Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 29

บทที่ ๓

อิทธิพลของ
วัฒนธรรมและค่านิ ยมใน
ธุรกิจครอบครัว
2

วัฒนธรรมในธุรกิจครอบครับ
หนึ่งในองค์ประกอบสําคัญของการสื บทอดกิจการที่ประสบ
ความสําเร็ จ การมีวฒั นธรรมองค์กรแบบผูป้ ระกอบการ (Entrepreneurial
Culture) เป็ นการวัดการดําเนินการอย่างผูป้ ระกอบการ (Entrepreneurial
action) ในธุรกิจครอบครัวว่าทําได้ง่ายเพียงไร
หมายถึง ความสามารถของธุรกิจครอบครัวในการเปลี่ยนแปลงและ
ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมซึ่งเป็ นกุญแจความสําเร็ จในการสื บทอด
กิจการ

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
3

ความสํ าคัญของวัฒนธรรมในธุรกิจครอบครัว
1. วัฒนธรรมเป็ นรู ปแบบในการคิด การปฏิบตั ิ ในเรื่ องต่างๆ
ของคนในสังคม
2. วัฒนธรรมในธุรกิจครอบครัวมักจะสะท้อนออก มาจาก
วิสยั ทัศน์ (Vision) ของผูก้ ่อตั้ง
3. วัฒนธรรมในธุรกิจครอบครัว มีลกั ษณะความเป็ นอันหนึ่ง
อันเดียวกัน ทําให้สมาชิกในครอบครัว มีความเชื่อ ค่านิยมร่ วมกัน

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
4

รูปแบบวัฒนธรรมในธุรกิจครอบครัว
1. มีมิติที่ซบั ซ้อนมากเพราะมี หลายบทบาท ทั้ง
ครอบครัว ธุรกิจ และความเป็ นเจ้าของรวมอยูใ่ นบริ บทของ
ธุรกิจครอบครัว
2. วัฒนธรรมในธุรกิจครอบครัวที่เน้นบทบาทด้าน
ครอบครัว
3. ให้ความสําคัญกับลักษณะ ของระดับการรับรู ้
ความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
5

รูปแบบวัฒนธรรมในธุรกิจครอบครัว (ต่อ)
ครอบครัวมีความแตกต่างกันตามความสัมพันธ์ของ
สมาชิก แบ่งเป็ น 3 รู ปแบบ
1. วัฒนธรรมแบบความรู ้สึกเป็ นเอกฉันท์
2.วัฒนธรรมแบบความรู ้สึกตามระยะห่างระหว่างบุคคล
3. วัฒนธรรม ความรู ้สึก ตามสภาพแวดล้อม

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
6

วัฒนธรรมแบบความรู้ สึกเป็ นเอกฉันท์


1. วัฒนธรรมที่ตอ้ งการความเห็นพ้องต้องกันและการยอมรับ
2. วัฒนธรรมที่มีผลต่อการควบคุมพฤติกรรมสมาชิกในองค์กร
ได้ดี
3. วัฒนธรรมทําให้สมาชิกขององค์กรมีความจงรักภักดีและ
ผูกพันต่อองค์กรมาก
4. วัฒนธรรมทําให้มีขอ้ ตกลงร่ วมกันชัดเจน และหลีกเลี่ยง
ความขัดแย้ง
Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
7

วัฒนธรรมแบบความรู้ สึกตามระยะห่ างระหว่ างบุคคล


1. สมาชิกในครอบครัวแต่ละคนพยายามที่จะรักษาความเป็ น
อิสระของตนเอง
2. ครอบครัวละเลยที่จะแบ่งปันข้อมูลข่าวสารและข้อสังเกต
ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
3. การปฏิบตั ิดงั กล่าวจะสร้างความอ่อนแอให้กบั องค์กร
4. วัฒนธรรมประเภทนี้จะมีประสิ ทธิภาพหากใช้กบั ข้อมูล
ภายนอกครอบครัว
Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
8

วัฒนธรรมความรู้ สึกตามสภาพแวดล้ อม
หมายถึง สมาชิกในครอบครัวมี ความสามารถในการร่ วมมือกับ
ผูอ้ ื่น รวมถึงความสามารถในการรับข้อมูลจากสภาพแวดล้อมโดยรอบ
ได้เป็ นอย่างดี เช่น
1. ระดับความสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัว มีความผูกพัน
เป็ นอย่างดี
2. มีการดูแลเอาใจใส่ มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสมาชิกใน
ครอบครัว
3. เมื่อเกิดปัญหาสมาชิกในครอบครัวยังคงความสัมพันธ์ที่
เข้าใจและให้กาํ ลังใจ ซึ่งกันและกัน
Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
9

