Ê ÃÈ Ê ÊÓ I Íí Ê .3 ÓÀ 1 ( . . ÚÊ Þ º¿ÃÚÊ)

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 147

1

รายวิชา อาเซียนศึกษา
รหัสวิชา ส 23203 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 (ภาคเรียนที่ ๑) เวลา 20 ชั่วโมง
จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ศึกษา วิเคราะห์พัฒนาการของอาเซียน วัตถุประสงค์ในการก่อตัง้


อาเซียน กฎบัตรอาเซียน โครงสร้างและกลไกการดำเนินงานของอาเซียน
อัตลักษณ์อาเซียน ความร่วมมือของประเทศสมาชิกอาเซียน ความเป็ นมา
ของประชาคมอาเซียน ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเป็ น
ประชาคมอาเซียน บทบาทของประเทศไทยที่มีต่อประชาคมอาเซียน
การเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของไทยในด้านทรัพยากรมนุษย์
เศรษฐกิจ กฎหมาย และสังคมวัฒนธรรม และบทบาทของอาเซียนต่อ
สังคมโลก
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ
กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในความสำคัญของการรวม
กลุ่มอาเซียน มีความภาคภูมิใจในการเป็ นสมาชิกของอาเซียน มีความ
เข้าใจอันดีต่อสมาชิกของประเทศในกลุ่มอาเซียนและสามารถปฏิบัติตน
เป็ นสมาชิกที่ดีของสังคมอาเซียนและปรับตัวในการอยู่ร่วมกันในประชาคม
อาเซียนได้อย่างมีความสุข

ผลการเรียนรู้
1. อธิบายพัฒนาการและการก่อตัง้ อาเซียน
2

2. อธิบายวัตถุประสงค์ในการก่อตัง้ อาเซียน กฎบัตรอาเซียน


โครงสร้างและกลไกการดำเนินงานของอาเซียน
3. อธิบายสาระสำคัญของการประชุมสุดยอดอาเซียน
4. วิเคราะห์อัตลักษณ์อาเซียน
5. อธิบายบทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิกในด้านต่างๆ
6. อธิบายเกี่ยวกับสามเสาหลักของประชาคมอาเซียน
7. อธิบายบทบาทของไทยต่ออาเซียน
8. วิเคราะห์ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากการเป็ นประชาคมอาเซียน
9. อธิบายวิธีการเตรียมความพร้อมของไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคม
อาเซียน
10. วิเคราะห์บทบาทของอาเซียนที่มีต่อสังคมโลกในด้านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

รวมทัง้ หมด 10 ผลการเรียนรู้


3

โครงสร้างรายวิชา วิชาอาเซียนศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชัน
้ มัธยมศึกษา
ปี ที่ 3
น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา
ลำดั หนัก
การเรียน ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ คะแน
รู้ ง)

1 อาเซียน 1. อธิบาย อาเซียนก่อตัง้ ขึน
้ ตาม 5 20
น่ารู้ พัฒนาการและ ปฏิญญาอาเซียน มี
การก่อตัง้ อาเซียน พัฒนาการจากสมาคม
2. อธิบาย อาสา วัตถุประสงค์ของ
วัตถุประสงค์ใน การก่อตัง้ อาเซียนกำหนด
การก่อตัง้ อาเซียน ไว้ในปฏิญญาอาเซียน
กฎบัตรอาเซียน โดยมีกฎบัตรอาเซียนซึ่ง
โครงสร้างและ เปรียบเสมือนธรรมนูญที่
กลไก การดำเนิน ประเทศสมาชิกเห็นชอบ
งานของอาเซียน ร่วมกันในการกำหนด
3. อธิบายสาระ โครงสร้างและกลไกการ
สำคัญของการ ดำเนินงานของอาเซียน
ประชุมสุดยอด การประชุมสุดยอด
อาเซียน อาเซียนจะมีการกำหนด
4. วิเคราะห์อัต นโยบายสูงสุดและ
ลักษณ์อาเซียน แนวทางการดำเนินงาน
นอกจากนัน
้ แผนงานการ
4

น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา
ลำดั หนัก
การเรียน ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ คะแน
รู้ ง)

จัดตัง้ ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน ยังให้
ความสำคัญกับการสร้าง
อัตลักษณ์อาเซียนเพื่อ
ความเป็ นอันหนึ่งอัน
เดียวกันของอาเซีย
2 พัฒนากา 5. อธิบายบทบาท สามเสาหลักของ 5 20
รของ ของอาเซียนต่อ ประชาคมอาเซียนมีเป้ า
อาเซียน ประเทศ สมาชิก หมายและการดำเนินงาน
ในด้านต่างๆ ซึ่งจะนำไปสู่การจัดตัง้
6. อธิบายเกี่ยวกับ ประชาคมอาเซียน
สามเสาหลักของ อาเซียนจึงมีบทบาท
ประชาคมอาเซียน สำคัญต่อประเทศสมาชิก
อาเซียนในหลายด้าน
3 ไทยเข้าสู่ 7. อธิบายบทบาท ประเทศไทยเตรียมความ 5 20
ประชาค ของไทยต่อ พร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคม
ม อาเซียน อาเซียนในด้านต่างๆ
อาเซียน 8. วิเคราะห์ และมีบทบาทต่ออาเซียน
ประโยชน์ที่ไทยได้ ทัง้ ด้านการเมืองและ
รับจากการเป็ น ความมั่นคง ด้าน
5

น้ำ
ชื่อหน่วย เวลา
ลำดั หนัก
การเรียน ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ (ชั่วโม
บที่ คะแน
รู้ ง)

ประชาคมอาเซียน เศรษฐกิจ และด้านสังคม
9. อธิบายวิธีการเต และวัฒนธรรม ซึ่งไทยได้
รียมความพร้อม รับประโยชน์จากการเป็ น
ของไทย เพื่อเข้า ประชาคมอาเซียน
สู่ประชาคม
อาเซียน
4 อาเซียน 10. วิเคราะห์ อาเซียนมีบทบาทสำคัญ 5 20
กับสังคม บทบาทของ ต่อสังคมโลกในด้าน
โลก อาเซียนที่มีต่อ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม
สังคมโลกในด้าน และวัฒนธรรม
การเมือง
เศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม
สอบปลายภาคเรียน / จิตพิสัย 1 20
รวมคะแนนปลายภาค 20 100
6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 อาเซียนน่ารู้
เวลา 5 ชั่วโมง

1. ผลการเรียนรู้
ข้อ 1 อธิบายพัฒนาการและการก่อตัง้ อาเซียน
7

ข้อ 2 อธิบายวัตถุประสงค์ในการก่อตัง้ อาเซียน กฎบัตรอาเซียน


โครงสร้างและกลไกการดำเนินงาน ของอาเซียน
ข้อ 3 อธิบายสาระสำคัญของการประชุมสุดยอดอาเซียน
ข้อ 4 วิเคราะห์อัตลักษณ์อาเซียน

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
อาเซียนก่อตัง้ ขึน
้ ตามปฏิญญาอาเซียน มีพัฒนาการจากสมาคมอาสา
วัตถุประสงค์ของการก่อตัง้ อาเซียนกำหนดไว้ในปฏิญญาอาเซียน โดยมี
กฎบัตรอาเซียนซึ่งเปรียบเสมือนธรรมนูญที่ประเทศสมาชิกเห็นชอบร่วมกัน
ในการกำหนดโครงสร้างและกลไกการดำเนินงานของอาเซียน การ
ประชุมสุดยอดอาเซียนจะมีการกำหนดนโยบายสูงสุดและแนวทางการ
ดำเนินงาน นอกจากนัน
้ แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียน ยังให้ความสำคัญกับการสร้างอัตลักษณ์อาเซียนเพื่อความเป็ นอัน
หนึ่งอันเดียวกันของอาเซียนการก่อตัประเทศ

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
 อาเซียนศึกษา
1) พัฒนาการของอาเซียน
2) การก่อตัง้ อาเซียน
3) วัตถุประสงค์ในการก่อตัง้ อาเซียน
4) กฎบัตรอาเซียน
5) โครงสร้างและกลไกการดำเนินงานของอาเซียน
6) การประชุมสุดยอดอาเซียน
8

7) อัตลักษณ์อาเซียน

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4.4 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
4.5 ความสามารถในการแก้ปัญหา

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.1 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางฯ
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
3) มุ่งมั่นในการทำงาน
5.2 คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน
1) มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูก
ต้อง
3) มีความภาคภูมิใจในความเป็ นไทยและความเป็ นอาเซียน
4) มีความตระหนักในความเป็ นอาเซียน
5) มีความสามารถในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อ่ น

6) เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม
7) มีภาวะผู้นำ
8) เห็นปั ญหาสังคมและลงมือทำเพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง
9

9) มีความสามารถในการจัดการควบคุมตนเอง
10) มีวิถีชีวิตประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล สันติวิธี และ
สันติธรรม
11) ยอมรับความแตกต่างในการนับถือศาสนา

6. ชิน
้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง อาเซียนน่ารู้

7. การวัดและการประเมินผล
7.1 การประเมินก่อนเรียน
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อาเซียนน่า
รู้
7.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1) ตรวจใบงานที่ 1.1 เรื่อง พัฒนาการและการก่อตัง้ อาเซียน
2) ตรวจใบงานที่ 1.2 เรื่อง กฎบัตรอาเซียน
3) ตรวจใบงานที่ 1.3 เรื่อง การประชุมสุดยอดอาเซียน
4) ตรวจใบงานที่ 1.4 เรื่อง ความหลากหลายและความคล้ายคลึงกัน
ของประเทศสมาชิกอาเซียน
5) ตรวจแบบบันทึกการอ่าน
6) ประเมินการนำเสนอผลงาน
7) สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
8) สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
9) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
7.3 การประเมินหลังเรียน
10

- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง อาเซียนน่า


รู้
7.4 การประเมินชิน
้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง อาเซียนน่ารู้

8. กิจกรรมการเรียนรู้
- นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
- ชั่วโมงที่ 1 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 1.1 เรื่อง พัฒนาการและการ
ก่อตัง้ อาเซียน
- ชั่วโมงที่ 2 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 1.2 เรื่อง กฎบัตรอาเซียน
- ชั่วโมงที่ 3 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 1.3 เรื่อง การประชุมสุดยอด
อาเซียน
- ชั่วโมงที่ 4 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 1.4 เรื่อง ความหลากหลายและ
ความคล้ายคลึงกันของประเทศสมาชิกอาเซียน
- นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
11

ชั่วโมงที่ 1
ใบงานที่ 1.1 พัฒนาการและการก่อตัง้ อาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี ้
1. ทำไมองค์การสนธิสัญญาป้ องกันร่วมกันแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หรือ SEATO จึงต้องล้มเลิกไป

2. สมาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือสมาคมอาสา (ASA) มีจุดเริ่มต้นที่มี


จุดเด่นอย่างไร และมีประเทศใดบ้างเป็ นสมาชิก

3. ทำไมสมาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือสมาคมอาสา จึงต้องล้มเลิกไป

4. ประเทศสมาชิกร่วมก่อตัง้ อาเซียน ได้แก่ประเทศใดบ้าง

5. วัตถุประสงค์ในการก่อตัง้ อาเซียนในระยะเริ่มแรกคืออะไร

6. การประกาศปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2
(Declaration of ASEAN Concord II) มีจุดเน้นที่สำคัญอย่างไร

7. ทำไมอาเซียนจึงหันมามุ่งเน้นกระชับความสัมพันธ์และขยายความร่วมมือ
ด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึน

12

8.ประเทศสมาชิกอาเซียนมีสภาพภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ที่คล้ายคลึง
กันเด่นชัดในเรื่องใด

เฉลยใบงานที่ 1.1 พัฒนาการและการก่อตัง้ อาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี ้
1. ทำไมองค์การสนธิสัญญาป้ องกันร่วมกันแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หรือ SEATO จึงต้องล้มเลิกไป
เนื่องจากมีประเทศสมาชิกน้อยและการดำเนินการอิงกับนโยบาย
ของสหรัฐอเมริกามากเกินไป
2. สมาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือสมาคมอาสา (ASA) มีจุดเริ่มต้นที่มี
จุดเด่นอย่างไร และมีประเทศ ใดบ้างเป็ นสมาชิก
เป็ นการเริ่มต้นจากการรวมกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ โดยไม่พึ่งพาประเทศมหาอำนาจ
โดยมาเลเซียและฟิ ลิปปิ นส์เป็ นผู้เริ่มต้น และต่อมาไทยเข้ามาเป็ น
สมาชิก
3. ทำไมสมาคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือสมาคมอาสา จึงต้องล้มเลิกไป
เพราะมีเหตุขัดแย้งกันระหว่างมาเลเซียและฟิ ลิปปิ นส์ (ซึ่งเป็ นผู้
ก่อตัง้ ) ในเรื่องดินแดน และมีแนวคิดใหม่ในการก่อตัง้ สมาคมแห่งเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
4. ประเทศสมาชิกร่วมก่อตัง้ อาเซียน ได้แก่ประเทศใดบ้าง
อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ และไทย
5. วัตถุประสงค์ในการก่อตัง้ อาเซียนในระยะเริ่มแรกคืออะไร
13

เพื่อส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกทางด้าน
การเมือง เศรษฐกิจ สังคม รวมถึงส่งเสริมสันติภาพ และความมั่นคงภายใน
ภูมิภาคและความสัมพันธ์ระหว่างภูมิภาคกับต่างประเทศ
6. การประกาศปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2
(Declaration of ASEAN Concord II) มีจุดเน้นที่สำคัญอย่างไร
กำหนดให้มีการพัฒนาการรวมตัวให้กระชับแน่นสู่การเป็ น
ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย
3 เสาหลัก คือ 1) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
2) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
3) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
7. ทำไมอาเซียนจึงหันมามุ่งเน้นกระชับความสัมพันธ์และขยายความร่วมมือ
ด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกันมากขึน

เพราะการค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้าจาก
กลุ่มประเทศอื่น รุนแรงมากขึน

8. ประเทศสมาชิกอาเซียนมีสภาพภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ที่คล้ายคลึง
กันเด่นชัดในเรื่องใด
สภาพภูมิศาสตร์คือ ลักษณะภูมิประเทศที่เป็ นที่ราบ ที่ราบสูง
ภูเขา แม่น้ำ คล้ายคลึงกัน มีภูมิอากาศร้อนชื้น เช่นเดียวกัน เนื่องจากอยู่
ในละติจูดใกล้กัน และมีประวัติศาสตร์ที่คล้ายคลึงกันในเรื่องส่วนใหญ่ เคย
ตกเป็ นอาณานิคมของประเทศทางตะวันตกเช่นกัน ยกเว้นประเทศไทย

ชั่วโมงที่ 2
ใบงานที่ 1.2 กฎบัตรอาเซียน
14

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงโครงสร้างกฎบัตรอาเซียน

โครงสร้างกฎบัตร
อาเซียน
15

เฉลยใบงานที่ 1.2 กฎบัตรอาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงโครงสร้างกฎบัตรอาเซียน

บทบัญญัติทั่วไป
และบทบัญญัติ

ความสัมพันธ์ วัตถุประสงค์และ

อัตลักษณ์และ สภาพบุคคลตาม

การบริหาร องค์กรที่มีความ
โครงสร้างกฎบัตร
และขัน
้ ตอนการ สัมพันธ์
อาเซียน

งบประมาณและ สมาชิกภาพ

การระงับข้อพิพาท องค์กร

การตัดสินใจ การคุ้มกันและ
16

ชั่วโมงที่ 3
ใบงานที่ 1.3 ความหลากหลายและความคล้ายคลึงกัน ของประเทศ
สมาชิกอาเซียน

ตอนที่ 1
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์ภาพ แล้วตอบคำถาม

ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3

คำถาม
1. ภาพที่ 1, 2 และ 3 มีความคล้ายคลึงกันหรือแตกต่างกันอย่างไร

2. นักเรียนคิดว่า ความคล้ายคลึงและความแตกต่างกันของการนับถือ
ศาสนา มีผลต่อการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติของ
ประชาชนชาวอาเซียนหรือไม่ จงอธิบาย
17

ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3

คำถาม
1. นักเรียนคิดว่า ชาวอาเซียนส่วนใหญ่จะสามารถรับประทานอาหาร
เมนูในภาพดังกล่าวได้หรือไม่ อธิบายเหตุผล

2. นักเรียนคิดว่า การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนต่างก็มีอาหารประจำ
ชาติของตนเองนัน
้ มีผลดีอย่างไร จงอธิบาย

ตอนที่ 2
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในประเด็นทีกำ
่ หนด
1. การที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีประชากรหลายเชื้อชาติ จะส่งผลต่อ
การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขหรือไม่ จงอธิบายเหตุผล
18

2. นักเรียนคิดว่า การที่ประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียนต่างก็มี
ภาษาราชการของตนที่แตกต่างกันไป จะทำให้เป็ นอุปสรรคต่อการ
ติดต่อสัมพันธ์กันหรือไม่ จงอธิบายเหตุผล

เฉลยใบงานที่ 1.3 ความหลากหลายและความคล้ายคลึงกัน ของ


ประเทศสมาชิกอาเซียน

ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3

คำถาม
1. ภาพที่ 1, 2 และ 3 มีความคล้ายคลึงกันหรือแตกต่างกันอย่างไร
ความคล้ายคลึงกัน คือ เป็ นพิธีกรรมทางศาสนาซึ่งเป็ นศาสนา
ที่ประชากรอาเซียนนับถือ ได้แก่ พระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต์
ศาสนาอิสลาม ส่วนความแตกต่างกัน คือ พิธีกรรมของแต่ละศาสนา
นัน
้ จะมีขน
ั ้ ตอนตามพิธีกรรมที่แสดงออกถึงความเชื่อความศรัทธา
ต่างกันออกไป
19

2. นักเรียนคิดว่า ความคล้ายคลึงและความแตกต่างกันของการนับถือ
ศาสนา มีผลต่อการอยู่ร่วมกัน อย่างสันติของ
ประชาชนชาวอาเซียนหรือไม่ จงอธิบาย

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพที่ 3

คำถาม
1. นักเรียนคิดว่า ชาวอาเซียนส่วนใหญ่จะสามารถรับประทานอาหาร
เมนูในภาพดังกล่าวได้หรือไม่ อธิบายเหตุผล
(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครูผู้สอน)
20

2. นักเรียนคิดว่า การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนต่างก็มีอาหารประจำ
ชาติของตนเองนัน
้ มีผลดีอย่างไร จงอธิบาย

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ตอนที่ 2
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นในประเด็นทีกำ
่ หนด
1. การที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีประชากรหลายเชื้อชาติ จะส่งผลต่อ
การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขหรือไม่ จงอธิบายเหตุผล

2. นักเรียนคิดว่า การที่ประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียนต่างก็มี
ภาษาราชการของตนที่แตกต่างกันไป จะทำให้เป็ นอุปสรรคต่อการ
ติดต่อสัมพันธ์กันหรือไม่ จงอธิบายเหตุผล

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
21

ชั่วโมงที่ 4
ใบงานที่ 1.4 การประชุมสุดยอดอาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับการประชุมสุดยอดอาเซียน
ตามหัวข้อที่กำหนด
การ
หลักฐาน
ประชุมสุดยอด สถานที่ สาระสำคัญ
สำคัญ
อาเซียน
1.ครัง้ ที่ 1 พ.ศ.
2519
2.ครัง้ ที่ 3 พ.ศ.
2530

3.ครัง้ ที่ 4 พ.ศ.


2535

4.ครัง้ ที่ 9 พ.ศ.


2546

5.ครัง้ ที่ 12
22

การ
หลักฐาน
ประชุมสุดยอด สถานที่ สาระสำคัญ
สำคัญ
อาเซียน
พ.ศ. 2550

6.ครัง้ ที่ 13
พ.ศ. 2550
7.ครัง้ ที่ 14
พ.ศ. 2552

8.ครัง้ ที่ 18
พ.ศ. 2554
23

เฉลย ใบงานที่ 1.4 การประชุมสุดยอดอาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับการประชุมสุดยอดอาเซียน
ตามหัวข้อที่กำหนด
การ
หลักฐาน
ประชุมสุดยอด สถานที่ สาระสำคัญ
สำคัญ
อาเซียน
1.ครัง้ ที่ 1 พ.ศ. เกาะบาหลี ปฏิญญาว่า - การส่งเสริมสันติภาพและ

2519 ประเทศ ด้วย ความมั่นคง


อินโดนีเซีย ความร่วมมือ ในภูมิภาคเอเชียตะวัน
อาเซียน ออกเฉียงใต้
- พัฒนาความสัมพันธ์และ
ความร่วมมือ
กับประเทศอื่นๆ ใน
ภูมิภาค
2.ครัง้ ที่ 3 พ.ศ. กรุงมะนิลา ปฏิญญา - ยืนยันความสำคัญของการ

2530 ประเทศ มะนิลา รวมตัว


ฟิ ลิปปิ นส์ ปี 2530 ของอาเซียน
24

การ
หลักฐาน
ประชุมสุดยอด สถานที่ สาระสำคัญ
สำคัญ
อาเซียน
- ส่งเสริมอุตสาหกรรมท่อง
เที่ยวระหว่าง
ประเทศสมาชิก
- ประกาศให้ปี 2535 เป็ นปี
แห่งการ
ท่องเที่ยวอาเซียน
3.ครัง้ ที่ 4 พ.ศ. ประเทศ ปฏิญญา - ส่งเสริมความร่วมมือ

2535 สิงคโปร์ สิงคโปร์ ระหว่างอาเซียน


กับสหประชาชาติและ
องค์การ
ระหว่างประเทศ
- ส่งเสริมให้จัดตัง้ เขตการ
ค้าเสรีอาเซียน
(AFTA)
4.ครัง้ ที่ 9 พ.ศ. เกาะบาหลี ปฏิญญาว่า - การจัดตัง้ ประชาคม

2546 ประเทศ ด้วย อาเซียนในสามเสา


อินโดนีเซีย ความร่วมมือ - แผนปฏิบัติการประชาคม
อาเซียน เศรษฐกิจ
ฉบับที่ 2 หรือ อาเซียน
แถลงการณ์
บาหลี
ฉบับที่ 2
5.ครัง้ ที่ 12 เมืองเซบู ปฏิญญาเซบู - มุ่งไปสู่ประชาคมที่มีความ

พ.ศ. 2550 ประเทศ เอื้ออาทร


25

การ
หลักฐาน
ประชุมสุดยอด สถานที่ สาระสำคัญ
สำคัญ
อาเซียน
ฟิ ลิปปิ นส์ และแบ่งปั นด้าน
ทรัพยากรมนุษย์
สิ่งแวดล้อม และ
วัฒนธรรม
- เร่งรัดการจัดตัง้ ประชาคม
อาเซียน
ใน พ.ศ. 2558
6.ครัง้ ที่ 13 ประเทศ ปฏิญญา - ประกาศรับรองกฎบัตร

พ.ศ. 2550 สิงคโปร์ สิงคโปร์ อาเซียน


ว่าด้วยกฎบัตร - ลงนามในแผนการจัดตัง้
อาเซียน ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน
7.ครัง้ ที่ 14 อำเภอชะอำ ปฏิญญา - มุ่งเน้นเรื่องกฎบัตร

พ.ศ. 2552 เพชรบุรี ชะอำ-หัวหิน อาเซียนสำหรับ


ประเทศไทย ว่าด้วยแผน ประชาชนอาเซียน
งาน - รับรองเพลง The ASEAN
สำหรับ Way เป็ น
ประชาคม เพลงประจำอาเซียน
อาเซียน
พ.ศ. 2552-
2558
8.ครัง้ ที่ 18 กรุงจาการ์ตา – - การแก้ไขปั ญหาความขัด

พ.ศ. 2554 ประเทศ แย้งทาง


อินโดนีเซีย พรมแดนระหว่างไทยกับ
26

การ
หลักฐาน
ประชุมสุดยอด สถานที่ สาระสำคัญ
สำคัญ
อาเซียน
กัมพูชา
- ผลักดันให้อาเซียนพัฒนา
สู่ประชาคม
อาเซียนใน พ.ศ. 2558
- การสร้างประชาคม
อาเซียนให้มี
บทบาทในประชาคมโลก
27

9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน อาเซียนศึกษา ม.3
2) แบบปฏิบัติกิจกรรม อาเซียนศึกษา ม.3
3) แผนที่
4) ตัวอย่างข่าว
5) บัตรภาพ
6) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง พัฒนาการและการก่อตัง้ อาเซียน
7) ใบงานที่ 1.2 เรื่อง กฎบัตรอาเซียน
8) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง ความหลากหลายและความคล้ายคลึงกันของ
ประเทศสมาชิกอาเซียน
9) ใบงานที่ 1.4 เรื่อง การประชุมสุดยอดอาเซียน
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.mfa.go.th/asean/
- http://www.aseanthai.net/
- http://th.wikipedia.org/wiki/กฎบัตรอาเซียน
- http://www.thai-aec.com/กฎบัตรอาเซียน-asean-charter
28

การประเมิ น ชิ ้น งาน/ภาระงาน (รวบยอด)


แบบประเมินหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง อาเซียนน่ารู้
รายการ คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
ประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. การ อธิบาย อธิบาย อธิบาย อธิบาย
อธิบาย พัฒนาการ พัฒนาการ พัฒนาการ พัฒนาการ
พัฒนาการ การก่อตัง้ การก่อตัง้ การก่อตัง้ การก่อตัง้
การก่อตัง้ อาเซียนและ อาเซียนและ อาเซียนและ อาเซียนและ
อาเซียนและ วัตถุประสงค์ใน วัตถุประสงค์ใน วัตถุประสงค์ใน วัตถุประสงค์ใน
วัตถุประสงค์ การก่อตัง้ การก่อตัง้ การก่อตัง้ การก่อตัง้
ในการก่อตัง้ อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก
อาเซียน ต้อง ชัดเจน ต้องเป็ นส่วน ต้องเป็ นบางส่วน ต้อง เป็ นบาง
ใหญ่ ส่วน แต่ไม่
ชัดเจน
2. การ อธิบายสาระ อธิบายสาระ อธิบายสาระ อธิบายสาระ
อธิบายสาระ สำคัญของ สำคัญของ สำคัญของ สำคัญของ
สำคัญของ กฎบัตรอาเซียน กฎบัตรอาเซียน กฎบัตรอาเซียน กฎบัตรอาเซียน
กฎบัตร ได้ถูกต้อง ครบ ได้ถูกต้องเป็ น ได้ถูกต้องเป็ น ได้ถูกต้องเป็ น
อาเซียน ถ้วน ชัดเจน ส่วนใหญ่ บางส่วน บางส่วน แต่ไม่
ชัดเจน
3. การ อธิบายโครงสร้าง อธิบายโครงสร้าง อธิบายโครงสร้าง อธิบายโครงสร้าง
อธิบาย และกลไกการ และกลไกการ และกลไกการ และกลไกการ
โครงสร้าง ดำเนินงานของ ดำเนินงานของ ดำเนินงานของ ดำเนินงานของ
และกลไกการ อาเซียนและการ อาเซียนและการ อาเซียนและการ อาเซียนและการ
ดำเนินงาน ประชุมสุดยอด ประชุมสุดยอด ประชุมสุดยอด ประชุมสุดยอด
ของอาเซียน อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก
29

และการ ต้อง ครบถ้วน ต้องเป็ นส่วน ต้องเป็ นบางส่วน ต้องเป็ นบางส่วน


ประชุมสุดยอ ชัดเจน ใหญ่ แต่ไม่ชัดเจน
ดอาเซียน
4. การ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์
วิเคราะห์ แนวทางการ แนวทางการ แนวทางการ แนวทางการ
แนวทางการ สร้างอัตลักษณ์ สร้างอัตลักษณ์ สร้างอัตลักษณ์ สร้างอัตลักษณ์
สร้างอัต อาเซียนได้อย่าง อาเซียนได้อย่าง อาเซียนได้อย่าง อาเซียนไม่ถูก
ลักษณ์ มีเหตุผล ถูกต้อง มีเหตุผล มีเหตุผล ต้อง
อาเซียน เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน 14 - 16 11 - 13 8 - 10 ต่ำกว่า 8
ระดับ ดี
ดีมาก พอใช้ ปรับปรุง
คุณภาพ

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถ ูกต้องที่สุ ดเพียงข้อเดียว
1. การเรียงลำดับประเทศที่เป็ นสมาชิก 6. องค์กรใดของอาเซียนมีหน้าที่เตรียม
อาเซียน 5 ลำดับสุดท้าย ข้อใดถูก การประชุมสุดยอดอาเซียน
ต้อง ก. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน
ก. กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ บรูไน ข. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน
30

เวียดนาม ค. สำนักเลขาธิการอาเซียน
ข. เวียดนาม ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ ง. เลขาธิการอาเซียน
บรูไน 7. องค์กรใดมีหน้าที่ประสานงานและ
ค. บรูไน เวียดนาม กัมพูชา เมีย ดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม
นมาร์ ลาว ต่างๆ ขององค์กรทัง้ หลายของ
ง. บรูไน เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ อาเซียน
กัมพูชา ก. สำนักเลขาธิการอาเซียน
2. การก่อตัง้ อาเซียนในระยะเริ่มแรก ข. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน
นัน
้ มีวัตถุประสงค์สำคัญในเรื่องใด ค. สำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ
ก. การพัฒนาเศรษฐกิจ ง. คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำ
ข. การเสริมสร้างสันติภาพ อาเซียน
ค. การส่งเสริมด้านการศึกษา 8. การประชุมสุดยอดอาเซียนครัง้ ที่ 13
ง. ความร่วมมือกันด้านสังคมและ ที่ประเทศสิงคโปร์ มีสาระสำคัญใน
วัฒนธรรม เรื่องใด
3. คำว่า ASEAN มาจากชื่อเต็มว่าอะไร ก. ยืนยันการรวมตัวของอาเซียน
ก. Asia South East Association ข. ประกาศรับรองกฎบัตรอาเซียน
Nations ค. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง
ข. Asia South East Association ง. จัดตัง้ ประชาคมอาเซียนในสาม
for National เสาหลักอาเซียน
ค. Association of Southeast 9. ข้อใดกล่าวถึงอัตลักษณ์อาเซียนได้
Asian Nations ตรงประเด็นที่สด

ง. Association for South East ก. เน้นการแสวงหาผลประโยชน์ใน
Asian National ต่างประเทศ
4. กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนสิ่งใด ข. เน้นการสร้างความแปลกใหม่
ก. ธรรมนูญของอาเซียน ระหว่างประเทศสมาชิก
ข. สายสัมพันธ์ของชาวอาเซียน ค. เน้นการสร้างอนุสาวรีย์ที่แสดง
ค. ทิศทางการดำเนินงานของ ความเป็ นอาเซียน
31

อาเซียน ง. เน้นการอยู่ร่วมกันและส่งเสริม
ง. กฎหมายระหว่างประเทศของ ความเข้าใจอันดี ระหว่าง
ประเทศสมาชิกอาเซียน สมาชิก
5. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง 10. ปั ญหาสำคัญในการสร้างอัตลักษณ์
ประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน ของอาเซียน คืออะไร
จะมีหน้าที่ในองค์กรใดของอาเซียน ก. ความหลากหลายของ
ก. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน ทรัพยากรธรรมชาติ
ข. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ข. ประชาชนแต่ละประเทศใช้ภาษา
ค. สำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ แตกต่างกัน
ง. คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำ ค. ประวัติความเป็ นมาของแต่ละ
อาเซียน ประเทศมีความแตกต่าง กัน
ง. ความแตกต่างและความคล้ายคลึง
กันด้านการเมือง การปกครอง
สังคมและวัฒนธรรม
32

11. ประชากรในประเทศใดในอาเซียนที่ 16. ประเทศสมาชิกอาเซียนมีลักษณะ


ส่วนใหญ่เป็ นเชื้อสายมองโกลอยด์ คล้ายคลึงกันในเรื่องใด
ก. มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ ก. มีระบอบการปกครองเดียวกัน
ข. ลาว เมียนมาร์ ไทย เวียดนาม ข. รับวัฒนธรรมจากอินเดียเหมือน
ค. อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ กัน
ง. มาเลเซีย บรูไน ค. ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
12. ประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกษตรกรรมเหมือนกัน
ได้รับอิทธิพลทางศาสนามาจาก ง. นับถือศาสนาเดียวกันหมดทัง้
ประเทศใด ภูมิภาค
ก. ขอม จีน 17. ปั ญหาสำคัญของลาวทางด้าน
ข. จีน ญี่ปุ่น ภูมิศาสตร์ คืออะไร
ค. อินเดีย จีน ก. ไม่มีลมมรสุมพัดผ่าน
ง. ขอม อินเดีย ข. ไม่มีเส้นทางออกสู่ทะเล
13. อาหารของประเทศไทยมีส่วน ค. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นภูเขา
คล้ายคลึงกับอาหารของประเทศ ง. มีแม่น้ำไหลผ่านชายแดน
สมาชิกอาเซียนประเทศใด 18. ศาสนาใดในอาเซียนที่มีจำนวน
ก. ลาว บรูไน ประชากรนับถือมากที่สุด
ข. เวียดนาม ฟิ ลิปปิ นส์ ก. ศาสนาคริสต์
ค. จีน เวียดนาม กัมพูชา ข. ศาสนาอิสลาม
ง. มาเลเซีย อินโดนีเซีย เมียนมาร์ ค. พระพุทธศาสนา
ลาว ง. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู
14. ข้าวเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของ 19. ประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศใดที่
ประเทศใดในอาเซียน มีระบอบการปกครองแตกต่างจาก
ก. ไทย พม่า ลาว ประเทศอื่น
ข. ไทย เวียดนาม พม่า ก. ฟิ ลิปปิ นส์
ค. ไทย ลาว เวียดนาม ข. อินโดนีเซีย
ง. ไทย ฟิ ลิปปิ นส์ เวียดนาม ค. ลาว
33

15. ประเทศใดมีความคล้ายคลึงทาง ง. บรูไน


วัฒนธรรมมากที่สุด 20. การรวมกลุ่มอาเซียนมีผลดีในด้านใด
ก. ไทย - ลาว มากที่สุด
ข. บรูไน - สิงคโปร์ ก. เพิ่มอำนาจการต่อรองด้าน
ค. กัมพูชา - พม่า เศรษฐกิจกับประเทศ ภูมิภาคอื่น
ง. เวียดนาม - มาเลเซีย ข. การค้าระหว่างประเทศเป็ นไป
อย่างมีระบบ
ค. มีการร่วมมือกันระหว่างประเทศที่
พัฒนาแล้วและ กำลังพัฒนา
ง. ประเทศสมาชิกมีการติดต่อ
สัมพันธ์กันได้สะดวก
34

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ได้คะแนน คะแนนเต็ม

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถ ูกต้องที่สุ ดเพียงข้อเดียว 20
1. การรวมกลุ่มอาเซียนมีผลดีในด้านใด 6. ประเทศใดมีความคล้ายคลึงทาง
มากที่สุด วัฒนธรรมมากที่สุด
ก. เพิ่มอำนาจการต่อรองด้าน ก. เวียดนาม - มาเลเซีย
เศรษฐกิจกับประเทศ ภูมิภาคอื่น ข. บรูไน - สิงคโปร์
ข. มีการร่วมมือกันระหว่างประเทศที่ ค. กัมพูชา - พม่า
พัฒนาแล้วและ กำลังพัฒนา ง. ไทย - ลาว
ค. ประเทศสมาชิกมีการติดต่อ 7. ข้าวเป็ นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของ
สัมพันธ์กันได้สะดวก ประเทศใดในอาเซียน
ง. การค้าระหว่างประเทศเป็ นไป ก. ไทย ฟิ ลิปปิ นส์ เวียดนาม
อย่างมีระบบ ข. ไทย เวียดนาม พม่า
2. ประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศใดที่ ค. ไทย ลาว เวียดนาม
มีระบอบการปกครองแตกต่างจาก ง. ไทย พม่า ลาว
ประเทศอื่น 8. อาหารของประเทศไทยมีส่วน
ก. อินโดนีเซีย คล้ายคลึงกับอาหารของประเทศ
ข. ฟิ ลิปปิ นส์ สมาชิกอาเซียนประเทศใด
ค. บรูไน ก. มาเลเซีย อินโดนีเซีย เมียนมาร์
ง. ลาว ลาว
3. ศาสนาใดในอาเซียนที่มีจำนวน ข. จีน เวียดนาม กัมพูชา
ประชากรนับถือมากที่สุด ค. เวียดนาม ฟิ ลิปปิ นส์
ก. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ง. ลาว บรูไน
ข. พระพุทธศาสนา 9. ประชากรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ค. ศาสนาอิสลาม ได้รับอิทธิพลทางศาสนามาจาก
ง. ศาสนาคริสต์ ประเทศใด
4. ปั ญหาสำคัญของลาวทางด้าน ก. ขอม อินเดีย
ภูมิศาสตร์ คืออะไร ข. อินเดีย จีน
35

ก. มีแม่น้ำไหลผ่านชายแดน ค. จีน ญี่ปุ่น


ข. พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นภูเขา ง. ขอม จีน
ค. ไม่มีเส้นทางออกสู่ทะเล 10. ประชากรในประเทศใดในอาเซียนที่
ง. ไม่มีลมมรสุมพัดผ่าน ส่วนใหญ่เป็ นเชื้อสายมองโกลอยด์
5. ประเทศสมาชิกอาเซียนมีลักษณะ ก. มาเลเซีย บรูไน
คล้ายคลึงกันในเรื่องใด ข. อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์
ก. ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ค. ลาว เมียนมาร์ ไทย เวียดนาม
เกษตรกรรมเหมือนกัน ง. มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์
ข. นับถือศาสนาเดียวกันหมดทัง้
ภูมิภาค
ค. รับวัฒนธรรมจากอินเดียเหมือน
กัน
ง. มีระบอบการปกครองเดียวกัน
36

11. ปั ญหาสำคัญในการสร้างอัตลักษณ์ 16. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง


ของอาเซียน คืออะไร ประเทศของประเทศสมาชิกอาเซียน
ก. ความแตกต่างและความคล้ายคลึง จะมีหน้าที่ในองค์กรใดของอาเซียน
กันด้านการเมือง การปกครอง ก. คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำ
สังคมและวัฒนธรรม อาเซียน
ข. ประวัติความเป็ นมาของแต่ละ ข. สำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ
ประเทศมีความ แตก ค. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน
ต่างกัน ง. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน
ค. ประชาชนแต่ละประเทศใช้ภาษา 17. กฎบัตรอาเซียนเปรียบเสมือนสิ่งใด
แตกต่างกัน ก. กฎหมายระหว่างประเทศของ
ง. ความหลากหลายของ ประเทศสมาชิกอาเซียน
ทรัพยากรธรรมชาติ ข. ทิศทางการดำเนินงานของ
12. ข้อใดกล่าวถึงอัตลักษณ์อาเซียนได้ อาเซียน
ตรงประเด็นที่สด
ุ ค. สายสัมพันธ์ของชาวอาเซียน
ก. เน้นการอยู่ร่วมกันและส่งเสริม ง. ธรรมนูญของอาเซียน
ความเข้าใจอันดี ระหว่าง 18. คำว่า ASEAN มาจากชื่อเต็มว่าอะไร
สมาชิก ก. Association for South East
ข. เน้นการสร้างความแปลกใหม่ Asian National
ระหว่างประเทศสมาชิก ข. Asia South East Association
ค. เน้นการสร้างอนุสาวรีย์ที่แสดง for National
ความเป็ นอาเซียน ค. Association of Southeast
ง. เน้นการแสวงหาผลประโยชน์ใน Asian Nations
ต่างประเทศ ง. Asia South East Association
13. การประชุมสุดยอดอาเซียนครัง้ ที่ 13 Nations
ที่ประเทศสิงคโปร์ มีสาระสำคัญใน 19. การก่อตัง้ อาเซียนในระยะเริ่มแรก
เรื่องใด นัน
้ มีวัตถุประสงค์สำคัญในเรื่องใด
ก. จัดตัง้ ประชาคมอาเซียนในสาม ก. ความร่วมมือกันด้านสังคมและ
37

เสาหลักอาเซียน วัฒนธรรม
ข. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง ข. การส่งเสริมด้านการศึกษา
ค. ประกาศรับรองกฎบัตรอาเซียน ค. การเสริมสร้างสันติภาพ
ง. ยืนยันการรวมตัวของอาเซียน ง. การพัฒนาเศรษฐกิจ
14. องค์กรใดมีหน้าที่ประสานงานและ 20. การเรียงลำดับประเทศที่เป็ นสมาชิก
ดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรม อาเซียน 5 ลำดับสุดท้าย ข้อใดถูก
ต่างๆ ขององค์กรทัง้ หลายของ ต้อง
อาเซียน ก. บรูไน เวียดนาม ลาว เมียนมาร์
ก. คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจำ กัมพูชา
อาเซียน ข. บรูไน เวียดนาม กัมพูชา เมีย
ข. สำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ นมาร์ ลาว
ค. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน ค. เวียดนาม ลาว กัมพูชา เมียนมาร์
ง. สำนักเลขาธิการอาเซียน บรูไน
15. องค์กรใดของอาเซียนมีหน้าที่เตรียม ง. กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ บรูไน
การประชุมสุดยอดอาเซียน เวียดนาม
ก. เลขาธิการอาเซียน
ข. สำนักเลขาธิการอาเซียน
ค. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน
ง. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน ได้คะแนน คะแนนเต็ม

20
38

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พัฒนาการของอาเซียน
เวลา 5 ชั่วโมง

1. ผลการเรียนรู้
ข้อ 5 อธิบายบทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิกในด้านต่างๆ
ข้อ 6 อธิบายเกี่ยวกับสามเสาหลักของประชาคมอาเซียน

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
สามเสาหลักของประชาคมอาเซียนมีเป้ าหมายและการดำเนินงานซึ่งจะ
นำไปสูก
่ ารจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน อาเซียนจึงมีบทบาทสำคัญต่อประเทศ
สมาชิกอาเซียนในหลายด้าน

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
 อาเซียนศึกษา
1) บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก
2) สามเสาหลักกับการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน
(1)ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
(2)ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(3)ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1ความสามารถในการสื่อสาร
4.2ความสามารถในการคิด
4.3ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4.4ความสามารถในการแก้ปัญหา
39

4.5ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.1 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางฯ
1) มีวินัย 2) ใฝ่ เรียนรู้ 3) มุ่งมั่นในการ
ทำงาน

5.2 คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน
1) มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูก
ต้อง
3) มีความภาคภูมิใจในความเป็ นไทยและความเป็ นอาเซียน
4) มีความตระหนักในความเป็ นอาเซียน
5) มีความสามารถในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อ่ น

6) เคารพและยอมรับความหลากหลายทางวัฒนธรรม
7) มีภาวะผู้นำ
8) เห็นปั ญหาสังคมและลงมือทำเพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง
9) มีความสามารถในการจัดการควบคุมตนเอง

6. ชิน
้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
ป้ ายนิเทศ เรื่อง พัฒนาการของอาเซียน

7. การวัดและการประเมินผล
7.1 การประเมินก่อนเรียน
40

- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง พัฒนาการ


ของอาเซียน
7.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1)ตรวจใบงานที่ 2.1 เรื่อง บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก
2)ตรวจใบงานที่ 2.2 เรื่อง ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
อาเซียน
3)ตรวจใบงานที่ 2.3 เรื่อง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
4)ตรวจใบงานที่ 2.4 เรื่อง ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
5)ตรวจแบบบันทึกการอ่าน
6)ประเมินการนำเสนอผลงาน
7)สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
8)สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
9)สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
7.3 การประเมินหลังเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง พัฒนาการ
ของอาเซียน
7.4 การประเมินชิน
้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจป้ ายนิเทศ เรื่อง พัฒนาการของอาเซียน

8. กิจกรรมการเรียนรู้
- นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
- ชั่วโมงที่ 1 และ 2 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 2.1 เรื่อง บทบาทของ
อาเซียนต่อประเทศสมาชิก
41

- ชั่วโมงที่ 3 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 2.2 เรื่อง ประชาคมการเมือง


และความมั่นคงอาเซียน
- ชั่วโมงที่ 4 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 2.3 เรื่อง ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน
- ชั่วโมงที่ 5 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 2.4 เรื่อง ประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน
- นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
42

ชั่วโมงที่ 1 และ 2
ใบงานที่ 2.1 บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี ้
1. ปฏิญญาว่าด้วยเขตสันติภาพ เสถียรภาพ และความเป็ นกลาง (Zone
of Peace Freedom and Neutrality Declaration : ZOPFAN) มี
เจตนารมณ์สำคัญของอาเซียนในช่วงแรกอย่างไร

2. หลักการสำคัญของสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast
Asia : TAC) มีอะไรบ้าง

3. การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง
ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum : ARF) มีจุด
เด่นอย่างไร
43

4. การจัดตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area :


AFTA) มีวัตถุประสงค์สำคัญอย่างไร

5. การจัดทำกรอบความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN
Framework Agreement on Services : AFAS) มีวัตถุประสงค์
สำคัญอย่างไร

6. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียนในระยะแรก กำหนด
ให้เจรจาเปิ ดเสรีการค้าบริการ กี่สาขา มีสาขาใดบ้าง

7. สมาชิกอาเซียนได้เร่งรัดเปิ ดตลาดในสาขาบริการที่เป็ นสาขาสำคัญ 5


สาขา มีสาขาใดบ้าง

8. การจัดตัง้ โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน
(ASEAN Industrial Cooperation : AICO) มีวัตถุประสงค์สำคัญ
อย่างไร
44

9. การจัดตัง้ เขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area : AIA)


มีข้อตกลงครอบคลุมการลงทุน ในอุตสาหกรรม 5 สาขา มี
สาขาใดบ้าง
45

เฉลย ใบงานที่ 2.1 บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี ้
1. ปฏิญญาว่าด้วยเขตสันติภาพ เสถียรภาพ และความเป็ นกลาง (Zone
of Peace Freedom and Neutrality Declaration : ZOPFAN) มี
เจตนารมณ์สำคัญของอาเซียนในช่วงแรกอย่างไร
การเป็ นภูมิภาคที่ปลอดจากการแทรกแซงจากภายนอก การ
เป็ นหลักประกันต่อสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค

2. หลักการสำคัญของสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ (Treaty of Amity and Cooperation in Southeast
Asia : TAC) มีอะไรบ้าง
การเคารพในเอกราช อำนาจอธิปไตยความเท่าเทียมและความ
มั่นคงทางดินแดนของทุกประเทศ ปราศจากการแทรกแซงจาก
ภายนอก รวมทัง้ แก้ไขปั ญหาความขัดแย้งหรือข้อพิพาทโดยสันติวิธี

3. การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง
ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum : ARF) มีจุด
เด่นอย่างไร
เป็ นเวทีสำหรับการปรึกษาหารือในการส่งเสริมสันติภาพ โดยการ
เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเทศคู่เจรจา และประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก

4. การจัดตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area :


AFTA) มีวัตถุประสงค์สำคัญอย่างไร
46

1) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน
2) เพื่อดึงดูดนักลงทุนต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในอาเซียน
3) เพื่อสร้างอำนาจต่อรองในการเจรจาระหว่างประเทศ
4) เปิ ดเสรีด้านการค้า การลดภาษี และยกเลิกอุปสรรคข้อกีดขวาง
ทางการค้า
5. การจัดทำกรอบความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN
Framework Agreement on Services : AFAS) มีวัตถุประสงค์
สำคัญอย่างไร
1) เพื่อขยายความร่วมมือในการค้าบริการบางสาขา
2) เพื่อลดอุปสรรคการค้าบริการระหว่างประเทศสมาชิก
3) เพื่อเปิ ดตลาดการค้าบริการระหว่างกลุ่มให้มากขึน

6. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการของอาเซียนในระยะแรก กำหนด
ให้เจรจาเปิ ดเสรีการค้าบริการ กี่สาขา มีสาขาใดบ้าง
7 สาขา ได้แก่ สาขาการเงิน สาขาการขนส่งทางทะเล สาขา
การขนส่งทางอากาศ สาขาการสื่อสารโทรคมนาคม สาขาการท่อง
เที่ยว สาขาการก่อสร้าง และสาขาบริการธุรกิจ

7. สมาชิกอาเซียนได้เร่งรัดเปิ ดตลาดในสาขาบริการที่เป็ นสาขาสำคัญ 5


สาขา มีสาขาใดบ้าง
สาขาโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาสุขภาพ สาขา
การท่องเที่ยว สาขาการเงิน และสาขาการบริการโลจิสติกส์
47

8. การจัดตัง้ โครงการความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมของอาเซียน
(ASEAN Industrial Cooperation : AICO) มีวัตถุประสงค์สำคัญ
อย่างไร
เพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมของอาเซียน
สนับสนุนการแบ่งการผลิตภายในอาเซียน การใช้วัตถุดิบภายใน
ภูมิภาค ส่งเสริมการลงทุนและการถ่ายเทคโนโลยีจากประเทศ
สมาชิกและประเทศนอกกลุ่ม โดยใช้มาตรการทางภาษีและสิทธิ
พิเศษอื่นๆ ที่มิใช่ภาษีเป็ นสิ่งจูงใจ
9. การจัดตัง้ เขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area : AIA)
มีข้อตกลงครอบคลุมการลงทุน ในอุตสาหกรรม 5 สาขา มี
สาขาใดบ้าง
สาขาอุตสาหกรรมการผลิต เกษตร ประมง ป่ าไม้ เหมือง
แร่ และบริการที่เกี่ยวข้องกับ 5 สาขา ยกเว้นการลงทุนในหลักทรัพย์

ชั่วโมงที่ 3
ใบงานที่ 2.2 ประชาคมการเมืองและความมั่นคง

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงเป้ าหมายของประชาคม
การเมืองและความมั่นคงอาเซียน

การมีกฎเกณฑ์
เป้ าหมายของประชาคมการเมือง 48
และความมันคงอาเซี
่ ยน
เฉลย ใบงานที่ 2.2 ประชาคมการเมืองและความมั่นคง

เป็ นภูมิภาคทีเ่ ปิ ดกว้าง มีพลวัตร การรักษาสันติ ภาพ


คำชีแ
้ จง และปฏิ
ให้นัก สมั เรี
พันยธ์นเขี ยนแผนผังความคิดแสดงเป้ าหมายของประชาคม
กบั โลกภายนอก และความมันคง

