัญที่รัฐบาล เต็มภาคภูมิ
ต้องรับทราบ และมีความจริงใจในการปรับสภาพของ
กองทัพดังกล่าว กระทรวงกลาโหมควรเสนอแผนงานพร้อม สรุป
งบประมาณที่ต้องการให้รัฐบาลสนับสนุนงบประมาณใน ในการก้าวไปสูเ่ วทีสากลของกองทัพไทย กับความร่วม
การด�ำเนินการภายใต้กรอบอาเซียนแนวทางในข้อ 10-11 มือทางทหารระหว่างประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน
เป็นเรือ่ งส�ำคัญทีก่ ระทรวงกลาโหมจะต้องมีหน่วยงานด้าน หรืออาจเรียกว่า “กองทัพอาเซียน” กองทัพไทยควรค�ำนึง
วิชาการขึ้นรองรับ ไม่ว่าจะเป็นสถาบันวิชาการของ ถึงความพร้อมของกองทัพเองด้วยในการปฏิบตั งิ านร่วมกับ
กระทรวงกลาโหมเอง หรือร่วมมือกับสถาบันวิชาการภายใน ชาติอื่น โดยจะต้องสามารถด�ำรงเกียรติยศและศักดิ์ศรี
ประเทศ โดยกระทรวงกลาโหม มีความจ�ำเป็นที่จะต้องมี โดยมีความส�ำเร็จเป็นเป้าหมาย และความส�ำเร็จนีต้ อ้ งเอือ้
งบวิจยั และพัฒนาเกีย่ วกับงานด้านความมัน่ คงทีส่ �ำคัญโดย ประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชนคนไทย รวมทั้ง
ผู้บังคับบัญชาระดับสูงต้องให้ความส�ำคัญกับการด�ำเนิน เป็นกลไกสนับสนุนการรวมตัวของสมาชิกประชาคมอาเซียน
การดังกล่าว ให้เป็นปึกแผ่นได้จริง
จากการด�ำเนินการดังกล่าวของกระทรวงกลาโหม หาก เมื่อพูดถึงความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจ แต่ละ
สามารถทีจ่ ะด�ำเนินการได้ตามวัตถุประสงค์ทตี่ อ้ งการแล้ว กองทัพ แต่ละชาติ อาจให้ค�ำจ�ำกัดความแตกต่างกัน ยิง่ ถ้า
จะสนับสนุนให้การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนประสบ มีตัวชี้วัดที่แตกต่างกัน หรือพูดกันคนละภาษา การปฏิบัติ
ความส�ำเร็จ โดยเฉพาะเสาหลักประชาคมการเมืองและ การร่วมให้เกิดความกลมกลืนจะเป็นไปได้ยาก ฉะนัน้ บันได
ความมัน่ คง ซึง่ มีความประสงค์ให้อาเซียนเป็นประชาคมที่ ขั้นแรกที่ควรค�ำนึงถึงคือความพร้อมของกองทัพไทยของ
มีกฎเกณฑ์และบรรทัดฐาน และด�ำเนินการร่วมกัน รวมทัง้ เราเอง ในการปฏิบัติการร่วมระหว่างกองทัพบก กองทัพ
เป็นภูมิภาคที่มีความเป็นเอกภาพ สงบสุข และมีความ เรือ และกองทัพอากาศ ให้สามารถเกือ้ กูลซึง่ กันและกันใน
เข้มแข็ง พร้อมทัง้ มีความรับผิดชอบร่วมกันเพือ่ แก้ไขปัญหา ภารกิจตามแผนป้องกันประเทศของเราเอง ถึงแม้วา่ กองทัพ
ความมัน่ คงทีค่ รอบคลุมทุกมิติ ซึง่ หากเป็นไปตามเป้าหมาย ไทยจะจัดการฝึกร่วมทุกปีในรูปแบบต่าง ๆ คงต้องยอมรับ
แล้วประชาชนชาวไทยและประเทศไทย ซึ่งมีโครงสร้าง ว่าความพยายามในการฝึกในลักษณะที่มักพูดกันเสมอว่า
พืน้ ฐานและศักยภาพในด้านต่าง ๆ ดีทสี่ ดุ ก็จะถูกอาเซียน “รบอย่างไร ฝึกอย่างนัน้ ” ในทางปฏิบตั อิ าจไม่เป็นไปตาม