มิตคิ วามแตกต่ างทางวัฒนธรรมและสั งคม


ศาสตราจารย์ ฮอฟสเทด (Hofstede, 1980) แห่ง Maastricht
University นักสังคมศาสตร์ชาวเนเธอร์แลนด์ ได้ให้ความแตกต่างทาง
วัฒนธรรมของประเทศต่างๆ ออกเป็ น 5 มิติ
1. ดัชนีความเหลือ่ มลํา้ ของอํานาจ (Power Distance Index: PDI)
- ดัชนีที่ใช้วดั ความเหลื่อมลํ้าของอํานาจหรื อการยอมรับเรื่ องชนชั้น
- เช่น การนับถือลําดับ อาวุโสหรื อลําดับชั้นในสังคม
- วัฒนธรรมที่มีลกั ษณะความเหลื่อมลํ้าสู ง
- มีผตู ้ ดั สิ นใจ แต่เพียงผูเ้ ดียว
- ผูท้ ี่อยูใ่ นระดับตํ่าลงมามีหน้าที่เพียงปฏิบตั ิตามคําสัง่

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
10

ดัชนีความเหลื่อมลํ้าของอํานาจ (PDI) ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
11

มิตคิ วามแตกต่ างทางวัฒนธรรมและสั งคม (ต่ อ)


2. ความเป็ นปัจเจกบุคคล (Individualism: IDV)
ความเป็ นตัวของตัวเอง จะถูกปลูกฝังให้สมาชิกในสังคม
รับผิดชอบอนาคตของตนเองและต้อง พยายามพัฒนาความสามารถของ
ตนเองตลอดเวลา
ประเทศที่ปัจเจกนิยมสู งสุ ดได้แก่ สหรัฐอเมริ กา ส่ วนประเทศ
ในภูมิภาคเอเชียมีความเป็ นปั จเจกชนค่อนข้างตํ่า โดยเฉพาะจีน

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
12

ดัชนีความเป็ นปั จเจกบุคคล (lDV) ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย


Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
13

มิตคิ วามแตกต่ างทางวัฒนธรรมและสั งคม (ต่ อ)


3. ความแตกต่ างระหว่ างบทบาทหญิงชาย (Masculinity: MAS)
วัฒนธรรมที่มีลกั ษณะเน้นการแข่งขัน แก่งแย่งชิงเด่นและความ
แตกต่าง ระหว่างบทบาทหญิงชายในสังคม
- ประเทศที่ได้คะแนน MAS สู งสุ ด ได้แก่ ญี่ปุ่น
- สหรัฐและจีนอยูใ่ นอันดับที่ค่อนข้าง สูงด้วย
- ส่ วนกลุ่มประเทศที่เอื้อผูห้ ญิงมากที่สุดในโลก สวีเดน นอร์เว
- ประเทศไทย อยูใ่ นอันดับล่างๆ (หมายถึงเอื้อผูห้ ญิงสูง)

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
14

ดัชนีความแตกต่างระหว่างบทบาทหญิงชาย(MAS)ของประเทศในภูมิภาคเอเชีย
Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
15

มิตคิ วามแตกต่ างทางวัฒนธรรมและสั งคม (ต่ อ)


4. การหลีกเลีย่ งความไม่ แน่ นอน (Uncertainty Avoidance Index UAI)
ดัชนีที่บ่งบอกถึงระดับความไม่แน่นอนหรื อความผิดปกติที่
สังคมหนึ่งๆยอมรับได้
- UAI สูง คือ สังคมที่ไม่ยอมรับสภาวะ ผิดปกติ หรื อ แตกต่าง
- ญี่ปุ่นมีค่า UAI 90 ส่ วนจีนและอินเดียมีค่า UAI เท่ากับ 40
- UAI ตํ่าที่สุดในโลกได้แก่ สิ งคโปร์ เพราะเป็ นประเทศที่มีการ
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
16

ดัชนีระดับการหลีกเลีย่ งความไม่ แน่ นอน (UAI) ของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
17

มิตคิ วามแตกต่ างทางวัฒนธรรมและสั งคม (ต่ อ)


5.การให้ ความสํ าคัญกับผลลัพธ์ หรือเป้าหมายในระยะยาว
(Long Term Orientation: LTO)
- มิติท่ีให้ความสําคัญกับอนาคต
- ค่านิยม ให้ความสําคัญกับการดําเนินชีวิตด้วยความระมัดระวัง
- เช่น ความมัธยัสถ์ ความอดทน เป็ นต้น
- ประเทศที่มีค่า LTO สู ง จะให้ความสําคัญกับกับอนาคตมาก

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
18

ดัชนีการให้ความสําคัญกับผลลัพธ์หรื อเป้ าหมายในระยะยาว (LTO) ของประเทศจีนและประเทศไทย


ที่มา... เอกชัย อภิศกั ดิ์กุล. การบริ หารธุ รกิจครอบครัวศาสตร์ และศิลป์ ของความยัง่ ยืน.2561.กรุ งเทพมหานคร.บริ ษทั ทริ ปเปิ้ ล เอ็ดดูเคชัน่ จํากัด.
Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
19