การเมืองและความมั่นคงอาเซียน

ส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชน การต่อต้านการทุจริต

ส่งเสริมหลักประชาธิปไตย การมีกฎเกณฑ์ การส่งเสริมหลักธรรมาภิบาล


และค่านิ ยมร่วมกัน

ความร่วมมือกับ เป้ าหมายของประชาคมการเมือง


ประเทศคูเ่ จรจา และความมันคงอาเซี
่ ยน

เป็ นภูมิภาคทีเ่ ปิ ดกว้าง มีพลวัตร การรักษาสันติ ภาพ


และปฏิ สมั พันธ์กบั โลกภายนอก และความมันคง

ความร่วมมือกับ ความร่วมมือกับ อาชญากรรม


อาเซียน +3, องค์การค้าโลก การก่อการร้าย ข้ามชาติ
อาเซียน +6

ความร่วมมือกับองค์การ ป้องกันและจัดการ
สหประชาชาติ ภัยพิบตั ิ
คำชีแ
เศรษฐกิจอาเซียน

การเป็ นตลาด การสร้างขีดความสามารถ


และฐานการผลิ ตเดียว ในการแข่งขันทางเศรษฐกิ จ

เป้ าหมายของประชาคม
ชั่วโมงที่ 4

เศรษฐกิ จอาเซียน

การบูรณาการเข้ากับ การพัฒนาเศรษฐกิ จ
เศรษฐกิ จโลก อย่างเสมอภาค
ใบงานที่ 2.3 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

้ จง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงเป้ าหมายของประชาคม
49
50

เฉลย ใบงานที่ 2.3 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงเป้ าหมายของประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน

– สินค้า – บริการ – ด้านภาษี – ด้านขนส่ง


– การลงทุน – เงินทุน – ข้อมูลข่าวสาร – พลังงาน
– แรงงานมีฝีมอื
ในการแข่งขันทางเศรษฐกิ จ
การสร้างขีดความสามารถ

การพัฒนาเศรษฐกิ จ
การเคลือ่ นทีอ่ ย่างเสรี นโยบายส่งเสริมการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ

อย่างเสมอภาค
เป้ าหมายของประชาคม
เศรษฐกิ จอาเซียน
และฐานการผลิ ตเดียว

การบูรณาการเข้ากับ
การเป็ นตลาด

เศรษฐกิ จโลก

ประสานนโยบาย เสริมสร้างการสร้าง พัฒนาวิสาหกิจ ส่งเสริมขีดความ


เศรษฐกิจกับประเทศ เครือข่ายการผลิตและ ขนาดกลาง สามารถผ่าน
นอกภูมภิ าค จำหน่ายในภูมภิ าค และขนาดย่อม โครงการต่างๆ
51

ชั่วโมงที่ 5
ใบงานที่ 2.4 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงเป้ าหมายของประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

การลดช่องว่าง การพัฒนา การคุ้มครอง


ทางการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ และสวัสดิ การสังคม

เป้ าหมายของประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

การสร้างอัตลักษณ์ ความยังยื่ น สิ ทธิ และความยุติธรรม


อาเซียน ด้านสิ ง่ แวดล้อม ทางสังคม
52

เฉลย ใบงานที่ 2.4 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงเป้ าหมายของประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

– ความตกลงและความร่วมมือ – การศึกษา – ส่งเสริมการสร้างคุณภาพชีวติ


๏ ระหว่างประเทศสมาชิก – การจ้างงาน ทีด่ ขี องประชาชน
อาเซียน – การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ – คุม้ ครองสวัสดิการสังคม
๏ ประเทศภายนอกภูมภิ าค – ทักษะในการประกอบอาชีพสำหรับ – ความมันคงปลอดภั
่ ยด้านอาหาร
๏ สตรี ๏ เยาวชน – ควบคุมโรคติดต่อ
๏ ผูส้ งู อายุ ๏ ผูพ
้ กิ าร – รักษาสุขภาพและบริการ
ทางการแพทย์

การลดช่องว่าง การพัฒนา การคุ้มครอง


ทางการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ และสวัสดิ การสังคม
– ป้องกันปญั หาสิง่ เสพติด
– เตรียมพร้อมรับมือ
เป้ าหมายของประชาคม ภัยพิบตั ิ
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

การสร้างอัตลักษณ์ ความยังยื่ น สิ ทธิ และความยุติธรรม


อาเซียน ด้านสิ ง่ แวดล้อม ทางสังคม

– อนุรกั ษ์มรดกทางวัฒนธรรม – ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมของ – คุม้ ครองสิทธิและสวัสดิการ


– สร้างสรรค์ทางด้านวัฒนธรรม ประชาชน สำหรับ
– ส่งเสริมเทคโนโลยีดา้ นสิง่ แวดล้อม ๏ สตรี ๏ เยาวชน
– ประสานนโยบายด้านสิง่ แวดล้อม ๏ ผูส้ งู อายุ ๏ ผูพ ้ กิ าร
และฐานข้อมูล – ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อ
– อนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สังคมขององค์กรธุรกิจต่างๆ
53

9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน อาเซียนศึกษา ม.3
2) แบบปฏิบัติกิจกรรม อาเซียนศึกษา ม.3
3) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
(1) วรทัศน์ วัชรวสี. 2533. ประชาชาติอาเซียน.
กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.
(2) วิทย์ บัณฑิตกุล. 2554. รู้จักประชาคมอาเซียน.
กรุงเทพมหานคร : สถาพรบุ๊คส์.
(3) ประภัสสร์ เทพชาตรี. 2552. ประชาคมการเมืองและความ
มั่นคงอาเซียน, โครงการอาเซียนศึกษา. กรุงเทพมหานคร :
โครงการอาเซียนศึกษา (Asean Studies Project : ASP)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
(4) กระทรวงพาณิชย์. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. 2552.
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASENA Economic
Community : AEC. กรุงเทพมหานคร : กรมเจรจาการค้า
ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์.
(5) กระทรวงการต่างประเทศ. กรมอาเซียน. แผนงานการจัดตัง้
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ค.ศ.2009-2015).
กรุงเทพมหานคร : กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ.
4) ตัวอย่างข่าว
5) บัตรภาพ
6) ใบงานที่ 2.1 เรื่อง บทบาทของอาเซียนต่อประเทศสมาชิก
7) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน
54

8) ใบงานที่ 2.3 เรื่อง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน


9) ใบงานที่ 2.4 เรื่อง ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://moac2aec.moac.go.th/ewt_news.php?nid=43
- http://www.trang.psu.ac.th/asean/?p=62
- http://www.thai-aec.com
- http://www.trang.psu.ac.th/asean/?p=259
- http://www.trang.psu.ac.th/asean/?p=57
- http://xn--42cle0dg2bid7g0axd4b6k.net/pillar3-social/
55

การประเมิ น ชิ ้น งาน/ภาระงาน (รวบยอด)


แบบประเมินป้ ายนิเทศ เรื่อง พัฒนาการของอาเซียน
รายการ คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
ประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. การ อธิบายบทบาท อธิบายบทบาท อธิบายบทบาท อธิบายบทบาท
อธิบาย ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ
บทบาทของ ประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิก
อาเซียนต่อ ในด้านต่างๆ ในด้านต่างๆ ในด้านต่างๆ ในด้านต่างๆ
ประเทศ ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง ได้ถูกต้อง
สมาชิก ชัดเจน 4 ชัดเจน 3 ชัดเจน 2 ชัดเจน
ในด้านต่างๆ ด้านขึน
้ ไป ด้าน ด้าน 1 ด้าน
2. การ อธิบายเป้ าหมาย อธิบายเป้ าหมาย อธิบายเป้ าหมาย อธิบายเป้ าหมาย
อธิบายเป้ า และการดำเนิน และการดำเนิน และการดำเนิน และการดำเนิน
หมายและ งานของ งานของ งานของ งานของ
การดำเนิน ประชาคม ประชาคม ประชาคม ประชาคม
งานของ การเมืองและ การเมืองและ การเมืองและ การเมืองและ
ประชาคม ความมั่นคง ความมั่นคง ความมั่นคง ความมั่นคง
การเมืองและ อาเซียน ได้ถูก อาเซียน ได้ถูก อาเซียน ได้ถูก อาเซียน ได้ถูก
ความมัน
่ คง ต้อง ชัดเจน ต้อง ชัดเจน ต้อง ชัดเจน ต้องเป็ นบางส่วน
อาเซียน เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน แต่ไม่ชัดเจน

3. การ อธิบายเป้ าหมาย อธิบายเป้ าหมาย อธิบายเป้ าหมาย อธิบายเป้ าหมาย


อธิบายเป้ า และการดำเนิน และการดำเนิน และการดำเนิน และการดำเนิน
หมายและ งานของ งานของ งานของ งานของ
การดำเนิน ประชาคม ประชาคม ประชาคม ประชาคม
งานของ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ เศรษฐกิจ
56

ประชาคม อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก


เศรษฐกิจ ต้อง ชัดเจน ต้อง ชัดเจนเป็ น ต้อง ชัดเจน ต้อง เป็ นบาง
อาเซียน ส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน ส่วน แต่ไม่
ชัดเจน
4. การ อธิบายเป้ าหมาย อธิบายเป้ าหมาย อธิบายเป้ าหมาย อธิบายเป้ าหมาย
อธิบายเป้ า และการดำเนิน และการดำเนิน และการดำเนิน และการดำเนิน
หมายและ งานของ งานของ งานของ งานของ
การดำเนิน ประชาคมสังคม ประชาคมสังคม ประชาคมสังคม ประชาคมสังคม
งานของ และวัฒนธรรม และวัฒนธรรม และวัฒนธรรม และวัฒนธรรม
ประชาคม อาเซียน ได้ถูก อาเซียน ได้ถูก อาเซียน ได้ถูก อาเซียน ได้ถูก
สังคมและ ต้อง ชัดเจน ต้อง ชัดเจน ต้อง ชัดเจน ต้องเป็ นบางส่วน
วัฒนธรรม เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน แต่ไม่ชัดเจน
อาเซียน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน 14 - 16 11 - 13 8 - 10 ต่ำกว่า 8
ระดับ ดี
ดีมาก พอใช้ ปรับปรุง
คุณภาพ

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถ ูกต้องที่สุ ดเพียงข้อเดียว
1. การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วม 6. วัตถุประสงค์สำคัญของการจัดตัง้
มือด้านการเมือง และความมั่นคงใน ประชาคมอาเซียน
ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ครัง้ แรก คือข้อใด
ในประเทศไทยนัน
้ เน้นในเรื่องใด ก. เพื่อจัดทำปฏิญญาอาเซียน
57

ก. การส่งเสริมสันติภาพ ข. เพื่อให้เป็ นผู้นำทางเศรษฐกิจโลก


ข. การเมืองการปกครอง ค. เพื่อแก้ปัญหากรณีพิพาทระหว่าง
ค. การเมืองและวัฒนธรรม ประเทศสมาชิก
ง. ความมั่นคงของประเทศสมาชิก ง. เพื่อให้เกิดความมั่นคงและความ
2. ประเทศใดเป็ นผู้เสนอแนวคิดในการ เจริญก้าวหน้า
จัดตัง้ 7. ปั ญหาทางด้านการศึกษาที่
เขตการค้าเสรีอาเซียน ประเทศไทยจะต้องเร่งแก้ไขอย่างเร่ง
ก. มาเลเซีย ด่วนที่สด
ุ เพื่อเตรียมความพร้อมใน
ข. ราชอาณาจักรไทย การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน คือข้อใด
ค. สาธารณรัฐสิงคโปร์ ก. การขาดแคลนครูสอนวิชาอาเซียน
ง. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ศึกษา
3. วัตถุประสงค์สำคัญในการจัดตัง้ เขต ข. สื่อการเรียนการสอนทางการศึกษา
การลงทุนอาเซียน มีไม่พอ
คืออะไร ค. งบประมาณที่ใช้เผยแพร่ความรู้มี
ก. สินค้าที่ผลิตในอาเซียนทุกชนิดมี อยู่อย่างจำกัด
คุณภาพดี ง. ความรู้ภาษาอังกฤษที่ยังมี
ข. เน้นการลงทุนด้านอุตสาหกรรม ประสิทธิภาพไม่เพียงพอ
การเกษตร 8. ปั ญหาสำคัญของการสร้างประชาคม
ค. เป็ นแหล่งผลิตสินค้าและบริการ เศรษฐกิจอาเซียน
ส่งออกนอกอาเซียน คืออะไร
ง. เป็ นแหล่งดึงดูดการลงทุนทัง้ จาก ก. ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ
ภายในและภายนอก อาเซียน สมาชิกอาเซียน คล้ายคลึงกัน
4. การมอบรางวัลซีไรต์ให้กับนัก ข. ระบบการศึกษาของประเทศสมาชิก
ประพันธ์ในอาเซียนที่มีผลงานเป็ นที่ อาเซียนแตกต่างกัน
ยอมรับ สอดคล้องกับบทบาทของ ค. ช่องว่างระหว่างประเทศรวยและ
อาเซียน ในด้านใด จนแตกต่างกันมาก
ก. ด้านสังคม ง. ประเทศที่มีความเจริญรุ่งเรืองเอา
58

ข. ด้านการศึกษา เปรียบประเทศ
ค. ด้านวัฒนธรรม ทีด
่ ้อยกว่า
ง. ด้านสิทธิมนุษยชน 9. ข้อใดเป็ นความร่วมมือทางด้านสังคม
5. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและ และวัฒนธรรมของอาเซียน
ทรัพยากรธรรมชาติ ก. การจัดตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียน
เป็ นหน้าที่ของประชาคมอาเซียนใด ข. การจัดตัง้ เครือข่ายมหาวิทยาลัย
ก. ประชาคมสังคม อาเซียน
ข. ประชาคมเศรษฐกิจ ค. การส่งเสริมการปกครองในระบอบ
ค. ประชาคมการเมือง ประชาธิปไตย
ง. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ง. การชักชวนให้ประเทศต่างๆ
นับถือพระพุทธศาสนา
10. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ที่ไทยได้รับจาก
การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ก. ตลาดเศรษฐกิจของประเทศจะ
ขยายตัว
ข. ต่างชาติจะเข้ามาลงทุนเพิ่มเติม
ค. เกิดการพัฒนาความถนัดเฉพาะ
ทางของแรงงาน
ง. แรงงานมีฝีมือหลั่งไหลไปทำงานใน
ประเทศเพื่อนบ้าน
59

11. ข้อใดเป็ นเป้ าหมายสำคัญในการรวม 17. ผู้ใดทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริม


ตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคง
ก. ใช้เงินตราสกุลเดียวกัน อาเซียนโดยเน้นความสงบสุขและ
ข. เป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว ความรับผิดชอบร่วมกัน
ค. ให้สินค้าส่งออกมีมาตรฐาน ก. เดือนเต็ม ร่วมกิจกรรมประกวด
เดียวกัน คำขวัญรักษา สิ่งแวดล้อม
ง. ให้ประเทศสมาชิกมีฐานะทาง ข. สายสมร ติดตามข่าวการ
เศรษฐกิจเท่าเทียมกัน ประชุมสุดยอดอาเซียน
12. ข้อใดเป็ นภาษากลางที่ใช้ในการ ทุกสัปดาห์
ประชุม การโต้ตอบในเวทีการ ค. นารี ให้ความรู้เรื่องโทษของสิ่ง
ประชุมสุดยอดอาเซียน เสพติดแก่เพื่อน
ก. ภาษาจีน ข. ภาษาญี่ปุ่น ในโรงเรียน
ค. ภาษาอังกฤษ ง. ภาษาฝรั่งเศส ง. สมทรง เขียนบทความเรื่อง
13. ข้อใดไม่สัมพันธ์กับเป้ าหมายสำคัญ ทรัพย์สินทางปั ญญา
ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ของผู้ประดิษฐ์คิดค้น
ก. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอ 18. ข้อใดเป็ นประโยชน์ของการรวมตัว
ภาค เป็ นประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
ข. การเป็ นตลาดและฐานการผลิต อาเซียน
เดียวกัน ก. ไม่มีความขัดแย้งในสังคม
ค. การสร้างขีดความสามารถการ ข. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี
แข่งขันทางเศรษฐกิจ ค. ประชาชนมีค่านิยมเหมือนกัน
ง. การแข่งขันช่วงชิงความได้เปรียบ ง. ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกัน
ระหว่างประเทศ สมาชิก ทุกด้าน
14. เพราะเหตุใด จึงต้องมีกฎเกณฑ์และ 19. กรอบอาเซียน +3 เป็ นการส่งเสริม
ค่านิยมร่วมกันในการพัฒนา เป้ าหมายของประชาคมการเมือง
ประชาคมการเมืองและความมั่นคง และความมั่นคงอาเซียน ข้อใด
อาเซียน ก. การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน
60

ก. เพราะแต่ละชาติมีสังคมและ ข. การมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศ
วัฒนธรรมที่เหมือนกัน สมาชิกด้วยกัน
ข. เพราะแต่ละชาติมีสังคมและ ค. การมีพลวัตและปฏิสัมพันธ์กับโลก
วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ภายนอก
ค. เพราะแต่ละชาติมีสังคมและ ง. การส่งเสริมความสงบสุขและรับ
วัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน ผิดชอบร่วมกัน
ง. เพราะแต่ละชาติมีสังคมและ 20. การที่นักเรียนทุกคนต่างก็ตงั ้ ใจเรียน
วัฒนธรรมที่ และมีเป้ าหมายในการพัฒนาวิชาชีพ
เปลี่ยนแปลงได้ ของตนในอนาคต เป็ นการเตรียม
15. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบ ความพร้อมที่สอดคล้องกับประชาคม
ต่อประชาคมการเมืองและความ ใด
มั่นคงอาเซียน ก. ประชาคมสังคมและการเมือง
ก. ภัยพิบัติ ข. สิ่งเสพติด ข. ประชาคมเศรษฐกิจและการเมือง
ค การค้ามนุษย์ ง. การขึน
้ ราคา ค. ประชาคมการเมืองและสังคมและ
ของสินค้า วัฒนธรรม
16. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ง. ประชาคมเศรษฐกิจและสังคมและ
อาเซียนเน้นความร่วมมือในด้าน วัฒนธรรม
ต่างๆ ยกเว้นข้อใด
ก. การต่อต้านการก่อการร้าย
ข. การป้ องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ได้คะแนน คะแนนเต็ม

ค. การปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเขียน 20
ในภูมิภาค
ง. การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
คำชีแ
้ จงให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถ ูกต้องที่สุ ดเพียงข้อเดียว
1. การที่นักเรียนทุกคนต่างก็ตงั ้ ใจ 5. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
61

เรียนและมีเป้ าหมายในการพัฒนา อาเซียนเน้นความร่วมมือในด้านต่างๆ


วิชาชีพของตนในอนาคต เป็ นการ ยกเว้นข้อใด
เตรียมความพร้อมที่สอดคล้องกับ ก. การพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ
ประชาคมใด เทคโนโลยี
ก. ประชาคมเศรษฐกิจและสังคม ข. การปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเขียนใน
และวัฒนธรรม ภูมิภาค
ข. ประชาคมการเมืองและสังคม ค. การป้ องกันและควบคุมโรคติดต่อ
และวัฒนธรรม ง. การต่อต้านการก่อการร้าย
ค. ประชาคมเศรษฐกิจและ 6. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยสำคัญที่มีผลกระทบ
การเมือง ต่อประชาคมการเมืองและความมั่นคง
ง. ประชาคมสังคมและการเมือง อาเซียน
2. กรอบอาเซียน +3 เป็ นการส่งเสริม ก. การขึน
้ ราคาของสินค้า ข. การค้า
เป้ าหมายของประชาคมการเมือง มนุษย์
และความมั่นคงอาเซียน ข้อใด ค สิ่งเสพติด ง. ภัยพิบัติ
ก. การส่งเสริมความสงบสุขและรับ 7. เพราะเหตุใด จึงต้องมีกฎเกณฑ์และ
ผิดชอบร่วมกัน ค่านิยมร่วมกันในการพัฒนาประชาคม
ข. การมีพลวัตและปฏิสัมพันธ์กับ การเมืองและความมั่นคงอาเซียน
โลกภายนอก ก. เพราะแต่ละชาติมีสังคมและ
ค. การมีปฏิสัมพันธ์กับประเทศ วัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงได้
สมาชิกด้วยกัน ข. เพราะแต่ละชาติมีสังคมและ
ง. การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วม วัฒนธรรมที่คล้ายคลึงกัน
กัน ค. เพราะแต่ละชาติมีสังคมและ
3. ข้อใดเป็ นประโยชน์ของการรวมตัว วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
เป็ นประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ง. เพราะแต่ละชาติมีสังคมและ
อาเซียน วัฒนธรรมที่เหมือนกัน
ก. ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเท่าเทียมกัน 8. ข้อใดไม่สัมพันธ์กับเป้ าหมายสำคัญ
ทุกด้าน ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
62

ข. ประชาชนมีค่านิยมเหมือนกัน ก. การแข่งขันช่วงชิงความได้เปรียบ
ค. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ระหว่างประเทศ สมาชิก
ง. ไม่มีความขัดแย้งในสังคม ข. การสร้างขีดความสามารถการ
4. ผู้ใดทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริม แข่งขันทางเศรษฐกิจ
ประชาคมการเมืองและความมั่นคง ค. การเป็ นตลาดและฐานการผลิต
อาเซียนโดยเน้นความสงบสุขและ เดียวกัน
ความรับผิดชอบร่วมกัน ง. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอ
ก. สมทรง เขียนบทความเรื่อง ภาค
ทรัพย์สินทางปั ญญา 9. ข้อใดเป็ นภาษากลางที่ใช้ในการ
ของผู้ประดิษฐ์คิดค้น ประชุม การโต้ตอบในเวทีการ
ข. นารี ให้ความรู้เรื่องโทษของสิ่ง ประชุมสุดยอดอาเซียน
เสพติดแก่เพื่อน ก. ภาษาฝรั่งเศส ข. ภาษาอังกฤษ
ในโรงเรียน ค. ภาษาญี่ปุ่น ง. ภาษาจีน
ค. สายสมร ติดตามข่าวการ 10. ข้อใดเป็ นเป้ าหมายสำคัญในการรวม
ประชุมสุดยอดอาเซียน ตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ทุกสัปดาห์ ก. ให้ประเทศสมาชิกมีฐานะทาง
ง. เดือนเต็ม ร่วมกิจกรรมประกวด เศรษฐกิจเท่าเทียมกัน
คำขวัญรักษา สิ่งแวดล้อม ข. ให้สินค้าส่งออกมีมาตรฐานเดียวกัน
ค. เป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว
ง. ใช้เงินตราสกุลเดียวกัน
63

11. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ที่ไทยได้รับจาก 16. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและ


การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทรัพยากรธรรมชาติ
ก. แรงงานมีฝีมือหลั่งไหลไปทำงาน เป็ นหน้าที่ของประชาคมอาเซียนใด
ในประเทศเพื่อนบ้าน ก. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
ข. เกิดการพัฒนาความถนัดเฉพาะ ข. ประชาคมการเมือง
ทางของแรงงาน ค. ประชาคมเศรษฐกิจ
ค. ต่างชาติจะเข้ามาลงทุนเพิ่มเติม ง. ประชาคมสังคม
ง. ตลาดเศรษฐกิจของประเทศจะ 17. การมอบรางวัลซีไรต์ให้กับนัก
ขยายตัว ประพันธ์ในอาเซียนที่มีผลงานเป็ นที่
12. ข้อใดเป็ นความร่วมมือทางด้านสังคม ยอมรับ สอดคล้องกับบทบาทของ
และวัฒนธรรมของอาเซียน อาเซียน ในด้านใด
ก. การชักชวนให้ประเทศต่างๆ ก. ด้านสิทธิมนุษยชน ข. ด้าน
นับถือพระพุทธศาสนา วัฒนธรรม
ข. การส่งเสริมการปกครองใน ค. ด้านการศึกษา ง. ด้านสังคม
ระบอบประชาธิปไตย 18. วัตถุประสงค์สำคัญในการจัดตัง้ เขต
ค. การจัดตัง้ เครือข่ายมหาวิทยาลัย การลงทุนอาเซียน
อาเซียน คืออะไร
ง. การจัดตัง้ เขตการค้าเสรีอาเซียน ก. เป็ นแหล่งดึงดูดการลงทุนทัง้ จาก
13. ปั ญหาสำคัญของการสร้างประชาคม ภายใน
เศรษฐกิจอาเซียน และภายนอกอาเซียน
คืออะไร ข. เป็ นแหล่งผลิตสินค้าและบริการ
ก. ประเทศที่มีความเจริญรุ่งเรืองเอา ส่งออกนอกอาเซียน
เปรียบประเทศ ค. เน้นการลงทุนด้านอุตสาหกรรม
ทีด
่ ้อยกว่า การเกษตร
ข. ช่องว่างระหว่างประเทศรวยและ ง. สินค้าที่ผลิตในอาเซียนทุกชนิดมี
จนแตกต่างกันมาก คุณภาพดี
ค. ระบบการศึกษาของประเทศ 19. ประเทศใดเป็ นผู้เสนอแนวคิดในการ
64