โดยกฎบัตรอาเซียนบีบบังคับให้มีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ทีก่ องทัพต้องการอย่างสมบูรณ์ ทัง้ นี้ ก็เพราะข้อจ�ำกัดทาง
โดยเฉพาะด้านการเมืองไปในรูปแบบที่มีธรรมาภิบาล ด้านงบประมาณส่วนหนึ่ง กับความเข้าใจของพวกเราเอง
โปร่งใส และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะท�ำให้ ในเรือ่ งความส�ำคัญของการปฏิบตั กิ ารร่วมอีกส่วนหนึง่ ด้วย
ประเทศไทยได้รับประโยชน์จากเรื่องนี้โดยตรง และหาก เหตุน้ีกองทัพไทยจึงควรทบทวนบทบาทและทิศทางการ
มองในเสาหลักเศรษฐกิจและสังคมและวัฒนธรรมแล้ว พัฒนาในภาพรวมอย่างต่อเนือ่ ง สม�ำ่ เสมอ เพือ่ ให้ทราบว่า
ประเทศไทยได้เปรียบมากทีส่ ดุ จะยิง่ ส่งผลให้ประเทศไทย เรามีความสมบูรณ์แบบในการเตรียมก�ำลังและการปฏิบัติ
มีการพัฒนายิ่งขึ้นตามไปด้วย หากมองเฉพาะประโยชน์ที่ การร่วมตามภารกิจมากน้อยเพียงใด มีก�ำลังที่ต้องการใน
กระทรวงกลาโหมจะได้รับนั้นถือว่าเป็นโอกาสอันดีที่ ขั้นต�่ำเพียงพอสาหรับการป้องกันประเทศเพียงใด การให้
กระทรวงกลาโหมจะได้รบั การปรับปรุงหน่วยให้มคี วามทัน ได้มาซึ่งข้อมูลเหล่านี้จ�ำเป็นอย่างยิ่งที่กองทัพไทยโดยกอง
สมัยมากยิ่งขึ้น และมีความเป็นมืออาชีพมากยิ่งขึ้น โดยใช้ บัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพ
วาระเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 เป็นจุดเริม่ ต้น อากาศ จะต้องปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด เปิดเผย และ
ในการพัฒนาตนเอง ซึ่งการขอรับงบประมาณสนับสนุนก็ มองภาพรวม ในเรื่องของความพร้อมส�ำหรับภารกิจในรูป
น่าจะได้รับการสนับสนุนมากกว่าในโอกาสอื่น ๆ ซึ่งหาก แบบต่าง ๆ ทีเ่ ราอาจต้องเผชิญในปัจจุบนั และอนาคต 5-10
กระทรวงกลาโหมได้ปรับปรุงตนเองแล้ว ก็จะเป็นทีเ่ ชือ่ มัน่ ปีต่อไป กองทัพไทยควรมีแผนการพัฒนาในแง่ของการ

82 รัฏฐาภิรักษ์ วารสารราย 4 เดือน ปีที่ 61 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562


เตรียมก�ำลังและการใช้ก�ำลังในการปฏิบัติการร่วมที่มี ควรพบปะหารือและก�ำหนดสถานการณ์ร่วมที่ประชาคม
เป้าหมายตามระยะเวลาที่ชัดเจน โดยมีกระทรวงกลาโหม อาเซียนต้องเผชิญในอนาคตนับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป โดย
เป็นหน่วยบังคับบัญชารับผิดชอบในระดับนโยบาย หาก เฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องภัยคุกคามรูปแบบใหม่ อาทิ การ
กระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย กองทัพบก ก่อการร้าย อาชญากรรมข้ามชาติ โจรสลัด ฯลฯ ทุกประเทศ
กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ มองเห็นความพร้อมและ หรือเสียงส่วนใหญ่ควรเห็นพ้องต้องกันในเรือ่ งเป้าหมายใน
แผนพัฒนากองทัพไปในทิศทางเดียวกัน มีความเอื้ออาทร การสนับสนุนความเป็นปึกแผ่นของประชาคมอาเซียนร่วม
ระหว่างกันในการปรึกษาหารือเรือ่ งงบประมาณ การพัฒนา กัน โดยมีกองทัพแต่ละประเทศเป็นกลไกส�ำคัญส่วนหนึ่ง
กองทัพตามล�ำดับความจ�ำเป็นเร่งด่วนในภาพรวมของกอง เมื่อได้เป้าหมายร่วมแล้วจึงจะสามารถพูดจากันได้ว่าใน
ทัพไทย โดยดูน�้ำหนักความจ�ำเป็นในการพัฒนาของแต่ละ แต่ละเป้าหมายทีร่ ว่ มกันก�ำหนดให้ใครจะใช้จดุ แข็งของตน
เหล่าทัพ แทนทีจ่ ะดูอตั ราส่วนของงบประมาณเช่นทีป่ ฏิบตั ิ อย่างไรเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมของประชาคมอาเซียน
อยู่ การเตรียมความพร้อมในการก้าวไปสู่เวทีสากล ย่อม จะปฏิบัติการร่วมกันอย่างไร มีระเบียบปฏิบัติการร่วมใน
เป็นไปด้วยความกลมกลืน ภายใต้การสนับสนุนจากรัฐบาล ลักษณะใด ในการใช้เครื่องมือหรือทรัพยากรร่วมกันเพื่อ
ตามความจ�ำเป็นของสภาพแวดล้อม สรุปโจทย์ขอ้ แรกทีจ่ ะ ให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน และจะจัดการอย่างไร ควรหรือ
ต้องมีค�ำตอบคือ กองทัพไทยพร้อมปฏิบตั กิ ารร่วมมากน้อย ไม่ที่จะมีคณะเสนาธิการร่วม โดยมีผู้แทนแต่ละชาติมานั่ง
เพียงใด เรามีจุดแข็งในด้านใดบ้าง เหล่าทัพใดบ้าง เราจะ เป็นการประจ�ำเพื่อให้สามารถประสานงาน ประสานการ
เน้นจุดแข็งใดในการน�ำเสนอเวทีประชาคมอาเซียน นอกจาก ปฏิบัติกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ทันเหตุการณ์ ที่
นัน้ กองทัพไทยจะต้องประสานงานกับหน่วยราชการอืน่ ๆ ส�ำคัญคือเป็นการปฏิบตั กิ ารร่วมทีป่ ระเทศสมาชิกสามารถ
ที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวง ปฏิบัติได้จริง ยอมรับได้ และเชื่อมั่นในผลลัพธ์ของการ
มหาดไทย กระทรวงยุติธรรม สภาความมั่นคงแห่งชาติ ปฏิบัติการร่วมกันว่าจะส่งผลดีต่อประชาคมอาเซียนเป็น
กระทรวงการคลัง ส�ำนักงบประมาณ ฯลฯ เพื่อให้หน่วย ส่วนรวม แน่นอนว่าแต่ละชาติยอ่ มต้องค�ำนึงถึงผลประโยชน์
ต่าง ๆ เหล่านีม้ คี วามเข้าใจในความจ�ำเป็นทีก่ องทัพไทยจะ ของชาติตน แต่ละชาติมีขีดความสามารถทางทหารที่
ต้องเตรียมก�ำลังให้พร้อมส�ำหรับการปฏิบัติภารกิจทั้งใน แตกต่างกัน มีงบประมาณสนับสนุนไม่เท่ากัน มีแบบ
ประเทศและนอกประเทศ ไม่ว่าจะเป็นการปฏิบัติการทาง ธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมแตกต่างกัน การได้มาซึ่ง
ทหาร หรือการปฏิบัติการในรูปแบบอื่นที่ไม่ใช่การปฏิบัติ ภาพรวมและการเสียสละของแต่ละชาติในทิศทางเดียวกัน
การทางทหาร เช่น การปฏิบตั กิ ารรักษาสันติภาพ การช่วย จึงไม่ใช่เรือ่ งง่าย อย่างไรก็ดี การเจรจาหารือกันโดยยึดภาพ