ค่ านิยมธุรกิจครอบครัว
ค่านิยม (Value) เป็ นเจตคติและความเชื่อที่มีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมและการกระทําของคนหรื อกลุ่มคนที่สะท้อนให้เป็ นแบบ
แผนในทิศทางเดียวกันและต่างรุ่ นต่อๆไป ซึ่งจะปฏิบตั ิอย่างสมํ่าเสมอ
และต่อเนื่องในช่วงเวลาหนึ่งหรื อยาวนานจนก่อให้เกิดเป็ นวัฒนธรรม
ค่านิยมธุรกิจครอบครัว ( Family Business Value ) จึงเป็ น
รากฐานในการกําหนดพฤติกรรมของคนในครอบครัว ก่อเกิดเป็ น
ระบบค่านิยม ( Value System ) ถ่ายทอดจากระบบค่านิยมจากคนรุ่ น
หนึ่งไปสู่ คนรุ่ นต่อไป
Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
20

ค่ านิยม
1. แก่นของวัฒนธรรมองค์กร
2.แบบแผนเพื่อการตัดสิ นใจ
3.แรงจูงใจในการทํางาน
4.ยอมรับแรงกดดันและมีมุมมองในระยะยาว
5.ความไว้วางใจในธุรกิจ
6.ปรับปรุ งเพื่อการเปลี่ยนแปลง

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
21

ค่ านิยม (ต่ อ)
7.แผนกลยุทธ์ที่ดีข้ ึน
8.การบริ หารเชิงกลยุทธ์
9.กลยุทธ์พนั ธมิตรทางธุรกิจ
10.การสรรหาและการรักษาพนักงาน
11.บรรลุเป้ าหมายขององค์กร

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
22

การสร้ างค่ านิยมในธุรกิจครอบครัว


1.ให้สมาชิกครอบครัวทุกคนมีส่วนในธุรกิจโดยการกําหนด
ค่านิยมร่ วมกัน
2.พิจารณาความเหมาะสมว่าควรให้ผบู ้ ริ หารมืออาชีพ
ภายนอกมีส่วนในการกําหนด ค่านิยมด้วยหรื อไม่
3.จัดสรรเวลาสําหรับการประชุม เพื่อกําหนดค่านิยมในแต่
ละสัปดาห์ ค่านิยมมีอิสระในการคิด ไม่ตกลงไปในข้อผูกมัด หรื อ
ข้อกําหนดใดๆ

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
23

การสร้ างค่ านิยมในธุรกิจครอบครัว


4.ใช้เทคนิคการแก้ปัญหาและการระดมสมอง เปิ ดอภิปรายเพื่อหา
ค่านิยมหลักที่เป็ นไปได้
5.หลังจากการอภิปราย ต้องเรี ยบเรี ยงเขียนเป็ นคําหรื อข้อความที่
สั้น กะทัดรัดได้ใจความสําคัญ
6.ตัดสิ นใจ ดูความเหมาะสม ถูกต้อง ความเป็ นไปได้
7.เปิ ดรับฟังความคิดเห็นของพนักงานทุกคน เพื่อหาค่านิยมที่
ถูกต้องเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในที่ทาํ งาน
8. การบูรณาการร่ วมกันอย่างเหมาะสมระหว่างค่านิยมหลักให้
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและระบบการทํางาน
Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
24

ค่ านิยมทีพ่ บในธุรกิจครอบครัวทีป่ ระสบความสํ าเร็จ


1.ความรับผิดชอบต่ อหน้ าที(่ Responsibility)
2.กล้าพูดกล้าทําสิ่ งทีถ่ ูกต้ อง(Courage)
3.เปิ ดใจกว้ างรับฟังความเห็นของผู้อนื่ (Open-Mindedness)
4.ใฝ่ เรียนรู้ พัฒนาตนเอง(Curiosity)
5.การทุ่มเททํางาน (Hard Working)
6.ความมีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกติกา (Discipline)
7.ความยุติธรรม (fairness)

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
25

ค่ านิยมทีพ่ บในธุรกิจครอบครัวทีป่ ระสบความสํ าเร็จ


8.ความซื่อสั ตย์ (Integrity)
9.ความสุ ภาพ อ่อนน้ อมถ่ อมตน (Humility)
10.ความจริงใจ (Sincerity)
11.การให้ เกียรติกนั (Respect)
12.ประหยัด มัธยัสถ์ (Prudence)
13.การช่ วยเหลือ ดูแลซึ่งกันและกัน (Stewardship)
14.ความจงรักภักดีต่อตนเอง ครอบครัว และสั งคม (Loyalty)

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
26

ค่ านิยมทีพ่ บในธุรกิจครอบครัวทีป่ ระสบความสํ าเร็จ


15.ความเห็นใจความรู้สึกผู้อนื่ (Empathy)
16.ความไว้ วางใจกัน (Dependability)
17.การรักษาชื่อเสี ยงและศักดิ์ศรี (Reputation and Dignity)
18.ความกตัญ�ูร้ ูคุณ (Grateful)
19.ความสามัคคี (Harmony)
20.ความอดทน (Patience)

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
27

จบการบรรยาย

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
28

แบบฝึ กหัดท้ายบท

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee
29

Asst.Prof.Kawinphat Lertpontmanee

You might also like