สมาชิกอาเซียนแตกต่างกัน จัดตัง้
ง. ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ เขตการค้าเสรีอาเซียน
สมาชิกอาเซียน คล้ายคลึงกัน ก. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
14. ปั ญหาทางด้านการศึกษาที่ ข. สาธารณรัฐสิงคโปร์
ประเทศไทยจะต้องเร่งแก้ไขอย่างเร่ง ค. ราชอาณาจักรไทย
ด่วนที่สุดเพื่อเตรียมความพร้อมใน ง. มาเลเซีย
การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน คือข้อใด 20. การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วม
ก. ความรู้ภาษาอังกฤษที่ยังมี มือด้านการเมือง และความมั่นคงใน
ประสิทธิภาพไม่เพียงพอ ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ครัง้ แรก
ข. งบประมาณที่ใช้เผยแพร่ความรู้มี ในประเทศไทยนัน
้ เน้นในเรื่องใด
อยู่อย่างจำกัด ก. ความมั่นคงของประเทศสมาชิก
ค. สื่อการเรียนการสอนทางการ ข. การเมืองและวัฒนธรรม
ศึกษามีไม่พอ ค. การเมืองการปกครอง
ง. การขาดแคลนครูสอนวิชาอาเซียน ง. การส่งเสริมสันติภาพ
ศึกษา
15. วัตถุประสงค์สำคัญของการจัดตัง้
ประชาคมอาเซียน
คือข้อใด
ก. เพื่อให้เกิดความมั่นคงและความ
ได้คะแนน คะแนนเต็ม
เจริญก้าวหน้า
ข. เพื่อแก้ปัญหากรณีพิพาทระหว่าง 20
ประเทศสมาชิก
ค. เพื่อให้เป็ นผู้นำทางเศรษฐกิจโลก
ง. เพื่อจัดทำปฏิญญาอาเซียน
65

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
เวลา 5 ชั่วโมง

1. ผลการเรียนรู้
ข้อ 7 อธิบายบทบาทของไทยต่ออาเซียน
ข้อ 8 วิเคราะห์ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากการเป็ นประชาคมอาเซียน
ข้อ 9 อธิบายวิธีการเตรียมความพร้อมของไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคม
อาเซียน

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ประเทศไทยเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในด้านต่างๆ
และมีบทบาทต่ออาเซียนทัง้ ด้านการเมืองและความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ
และด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึง่ ไทยได้รับประโยชน์จากการเป็ นประชาคม
อาเซียน

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
 อาเซียนศึกษา
1) บทบาทของไทยต่ออาเซียน
2) ประโยชน์ของไทยจากการเป็ นประชาคมอาเซียน
3) การเตรียมความพร้อมของไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1ความสามารถในการสื่อสาร
66

4.2ความสามารถในการคิด

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.1 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางฯ
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
3) มุ่งมั่นในการทำงาน

5.2 คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน
1)มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2)มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูก
ต้อง
3)มีความภาคภูมิใจในความเป็ นไทยและความเป็ นอาเซียน
4)มีความตระหนักในความเป็ นอาเซียน
5)มีความสามารถในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อ่ น

6. ชิน
้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
แผ่นพับ เรื่อง ไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

7. การวัดและการประเมินผล
7.1 การประเมินก่อนเรียน
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ไทยเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน
7.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1) ตรวจใบงานที่ 3.1 เรื่อง บทบาทของไทยต่ออาเซียน
67

2 )ตรวจใบงานที่ 3.2 เรื่อง ประโยชน์ของไทยจากการเป็ นประชาคม


อาเซียน
3 )ตรวจใบงานที่ 3.3 เรื่อง การเตรียมความพร้อมของไทยเพื่อเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน
4) ตรวจแบบบันทึกการอ่าน
5) ประเมินการนำเสนอผลงาน
6) สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
7) สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
8) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
7.3 การประเมินหลังเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ไทยเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน
7.4 การประเมินชิน
้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจแผ่นพับ เรื่อง ไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

8. กิจกรรมการเรียนรู้
- นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
- ชั่วโมงที่ 1 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 3.1 บทบาทของไทยต่ออาเซียน
- ชั่วโมงที่ 2 และ 3 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 3.2 ประโยชน์ของไทย
จากการเป็ นประชาคมอาเซียน
- ชั่วโมงที่ 4 และ 5 ทำแบบฝึ กหัด ใบงานที่ 3.3 การเตรียมพร้อมของ
ไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคมต่ออาเซียน
- นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ชั่วโมงที่ 1
68

ใบงานที่ 3.1 บทบาทของไทยต่ออาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนอธิบายข้อความที่กำหนด

วัตถุประสงค์สำคัญทีไ่ ทยเสนอแนวคิด เรือ่ ง บทบาทสำคัญทีไ่ ทยสนับสนุ น


ASEAN Troika ต่อทีป่ ระชุมสุดยอดอาเซียน ให้ความร่วมมือในการแก้ปญั หาอาชญากรรม
อย่างไม่เป็นทางการ ข้ามชาติ

เป้าหมายสำคัญในการจัดตัง้ วัตถุประสงค์สำคัญในการจัดตัง้
เขตการค้าเสรีอาเซียน เขตลงทุนอาเซียน
(ASEAN Free Trade Area : AFTA) (ASEAN Investment Area : AIA)
69

เฉลย ใบงานที่ 3.1 บทบาทของไทยต่ออาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนอธิบายข้อความที่กำหนด

วัตถุประสงค์สำคัญทีไ่ ทยเสนอแนวคิด เรือ่ ง บทบาทสำคัญทีไ่ ทยสนับสนุ น


ASEAN Troika ต่อทีป่ ระชุมสุดยอดอาเซียน ให้ความร่วมมือในการแก้ปญั หาอาชญากรรม
อย่างไม่เป็นทางการ ข้ามชาติ

ั หาและ
๏เพือ่ ให้อาเซียนมีกลไกทีส่ ามารถใช้แก้ปญ ๏การค้าสิง่ เสพติด
ร่วมมือกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ๏การค้าอาวุธ
๏ป้องกันและแก้ไขในเรือ่ งทีส่ ง่ ผลกระทบต่อสันติภาพ ๏การค้ามนุ ษย์
๏มีหลักการในการดำเนินงาน คือ หลักฉันทามติ และ ๏การก่อการร้าย
ไม่แทรกแซงกิจการภายในของแต่ละประเทศ

เป้าหมายสำคัญในการจัดตัง้ วัตถุประสงค์สำคัญในการจัดตัง้
เขตการค้าเสรีอาเซียน เขตลงทุนอาเซียน
(ASEAN Free Trade Area : AFTA) (ASEAN Investment Area : AIA)

๏ลดหรือยกเลิกภาษีสนิ ค้าส่งออกระหว่างประเทศ ๏ส่งเสริมการลงทุน


สมาชิก เพือ่ ลดต้นทุนการผลิตสินค้า ๏การเงิน
๏ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ ๏การค้าเสรี
๏ส่งเสริมให้มกี ารค้าระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ๏การพัฒนาการเกษตร
เพิม่ ขึน้ ๏การเชือ่ มโยงการคมนาคมขนส่ง
๏ปรับปรุงการผลิต และพัฒนาเทคโนโลยี
๏เพิม่ ปริมาณสินค้า
๏พัฒนาคุณภาพสินค้าและบริการ
70

ชั่วโมงที่ 2 และ 3
ใบงานที่ 3.2 ประโยชน์ของไทยจากการเป็ นประชาคมอาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์ของไทยจากการเป็ นประชาคม
อาเซียน ที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศ

ประโยชน์ของ
ไทยจากการเป็ น
ผลดีต่อการพัฒนาประเทศ
ประชาคม
อาเซียน
1.การขยายตัว
ทางเศรษฐกิจ
2.การลดกำแพง
ภาษีระหว่าง
ประเทศ
สมาชิก
3.การขยายตัว
ของสินค้าส่ง
ออก
4.การเพิ่ม
อำนาจต่อรอง
ในระดับ
นานาชาติ
5.การสร้าง
71

ประโยชน์ของ
ไทยจากการเป็ น
ผลดีต่อการพัฒนาประเทศ
ประชาคม
อาเซียน
ความร่วมมือ
เพื่อสร้าง
ความมั่นคง
ในภูมิภาค
6. การพัฒนา
โครงสร้างพื้น
ฐานของ
ประเทศ

7.การพัฒนา
คุณภาพ
แรงงาน
8.การขยายตัว
ด้าน
อุตสาหกรรม
การท่องเที่ยว
9.การพัฒนา
ด้านมาตรฐาน
สินค้าและ
72

ประโยชน์ของ
ไทยจากการเป็ น
ผลดีต่อการพัฒนาประเทศ
ประชาคม
อาเซียน
บริการ
10. การ
พัฒนาการ
ศึกษา
11. การพัฒนา
เทคโนโลยี

เฉลย ใบงานที่ 3.2 ประโยชน์ของไทยจากการเป็ นประชาคมอาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์ประโยชน์ของไทยจากการเป็ นประชาคม
อาเซียน ที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศ
73

ประโยชน์ของ
ไทยจากการเป็ น
ผลดีต่อการพัฒนาประเทศ
ประชาคม
อาเซียน
1.การขยายตัว 1)ช่วยสร้างอำนาจต่อรองในเวทีการค้าโลก

ทางเศรษฐกิจ 2)ช่วยดึงนักลงทุนจากภายนอกเข้ามาลงทุนในประเทศ
3)ได้รับโอกาสให้เข้าไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้านอาเซียน

2.การลดกำแพง ได้รับการยกเลิกกำแพงภาษีสินค้าประเภทวัตถุดิบและ

ภาษีระหว่าง สินค้านำเข้าส่งออกต่างๆ
ระหว่างประเทศสมาชิกทำให้ต้นทุนการผลิตของประเทศ
ประเทศ
สมาชิกลดลง ต้นทุนสินค้าต่ำ
สมาชิก
ส่งผลให้สินค้าราคาลดลง ทำให้สามารถส่งออกได้มากขึน

3.การขยายตัว ขยายตลาดสินค้าของไทยมากขึน
้ ทัง้ ภายในอาเซียนและกับ

ของสินค้าส่ง ประเทศคู่คา้ อื่นๆ


ของอาเซียน
ออก

4.การเพิ่ม การรวมกลุ่มภายในประชาคมอาเซียน ถ้ามีความเข้มแข็งจะ

อำนาจต่อรอง สามารถขยายการรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกิจในระดับที่กว้างขึน
้ ไทยก็จะมีศักยภาพหรือ
ในระดับ
อำนาจในการเจรจาต่อรอง
นานาชาติ
ในเวทีนานาชาติมากขึน

5.การสร้าง มีความช่วยเหลือกันในกลุ่มเพื่อแก้ไขปั ญหาในภูมิภาคโดย

ความร่วมมือ สันติวิธีและยึดหลักความ
มั่นคงรอบด้าน โดยมุ่งแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งของประเทศ
เพื่อสร้าง
สมาชิกหรือช่วยให้การเจรจา
74

ประโยชน์ของ
ไทยจากการเป็ น
ผลดีต่อการพัฒนาประเทศ
ประชาคม
อาเซียน
ความมั่นคง ความขัดแย้งระหว่างกันเป็ นไปอย่างสันติ

ในภูมิภาค
6.การพัฒนา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทำให้ประเทศไทยได้ร่วมมือ

โครงสร้างพื้น กับประเทศสมาชิกอาเซียน
พัฒนาระบบการคมนาคมขนส่งระหว่างประเทศ ทำให้เกิด
ฐานของ
โครงการระเบียงเศรษฐกิจ
ประเทศ
อนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง

7.การพัฒนา การรวมกลุ่มอาเซียนดึงดูดนักลงทุนต่างชาติมาลงทุนใน

คุณภาพ ประเทศไทย ทำให้มีการ


พัฒนาฝี มือและคุณภาพแรงงาน ทัง้ ด้านความรู้ในสาขาต่างๆ
แรงงาน
และภาษาอังกฤษ
เพื่อสามารถแข่งขันในตลาดแรงงาน

8.การขยายตัว มีนักท่องเที่ยวจากภายในและภายนอกภูมิภาคมาเที่ยวใน

ด้าน ประเทศไทยจำนวนมาก
ทำให้สร้างรายได้เข้าประเทศจำนวนมหาศาล
อุตสาหกรรม
การท่องเที่ยว
9.การพัฒนา การแข่งขันทางเศรษฐกิจทำให้เกิดการพัฒนามาตรฐาน

ด้านมาตรฐาน สินค้าและบริการ
สินค้าและ
บริการ
75

ประโยชน์ของ
ไทยจากการเป็ น
ผลดีต่อการพัฒนาประเทศ
ประชาคม
อาเซียน
10. การ ทำให้ประเทศไทยต้องพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีคุณภาพ

พัฒนาการ ทัดเทียมประเทศที่มีความ
เจริญด้านการศึกษา มีการขยายโอกาสทางการศึกษา ส่งเสริม
ศึกษา
ให้นักเรียนที่มีความสามารถ
ให้เรียนต่อในระดับสูงพัฒนาทางวิชาชีพ ปรับหลักสูตรให้
สอดคล้องกับประชาคมอาเซียน
พัฒนาการเรียนภาษาอังกฤษให้อยู่ในระดับใช้งานได้
11. การพัฒนา มีการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านเทคโนโลยี การรับและให้ความ

เทคโนโลยี ช่วยเหลือจากประเทศที่มี
ความก้าวหน้า ทำให้ประเทศไทยได้ประโยชน์จากการพัฒนา
เทคโนโลยีในด้านต่างๆ
76

ชั่วโมงที่ 4 และ 5
ใบงานที่ 3.3 การเตรียมความพร้อมของไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์ข่าว แล้วตอบคำถาม

เรื่องที่ 1
ทิศทางการศึกษาไทยกับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
 The way of Thail Education for AEC of ASEAN 2015
  ศธ. มีนโยบายพัฒนาการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาของประเทศให้เป็ นไป
อย่างมีคุณภาพ กระจายโอกาสอย่างทั่วถึงและเป็ นธรรม เพิ่มประสิทธิภาพการ
บริหารจัดการ รวมทัง้ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ตลอดจนสามารถ
ก้าวทันและแข่งขันกับนานาชาติได้ โดยเฉพาะการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งใน
ความเป็ นจริงประเทศไทยเป็ นผู้ริเริ่มก่อตัง้ อาเซียน โดยมี 3 เสาหลัก ได้แก่ ความ
ร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ ความร่วมมือทางการเมืองและความมั่นคง และความ
ร่วมมือทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งเสาหลักความร่วมมือทางสังคมและวัฒนธรรม
มีความก้าวหน้ามากที่สุด โดย ศธ.ได้เตรียมความพร้อมด้านการศึกษาเพื่อการเข้า
สู่ประชาคมอาเซียน ดังนี ้
จัดให้มีหลักสูตรอาเซียนศึกษา เพื่อให้คนไทยเข้าใจอาเซียน เข้าใจการอยู่ร่วม
กันกับประเทศเพื่อนบ้าน ที่มีวัฒนธรรมการกิน การอยู่ การดำเนินชีวิตที่คล้ายคลึง
กัน จึงจำเป็ นที่จะต้องทำความรู้จักประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ว่าจะเป็ น จีน พม่า ลาว
เวียดนาม กัมพูชา มาเลเซีย เป็ นต้น ซึ่ง ศธ. จะสร้างหลักสูตรที่สามารถสร้างความ
เข้าใจที่ถูกต้องภายใต้การรวมตัวเป็ นประชาคมเดียวกันของคนจำนวนกว่า 600
ล้านคน โดยจะเริ่มดำเนินการในปี การศึกษา 2554 เป็ นต้นไป
77

ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับรัฐมนตรี ผู้บริหารระดับสูง ผู้


บริหาร ครู และนักเรียน ซึ่งขณะนี ้ ประเทศจีนมีความประสงค์จะส่งครูมาสอนใน
โรงเรียนไทยเป็ นจำนวนมาก
การแลกเปลี่ยน ICT ซึ่งเป็ นเรื่องที่สำคัญมาก เพราะจะต้องเชื่อมโยงภายใน
ประชาคมอาเซียนกันได้ ซึ่งได้มีการจัดตัง้ ASEAN University และ Cyber
University เพื่อการเชื่อมโยง นอกจากนีย
้ ังได้เตรียมการเพื่อให้มีการรับรอง
คุณวุฒิการศึกษาระหว่างกัน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้เรียน ซึ่งขณะนีไ้ ทย-จีน
และไทย-มาเลเซีย สามารถรับรองคุณวุฒิได้แล้ว แต่สำหรับฟิ ลิปปิ นส์ยังไม่
สามารถรับรองได้
การใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษากลางของประชาคมอาเซียน ศธ. ได้ตงั ้ เป้ าหมาย
ให้นักเรียนที่จบชัน
้ ป.6 สามารถสื่อสารเป็ นภาษาอังกฤษได้ เพื่อรองรับการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน รวมทัง้ จะต้องใช้ภาษาอังกฤษในการค้นคว้าหาความรู้จาก
อินเทอร์เน็ต และสื่อการเรียนรู้ที่มีความหลากหลายมากขึน

ที่มา : http://web62.sskru.ac.th/aseansskru/maxsite/?
name=page&file=page&op=3

คำถาม
1. ข่าวดังกล่าวมีสาระสำคัญเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องใด
บ้าง

2. ข่าวดังกล่าวแสดงถึงการเตรียมความพร้อมของไทยในการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนในด้านใดบ้าง

3. ข้อมูลในข้อ 1-2 ส่งผลดีต่อประเทศไทยอย่างไร


78

4. นักเรียนจะมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ในข่าวได้อย่างไร
บ้าง จงยกตัวอย่าง

เรื่องที่ 2
นักศึกษา มข. แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ม.จำปาสัก สปป. ลาว เตรียมพร้อมสู่
อาเซียน
ฝ่ ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์  โดยองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัย
ขอนแก่น จัดโครงการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมกับนักศึกษามหาวิทยาลัยจำปา
สัก ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีผู้บริหาร คณาจารย์
และนักศึกษามหาวิทยาลัยจำปาสักให้การต้อนรับ พร้อมสรุปข้อมูลมหาวิทยาลัย
จำปาสักให้นักศึกษาทราบ ตลอดจนการเจรจาถึงความร่วมมือในอนาคตของการ
แลกเปลี่ยนกิจกรรมของนักศึกษา รวมถึงตอบข้อซักถามของนักศึกษา ม.ขอนแก่น
เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน โดยในภาคค่ำมีการแสดงแลกเปลี่ยนศิลป
วัฒนธรรมจากนักศึกษาของ ทัง้ สองมหาวิทยาลัย และการทัศนศึกษาสถานที่
ท่องเที่ยวทางธรรมชาติของแขวงจำปาสัก  ฝ่ ายมหาวิทยาลัยขอนแก่น นำ
โดย นายภาคภูมิ  ทิทา  หัวหน้างานกิจกรรมนักศึกษา และนายจิราวุธ  แก้วนา
พันธ์  นายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น  พร้อมด้วยกรรมการบริหาร
องค์การนักศึกษา  กรรมการสภานักศึกษา  กรรมการหอพักนักศึกษา และผู้นำ
จากสโมสรนักศึกษาคณะต่างๆ กว่า 50 คน เมื่อวันที่ 18-20 มกราคม 2556 ที่
ผ่านมา
หัวหน้าฝ่ ายวิเทศสัมพันธ์มหาวิทยาลัยจำปาสัก กล่าวว่า “มหาวิทยาลัยจำปา
สักและมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้มีความร่วมมือกันอยู่แล้ว ทัง้ เรื่องวิชาการและ
กิจกรรม  มีอาจารย์ของมหาวิทยาลัยจำปาสักหลายคนไปศึกษาต่อและเป็ นศิษย์
79

เก่าของมหาวิทยาลัยขอนแก่น การมาในครัง้ นีข


้ องคณะมหาวิทยาลัยขอนแก่นถือ
เป็ นโอกาสที่ทงั ้ สองมหาวิทยาลัยจะได้กระชับความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน
มหาวิทยาลัยจำปาสักยังต้องพัฒนาไปข้างหน้าอย่างมาก ซึ่งจะพบเห็นว่าตอนนี ้
มหาวิทยาลัยอยู่ระหว่างการก่อสร้างอาคารสถานที่ เพื่อขยายโอกาสทางการ
ศึกษาให้มากขึน
้ เพื่อรองรับการขยายตัว เรื่องกิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาก็มี
โอกาสเป็ นไปได้ เราต้องแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างกันเพื่อพัฒนา
มหาวิทยาลัยและนักศึกษาให้เก่งและมีปัญญา เพราะในอนาคตอันใกล้นป
ี ้ ระเทศ
ของเราก็จะเข้าสู่ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันในประชาคมอาเซียน”
80

นายภาสกร เตือประโคน ที่ปรึกษาองค์การนักศึกษา กล่าวว่า “การไปแลก


เปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมกับมหาวิทยาลัยในประเทศเพื่อนบ้านนัน
้ จะทำให้นักศึกษา
ได้รับประสบการณ์ตรง ได้สัมผัสชีวิตความเป็ นอยู่ โดยเฉพาะในสาขาวิชาชีพก็
สามารถจะเปรียบเทียบได้ถึงความต่างทางวัฒนธรรมและความเป็ นอยู่ เช่น
นักศึกษาสาขาสถาปั ตยกรรม ก็ได้เห็นถึงความต่างของสถาปั ตยกรรมของไทยและ
ลาวชัดเจนยิ่งขึน
้   นักศึกษาสาขาการเกษตรก็จะได้เห็นถึงความต่างของพืชและ
ภูมิประเทศของการกสิกรรม นักศึกษาสาขาการศึกษาก็จะได้เห็นความต่างของ
การจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างทัง้ เรื่องหลักสูตรและเทคโนโลยีทางการศึกษา
สิ่งเหล่านีน
้ ักศึกษาสัมผัสได้จากการไปสัมผัสและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพราะท้าย
ที่สุดแล้วเราจะต้องเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การเรียนรู้ความเป็ นอยู่ของประเทศ
เพื่อนบ้านก็เป็ นวิถีอย่างหนึ่งที่จะเตรียมความพร้อมสู่ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ของอาเซียน นักศึกษาก็จะมีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคต และอยู่ใน
สังคมได้อย่างสง่างาม”

ที่มา : http://laos.kku.ac.th/index.php?
option=com_content&task=view&id=1264&Itemid=1

คำถาม
1. ข่าวดังกล่าวมีสาระสำคัญเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องใด
บ้าง

2. ข่าวดังกล่าวแสดงถึงการเตรียมความพร้อมของไทยในการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนอย่างไรบ้าง
81

3. กิจกรรมต่างๆ ในข่าวนีส
้ ่งผลดีต่อประเทศไทยอย่างไร จงอธิบาย
พร้อมยกตัวอย่าง

4. นักเรียนจะมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ในข่าวได้อย่างไร
บ้าง จงยกตัวอย่าง
82

เรื่องที่ 3
ทิศทางข้าวไทยในอาเซียน วางตำแหน่งเป็ น Trader โลก
การประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับมอบให้ไปวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขัน
(Competitive Advantage) ของสินค้าเกษตรที่สำคัญ โดยให้พิจารณาเชื่อมโยงกับ
กระทรวงอื่น เช่น กระทรวงคมนาคม โดยเฉพาะการสนับสนุนในเรื่องระบบโลจิสติกส์
และดำเนินการจัดทำกำหนดเขตพื้นที่เพาะปลูก (Zoning) สินค้าเกษตรที่สำคัญ การ
วางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด การเพิ่มผลผลิต โดยใช้
ระบบชลประทานเข้ามาสนับสนุน ทัง้ นี ้ เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้
สินค้าเกษตรที่สำคัญ เช่น ข้าว มันสำปะหลัง ยางพารา ผลไม้ ปศุสัตว์ เช่น ไก่ กุ้ง
และผลิตภัณฑ์นม โดยเฉพาะการหารือร่วมกับภาคเอกชนเพื่อพิจารณาถึงทิศทางและ
ผลกระทบว่ามีข้อได้เปรียบหรือเสียเปรียบด้านใด และจะมีแผนงาน/โครงการ
แนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์เพื่อแก้ไขอย่างไรก่อนเสนอรัฐบาลเพื่อบูรณาการแผน
ปฏิบัติการในภาพรวมจัดทำเป็ นแผนแม่บทต่อไป
นิวัติ สุธีมีชัยกุล รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะดูแลด้านการผลิต
ได้ร่วมหารือกับเอกชนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งในกรณีสินค้าข้าวผลจากการประชุมหารือเชิงลึก
ถึงสถานภาพของสินค้าข้าวของไทยในเวที AEC ระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กับผู้แทนภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการค้าข้าว สรุปเบื้องต้นได้ว่า ภาคเอกชนไทย
ต้องการให้ ประเทศไทยคงสถานภาพในการเป็ นผู้คา้ หรือ Trader และ
ต้องการเป็ นผู้นำในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แม้ว่าจะมีคู่แข่งที่น่ากลัวอย่าง
เวียดนามและเมียนมาร์ที่พยายามพัฒนาแซงหน้าประเทศไทย การจะคงสถานะเป็ น
ผู้นำการค้าข้าว ใน AEC นัน
้ ผู้เกี่ยวข้องเห็นตรงกันว่าพันธกิจที่ภาครัฐและภาค
เอกชนต้องดำเนินการร่วมกัน คือ
1. ต้องพัฒนาสายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองให้มีความหลากหลายมากขึน
้ เช่น ข้าวพันธุ์
หอมมะลิ ข้าวพันธุ์ลืมผัว ข้าวพันธุ์สังข์หยด ข้าวพันธุ์หอมจำปา ข้าวหอมพันธุ์ดงั ้ เดิม
ของ จ. อุตรดิตถ์ ฯลฯ เพื่อที่จะใช้คุณลักษณะความเฉพาะตัวของข้าวสายพันธุ์พ้น