เหลือด้านมนุษยธรรม การช่วยในการพัฒนาประเทศตาม รวมของประชาคมอาเซียนและความสาเร็จที่จะส่งผลดี
ที่รัฐบาลมอบหมาย การช่วยเหลือประชาชนที่ประสบภัย ต่อส่วนรวม โดยไม่น�ำความขัดแย้งระหว่างประเทศสมาชิก
พิบตั ติ า่ ง ๆ เป็นต้น หากหน่วยเหล่านีส้ นับสนุนกองทัพไทย เฉพาะกรณี ม าเป็ น ประเด็ น ย่ อ มจะช่ ว ยให้ ก ารบรรลุ
ในส่วนที่เกี่ยวข้อง การเตรียมก�ำลังและการปฏิบัติภารกิจ เป้าหมายรวมของประชาคมอาเซียน ในส่วนทีต่ อ้ งใช้กองทัพ
ของกองทัพไทย จะเป็นไปด้วยความราบรื่นตามความ เป็นกลไกมีความเป็นไปได้สงู และเป็นไปได้จริง ปัจจัยส�ำคัญ
จ�ำเป็น ทั้งนี้ นโยบายรัฐบาลที่จะสนับสนุนกองทัพจะต้อง อีกประการหนึง่ คือนโยบายรัฐบาลในเรือ่ งประชาคมอาเซียน
มีความชัดเจนด้วย และความร่วมมือแบบพหุภาคีในด้านการทหารในนามของ
โจทย์ข้อที่ 2 คือ กองทัพไทยจะร่วมกับสมาชิก ประชาคมอาเซียนต้องชัดเจนเช่นเดียวกับนโยบายต่อ
ประชาคมอาเซียนอย่างไร ถึงแม้ว่าประเทศในประชาคม กองทัพในการปฏิบัติการภายในประเทศ
อาเซียนจะมีความร่วมมือในลักษณะทวิภาคีและพหุภาคี ดังนัน้ ค�ำถามส�ำคัญทัง้ ในส่วนของกองทัพไทยเองและ
อยู่บ้างแล้วก็ตาม เราคงต้องหารือกับเพื่อนสมาชิกใน ในส่วนของประเทศสมาชิกในภาพรวม เป็นค�ำถามที่ต้อง
ประชาคมในภาพรวมอีกเช่นกัน หมายถึงผูแ้ ทนกองทัพไทย ใช้ความเข้าใจ ความมุ่งมั่น และความร่วมมืออย่างใกล้ชิด
ร่วมกับผู้แทนกองทัพประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน ด้วยความบริสทุ ธิใ์ จ จริงใจ ทัง้ นี้ ผลประโยชน์ของชาติและ

8383
The National Defence College of Thailand Journal Vol. 61 No. 1 January-April 2019
ประชาชนคนไทย และผลประโยชน์ของประชาคมอาเซียน
เป็นตัวตัง้ ทีเ่ ราต้องควรค�ำนึงถึงอยูต่ ลอดเวลา และกองทัพ
ไทยควรท�ำความเข้าใจกับประชาชนชาวไทยด้วยว่าเราจะ
ก้าวไปสู่เวทีสากลในระดับภูมิภาคในครั้งนี้ได้อย่างไร เพื่อ
อะไร คนไทยจะได้มีความภาคภูมิใจในกองทัพไทย และ
กองทัพไทยจะได้เป็นส่วนส�ำคัญที่จะสร้างความภาคภูมิใจ
ให้ประชาคมอาเซียน มีเกียรติ มีศกั ดิศ์ รี เป็นทีเ่ กรงใจ และ
ยอมรับในเวทีโลกเมื่อมีการพูดถึงประชาคมอาเซียนในแง่
ของความมั่นคง ภายใต้กรอบนโยบายรัฐบาลไทยที่เข้าใจ
ปัญหาและสนับสนุนกองทัพไทยในการนี้อย่างจริงจัง
จากการส�ำรวจตัวเอง ไปสูก่ ารเจรจากับประเทศสมาชิก
ในโจทย์ทงั้ 2 ข้อทีก่ ล่าวมาแล้ว โจทย์ขอ้ ที่ 3 คือ ในอนาคต
หลังจากที่มีการรวมตัวกันแล้ว กองทัพไทยจะมีบทบาท
และทิศทางอย่างไร ในเรือ่ งนีเ้ ราคงต้องย้อนกลับไปทีโ่ จทย์
ข้อแรกตรงค�ำตอบที่ว่า เรามีจุดแข็งอะไรที่จะน�ำเสนอ