83

เมืองของไทย ที่มีคุณค่า รสชาติ และมีผลต่อการเสริมสุขภาพ เข้าครองตลาดในกลุ่มผู้


บริโภคเฉพาะ (Unique Market)
2. พัฒนาสายพันธุ์ข้าวหอมมะลิ ให้มีคุณค่าและคุณลักษณะเฉพาะให้สูงขึน
้ เพื่อคง
ภาพลักษณ์ความเป็ นที่สุด (Super-TOP) ของสายพันธุ์ข้าวเพื่อการบริโภคของโลก
เนื่องจากคู่แข่งคือเมียนมาร์และเวียดนามมีเป้ าหมายชัดเจนในการพัฒนาข้าวหอม
มะลิให้มีคุณภาพสูงกว่าข้าวหอมมะลิสายพันธุ์ไทย
3. ปรับปรุงมาตรการและขัน
้ ตอนในการนำเข้าข้าว 5-10% จากประเทศเพื่อน
บ้านโดยเฉพาะจากลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ เพื่อนำมาแปรสภาพเป็ นข้าวนึ่งเพิ่ม
จากปริมาณที่ไทยมีกำลังผลิตอยู่ในปั จจุบัน ซึ่งจะทำให้ผู้ส่งออกของไทยสามารถขยาย
ตลาดข้าวนึ่งได้มากขึน

4. ต้องมีการจัดทำระบบทะเบียนเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าวให้ชัดเจนและเป็ น
ปั จจุบัน เพื่อป้ องกันการสวมสิทธิ จากข้าวภายนอกในกรณีที่ภาครัฐต้องการสนับสนุน
เกษตรกร และยังสามารถใช้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาและยกระดับของเกษตรกรแต่ละ
พื้นที่ด้วย
5. ภาครัฐต้องดำเนินนโยบายที่ชัดเจนในการเพิ่มผลการผลิตข้าว โดยการจำแนก
พื้นที่ผลิตข้าวตามผลผลิตเฉลี่ยออกเป็ น 2 ระดับ คือ 1) พื้นที่พัฒนาที่มีผลผลิตเฉลี่ย
มากกว่า 350 กก./ไร่ ซึ่งพื้นที่นต
ี ้ ้องกำหนดกิจกรรมเข้าไปพัฒนาเพิ่มผลผลิตแยกตาม
รายพื้นที่ 2) พื้นที่ที่มีผลผลิตต่ำกว่า 350 กก./ไร่ ซึ่งพื้นที่นีต
้ ้องกำหนดชัดเจนว่าจะคง
สภาพให้มีการผลิตข้าวอยู่ต่อไป (ในกรณีเพื่อการบริโภคในครัวเรือน) หรือว่าจะมีการ
ชดเชยเพื่อให้เปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นโดยต้องไม่มีการ นำผลผลิตในส่วนนีไ้ ปคำนวณ
ค่าเฉลี่ยของประเทศอีกต่อไป เพราะจะทำให้ค่าเฉลี่ยของประเทศไม่ถูกต้องในเชิงสถิติ
เป็ นภาพลักษณ์ที่ไม่เป็ นผลบวกต่อการส่งออกของประเทศ
84

6. ภาครัฐและเอกชนต้องร่วมกันกำหนดยุทธศาสตร์ในการทำตลาดใหม่ โดยการ
แยกกลยุทธ์ในการทำตลาดตามประเภทของข้าว (ข้าวนึ่ง ข้าวหอมมะลิ ข้าวขาว 100-
5%) โดยกำหนดเป้ าหมายเป็ นประเทศปลายทาง เนื่องจากกลุ่มสมาชิก AEC เป็ น
ประเทศผู้ผลิตข้าวเหมือนกัน และที่สำคัญต้องไม่สร้างภาพลักษณ์ที่เป็ นผลลบต่อ
อุตสาหกรรมข้าวไทยผ่านการนำเสนอข้อมูลข้าวในเชิงเปรียบเทียบภาพรวม เช่น
เดียวกันกับคู่แข่ง ทัง้ นี ้ ต้องให้ความสำคัญที่ข้าวหอมมะลิ และข้าวนึ่งเป็ นลำดับ
แรกโดยเฉพาะข้าวนึ่งที่ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตข้าวนึ่งคุณภาพสูงเมื่อ
เปรียบเทียบกับผู้ผลิตรายอื่น

ที่มา : http://www.thai-aec.com/421#ixzz2VtfjT58F

คำถาม
1. ข่าวดังกล่าวมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนอย่างไรบ้าง

2. กิจกรรมต่างๆ ในข่าวแสดงถึงความร่วมมือระหว่างองค์กรใดบ้าง

3. นักเรียนคิดว่า ผลของการดำเนินกิจกรรมในข่าวจะส่งผลดีต่อ
ประเทศไทยอย่างไร

4. นักเรียนจะมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ในข่าวได้อย่างไร
บ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
85
86

เฉลย ใบงานที่ 3.3 การเตรียมความพร้อมของไทยเพื่อเข้าสู่ประชาคม


อาเซียน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์บทความหรือข่าว แล้วตอบคำถาม

เรื่องที่ 1
ทิศทางการศึกษาไทยกับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน
 The way of Thail Education for AEC of ASEAN 2015
  ศธ. มีนโยบายพัฒนาการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษาของประเทศให้เป็ นไปอย่างมี
คุณภาพ กระจายโอกาสอย่างทั่วถึงและเป็ นธรรม เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
รวมทัง้ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ตลอดจนสามารถก้าวทันและแข่งขันกับ
นานาชาติได้ โดยเฉพาะการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซึ่งในความเป็ นจริงประเทศไทย
เป็ นผู้ริเริ่มก่อตัง้ อาเซียน โดยมี 3 เสาหลัก ได้แก่ ความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ
ความร่วมมือทางการเมืองและความมั่นคง และความร่วมมือทางสังคมและวัฒนธรรม
ซึ่งเสาหลักความร่วมมือทางสังคมและวัฒนธรรมมีความก้าวหน้ามากที่สุด โดย ศธ.ได้
เตรียมความพร้อมด้านการศึกษาเพื่อการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ดังนี ้
จัดให้มีหลักสูตรอาเซียนศึกษา เพื่อให้คนไทยเข้าใจอาเซียน เข้าใจการอยู่ร่วมกัน
กับประเทศเพื่อนบ้าน ที่มีวัฒนธรรมการกิน การอยู่ การดำเนินชีวิตที่คล้ายคลึงกัน จึง
จำเป็ นที่จะต้องทำความรู้จักประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ว่าจะเป็ น จีน พม่า ลาว เวียดนาม
กัมพูชา มาเลเซีย เป็ นต้น ซึ่ง ศธ. จะสร้างหลักสูตรที่สามารถสร้างความเข้าใจที่ถูก
ต้องภายใต้การรวมตัวเป็ นประชาคมเดียวกันของคนจำนวนกว่า 600 ล้านคน โดยจะ
เริ่มดำเนินการในปี การศึกษา 2554 เป็ นต้นไป
ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนในทุกระดับ ตัง้ แต่ระดับรัฐมนตรี ผู้บริหารระดับสูง ผู้
บริหาร ครู และนักเรียน ซึ่งขณะนี ้ ประเทศจีนมีความประสงค์จะส่งครูมาสอนใน
โรงเรียนไทยเป็ นจำนวนมาก
การแลกเปลี่ยน ICT ซึ่งเป็ นเรื่องที่สำคัญมาก เพราะจะต้องเชื่อมโยงภายใน
ประชาคมอาเซียนกันได้ ซึ่งได้มีการจัดตัง้ ASEAN University และ Cyber
87

University เพื่อการเชื่อมโยง นอกจากนีย


้ ังได้เตรียมการเพื่อให้มีการรับรองคุณวุฒิ
การศึกษาระหว่างกัน เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้เรียน ซึ่งขณะนีไ้ ทย-จีน และไทย-
มาเลเซีย สามารถรับรองคุณวุฒิได้แล้ว แต่สำหรับฟิ ลิปปิ นส์ยังไม่สามารถรับรองได้
การใช้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษากลางของประชาคมอาเซียน ศธ. ได้ตงั ้ เป้ าหมายให้
นักเรียนที่จบชัน
้ ป.6 สามารถสื่อสารเป็ นภาษาอังกฤษได้ เพื่อรองรับการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน รวมทัง้ จะต้องใช้ภาษาอังกฤษในการค้นคว้าหาความรู้จาก
อินเทอร์เน็ต และสื่อการเรียนรู้ที่มีความหลากหลายมากขึน

ที่มา : http://web62.sskru.ac.th/aseansskru/maxsite/?
name=page&file=page&op=3
คำถาม
1. ข่าวดังกล่าวมีสาระสำคัญเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องใด
บ้าง
สาระสำคัญในข่าวเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมของไทยในด้านการศึกษา
อย่างมีคุณภาพ
88

2. ข่าวดังกล่าวแสดงถึงการเตรียมความพร้อมของไทยในการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนในด้านใดบ้าง
1) ด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
2) การจัดหลักสูตรอาเซียนศึกษา

3. ข้อมูลในข้อ 1-2 ส่งผลดีต่อประเทศไทยอย่างไร


ประชาชนชาวไทยทุกภาคส่วนร่วมมือกันในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้
สามารถแข่งขันกับนานาชาติได้
คนไทยมีความเข้าใจในวิถีการดำเนินชีวิตของประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อการ
ติดต่อสัมพันธ์กันและอยู่ร่วมกันในสังคม
อาเซียนอย่างสงบสุข และสามารถติดต่อสื่อสารกันเป็ นภาษาอังกฤษได้
4. นักเรียนจะมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ในข่าวได้อย่างไร
บ้าง จงยกตัวอย่าง

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจ
ของครูผู้สอน)

เรื่องที่ 2
นักศึกษา มข. แลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ม.จำปาสัก สปป. ลาว เตรียมพร้อมสู่
อาเซียน
ฝ่ ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์  โดยองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัย
ขอนแก่น จัดโครงการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมกับนักศึกษามหาวิทยาลัยจำปา
สัก ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมีผู้บริหาร คณาจารย์
และนักศึกษามหาวิทยาลัยจำปาสักให้การต้อนรับ พร้อมสรุปข้อมูลมหาวิทยาลัย
จำปาสักให้นักศึกษาทราบ ตลอดจนการเจรจาถึงความร่วมมือในอนาคตของการ
89

แลกเปลี่ยนกิจกรรมของนักศึกษา รวมถึงตอบข้อซักถามของนักศึกษา ม.ขอนแก่น


เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน โดยในภาคค่ำมีการแสดงแลกเปลี่ยนศิลป
วัฒนธรรมจากนักศึกษาของ ทัง้ สองมหาวิทยาลัย และการทัศนศึกษาสถานที่
ท่องเที่ยวทางธรรมชาติของแขวงจำปาสัก  ฝ่ ายมหาวิทยาลัยขอนแก่น นำ
โดย นายภาคภูมิ  ทิทา  หัวหน้างานกิจกรรมนักศึกษา และนายจิราวุธ  แก้วนา
พันธ์  นายกองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น  พร้อมด้วยกรรมการบริหาร
องค์การนักศึกษา  กรรมการสภานักศึกษา  กรรมการหอพักนักศึกษา และผู้นำ
จากสโมสรนักศึกษาคณะต่างๆ กว่า 50 คน เมื่อวันที่ 18-20 มกราคม 2556 ที่
ผ่านมา
หัวหน้าฝ่ ายวิเทศสัมพันธ์มหาวิทยาลัยจำปาสัก กล่าวว่า “มหาวิทยาลัยจำปา
สักและมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้มีความร่วมมือกันอยู่แล้ว ทัง้ เรื่องวิชาการและ
กิจกรรม  มีอาจารย์ของมหาวิทยาลัยจำปาสักหลายคนไปศึกษาต่อและเป็ นศิษย์
เก่าของมหาวิทยาลัยขอนแก่น การมาในครัง้ นีข
้ องคณะมหาวิทยาลัยขอนแก่นถือ
เป็ นโอกาสที่ทงั ้ สองมหาวิทยาลัยจะได้กระชับความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน
มหาวิทยาลัยจำปาสักยังต้องพัฒนาไปข้างหน้าอย่างมาก ซึ่งจะพบเห็นว่าตอนนี ้
มหาวิทยาลัยอยู่ระหว่างการก่อสร้างอาคารสถานที่ เพื่อขยายโอกาสทางการ
ศึกษาให้มากขึน
้ เพื่อรองรับการขยายตัว เรื่องกิจกรรมแลกเปลี่ยนนักศึกษาก็มี
โอกาสเป็ นไปได้ เราต้องแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างกันเพื่อพัฒนา
มหาวิทยาลัยและนักศึกษาให้เก่งและมีปัญญา เพราะในอนาคตอันใกล้นป
ี ้ ระเทศ
ของเราก็จะเข้าสู่ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันในประชาคมอาเซียน”
90

นายภาสกร เตือประโคน ที่ปรึกษาองค์การนักศึกษา กล่าวว่า “การไปแลก


เปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมกับมหาวิทยาลัยในประเทศเพื่อนบ้านนัน
้ จะทำให้นักศึกษา
ได้รับประสบการณ์ตรง ได้สัมผัสชีวิตความเป็ นอยู่ โดยเฉพาะในสาขาวิชาชีพก็
สามารถจะเปรียบเทียบได้ถึงความต่างทางวัฒนธรรมและความเป็ นอยู่ เช่น
นักศึกษาสาขาสถาปั ตยกรรม ก็ได้เห็นถึงความต่างของสถาปั ตยกรรมของไทยและ
ลาวชัดเจนยิ่งขึน
้   นักศึกษาสาขาการเกษตรก็จะได้เห็นถึงความต่างของพืชและ
ภูมิประเทศของการกสิกรรม นักศึกษาสาขาการศึกษาก็จะได้เห็นความต่างของ
การจัดการเรียนการสอนที่แตกต่างทัง้ เรื่องหลักสูตรและเทคโนโลยีทางการศึกษา
สิ่งเหล่านีน
้ ักศึกษาสัมผัสได้จากการไปสัมผัสและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพราะท้าย
ที่สุดแล้วเราจะต้องเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การเรียนรู้ความเป็ นอยู่ของประเทศ
เพื่อนบ้านก็เป็ นวิถีอย่างหนึ่งที่จะเตรียมความพร้อมสู่ความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ของอาเซียน นักศึกษาก็จะมีความพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคต และอยู่ใน
สังคมได้อย่างสง่างาม”

ที่มา : http://laos.kku.ac.th/index.php?
option=com_content&task=view&id=1264&Itemid=1

คำถาม
1. ข่าวดังกล่าวมีสาระสำคัญเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนในเรื่องใด
บ้าง
การแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมระหว่างองค์การนักศึกษามหาวิทยาลัย
ขอนแก่นของประเทศไทย กับมหาวิทยาลัย
จำปาสัก ของประเทศลาว

2. ข่าวดังกล่าวแสดงถึงการเตรียมความพร้อมของไทยในการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนอย่างไรบ้าง
91

เป็ นการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษา มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์


ระหว่างนักศึกษาไทยกับนักศึกษาลาว
ในสาขาวิชาชีพต่างๆ เช่น สถาปั ตยกรรม เกษตร ฯลฯ

3. กิจกรรมต่างๆ ในข่าวนีส
้ ่งผลดีต่อประเทศไทยอย่างไร จงอธิบาย
พร้อมยกตัวอย่าง
ทำให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างประชาชนชาวไทยและชาวลาว และ
นักศึกษาไทยสาขาวิชาชีพต่างๆ
ตามโครงการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม จะได้นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ
มาประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาประเทศต่อไป
ฯลฯ
4. นักเรียนจะมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ในข่าวได้อย่างไร
บ้าง จงยกตัวอย่าง

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจ
ของครูผู้สอน)

เรื่องที่ 3
ทิศทางข้าวไทยในอาเซียน วางตำแหน่งเป็ น Trader โลก
การประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้รับมอบให้ไปวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขัน
(Competitive Advantage) ของสินค้าเกษตรที่สำคัญ โดยให้พิจารณาเชื่อมโยงกับ
กระทรวงอื่น เช่น กระทรวงคมนาคม โดยเฉพาะการสนับสนุนในเรื่องระบบโลจิสติ
92

กส์และดำเนินการจัดทำกำหนดเขตพื้นที่เพาะปลูก (Zoning) สินค้าเกษตรที่สำคัญ


การวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด การเพิ่มผลผลิต โดย
ใช้ระบบชลประทานเข้ามาสนับสนุน ทัง้ นี ้ เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
ให้สินค้าเกษตรที่สำคัญ เช่น ข้าว มันสำปะหลัง ยางพารา ผลไม้ ปศุสัตว์ เช่น ไก่
กุ้ง และผลิตภัณฑ์นม โดยเฉพาะการหารือร่วมกับภาคเอกชนเพื่อพิจารณาถึง
ทิศทางและผลกระทบว่ามีข้อได้เปรียบหรือเสียเปรียบด้านใด และจะมีแผน
งาน/โครงการ แนวทางการจัดทำยุทธศาสตร์เพื่อแก้ไขอย่างไรก่อนเสนอรัฐบาลเพื่อ
บูรณาการแผนปฏิบัติการในภาพรวมจัดทำเป็ นแผนแม่บทต่อไป
นิวัติ สุธีมีชัยกุล รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในฐานะดูแลด้านการ
ผลิต ได้ร่วมหารือกับเอกชนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งในกรณีสินค้าข้าวผลจากการประชุม
หารือเชิงลึกถึงสถานภาพของสินค้าข้าวของไทยในเวที AEC ระหว่างกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์กับผู้แทนภาคเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการค้าข้าว สรุปเบื้องต้นได้
ว่า ภาคเอกชนไทยต้องการให้ ประเทศไทยคงสถานภาพในการเป็ นผู้คา้ หรือ
Trader และต้องการเป็ นผู้นำในเวทีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แม้ว่าจะมีคู่แข่งที่
น่ากลัวอย่างเวียดนามและเมียนมาร์ที่พยายามพัฒนาแซงหน้าประเทศไทย การจะ
คงสถานะเป็ นผู้นำการค้าข้าว ใน AEC นัน
้ ผู้เกี่ยวข้องเห็นตรงกันว่าพันธกิจที่
ภาครัฐและภาคเอกชนต้องดำเนินการร่วมกัน คือ
1. ต้องพัฒนาสายพันธุ์ข้าวพื้นเมืองให้มีความหลากหลายมากขึน
้ เช่น ข้าวพันธุ์
หอมมะลิ ข้าวพันธุ์ลืมผัว ข้าวพันธุ์สังข์หยด ข้าวพันธุ์หอมจำปา ข้าวหอมพันธุ์
ดัง้ เดิมของ จ. อุตรดิตถ์ ฯลฯ เพื่อที่จะใช้คุณลักษณะความเฉพาะตัวของข้าวสาย
พันธุ์พ้น
ื เมืองของไทย ที่มีคุณค่า รสชาติ และมีผลต่อการเสริมสุขภาพ เข้าครอง
ตลาดในกลุ่มผู้บริโภคเฉพาะ (Unique Market)
2. พัฒนาสายพันธุ์ข้าวหอมมะลิ ให้มีคุณค่าและคุณลักษณะเฉพาะให้สูงขึน
้ เพื่อ
คงภาพลักษณ์ความเป็ นที่สุด (Super-TOP) ของสายพันธุ์ข้าวเพื่อการบริโภคของ
โลก เนื่องจากคู่แข่งคือเมียนมาร์และเวียดนามมีเป้ าหมายชัดเจนในการพัฒนาข้าว
หอมมะลิให้มีคุณภาพสูงกว่าข้าวหอมมะลิสายพันธุ์ไทย
93

3. ปรับปรุงมาตรการและขัน
้ ตอนในการนำเข้าข้าว 5-10% จากประเทศเพื่อน
บ้านโดยเฉพาะจากลาว กัมพูชา และเมียนมาร์ เพื่อนำมาแปรสภาพเป็ นข้าวนึ่งเพิ่ม
จากปริมาณที่ไทยมีกำลังผลิตอยู่ในปั จจุบัน ซึ่งจะทำให้ผู้ส่งออกของไทยสามารถ
ขยายตลาดข้าวนึ่งได้มากขึน

4. ต้องมีการจัดทำระบบทะเบียนเกษตรกรผู้เพาะปลูกข้าวให้ชัดเจนและเป็ น
ปั จจุบัน เพื่อป้ องกันการสวมสิทธิ จากข้าวภายนอกในกรณีที่ภาครัฐต้องการ
สนับสนุนเกษตรกร และยังสามารถใช้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาและยกระดับของ
เกษตรกรแต่ละพื้นที่ด้วย
5. ภาครัฐต้องดำเนินนโยบายที่ชัดเจนในการเพิ่มผลการผลิตข้าว โดยการ
จำแนกพื้นที่ผลิตข้าวตามผลผลิตเฉลี่ยออกเป็ น 2 ระดับ คือ 1) พื้นที่พัฒนาที่มี
ผลผลิตเฉลี่ยมากกว่า 350 กก./ไร่ ซึ่งพื้นที่นีต
้ ้องกำหนดกิจกรรมเข้าไปพัฒนาเพิ่ม
ผลผลิตแยกตามรายพื้นที่ 2) พื้นที่ที่มีผลผลิตต่ำกว่า 350 กก./ไร่ ซึ่งพื้นที่นีต
้ ้อง
กำหนดชัดเจนว่าจะคงสภาพให้มีการผลิตข้าวอยู่ต่อไป (ในกรณีเพื่อการบริโภคใน
ครัวเรือน) หรือว่าจะมีการชดเชยเพื่อให้เปลี่ยนไปปลูกพืชอื่นโดยต้องไม่มีการ
นำผลผลิตในส่วนนีไ้ ปคำนวณค่าเฉลี่ยของประเทศอีกต่อไป เพราะจะทำให้คา่ เฉลี่ย
ของประเทศไม่ถูกต้องในเชิงสถิติ เป็ นภาพลักษณ์ที่ไม่เป็ นผลบวกต่อการส่ง
ออกของประเทศ
94

6. ภาครัฐและเอกชนต้องร่วมกันกำหนดยุทธศาสตร์ในการทำตลาดใหม่ โดย
การแยกกลยุทธ์ในการทำตลาดตามประเภทของข้าว (ข้าวนึ่ง ข้าวหอมมะลิ ข้าว
ขาว 100-5%) โดยกำหนดเป้ าหมายเป็ นประเทศปลายทาง เนื่องจากกลุ่มสมาชิก
AEC เป็ นประเทศผู้ผลิตข้าวเหมือนกัน และที่สำคัญต้องไม่สร้างภาพลักษณ์ที่เป็ น
ผลลบต่ออุตสาหกรรมข้าวไทยผ่านการนำเสนอข้อมูลข้าวในเชิงเปรียบเทียบภาพ
รวม เช่นเดียวกันกับคู่แข่ง ทัง้ นี ้ ต้องให้ความสำคัญที่ข้าวหอมมะลิ และข้าวนึ่ง
เป็ นลำดับแรกโดยเฉพาะข้าวนึ่งที่ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตข้าวนึ่ง
คุณภาพสูงเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ผลิตรายอื่น

ที่มา : http://www.thai-aec.com/421#ixzz2VtfjT58F

คำถาม
1. ข่าวดังกล่าวมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนอย่างไรบ้าง
การเตรียมความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพของข้าวไทยให้คงสถานะการ
เป็ นผู้นำการค้าข้าวใน AEC

2. กิจกรรมต่างๆ ในข่าวแสดงถึงความร่วมมือระหว่างองค์กรใดบ้าง
กิจกรรมในข่าวแสดงถึงความร่วมมือระหว่างกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงคมนาคม และผู้แทน
ภาคเอกชน

3. นักเรียนคิดว่า ผลของการดำเนินกิจกรรมในข่าวจะส่งผลดีต่อ
ประเทศไทยอย่างไร

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจ
ของครูผู้สอน)
95

4. นักเรียนจะมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ในข่าวได้อย่างไร
บ้าง จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจ
ของครูผู้สอน)

9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน อาเซียนศึกษา ม.3
2) แบบปฏิบัติกิจกรรม อาเซียนศึกษา ม.3
3) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
- สำนักนายกรัฐมนตรี, กรมประชาสัมพันธ์. 2554.
ประเทศไทยกับอาเซียน. กรุงเทพมหานคร : กรม
ประชาสัมพันธ์ สำนักนายกรัฐมนตรี. [ม.ป.ท.].
4) บัตรภาพ
5) ใบงานที่ 3.1 เรื่อง บทบาทของไทยต่ออาเซียน
6) ใบงานที่ 3.2 เรื่อง ประโยชน์ของไทยจากการเป็ นประชาคม
อาเซียน
96

7) ใบงานที่ 3.3 เรื่อง การเตรียมความพร้อมของไทยเพื่อเข้าสู่


ประชาคมอาเซียน
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www.thai-
senate.com/senate_inter/info_center/asean_id.php?
id_asean=18
-

http://www.studyasean.in.th/index.php/learning/m1/u
nit3/benefits-of-thailand-s-entry-
into-asean
97

การประเมิ น ชิ ้น งาน/ภาระงาน (รวบยอด)


แบบประเมินแผ่นพับ เรื่อง ไทยเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
รายการ คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
ประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. การ อธิบายบทบาท อธิบายบทบาท อธิบายบทบาท อธิบายบทบาท
อธิบาย ของไทยต่อ ของไทยต่อ ของไทยต่อ ของไทยต่อ
บทบาทของ อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก
ไทยต่อ ต้อง ชัดเจน 3 ต้อง ชัดเจน 2 ต้อง ชัดเจน 1 ต้อง 1 ด้าน แต่
อาเซียน ด้าน ด้าน ด้าน ไม่ชัดเจน
2. การ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์ วิเคราะห์
วิเคราะห์ ประโยชน์ ของ ประโยชน์ ประโยชน์ ของ ประโยชน์
ประโยชน์ ไทยจากการเป็ น ของไทยจากการ ไทยจากการเป็ น ของไทยจากการ
ของไทยจาก ประชาคม เป็ นประชาคม ประชาคม เป็ นประชาคม
การเป็ น อาเซียนได้อย่าง อาเซียนได้อย่าง อาเซียนได้อย่าง อาเซียนได้อย่าง
ประชาคม มีเหตุผลถูกต้อง มีเหตุผลถูกต้อง มีเหตุผลถูกต้อง มีเหตุผลถูกต้อง
อาเซียน 5 ประเด็นขึน
้ ไป 4 ประเด็น 3 ประเด็น 1-2 ประเด็น
3. การ อธิบายวิธีการเต อธิบายวิธีการเต อธิบายวิธีการเต อธิบายวิธีการเต
อธิบายวิธี รียมความพร้อม รียมความพร้อม รียมความพร้อม รียมความพร้อม
การเตรียม ของไทยเพื่อเข้าสู่ ของไทยเพื่อเข้าสู่ ของไทยเพื่อเข้าสู่ ของไทยเพื่อเข้าสู่
ความพร้อม ประชาคม ประชาคม ประชาคม ประชาคม
ของไทย เพื่อ อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก อาเซียนได้ถูก
เข้าสู่ ต้อง 5 ด้านขึน
้ ต้อง 4 ด้าน ต้อง 3 ด้าน ต้อง 1-2 ด้าน
ประชาคม ไป
อาเซียน
98

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน 11 - 12 9 - 10 6-8 ต่ำกว่า 6


ระดับ ดี
ดีมาก พอใช้ ปรับปรุง
คุณภาพ

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถ ูกต้องที่สุ ดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดเป็ นประโยชน์ที่ประเทศไทยจะ 6. ประเทศไทยมีบทบาทด้านความร่วม
ได้รับจากการเป็ นประชาคมอาเซียน มือทางเศรษฐกิจของอาเซียนอย่างไร
ก. ประเทศไทยมีโอกาสเป็ นผู้นำ ก. เสนอการใช้ระบบเงินตราสกุล
อาเซียน เดียวกัน
ข. การเพิ่มโอกาสทางการค้าและการ ข. เสนอแนวคิดการจัดตัง้ เขตการค้า
ลงทุนให้กับไทย เสรีอาเซียน
ค. ประชากรไทยจะมีมาตรฐานการ ค. เสนอมาตรการกีดกันสินค้าจาก
ศึกษาเท่าเทียมกัน ภายนอกกลุ่มอาเซียน
ง. คนในชาติเกิดความปรองดองและ ง. เสนอให้ประเทศสมาชิกผลิตสินค้า
99

สามัคคีกันมากขึน
้ เกษตรกรรม
2. การกระทำของบุคคลใดจัดว่าเป็ น เป็ นหลัก
พลเมืองอาเซียนที่มีคุณภาพมากที่สุด 7. ข้อใดไม่สัมพันธ์กับการเป็ น
ก. พบพลอย ไปชมการแข่งขันกีฬา ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของ
ซีเกมส์ ประเทศไทย
ข. ฟ้ างาม ไปชมมรดกโลกอาเซียน ก. การเปิ ดตลาดการลงทุนใน
ค. ชานนท์ สนทนากับเพื่อนเป็ น ประเทศไทย
ภาษาอังกฤษ ข. การพัฒนาฝี มือแรงงานให้มี
ง. เมฆ สืบค้นข้อมูลวัฒนธรรม คุณภาพมากขึน

อาเซียนจากอินเทอร์เน็ต แล้วนำ ค. การเปิ ดบ่อนการพนันอย่างเสรีใน
ไปเผยแพร่ ประเทศไทย
3. การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคม ง. การพัฒนาการสื่อสารและ
อาเซียนด้านใด ที่ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเทศไทยควรพัฒนาเป็ นอันดับ 8. กลุ่มเศรษฐกิจต่างๆ ต้องการจะ
แรก ติดต่อค้าขายกับอาเซียนด้วยเหตุผล
ก. ด้านการเมือง ใด
ข. ด้านคมนาคม ก. สินค้าอาเซียนมีราคาค่อนข้างถูก
ค. ด้านทรัพยากรมนุษย์ ข. อาเซียนมีขนาดใหญ่ กำลังซื้อสูง
ง. ด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่าง ค. การซื้อขายใช้วิธีแลกเปลี่ยนได้
ประเทศ ง. อาเซียนไม่เก็บภาษีสินค้าขาเข้า
4. ปั ญหาที่เกิดขึน
้ ในบริเวณสามเหลี่ยม 9. ข้อใดเป็ นการเพิ่มโอกาสด้านการค้า
ทองคำ ส่งผลกระทบต่ออาเซียนใน และการลงทุนในไทยจากการเป็ น
ด้านใด ประชาคมอาเซียน
ก. เศรษฐกิจ ก. การส่งเสริมการผลิตสินค้า
ข. สังคมและวัฒนธรรม ข. การเรียนรู้เรื่องราวของประเทศ
ค. การเมืองและความมั่นคง สมาชิกอาเซียน
ง. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ค. การพัฒนาฝี มือแรงงานให้มี
100

5. ประเด็นที่ไทยควรตระหนักมากที่สุด คุณภาพและมาตรฐานมากขึน

ในการเปิ ดรับนักท่องเที่ยวจากการ ง. การเปิ ดเจรจาเพื่อความปรองดอง
เป็ นประชาคมอาเซียน คือข้อใด ของคนไทย
ก. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว 10. ข้อใดแสดงถึงประโยชน์ด้านพลังงาน
ข. การกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น ที่ไทยจะได้รับจากการเป็ นประชาคม
ค. การอนุรักษ์ประเพณีและ อาเซียน
วัฒนธรรมไทย ก. การได้สัมปทานขุดเจาะแก๊ส
ง. ความเสื่อมโทรมของแหล่งท่อง ธรรมชาติในพม่า
เที่ยวและสิ่งแวดล้อม ข. การมีน้ำมันเชื้อเพลิงใช้ในราคาถูก
กว่าตลาดโลก
ค. การมีอำนาจในการกำหนดราคา
น้ำมันในอาเซียน
ง. การเป็ นผู้ส่งออกด้านพลังงานราย
ใหญ่ในอาเซียน
101

11. ข้อใดสัมพันธ์กับการพัฒนาแรงงาน 16. ข้อใดเป็ นปั จจัยสำคัญที่แสดงให้เห็น


ไทยให้มีระดับทักษะฝี มือที่สูงขึน
้ ใน ถึงคุณภาพประชากรของแต่ละ
กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศ
ก. ประชาคมอาเซียน ก. คุณภาพสิ่งแวดล้อม
ข. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ข. ความมั่นคงทางการเมือง
ค. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ค. คุณภาพทางด้านการศึกษา
อาเซียน ง. ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ง. ประชาคมการเมืองและความ 17. ข้อใดเป็ นบทบาทของประเทศไทยใน
มั่นคงอาเซียน การเข้าสู่ประชาคมสังคมและ
12. ประเทศไทยควรเตรียมความพร้อม วัฒนธรรมอาเซียน
ด้านเศรษฐกิจอย่างไร เพื่อเตรียมตัว ก. การเสนอให้ตงั ้ มูลนิธิอาเซียน
เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ข. การเสนอให้ก่อตัง้ มหาวิทยาลัย
ก. ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมขนส่ง อาเซียน
ข. ส่งเสริมการผลิตในภาค ค. การเสนอให้ก่อตัง้ ศูนย์เตือนภัย
อุตสาหกรรม พิบัติอาเซียน
ค. นำเข้าสินค้าจากประเทศสมาชิก ง. การเสนอให้มีการจัดตัง้ ธนาคาร
อาเซียนมากขึน
้ แห่งอาเซียน
ง. ยกระดับความเป็ นอยู่ของ 18. ข้อใดเป็ นการเตรียมตัวเข้าสู่
ประชากรไทยให้ดีขน
ึ้ ประชาคมอาเซียนที่สำคัญที่สุด
13. การเตรียมความพร้อมของเยาวชน ก. การพัฒนาเศรษฐกิจพื้นฐาน
ไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ข. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ข้อใดเหมาะสมที่สุด ค. การพัฒนาด้านสิทธิมนุษยชน
ก. ฝึ กพูดภาษาของประเทศสมาชิก ง. การพัฒนาสาธารณสุขขัน
้ พื้นฐาน
อาเซียน 19. การกระทำของบุคคลใดสัมพันธ์กับ
ข. ฝึ กใช้ภาษาอังกฤษให้อ่านออก การเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
เขียนได้ ทีสำ
่ คัญที่สุด
ค. ซื้อคอมพิวเตอร์เพื่อฝึ กฝนและ ก. ธงชัย แต่งกายเลียนแบบดารา
102

เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ เกาหลี
ง. เดินทางไปเที่ยวประเทศสมาชิก ข. พลอยจันทร์ ชอบอ่านนวนิยาย
อาเซียนเพื่อเรียนรู้ วัฒนธรรม ญี่ปุ่น
14. การขยายตลาดสินค้าส่งออกที่สำคัญ ค. ปกรัฐ ชอบศึกษาประวัติศาสตร์
ของไทยไปยังประเทศมาเลเซีย บรูไน สากล
อินโดนีเซีย ควรเป็ นสินค้าประเภทใด ง. สุลักษณ์ เรียนรู้ข้อมูลต่างๆ ของ
มากที่สุด ประเทศสมาชิก อาเซียน
ก. อาหาร 20. การเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ข. สิ่งทอ ด้านใดทีทำ
่ ให้เราเข้าใจวัฒนธรรม
ค. เสื้อผ้า ของประเทศสมาชิกอาเซียนมากที่สุด
ง. ยางพารา ก. การเตรียมความพร้อมด้านภาษา
15. สมาชิกอาเซียนทุกประเทศต้องเตรี อังกฤษ
ยมพลเมืองให้พร้อมก่อนรวมเป็ น ข. การสร้างประชากรที่มีคุณภาพ
ประชาคม เนื่องจากเหตุผลอะไร และมีคุณธรรม
ก. จะมีชาวตะวันตกเดินทางเข้ามา ค. การพัฒนาตนเองเพื่อรับการ
มาก แข่งขันในอนาคต
ข. จะมีการแข่งขันกับเพื่อนบ้านสูง ง. การเรียนรู้ด้านอาหารการกินของ
ค. หลายชาติจะเข้ามาติดต่อค้าขาย ประเทศสมาชิก อาเซี ยน
ได้คะแนน คะแนนเต็ม
ด้วย
ง. สถานการณ์จะเกิดความไม่
20
แน่นอน
103

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
คำชีแ
้ จงให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถ ูกต้องที่สุ ดเพียงข้อเดียว
1. การเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 6. สมาชิกอาเซียนทุกประเทศต้องเตรี
ด้านใดทีทำ
่ ให้เราเข้าใจวัฒนธรรม ยมพลเมืองให้พร้อมก่อนรวมเป็ น
ของประเทศสมาชิกอาเซียนมากที่สุด ประชาคม เนื่องจากเหตุผลอะไร
ก. การเรียนรู้ด้านอาหารการกินของ ก. สถานการณ์จะเกิดความไม่
ประเทศสมาชิก อาเซียน แน่นอน
ข. การพัฒนาตนเองเพื่อรับการ ข. หลายชาติจะเข้ามาติดต่อค้าขาย
แข่งขันในอนาคต ด้วย
ค. การสร้างประชากรที่มีคุณภาพ ค. จะมีการแข่งขันกับเพื่อนบ้านสูง
และมีคุณธรรม ง. จะมีชาวตะวันตกเดินทางเข้ามา
ง. การเตรียมความพร้อมด้านภาษา มาก
อังกฤษ 7. การขยายตลาดสินค้าส่งออกที่สำคัญ
2. การกระทำของบุคคลใดสัมพันธ์กับ ของไทยไปยังประเทศมาเลเซีย บรูไน
การเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน อินโดนีเซีย ควรเป็ นสินค้าประเภทใด
ทีสำ
่ คัญที่สุด มากที่สุด
ก. สุลักษณ์ เรียนรู้ข้อมูลต่างๆ ของ ก. ยางพารา
ประเทศสมาชิก อาเซียน ข. เสื้อผ้า
ข. ปกรัฐ ชอบศึกษาประวัติศาสตร์ ค. สิ่งทอ
สากล ง. อาหาร
ค. พลอยจันทร์ ชอบอ่านนวนิยาย 8. การเตรียมความพร้อมของเยาวชน
ญี่ปุ่น ไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ง. ธงชัย แต่งกายเลียนแบบดารา ข้อใดเหมาะสมที่สุด
เกาหลี ก. เดินทางไปเที่ยวประเทศสมาชิก
3. ข้อใดเป็ นการเตรียมตัวเข้าสู่ อาเซียนเพื่อเรียนรู้ วัฒนธรรม
ประชาคมอาเซียนที่สำคัญที่สุด ข. ซื้อคอมพิวเตอร์เพื่อฝึ กฝนและ
ก. การพัฒนาสาธารณสุขขัน
้ พื้นฐาน เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ
104

ข. การพัฒนาด้านสิทธิมนุษยชน ค. ฝึ กใช้ภาษาอังกฤษให้อ่านออก
ค. การพัฒนาคุณภาพการศึกษา เขียนได้
ง. การพัฒนาเศรษฐกิจพื้นฐาน ง. ฝึ กพูดภาษาของประเทศสมาชิก
4. ข้อใดเป็ นบทบาทของประเทศไทยใน อาเซียน
การเข้าสู่ประชาคมสังคมและ 9. ประเทศไทยควรเตรียมความพร้อม
วัฒนธรรมอาเซียน ด้านเศรษฐกิจอย่างไร เพื่อเตรียมตัว
ก. การเสนอให้มีการจัดตัง้ ธนาคาร เข้าสู่ประชาคมอาเซียน
แห่งอาเซียน ก. ยกระดับความเป็ นอยู่ของ
ข. การเสนอให้ก่อตัง้ ศูนย์เตือนภัย ประชากรไทยให้ดีขน
ึ้
พิบัติอาเซียน ข. นำเข้าสินค้าจากประเทศสมาชิก
ค. การเสนอให้ก่อตัง้ มหาวิทยาลัย อาเซียนมากขึน

อาเซียน ค. ส่งเสริมการผลิตในภาค
ง. การเสนอให้ตงั ้ มูลนิธิอาเซียน อุตสาหกรรม
5. ข้อใดเป็ นปั จจัยสำคัญที่แสดงให้เห็น ง. ปรับปรุงเส้นทางคมนาคมขนส่ง
ถึงคุณภาพประชากรของแต่ละ 10. ข้อใดสัมพันธ์กับการพัฒนาแรงงาน
ประเทศ ไทยให้มีระดับทักษะฝี มือที่สูงขึน
้ ใน
ก. ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ กลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
ข. คุณภาพทางด้านการศึกษา ก. ประชาคมการเมืองและความ
ค. ความมั่นคงทางการเมือง มั่นคงอาเซียน
ง. คุณภาพสิ่งแวดล้อม ข. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียน
ค. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ง. ประชาคมอาเซียน
105

11. ข้อใดแสดงถึงประโยชน์ด้านพลังงาน 16. ประเด็นที่ไทยควรตระหนักมากที่สุด


ที่ไทยจะได้รับจากการเป็ นประชาคม ในการเปิ ดรับนักท่องเที่ยวจากการ
อาเซียน เป็ นประชาคมอาเซียน คือข้อใด
ก. การเป็ นผู้ส่งออกด้านพลังงานราย ก. ความเสื่อมโทรมของแหล่งท่อง
ใหญ่ในอาเซียน เที่ยวและสิ่งแวดล้อม
ข. การมีอำนาจในการกำหนดราคา ข. การอนุรักษ์ประเพณีและ
น้ำมันในอาเซียน วัฒนธรรมไทย
ค. การมีน้ำมันเชื้อเพลิงใช้ในราคาถูก ค. การกระจายรายได้สู่ท้องถิ่น
กว่าตลาดโลก ง. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
ง. การได้สัมปทานขุดเจาะแก๊ส 17. ปั ญหาที่เกิดขึน
้ ในบริเวณสามเหลี่ยม
ธรรมชาติในพม่า ทองคำ ส่งผลกระทบต่ออาเซียนใน
12. ข้อใดเป็ นการเพิ่มโอกาสด้านการค้า ด้านใด
และการลงทุนในไทยจากการเป็ น ก. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ประชาคมอาเซียน ข. การเมืองและความมั่นคง
ก. การเปิ ดเจรจาเพื่อความปรองดอง ค. สังคมและวัฒนธรรม
ของคนไทย ง. เศรษฐกิจ
ข. การพัฒนาฝี มือแรงงานให้มี 18. การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคม
คุณภาพและมาตรฐานมากขึน
้ อาเซียนด้านใดที่ประเทศไทยควร
ค. การเรียนรู้เรื่องราวของประเทศ พัฒนาเป็ นอันดับแรก
สมาชิกอาเซียน ก. ด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่าง
ง. การส่งเสริมการผลิตสินค้า ประเทศ
13. กลุ่มเศรษฐกิจต่างๆ ต้องการจะ ข. ด้านทรัพยากรมนุษย์
ติดต่อค้าขายกับอาเซียนด้วยเหตุผล ค. ด้านคมนาคม
ใด ง. ด้านการเมือง
ก. อาเซียนไม่เก็บภาษีสินค้าขาเข้า 19. การกระทำของบุคคลใดจัดว่าเป็ น
ข. การซื้อขายใช้วิธีแลกเปลี่ยนได้ พลเมืองอาเซียนที่มีคุณภาพมากที่สุด
ค. อาเซียนมีขนาดใหญ่ กำลังซื้อสูง ก. เมฆ สืบค้นข้อมูลวัฒนธรรม
106

ง. สินค้าอาเซียนมีราคาค่อนข้างถูก อาเซียนจากอินเทอร์เน็ต แล้วนำ


14. ข้อใดไม่สัมพันธ์กับการเป็ น ไปเผยแพร่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของ ข. ชานนท์ สนทนากับเพื่อนเป็ น
ประเทศไทย ภาษาอังกฤษ
ก. การพัฒนาการสื่อสารและ ค. ฟ้ างาม ไปชมมรดกโลกอาเซียน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ง. พบพลอย ไปชมการแข่งขันกีฬา
ข. การเปิ ดบ่อนการพนันอย่างเสรีใน ซีเกมส์
ประเทศไทย 20. ข้อใดเป็ นประโยชน์ที่ประเทศไทยจะ
ค. การพัฒนาฝี มือแรงงานให้มี ได้รับจากการเป็ นประชาคมอาเซียน
คุณภาพมากขึน
้ ก. คนในชาติเกิดความปรองดองและ
ง. การเปิ ดตลาดการลงทุนใน สามัคคีกันมากขึน

ประเทศไทย ข. ประชากรไทยจะมีมาตรฐานการ
15. ประเทศไทยมีบทบาทด้านความร่วม ศึกษาเท่าเทียมกัน
มือทางเศรษฐกิจของอาเซียนอย่างไร ค. การเพิ่มโอกาสทางการค้าและการ
ก. เสนอให้ประเทศสมาชิกผลิตสินค้า ลงทุนให้กับไทย
เกษตรกรรม ง. ประเทศไทยมีโอกาสเป็ นผู้นำ
เป็ นหลัก อาเซียน
ข. เสนอมาตรการกีดกันสินค้าจาก
ภายนอกกลุ่มอาเซียน
ค. เสนอแนวคิดการจัดตัง้ เขตการค้า
ได้คะแนน คะแนนเต็ม

เสรีอาเซียน 20
ง. เสนอการใช้ระบบเงินตราสกุล
เดียวกัน
107

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อาเซียนกับสังคมโลก
เวลา 5 ชั่วโมง

1. ผลการเรียนรู้
ข้อ 10 วิเคราะห์บทบาทของอาเซียนที่มีต่อสังคมโลกในด้านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม

2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
อาเซียนมีบทบาทสำคัญต่อสังคมโลกในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม

3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้เพิ่มเติม
 อาเซียนศึกษา
1) บทบาทของอาเซียนต่อการเมืองโลก
2) บทบาทของอาเซียนต่อเศรษฐกิจโลก
3) บทบาทของอาเซียนต่อสังคมและวัฒนธรรมโลก

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1ความสามารถในการสื่อสาร
4.2ความสามารถในการคิด
4.3ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4.4ความสามารถในการแก้ปัญหา
4.5ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
108

5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.1 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางฯ
1) มีวินัย 2) ใฝ่ เรียนรู้ 3) มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
5.2 คุณลักษณะของเด็กไทยในประชาคมอาเซียน
1) มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูก
ต้อง
3) มีความภาคภูมิใจในความเป็ นไทยและความเป็ นอาเซียน
4) มีความตระหนักในความเป็ นอาเซียน
5) มีความสามารถในการทำงานและอยู่ร่วมกับผู้อ่ น

6) มีภาวะผู้นำ
7) เห็นปั ญหาสังคมและลงมือทำเพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง
8) มีความสามารถในการจัดการควบคุมตนเอง

6. ชิน
้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
บทความเชิงวิเคราะห์ เรื่อง อาเซียนกับสังคมโลก

7. การวัดและการประเมินผล
7.1 การประเมินก่อนเรียน
- ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง อาเซียนกับ
สังคมโลก
7.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
109

1) ตรวจใบงานที่ 4.1 เรื่อง บทบาทของอาเซียนต่อการเมืองโลก


2) ตรวจใบงานที่ 4.2 เรื่อง การวิเคราะห์บทบาทของอาเซียนใน
สังคมโลก
3) ตรวจใบงานที่ 4.3 เรื่อง บทบาทของอาเซียนต่อสังคมและ
วัฒนธรรมโลก
4) ตรวจแบบบันทึกการอ่าน
5) ประเมินการนำเสนอผลงาน
6) สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล
7) สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
8) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
7.3 การประเมินหลังเรียน
- ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง อาเซียนกับ
สังคมโลก
7.4 การประเมินชิน
้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- ตรวจบทความเชิงวิเคราะห์ เรื่อง อาเซียนกับสังคมโลก

8. กิจกรรมการเรียนรู้
- นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
- ตรวจใบงานที่ 4.1 เรื่อง บทบาทของอาเซียนต่อการเมืองโลก
- ตรวจใบงานที่ 4.2 เรื่อง การวิเคราะห์บทบาทของอาเซียนในสังคม
โลก
- ตรวจใบงานที่ 4.3 เรื่อง บทบาทของอาเซียนต่อสังคมและ
วัฒนธรรมโลก
- นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
110

ชั่วโมงที่ 1 และ 2
ใบงานที่ 4.1 บทบาทของอาเซียนต่อการเมืองโลก

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์บทบาทของอาเซียนต่อการเมืองโลก ตาม
ประเด็นที่กำหนด
บทบาทของ กรณีตัวอย่าง ผลที่ได้รับ
อาเซียน
1.การดำเนิน
งานร่วมกับ
สหประชาชา
ติ

2.การแก้ปัญหา
ความขัดแย้ง

3.การแก้ปัญหา
อาชญากรรม
111

บทบาทของ กรณีตัวอย่าง ผลที่ได้รับ


อาเซียน
ข้ามชาติ
4.การส่งเสริม
สิทธิมนุษยชน

5.การเสริม
สร้างบทบาท
ของตนใน
สังคมโลก
112

เฉลย ใบงานที่ 4.1 บทบาทของอาเซียนต่อการเมืองโลก

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์บทบาทของอาเซียนต่อการเมืองโลก ตาม
ประเด็นที่กำหนด
บทบาทของ กรณีตัวอย่าง ผลที่ได้รับ
อาเซียน
1.การดำเนิน 1)ไทยส่งทหารไปช่วยฟื้ นฟู มีผลต่อการสร้างความ

งานร่วมกับ ประเทศกัมพูชา มั่นคงและ


ในสงครามกลางเมืองของ สันติภาพในดินแดนต่างๆ
สหประชาชา
กัมพูชา ของโลก
ติ
2)สิงคโปร์และฟิ ลิปปิ นส์ส่งกอง
กำลังทหาร
ร่วมรบในสงครามอ่าวเปอร์เซีย
3)ไทยและฟิ ลิปปิ นส์ส่งทหารเข้า
ร่วมรักษาความ
ปลอดภัยในอิรัก หลังสงคราม
อ่าวเปอร์เซีย
4)ไทยส่งกองกำลังทหารเข้าร่วม
ปฏิบัติการ
รักษาสันติภาพในบอสเนีย-เฮ
อร์เซโกวีนา
5)มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์
และไทย ส่งกอง
กำลังเข้าร่วมในการดูแล
สันติภาพในติมอร์
ตะวันออก
113

บทบาทของ กรณีตัวอย่าง ผลที่ได้รับ


อาเซียน
6)กองกำลังจากประเทศสมาชิก
อาเซียนเข้าร่วม
ให้ความช่วยเหลือด้าน
มนุษยธรรมแก่ชาวอิรัก
7)ไทยส่งกองกำลังทหารเข้าร่วม
ในปฏิบัติการ
รักษาสันติภาพในซูดาน