ประชาคมอาเซียน เช่น ลักษณะวัฒนธรรมในการ
ประนีประนอม ช่วยเหลือผูอ้ นื่ อย่างจริงใจ เป็นจุดแข็งของ
“กองทัพไทย” ในการรักษาสันติภาพ หรือการช่วยเหลือ
ด้านมนุษยธรรม เป็นต้น กองทัพไทยควรมีบทบาทน�ำใน
ประชาคมอาเซียนในจุดแข็งของเรา และร่วมมือกับประเทศ
สมาชิกด้วยความเอื้ออาทรต่อกัน ยอมรับซึ่งกันและกัน
โดยพยายามใช้ภูมิยุทธศาสตร์ที่ได้เปรียบในการด�ำเนิน
บทบาทน�ำในสาขาทีช่ ดั เจน ประโยชน์ตอ่ ประเทศชาติและ
ประชาชนคนไทย รวมทั้งประโยชน์ต่อประชาคมอาเซียน
จะเกิดขึ้นอย่างมหาศาลในอนาคต

84 รัฏฐาภิรักษ์ วารสารราย 4 เดือน ปีที่ 61 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2562


บรรณานุกรม
เอกสารความพร้อมด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของ
ไทย สู่เส้นทางอาเซียน 2015 โดยสถาบันเทคโนโลยี
ป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน) กระทรวงกลาโหม
สุรชาติ บ�ำรุงสุข. “ระบบทหารไทย: บทศึกษากองทัพใน
บริบททางสังคม-การเมือง”, เอกสารวิชาการ สถาบัน
ศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ 5, 2530, หน้า
100-110.
วิทยุสราญรมย์ AM 1575 KHZ รายการรอบบ้านเรา/เรา
คืออาเซียน ออกอากาศทุกวันศุกร์ เวลา 06.00-07.00 น.
กวี หวังนิเวศน์กุล และคณะ, การศึกษาคุณลักษณะของ
เส้นทางการค้าทีโ่ ลกต้องการ, วารสารร่มไทรทอง, ปี
ที่ 24 ฉบับที่ 9, 2558
สมาคมธุรกิจการส่งออกแห่งประเทศไทย, การสัมมนาทาง
วิชาการเรือ่ งการขจัดปัญหาโต้แย้งระหว่างผูส้ ง่ ออก
กับประเทศเพื่อนบ้านในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้,
2559
วารสารหลักเมือง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ปีที่ 21
ฉบับที่ 253 เดือนเมษายน 2555
วารสารหลักเมือง ส�ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ปีที่ 21
ฉบับที่ 255 เดือนพฤษภาคม 2555
http://www.dti.or.th/images/stories/120319_dti_
asian_2015/paper/dti_book_opt.pdf
http://www.mfa.go.th/asean
http://www.facebook.com/เราคืออาเซียน
http://schillerinstitute.org/strategic/2014/0905-
shixiu-1belt_1road.htm:hktdc research (2558)
รายงานของ IDI เรื่อง Making Inroads: Chinese
Infrastructure Investment in ASEAN and
Beyond การวิจัยและการผลิตเอกสารนี้ได้รับการ
สนับสนุนจาก Heinrich-Böll-Stiftung เอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ มูลนิธิ McKnight และมูลนิธิ Planet
Wheeler พิมพ์โดยได้รับอนุญาตจาก Creative
Commons Attribution-Noncommercial-
Sharealike 4.0 International License

You might also like