2.การแก้ปัญหา 1)การประกาศใช้สนธิสัญญาและ ทำให้มีการแก้ไขปั ญหา

ความขัดแย้ง ปฏิญญา เช่น ข้อพิพาท


ปฏิญญาอาเซียนว่าด้วย ระหว่างคู่กรณี คือ จีน
ทะเลจีนใต้ ไต้หวัน และ
ประเทศสมาชิกอาเซียน
อย่างสันติวิธี

2)การประชุมอาเซียนว่าด้วย และร่วมมือกันพัฒนา

ความร่วมมือด้าน ทะเลจีนใต้ เพื่อ

การเมืองและความมั่นคงใน ประโยชน์ร่วมกัน

ภูมิภาคเอเชีย-
ความร่วมมือและความ
แปซิฟิก
สัมพันธ์

3)การเป็ นตัวกลางเจรจาไกล่ อันดีระหว่างประเทศ

เกลี่ยและร่วมสร้าง สมาชิกและ

สันติภาพในเวทีโลก เช่น ป้ องกันความขัดแย้ง

สถานการณ์ใน
เกาหลีเหนือมีโอกาสได้
คาบสมุทรเกาหลีระหว่าง
พบปะกับ
เกาหลีเหนือและ
114

บทบาทของ กรณีตัวอย่าง ผลที่ได้รับ


อาเซียน
เกาหลีใต้ ประเทศที่เกี่ยวข้องกับ
ปั ญหาใน
คาบสมุทรเกาหลี

3.การแก้ปัญหา - การมีสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้าม ทำให้สามารถหา

อาชญากรรม แดน การร่วมมือ แนวทางความ


ระหว่างตำรวจของประเทศ ร่วมมือกันในการปราบ
ข้ามชาติ
ต่างๆ ปรามการก่อ
- การประชุมร่วมกันของ อาชญากรรมข้ามชาติ
สำนักงานตำรวจ
แห่งชาติ ทัง้ 10 ประเทศ

4.การส่งเสริม - ออกแถลงการณ์ประณามการ ประเทศสมาชิก

สิทธิมนุษยชน ละเมิดสิทธิ อาเซียนตระหนัก


มนุษยชน ถึงความสำคัญของการส่ง
- ผู้นำอาเซียนร่วมกันลงนาม เสริมสิทธิ-
รับรองคำประกาศ มนุษยชน แต่ยังมีสมาชิก
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน อาเซียน
- อาเซียนพยายามส่งเสริม บางประเทศ เช่น เมีย
ประชาธิปไตย โดยให้ นมาร์ ยังมี
แต่ละประเทศเผยแพร่ความรู้ที่ ปั ญหาเกี่ยวกับการ
ถูกต้องเกี่ยวกับ ละเมิดสิทธิ-
การรักษาสิทธิเสรีภาพทัง้ ของ มนุษยชน
ตนเองและผู้อ่ น

5.การเสริม - กองกำลังของหลายประเทศ อาเซียนได้แสดงให้ประ


115

บทบาทของ กรณีตัวอย่าง ผลที่ได้รับ


อาเซียน
สร้างบทบาท ร่วมกันปฏิบัติ เทศอื่นๆ

ของตนใน การปราบปรามโจรสลัด ในสังคมโลกรู้ว่า อาเซียน


โซมาเลีย สนับสนุน
สังคมโลก
- กองกำลังอาเซียนเข้าร่วม การรักษาสันติภาพในดิน
ปฏิบัติการรักษา แดนต่างๆ
สันติภาพของสหประชาชาติ
และจัดตัง้ หน่วย
ลาดตระเวนป้ องกันโจรสลัดที่
แนวชายฝั่ ง
อ่าวเอเดน
116

ชั่วโมงที่ 3
ใบงานที่ 4.2 การวิเคราะห์บทบาทของอาเซียนในสังคมโลก

ตัวอย่างข่าว

นายกรัฐมนตรีนำคณะผู้แทน SMEs และ OTOP เสริมสร้างความร่วมมือทาง


เศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น
นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้นำคณะนักธุรกิจร่วมเดินทางเยือน
ญี่ปุ่นในโอกาสเข้าร่วมการประชุม The Future of Asia ครัง้ ที่ 19 ณ กรุงโตเกียว
ประเทศญี่ปุ่น เพื่อขยายตลาด สร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์และ
นวัตกรรมในการพัฒนาสินค้า SMEs ของญี่ปุ่น
ในการเยือนญี่ปุ่นครัง้ นี ้ นายกรัฐมนตรีได้นำคณะผู้แทนวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อม (SMEs) และผู้แทนวิสาหกิจชุมชน (OTOP) 37 ราย จาก 4 สาขาธุรกิจ
หลัก ได้แก่ อุตสาหกรรมสนับสนุน อาหาร OTOP และสินค้าดีไซน์และไลฟ์ สไตล์ ร่วม
เดินทางไปศึกษาดูงานและร่วมการเจรจาธุรกิจกับภาคเอกชนญี่ปุ่น โดยความร่วมมือ
ระหว่างสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
กระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงมหาดไทย
กระทรวงพาณิชย์ ฯ ได้จด
ั ให้ผู้ประกอบการ SMEs และ OTOP ด้านอาหาร
แฟชั่น สินค้าดีไซน์และไลฟ์ สไตล์ เข้าร่วมการจับคู่ทางธุรกิจ (business
matching) กับภาคเอกชนญี่ปุ่น ณ โรงแรม Peninsula กรุงโตเกียว หลังจากนัน
้ ได้
จัดให้รับฟั งการบรรยายพิเศษจากผู้เชี่ยวชาญชาวญี่ปุ่นเรื่องแนวโน้มตลาดสินค้าสปา
และสินค้าเพื่อสุขภาพสำหรับตลาดผู้สูงอายุในญี่ปุ่น โดยมีนายนิวัฒน์ธำรง บุญทรง
ไพศาล รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีเข้าร่วมรับฟั งและนำเยี่ยมชมศูนย์การค้า
Kitte ศูนย์การค้าขนาดใหญ่เน้นจำหน่ายสินค้าด้านดีไซน์บริเวณ Tokyo Grand
Station นอกจากนี ้ ภาคเอกชนสาขาอาหารของไทยยังได้เยี่ยมชมการจัดตัง้ ร้านค้า
และรูปแบบบรรจุภัณฑ์ (packaging) ตลาดสินค้าอาหารย่าน Yaesu
117

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และกระทรวงฯ ได้นำคณะผู้แทนและเอกชนไทย


ไปยัง Tokyo Kotsukaika เพื่อศึกษาดูงาน Antenna Shops ในกรุงโตเกียว ซึ่ง
ประกอบด้วยร้านขายสินค้าท้องถิ่นจากหลายจังหวัดของญี่ปุ่น เช่น ฮอกไกโด โอซากา
และยามากา โดยมีทงั ้ ร้านที่จัดการโดยส่วนราชการของจังหวัดนัน
้ ๆ และร้านของ
เอกชนที่นำสินค้าจากจังหวัดต่างๆ มาจัดจำหน่าย ต่อมาในช่วงบ่าย ผู้แทนภาคเอกชน
ได้ศึกษาดูงานที่ร้าน D 47 ในย่านชิบุยะ ซึ่งมีนิทรรศการสินค้าและร้านจำหน่ายสินค้า
ดีไซน์และไลฟ์ สไตล์ที่ออกแบบในเชิงสร้างสรรค์จาก 47 จังหวัดของญี่ปุ่น ก่อนที่จะ
เข้ารับฟั ง การบรรยายสรุปเกี่ยวกับแนวคิด (concept) และโมเดลธุรกิจ
(business model) พร้อมกับคณะของนายกรัฐมนตรี

ที่มา : http://www.ryt9.com/s/mfa/1663321
118

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลหรือข่าวเกี่ยวกับความร่วมมือกันระหว่าง
อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา แล้วนำมาวิเคราะห์
และตอบคำถาม

เรื่อง

(สาระสำคัญ)

ที่มา

คำถาม
1. ข้อมูลหรือข่าวดังกล่าว มีสาระสำคัญอย่างไร

2. ข้อมูลหรือข่าวแสดงถึงความร่วมมือระหว่างประเทศในอาเซียนกับ
ประเทศคู่เจรจาในด้านเศรษฐกิจ
อย่างไร

3. ผลของความร่วมมือดังกล่าวจะส่งผลดีต่ออาเซียนทางด้านเศรษฐกิจ
อย่างไรบ้าง
119
120

เฉลย ใบงานที่ 4.2 การวิเคราะห์บทบาทของอาเซียนในสังคมโลก

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลหรือข่าวเกี่ยวกับความร่วมมือกันระหว่าง
อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา แล้วนำมาวิเคราะห์
และตอบคำถาม

เรื่อง

(สาระสำคัญ)

ที่มา
คำถาม
1. ข้อมูลหรือข่าวดังกล่าว มีสาระสำคัญอย่างไร

2. ข้อมูลหรือข่าวแสดงถึงความร่วมมือระหว่างประเทศในอาเซียนกับ
ประเทศคู่เจรจาในด้านเศรษฐกิจ อย่างไร
121

3. ผลของความร่วมมือดังกล่าวจะส่งผลดีต่ออาเซียนทางด้านเศรษฐกิจ
อย่างไรบ้าง

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ชั่วโมงที่ 4 และ 5
ใบงานที่ 4.3 บทบาทของอาเซียนต่อสังคมและวัฒนธรรมโลก

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์ข่าวเกี่ยวกับบทบาทของอาเซียนต่อสังคม
และวัฒนธรรม แล้วตอบคำถาม

ข่าวที่ 1
ความร่วมมือในกลุ่มประเทศอาเซียน เพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา
เพื่อการพัฒนามาตรฐานการศึกษาในการก้าวเข้าสู่การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอา
เซียน ทำให้ไทยและมาเลเซียได้ริเริ่มความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทางด้านการศึกษา
ร่วมกัน จากข่าวการศึกษาล่าสุด ไทยกับมาเลเซียจะมีการเชิญประเทศต่างๆ เช่น
อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และสิงคโปร์มาร่วมมือกันทางด้านการศึกษาในอนาคต โดยจะ
สร้างหลักสูตรทางการศึกษาและแบ่งปั นสื่อการเรียนรู้ให้แก่กัน โดยวางเป้ าหมายว่า
นักเรียนของทุกประเทศจะสามารถศึกษาหลักสูตรนานาชาติในประเทศใดก็ได้ใน
ภูมิภาคอาเซียนภายใต้หลักสูตรเดียวกันและมีการนำสื่อเทคโนโลยีมาใช้ด้วย ในปี
หน้าไทยและมาเลเซียร่วมกับอีก 3 ประเทศ อาจจะมีการแบ่งปั นข้อมูลการวิจัย
ทางการศึกษาที่สำคัญต่างๆ ร่วมกัน และมีการคาดหวังที่จะนำต้นแบบทางการศึกษา
มาจากประเทศสิงคโปร์ ซึ่งมีจุดแข็งทางด้านภาษา ตลอดจนการใช้โปรแกรม PISA
และ TIMSS ซึ่งเป็ นโปรแกรมสำหรับการประเมินนักเรียนนานาชาติ และการฝึ กฝน
ด้านการเรียนคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในระดับสากล ซึ่งถ้าหากความร่วมมือนี ้
122

สำเร็จก็จะมีการขยายผลไปสู่ประเทศอื่นๆ เช่น กัมพูชา เวียดนาม และลาวด้วย ซึ่ง


ขณะนีก
้ ็อยู่ในขัน
้ ตอนของการเจรจาเกี่ยวกับกรอบความร่วมมือต่างๆ ซึ่งก็ต้องรอผล
ที่เป็ นรูปธรรมกันต่อไป

ที่มา : http://blog.eduzones.com/tean4praya/99884

คำถาม
1. ประเด็นสำคัญของข่าว คืออะไร

2. ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงความร่วมมือของอาเซียนอย่างไร

3. ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงบทบาทของอาเซียนต่อสังคมโลกอย่างไร
123

4. นักเรียนคิดว่า ผลของการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลดีอย่างไร

ข่าวที่ 2
แก้สิ่งแวดล้อมรับ “อาเซียน” ทัง้ ปั ญหาขยะมลพิษทางเสียงฝุ ่นละออง หวัง
สร้างความได้เปรียบกับกลุ่มสมาชิก
ที่ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (กทม.) นายจุมพล สำเภาพล รองผู้ว่าฯ กทม.
แถลงข่าวเปิ ดโครงการยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อม ซึ่ง กทม.ร่วมกับศูนย์บริการวิชาการ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในฐานะที่ปรึกษาโครงการ จัดทำขึน
้ เพื่อศึกษาวิจัย
ศักยภาพการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของหน่วยงานและบุคลากรสังกัด กทม.ที่
สัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมถึงผลกระทบและความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคม
อาเซียนที่มีต่อเมืองและประชาชน พร้อมทัง้ กำหนดยุทธศาสตร์พิทักษ์สิ่งแวดล้อม
กทม. พ.ศ. 2557-2560 ให้สอดคล้องกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยมีระยะเวลา
ดำเนินการรวม 11 เดือน และจะแล้วเสร็จในวันที่ 19 ก.พ. 57 สำหรับการดำเนิน
งานจะแบ่งเป็ น 3 กิจกรรมหลัก ได้แก่ 1) การวิจัยเอกสาร เกี่ยวกับการรับรู้และ
ความพร้อมของหน่วยงานและบุคลากรสังคม กทม.ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
และการวิจัยโดยใช้เทคนิคการวิจัยในอนาคต เพื่อศึกษาผลกระทบในประเด็นที่เกี่ยว
กับสถานการณ์ปัจจุบันของประชาชน ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม กฎหมาย
วัฒนธรรม และข้อมูลพื้นฐาน 2) การศึกษาวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสียจากภายนอก
องค์กร การประชุมเชิงปฏิบัติการ การระดมความคิดเห็น การเสวนาของผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง 7 ครัง้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2,600 คน เพื่อร่วมกำหนดยุทธศาสตร์พท
ิ ก
ั ษ์สง่ิ
แวดล้อมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2557-2560 3) การประชาสัมพันธ์ เพื่อกระตุน
้ ให้เกิด
การมีสว่ นร่วม และสร้างการรับรู้ตลอดระยะเวลาดำเนินโครงการ ซึ่งประชาชน
สามารถดูรายละเอียดโครงการได้ทางเฟซบุ๊กแฟนเพจ “โครงการยุทธศาสตร์พิทักษ์
124

สิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร” หรือ www.facebook.com/โครงการยุทธศาสตร์


พิทักษ์สิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร 
ปั ญหาสิ่งแวดล้อมใหญ่ๆ ที่ต้องแก้ คือ 1) ปั ญหาขยะที่มีปริมาณเพิ่มขึน
้ เรื่อยๆ
จึงต้องหาวิธีกำจัดหรือทำให้ลดลงให้มากที่สุด 2) มลพิษทางเสียงที่เกิดขึน
้ จากปั จจัย
หลายๆ อย่าง 3) ปั ญหาฝุ ่นละออง ที่เกิดจากระบบขนส่งและการก่อสร้าง ที่ต้อง
จัดการให้มีระเบียบและกระทบกับประชาชนให้น้อยที่สุด ซึ่งในเวลา 2 ปี คือ ปี 56-
57 ก่อนเข้าสู่สังคมอาเซียน กทม.จะต้องสร้างความเปลี่ยนแปลงในเรื่องดังกล่าวให้
ได้ตามแผนที่วิจัยออกมา ทัง้ นีก
้ ระบวนการสำคัญอย่างหนึ่งคือการพัฒนาบุคลากร
กทม. ที่สัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมถึงผลกระทบและความพร้อมในการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียนที่มีต่อเมืองและการรับฟั งหรือทำประชาพิจารณ์กับประชาชน เพื่อ
วัดความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเรื่องสิ่งแวดล้อม ก่อนจะนำข้อมูลดังกล่าว มาสร้าง
กระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปั ญหาหรือส่งเสริมสิ่งแวดล้อมกับประชาชนต่อไป
เพื่อให้ปี 58 กทม.พร้อมที่สุดที่จะเป็ นสังคมอาเซียนในด้านสิ่งแวดล้อม

ที่มา : http://www.dailynews.co.th/
125

คำถาม
1. ประเด็นสำคัญของข่าว คืออะไร

2. ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงความร่วมมือของไทยกับอาเซียนอย่างไร

3. ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงบทบาทของอาเซียนต่อสังคมโลกอย่างไร

4. นักเรียนจะมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา
หรือส่งเสริมสิ่งแวดล้อมอย่างไร

ข่าวที่ 3
ไทยบริจาคเงิน 1 ล้านบาท ช่วยเหลือผูป
้ ระสบภัยน้ำท่วมชาวไนจีเรีย
เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 นายสมชาย เภาเจริญ เอกอัครราชทูต ณ กรุ
งอาบูจา ได้มอบเช็คเงินบริจาคจำนวน 1 ล้านบาท (32,425.42 ดอลลาร์
สหรัฐ) ให้แก่ Ambassador Kabiru Garba รองปลัดกระทรวงฝ่ ายกิจการบริหาร
และ การคลัง
(Under Secretary, Administration and Finance) กระทรวงการต่าง
ประเทศไนจีเรีย เพื่อช่วยเหลือและฟื้ นฟูชีวิตความเป็ นอยู่ของผู้ประสบอุทกภัย
ชาวไนจีเรีย โดยมีข้าราชการระดับสูงของกระทรวงการต่างประเทศ ท่านเอกอัคร
ราชทูตฯ กล่าวแสดงความเสียใจต่ออุทกภัยครัง้ ร้ายแรงในช่วงเดือนกันยายน
2555 ที่คร่าชีวิตชาวไนจีเรียและสร้างความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อที่อยู่อาศัย
126

พื้นที่ทางการเกษตร และชุมชนในหลายรัฐของประเทศ อุทกภัยดังกล่าวมีความ


รุนแรงมากที่สุดในรอบ 50 ปี ส่งผลให้ประชาชนกว่าล้านคนขาดที่อยู่อาศัย
รัฐบาลและประชาชนชาวไทยเข้าใจและมีความเห็นอกเห็นใจต่อเหตุการณ์ภัย
ธรรมชาติที่เกิดขึน
้ เนื่องจากประเทศไทยเองก็ประสบอุทกภัยใหญ่ทั่วประเทศในปี
2554 ดังนัน
้ รัฐบาลและประชาชนชาวไทยจึงขอส่งกำลังใจและขอชื่นชมรัฐบาล
ไนจีเรียในความพยายามช่วยเหลือผู้ประสบภัย จัดหาที่พักอาศัย อาหาร และสิ่ง
จำเป็ น รวมทัง้ แสดงความตัง้ ใจจริงที่จะฟื้ นฟูก่อสร้างพื้นที่ที่ได้รับความเสียหาย
ขึน
้ ใหม่ ทัง้ นี ้ เอกอัครราชทูตฯ มีความเชื่อมั่นว่า ชาวไนจีเรียจะสามารถฝ่ าฟั น
ข้ามพ้นอุปสรรคและกลับคืนสู่ภาวะปกติได้ในเวลาอันรวดเร็ว

Ambassador Kabiru Garba กล่าวแสดงความขอบคุณรัฐบาลไทยที่มอบเงิน


ช่วยเหลือบรรเทาทุกข์สำหรับผู้ประสบอุทกภัยไนจีเรียเมื่อปี 2555 ซึ่งแสดงให้
เห็นถึงความสัมพันธ์ฉันมิตรที่ใกล้ชิดระหว่างรัฐบาลและประชาชนไทยกับรัฐบาล
และประชาชนไนจีเรีย ในนามของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและ
ประชาชนไนจีเรียขอขอบคุณรัฐบาลและประชาชนไทย และจะได้ส่งมอบเงินให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปใช้ประโยชน์ตามความประสงค์ของรัฐบาลไทยต่อไป

ที่มา: http://www.thaiembassynigeria.com/

คำถาม
1. ประเด็นสำคัญของข่าว คืออะไร

2. ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงบทบาทของอาเซียนต่อสังคมโลกอย่างไร

3. นักเรียนคิดว่า ผลของการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลดีอย่างไร


127
128

เฉลย ใบงานที่ 4.3 บทบาทของอาเซียนต่อสังคมและวัฒนธรรมโลก

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์ข่าวเกี่ยวกับบทบาทของอาเซียนต่อสังคม
และวัฒนธรรม แล้วตอบคำถาม

ข่าวที่ 1
ความร่วมมือในกลุ่มประเทศอาเซียน เพื่อการพัฒนาด้านการศึกษา
เพื่อการพัฒนามาตรฐานการศึกษาในการก้าวเข้าสู่การเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ
อา เซียน ทำให้ไทยและมาเลเซียได้ริเริ่มความร่วมมือเพื่อการพัฒนาทางด้านการ
ศึกษาร่วมกัน จากข่าวการศึกษาล่าสุด ไทยกับมาเลเซียจะมีการเชิญประเทศต่างๆ
เช่น อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และสิงคโปร์มาร่วมมือกันทางด้านการศึกษาในอนาคต
โดยจะสร้างหลักสูตรทางการศึกษาและแบ่งปั นสื่อการเรียนรู้ให้แก่กัน โดยวางเป้ า
หมายว่า นักเรียนของทุกประเทศจะสามารถศึกษาหลักสูตรนานาชาติในประเทศใด
ก็ได้ในภูมิภาคอาเซียนภายใต้หลักสูตรเดียวกันและมีการนำสื่อเทคโนโลยีมาใช้ด้วย
ในปี หน้าไทยและมาเลเซียร่วมกับอีก 3 ประเทศ อาจจะมีการแบ่งปั นข้อมูลการวิจัย
ทางการศึกษาที่สำคัญต่างๆ ร่วมกัน และมีการคาดหวังที่จะนำต้นแบบทางการ
ศึกษามาจากประเทศสิงคโปร์ ซึ่งมีจุดแข็งทางด้านภาษา ตลอดจนการใช้โปรแกรม
PISA และ TIMSS ซึ่งเป็ นโปรแกรมสำหรับการประเมินนักเรียนนานาชาติ และการ
ฝึ กฝนด้านการเรียนคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในระดับสากล ซึ่งถ้าหากความ
ร่วมมือนีสำ
้ เร็จก็จะมีการขยายผลไปสู่ประเทศอื่นๆ เช่น กัมพูชา เวียดนาม และ
ลาวด้วย ซึ่งขณะนีก
้ ็อยู่ในขัน
้ ตอนของการเจรจาเกี่ยวกับกรอบความร่วมมือต่างๆ
ซึ่งก็ต้องรอผลที่เป็ นรูปธรรมกันต่อไป

ที่มา : http://blog.eduzones.com/tean4praya/99884

คำถาม
1. ประเด็นสำคัญของข่าว คืออะไร
129

การร่วมมือกันระหว่างไทยและมาเลเซียในการพัฒนาทางด้านการศึกษา
ร่วมกัน

2. ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงความร่วมมือของอาเซียนอย่างไร
ไทยและมาเลเซียจะเชิญประเทศอินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์ มาร่วมมือ
กันสร้างหลักสูตรทางการศึกษา

3. ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงบทบาทของอาเซียนต่อสังคมโลกอย่างไร
ทำให้มีการพัฒนาคุณภาพของประชากรในอาเซียนในด้านการศึกษา
130

4. นักเรียนคิดว่า ผลของการดำเนินงานดังกล่าวส่งผลดีอย่างไร

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ข่าวที่ 2
แก้สิ่งแวดล้อมรับ “อาเซียน” ทัง้ ปั ญหาขยะมลพิษทางเสียงฝุ ่นละออง หวัง
สร้างความได้เปรียบกับกลุ่มสมาชิก
ที่ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร (กทม.) นายจุมพล สำเภาพล รองผู้ว่าฯ กทม.
แถลงข่าวเปิ ดโครงการยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อม ซึ่ง กทม.ร่วมกับศูนย์บริการวิชาการ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในฐานะที่ปรึกษาโครงการ จัดทำขึน
้ เพื่อศึกษาวิจัย
ศักยภาพการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของหน่วยงานและบุคลากรสังกัด กทม.ที่
สัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมถึงผลกระทบและความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคม
อาเซียนที่มีต่อเมืองและประชาชน พร้อมทัง้ กำหนดยุทธศาสตร์พิทักษ์สิ่งแวดล้อม
กทม. พ.ศ. 2557-2560 ให้สอดคล้องกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โดยมีระยะ
เวลาดำเนินการรวม 11 เดือน และจะแล้วเสร็จในวันที่ 19 ก.พ. 57 สำหรับการ
ดำเนินงานจะแบ่งเป็ น 3 กิจกรรมหลัก ได้แก่ 1) การวิจัยเอกสาร เกี่ยวกับการรับรู้
และความพร้อมของหน่วยงานและบุคลากรสังคม กทม.ในการเข้าสู่ประชาคม
อาเซียน และการวิจัยโดยใช้เทคนิคการวิจัยในอนาคต เพื่อศึกษาผลกระทบใน
ประเด็นที่เกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันของประชาชน ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่ง
แวดล้อม กฎหมาย วัฒนธรรม และข้อมูลพื้นฐาน 2) การศึกษาวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้
เสียจากภายนอกองค์กร การประชุมเชิงปฏิบัติการ การระดมความคิดเห็น การ
เสวนาของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 7 ครัง้ ผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม 2,600 คน เพื่อร่วมกำหนด
ยุทธศาสตร์พท
ิ ก
ั ษ์สง่ิ แวดล้อมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2557-2560 3) การ
ประชาสัมพันธ์ เพื่อกระตุน
้ ให้เกิดการมีสว่ นร่วม และสร้างการรับรู้ตลอดระยะเวลา
ดำเนินโครงการ ซึ่งประชาชนสามารถดูรายละเอียดโครงการได้ทางเฟซบุ๊กแฟนเพจ
131

“โครงการยุทธศาสตร์พิทักษ์สิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร” หรือ
www.facebook.com/โครงการยุทธศาสตร์พิทักษ์สิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร 
ปั ญหาสิ่งแวดล้อมใหญ่ๆ ที่ต้องแก้ คือ 1) ปั ญหาขยะที่มีปริมาณเพิ่มขึน
้ เรื่อยๆ
จึงต้องหาวิธีกำจัดหรือทำให้ลดลงให้มากที่สุด 2) มลพิษทางเสียงที่เกิดขึน
้ จาก
ปั จจัยหลายๆ อย่าง 3) ปั ญหาฝุ ่นละออง ที่เกิดจากระบบขนส่งและการก่อสร้าง ที่
ต้องจัดการให้มีระเบียบและกระทบกับประชาชนให้น้อยที่สุด ซึ่งในเวลา 2 ปี คือ ปี
56-57 ก่อนเข้าสู่สังคมอาเซียน กทม.จะต้องสร้างความเปลี่ยนแปลงในเรื่องดังกล่าว
ให้ได้ตามแผนที่วิจัยออกมา ทัง้ นีก
้ ระบวนการสำคัญอย่างหนึ่งคือการพัฒนา
บุคลากร กทม. ที่สัมพันธ์กับต่างประเทศ รวมถึงผลกระทบและความพร้อมในการ
เข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่มีต่อเมืองและการรับฟั งหรือทำประชาพิจารณ์กับ
ประชาชน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเรื่องสิ่งแวดล้อม ก่อนจะนำข้อมูลดัง
กล่าว มาสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อแก้ไขปั ญหาหรือส่งเสริมสิ่งแวดล้อมกับ
ประชาชนต่อไป เพื่อให้ปี 58 กทม.พร้อมที่สุดที่จะเป็ นสังคมอาเซียนในด้านสิ่ง
แวดล้อม

ที่มา : http://www.dailynews.co.th/
132

คำถาม
1. ประเด็นสำคัญของข่าว คืออะไร
กรุงเทพมหานครร่วมมือกับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ร่วมมือกันจัดทำ
โครงการยุทธศาสตร์สิ่งแวดล้อม

2. ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงความร่วมมือของไทยกับอาเซียนอย่างไร
ไทยร่วมมือกับอาเซียนในด้านการป้ องกันแก้ไขปั ญหาสิ่งแวดล้อม โดยมีการ
ทำวิจัยศักยภาพการเข้าสู่ประชาคม
อาเซียนของหน่วยงานและบุคลากรสังกัด กทม. ที่สัมพันธ์กับต่างประเทศและ
การกำหนดยุทธศาสตร์พิทักษ์
สิ่งแวดล้อม
3. ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงบทบาทของอาเซียนต่อสังคมโลกอย่างไร
ประเทศไทยเป็ นส่วนหนึ่งของอาเซียน มีเป้ าหมายชัดเจน การร่วมมือแก้ไข
ปั ญหาและส่งเสริมสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็ น
ส่วนหนึ่งของสภาพแวดล้อมโลก ส่งผลดีต่อคุณภาพชีวิตของประชากรใน
สังคมโลก

4. นักเรียนจะมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา
หรือส่งเสริมสิ่งแวดล้อมอย่างไร

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ข่าวที่ 3
ไทยบริจาคเงิน 1 ล้านบาท ช่วยเหลือผูป
้ ระสบภัยน้ำท่วมชาวไนจีเรีย
133

เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2556 นายสมชาย เภาเจริญ เอกอัครราชทูต ณ กรุ


งอาบูจา ได้มอบเช็คเงินบริจาคจำนวน 1 ล้านบาท (32,425.42 ดอลลาร์
สหรัฐ) ให้แก่ Ambassador Kabiru Garba รองปลัดกระทรวงฝ่ ายกิจการบริหาร
และ การคลัง
(Under Secretary, Administration and Finance) กระทรวงการต่าง
ประเทศไนจีเรีย เพื่อช่วยเหลือและฟื้ นฟูชีวิตความเป็ นอยู่ของผู้ประสบอุทกภัย
ชาวไนจีเรีย โดยมีข้าราชการระดับสูงของกระทรวงการต่างประเทศ ท่านเอกอัคร
ราชทูตฯ กล่าวแสดงความเสียใจต่ออุทกภัยครัง้ ร้ายแรงในช่วงเดือนกันยายน
2555 ที่คร่าชีวิตชาวไนจีเรียและสร้างความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อที่อยู่อาศัย
พื้นที่ทางการเกษตร และชุมชนในหลายรัฐของประเทศ อุทกภัยดังกล่าวมีความ
รุนแรงมากที่สุดในรอบ 50 ปี ส่งผลให้ประชาชนกว่าล้านคนขาดที่อยู่อาศัย
รัฐบาลและประชาชนชาวไทยเข้าใจและมีความเห็นอกเห็นใจต่อเหตุการณ์ภัย
ธรรมชาติที่เกิดขึน
้ เนื่องจากประเทศไทยเองก็ประสบอุทกภัยใหญ่ทั่วประเทศในปี
2554 ดังนัน
้ รัฐบาลและประชาชนชาวไทยจึงขอส่งกำลังใจและขอชื่นชมรัฐบาล
ไนจีเรียในความพยายามช่วยเหลือผู้ประสบภัย จัดหาที่พักอาศัย อาหาร และสิ่ง
จำเป็ น รวมทัง้ แสดงความตัง้ ใจจริงที่จะฟื้ นฟูก่อสร้างพื้นที่ที่ได้รับความเสียหาย
ขึน
้ ใหม่ ทัง้ นี ้ เอกอัครราชทูตฯ มีความเชื่อมั่นว่า ชาวไนจีเรียจะสามารถฝ่ าฟั น
ข้ามพ้นอุปสรรคและกลับคืนสู่ภาวะปกติได้ในเวลาอันรวดเร็ว

Ambassador Kabiru Garba กล่าวแสดงความขอบคุณรัฐบาลไทยที่มอบเงิน


ช่วยเหลือบรรเทาทุกข์สำหรับผู้ประสบอุทกภัยไนจีเรียเมื่อปี 2555 ซึ่งแสดงให้
เห็นถึงความสัมพันธ์ฉันมิตรที่ใกล้ชิดระหว่างรัฐบาลและประชาชนไทยกับรัฐบาล
และประชาชนไนจีเรีย ในนามของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและ
ประชาชนไนจีเรียขอขอบคุณรัฐบาลและประชาชนไทย และจะได้ส่งมอบเงินให้
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปใช้ประโยชน์ตามความประสงค์ของรัฐบาลไทยต่อไป

ที่มา: http://www.thaiembassynigeria.com/
134

คำถาม
1. ประเด็นสำคัญของข่าว คืออะไร
การช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ำท่วมในประเทศไนจีเรีย

2. ข้อมูลดังกล่าวแสดงถึงบทบาทของอาเซียนต่อสังคมโลกอย่างไร
ประเทศไทยซึ่งเป็ นสมาชิกอาเซียนมีส่วนช่วยเหลือประเทศที่ได้รับความ
เดือดร้อน เช่น ประเทศไนจีเรียประสบ-
ปั ญหาอุทกภัย เกิดความเสียหายต่อประชาชนในด้านที่อยู่อาศัย พื้นที่
การเกษตร ด้วยการมอบเงินบริจาคและสิ่งจำเป็ นให้แก่ผู้แทนรัฐบาลของ
ไนจีเรีย
3. นักเรียนคิดว่า ผลของการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลดีอย่างไร

(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของครูผู้สอน)
135

9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน อาเซียนศึกษา ม.3
2) แบบปฏิบัติกิจกรรม อาเซียนศึกษา ม.3
3) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
(1) เจเนซิส มีเดียคอม. ฝ่ ายวิชาการ. [ม.ป.ป.]. รอบรู้ประชาคม
อาเซียน. กรุงเทพมหานคร :เจเนซีส มีเดียคอม.
(2) ประภัสสร์ เทพชาตรี. 2554. ประชาคมอาเซียน. พิมพ์ครัง้ ที่
2. กรุงเทพมหานคร : เสมาธรรม.
4) เอกสารประกอบการสอน
5) ตัวอย่างข่าว
6) หมวก 6 ใบ
7) ซีดีเพลงอาเซียนร่วมใจ
8) ใบงานที่ 4.1 เรื่อง บทบาทของอาเซียนต่อการเมืองโลก
9) ใบงานที่ 4.2 เรื่อง การวิเคราะห์บทบาทของอาเซียนในสังคมโลก
10) ใบงานที่ 4.3 เรื่อง บทบาทของอาเซียนต่อสังคมและวัฒนธรรม
โลก
9.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องสมุด
2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
-

http://www.studyasean.in.th/index.php/th/learning/m3
/m3-unit4/asean-s-role-in-the-world-
136

economy
137

การประเมิ น ชิ ้น งาน/ภาระงาน (รวบยอด)


แบบประเมินบทความเชิงวิเคราะห์ เรื่อง อาเซียนกับ
สังคมโลก
รายการ คำอธิบายระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน
ประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. การ วิเคราะห์บทบาท วิเคราะห์บทบาท วิเคราะห์บทบาท วิเคราะห์บทบาท
วิเคราะห์ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ
บทบาทของ การเมืองโลกได้ การเมืองโลกได้ การเมืองโลกได้ การเมืองโลกได้
อาเซียนต่อ อย่างมีเหตุผลถูก อย่างมีเหตุผลถูก อย่างมีเหตุผลถูก อย่างมีเหตุผลถูก
การเมืองโลก ต้อง ชัดเจน 4 ต้อง ชัดเจน 3 ต้อง ชัดเจน 2 ต้อง ชัดเจน 1
ด้านขึน
้ ไป ด้าน ด้าน ด้าน
2. การ วิเคราะห์บทบาท วิเคราะห์บทบาท วิเคราะห์บทบาท วิเคราะห์บทบาท
วิเคราะห์ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ
บทบาทของ เศรษฐกิจโลกได้ เศรษฐกิจโลกได้ เศรษฐกิจโลกได้ เศรษฐกิจโลกได้
อาเซียนต่อ อย่างมีเหตุผลถูก อย่างมีเหตุผลถูก อย่างมีเหตุผลถูก อย่างมีเหตุผลถูก
เศรษฐกิจโลก ต้อง ชัดเจน 4 ต้อง ชัดเจน 3 ต้อง ชัดเจน 2 ต้อง ชัดเจน 1
ด้านขึน
้ ไป ด้าน ด้าน ด้าน
3. การ วิเคราะห์บทบาท วิเคราะห์บทบาท วิเคราะห์บทบาท วิเคราะห์บทบาท
วิเคราะห์ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ ของอาเซียนต่อ
บทบาทของ สังคมและ สังคมและ สังคมและ สังคมและ
อาเซียนต่อ วัฒนธรรมโลก 4 วัฒนธรรมโลก 3 วัฒนธรรมโลก 2 วัฒนธรรมโลก 1
สังคมและ ด้านขึน
้ ไป ด้าน ด้าน ด้าน
วัฒนธรรม
โลก
138

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วงคะแนน 11 - 12 9 - 10 6-8 ต่ำกว่า 6


ระดับ ดี
ดีมาก พอใช้ ปรับปรุง
คุณภาพ

แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถ ูกต้องที่สุ ดเพียงข้อเดียว
1. การที่ไทยส่งกองกำลังทหารเข้า 6. ข้อใดเป็ นอุปสรรคสำคัญในการแก้
ร่วมปฏิบัติการในซูดานนัน
้ ปั ญหาการละเมิด สิทธิมนุษยชน
เป็ นการสนับสนุนการดำเนินงาน ในพม่า
ของสหประชาชาติในด้านใด ก. พม่าขู่จะถอนตัวออกจากอาเซียน
ก. ด้านสันติภาพ ข. ประเทศสมาชิกไม่ให้ความร่วมมือ
ข. ด้านสังคม ค. ขาดมหาอำนาจตะวันตกเข้าช่วย
ค. ด้านความปลอดภัย เหลือ
ง. ด้านมนุษยธรรม ง. กฎการไม่แทรกแซงกิจการภายใน
2. เพราะเหตุใด อาเซียนจึงจัดเป็ นก ของประเทศสมาชิก
139

ลุ่มประเทศที่มีความ 7. ข้อใดเป็ นจุดแข็งของอาเซียนที่มีบทบาท


โดดเด่นทางด้านการเจริญเติบโต ต่อโลกอย่างเห็นได้ชัด
ทางเศรษฐกิจ ก. เป็ นแหล่งผลิตอาหารของโลก
ก. ประสบภัยธรรมชาติน้อย ข. มีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามมาก
ข. ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษา ค. เป็ นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง
ดี ง. เป็ นแหล่งแรงงานที่มีทักษะฝี มือดี
ค. เป็ นตลาดขนาดใหญ่มีกำลังซื้อ 8. สมาชิกอาเซียนประเทศใดที่มีประชากร
สูง นับถือศาสนาอิสลามมากที่สุดในโลก
ง. ค่าเงินของประเทศสมาชิกมี ก. ไทย ข. อินโดนีเซีย
เสถียรภาพ ค. ฟิ ลิปปิ นส์ ง. เวียดนาม
3. อาเซียนได้เข้าร่วมในปฏิบัติการ 9. หากอาเซียนสามารถขยายบทบาทใน
ของสหประชาชาติ เวทีโลกได้ จะส่งผลดีอย่างไร
ทัง้ นีเ้ พื่อวัตถุประสงค์ใดเป็ น ก. มีอำนาจเหนือประเทศนอกกลุ่ม
สำคัญ อาเซียน
ก. ขจัดปั ญหาความขัดแย้ง ข. ได้รับการยกเว้นภาษีในการซื้อขาย
ข. แสดงอำนาจให้เป็ นที่ประจักษ์ ระหว่างประเทศ
ค. ส่งเสริมความร่วมมือด้าน ค. เพิ่มอำนาจในการเจรจาต่อรอง
วัฒนธรรม ระหว่างประเทศ
ง. รักษาสันติภาพและฟื้ นฟู ง. ชาวต่างชาติหันมาใช้ภาษาของ
ประเทศต่างๆ ประเทศกลุ่มอาเซียนในการติดต่อ
4. “ปฏิญญาว่าด้วยแนวปฏิบัติใน สื่อสาร
ทะเลจีนใต้ พ.ศ. 2545” 10. การให้ความช่วยเหลือผู้อพยพใน
มีสาระสำคัญในเรื่องใด สงครามเวียดนาม และ
ก. การพัฒนาเศรษฐกิจ สงครามกลางเมืองกัมพูชา ถือเป็ น
ข. การรักษาความสงบ บทบาทของอาเซียนในเวทีโลกด้านใด
ค. การแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี ก. ด้านเศรษฐกิจ ข. ด้านมนุษยธรรม
ง. ความร่วมมือกันพัฒนาสิ่ง ค. ด้านการศึกษา ง. ด้านสังคมและ
140

แวดล้อม วัฒนธรรม
5. หลักการในข้อใดที่อาเซียนใช้เป็ น 11. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงบทบาทการแก้
แนวทางในการดำเนินการแก้ไข ปั ญหาความขัดแย้งในภูมิภาคของ
ปั ญหาความขัดแย้งในภูมิภาค อาเซียน
ก. การทำสงคราม ก. การระงับสงครามในอิรัก
ข. การยึดหลักอหิงสา ข. การแก้ปัญหาการเหยียดสีผิว
ค. การกีดกันสินค้านำเข้า ค. การแก้ปัญหาขัดแย้งในอียิปต์
ง. การเจรจาและประสาน ง. การแก้ปัญหาเรื่องหมู่เกาะสแปรตลี
ประโยชน์
141

12. เมื่อเพื่อนบ้านในประเทศสมาชิก 16. วัตถุประสงค์สำคัญของความร่วมมือ


อาเซียนต้องการศึกษาเรื่องการปลูก อาเซียน +6 คืออะไร
ข้าวหอมมะลิ นักเรียนจะแนะนำให้ ก. การพัฒนาประเทศสมาชิก
ไปศึกษาดูงานที่ประเทศใด อาเซียนในทุกด้าน
ก. ไทย เพราะเป็ นแหล่งปลูกข้าว ข. ความร่วมมือกับประเทศต่างๆ
หอมมะลิพันธุ์ดี เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ
ข. สิงคโปร์ เพราะเป็ นแหล่งต้น ค. การลงทุนร่วมกันระหว่างอาเซียน
กำเนิดของพันธุ์ข้าว กับประเทศคู่ค้า
หอมมะลิ ง. การเพิ่มขีดความสามารถของกลุ่ม
ค. อินโดนีเซีย เพราะเป็ นผู้ส่งออก ในการลงทุนทำ การค้าแข่งขัน
ข้าวรายใหญ่ที่สุด กับภูมิภาคอื่น
ในภูมิภาคนี ้ 17. การขจัดความยากจนและการเพิ่ม
ง. มาเลเซีย เพราะเป็ นประเทศที่ การจ้างแรงงานมากขึน
้ เป็ นบทบาท
เชี่ยวชาญในทักษะ การเพาะปลูก ของอาเซียนในด้านใด
13. ข้อใดเป็ นบทบาทของอาเซียนทาง ก. ด้านมนุษยธรรม
ด้านวัฒนธรรม ข. ด้านสาธารณสุข
ก. การป้ องกันโรคไข้หวัดนก ค. ด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม
ข. การลงนามในพิธีสารเกียวโต ง. ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ค. การเข้าร่วมปราบปรามโจรสลัด 18. ข้อใดเป็ นผลงานของอาเซียนในการ
โซมาเลีย เป็ นผู้เจรจาไกล่เกลี่ยเพื่อสร้าง
ง. การเป็ นแหล่งมรดกโลกและมรดก สันติภาพ
ความทรงจำของโลก ก. การแก้ปัญหาสงครามอิรัก
14. ข้อใดเป็ นปั ญหาสิ่งแวดล้อมใน ข. การลดความขัดแย้งในลิเบีย
ภูมิภาคที่อาเซียนควรร่วมมือแก้ไข ค. การสร้างสันติภาพในคาบสมุทร
อย่างเร่งด่วน เกาหลีเหนือ
ก. การเกิดไฟป่ า ง. การเจรจาไกล่เกลี่ยกรณีความไม่
ข. สัตว์ป่าสูญพันธุ์ สงบในซีเรีย
142

ค. ปริมาณน้ำฝนลดน้อยลง 19. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของอาเซียนใน


ง. การรั่วไหลของสาร สังคมโลก
กัมมันตภาพรังสี ก. การแทรกแซงทางการค้า
15. ข้อใดเป็ นการรวมกลุ่มประเทศ ข. การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน
สมาชิกอาเซียน +3 ค. การแก้ไขความขัดแย้งในภูมิภาค
ก. สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วม ง. การแก้ปัญหาอาชญากรรมข้าม
กับ จีน อินเดีย รัสเซีย ชาติ
ข. สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วม 20. ข้อใดเป็ นบทบาทของอาเซียนในการ
กับ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภายนอก
ค. สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วม ภูมิภาค
กับ อินเดีย ออสเตรีย ก. การเพิ่มจำนวนมหาวิทยาลัยใน
ญี่ปุ่น ทวีปอเมริกาใต้
ง. สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วม ข. การบริจาคอาหารเพื่อช่วย
กับ จีน แคนาดา สหรัฐอเมริกา ประชากรในแอฟริกา ได้คะแนน คะแนนเต็ม

ค. การสนับสนุนการจ้างแรงงานจาก
20
ตะวันออกกลาง
ง. การให้เงินกู้ยืมแก่ชาวบ้านผู้ยากไร้
นอกภูมิภาค อาเซียน
143

แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
คำชีแ
้ จงให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถ ูกต้องที่สุ ดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดเป็ นบทบาทของอาเซียนในการ 6. ข้อใดเป็ นการรวมกลุ่มประเทศ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภายนอก สมาชิกอาเซียน +3
ภูมิภาค ก. สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วม
ก. การให้เงินกู้ยืมแก่ชาวบ้านผู้ กับ จีน แคนาดา สหรัฐอเมริกา
ยากไร้นอกภูมิภาค อาเซียน ข. สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วม
ข. การสนับสนุนการจ้างแรงงานจาก กับ อินเดีย ออสเตรีย
ตะวันออกกลาง ญี่ปุ่น
ค. การบริจาคอาหารเพื่อช่วย ค. สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วม
ประชากรในแอฟริกา กับ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้
ง. การเพิ่มจำนวนมหาวิทยาลัยใน ง. สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วม
ทวีปอเมริกาใต้ กับ จีน อินเดีย รัสเซีย
2. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของอาเซียนใน 7. ข้อใดเป็ นปั ญหาสิ่งแวดล้อมใน
สังคมโลก ภูมิภาคที่อาเซียนควรร่วมมือแก้ไข
ก. การแก้ปัญหาอาชญากรรมข้าม อย่างเร่งด่วน
ชาติ ก. การรั่วไหลของสาร
ข. การแก้ไขความขัดแย้งในภูมิภาค กัมมันตภาพรังสี
ค. การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ข. ปริมาณน้ำฝนลดน้อยลง
ง. การแทรกแซงทางการค้า ค. สัตว์ป่าสูญพันธุ์
3. ข้อใดเป็ นผลงานของอาเซียนในการ ง. การเกิดไฟป่ า
เป็ นผู้เจรจาไกล่เกลี่ยเพื่อสร้าง 8. ข้อใดเป็ นบทบาทของอาเซียนทาง
สันติภาพ ด้านวัฒนธรรม
ก. การเจรจาไกล่เกลี่ยกรณีความไม่ ก. การเป็ นแหล่งมรดกโลกและมรดก
สงบในซีเรีย ความทรงจำของโลก
ข. การสร้างสันติภาพในคาบสมุทร ข. การเข้าร่วมปราบปรามโจรสลัด
เกาหลีเหนือ โซมาเลีย
144

ค. การลดความขัดแย้งในลิเบีย ค. การลงนามในพิธีสารเกียวโต
ง. การแก้ปัญหาสงครามอิรัก ง. การป้ องกันโรคไข้หวัดนก
4. การขจัดความยากจนและการเพิ่ม 9. เมื่อเพื่อนบ้านในประเทศสมาชิก
การจ้างแรงงานมากขึน
้ เป็ นบทบาท อาเซียนต้องการศึกษาเรื่องการปลูก
ของอาเซียนในด้านใด ข้าวหอมมะลิ นักเรียนจะแนะนำให้
ก. ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ไปศึกษาดูงานที่ประเทศใด
ข. ด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม ก. มาเลเซีย เพราะเป็ นประเทศที่
ค. ด้านสาธารณสุข เชี่ยวชาญในทักษะ การเพาะปลูก
ง. ด้านมนุษยธรรม ข. อินโดนีเซีย เพราะเป็ นผู้ส่งออก
5. วัตถุประสงค์สำคัญของความร่วมมือ ข้าวรายใหญ่ที่สุด
อาเซียน +6 คืออะไร ในภูมิภาคนี ้
ก. การเพิ่มขีดความสามารถของกลุ่ม ค. สิงคโปร์ เพราะเป็ นแหล่งต้น
ในการลงทุนทำ การค้าแข่งขัน กำเนิดของพันธุ์ข้าว
กับภูมิภาคอื่น หอมมะลิ
ข. การลงทุนร่วมกันระหว่างอาเซียน ง. ไทย เพราะเป็ นแหล่งปลูกข้าว
กับประเทศคู่คา้ หอมมะลิพันธุ์ดี
ค. ความร่วมมือกับประเทศต่างๆ
เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ
ง. การพัฒนาประเทศสมาชิก
อาเซียนในทุกด้าน
145

10. ข้อใดแสดงให้เห็นถึงบทบาทการแก้ 16. หลักการในข้อใดที่อาเซียนใช้เป็ น


ปั ญหาความขัดแย้งในภูมิภาคของ แนวทางในการดำเนินการแก้ไข
อาเซียน ปั ญหาความขัดแย้งในภูมิภาค
ก. การแก้ปัญหาเรื่องหมู่เกาะสแปร ก. การเจรจาและประสานประโยชน์
ตลี ข. การกีดกันสินค้านำเข้า
ข. การแก้ปัญหาขัดแย้งในอียิปต์ ค. การยึดหลักอหิงสา
ค. การแก้ปัญหาการเหยียดสีผิว ง. การทำสงคราม
ง. การระงับสงครามในอิรัก 17. “ปฏิญญาว่าด้วยแนวปฏิบัติใน
11. การให้ความช่วยเหลือผู้อพยพใน ทะเลจีนใต้ พ.ศ. 2545”
สงครามเวียดนาม และ มีสาระสำคัญในเรื่องใด
สงครามกลางเมืองกัมพูชา ถือเป็ น ก. ความร่วมมือกันพัฒนาสิ่ง
บทบาทของอาเซียนในเวทีโลกด้าน แวดล้อม
ใด ข. การแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี
ก. ด้านสังคมและวัฒนธรรม ข. ค. การรักษาความสงบ
ด้านการศึกษา ง. การพัฒนาเศรษฐกิจ
ค. ด้านมนุษยธรรม ง. ด้าน 18. อาเซียนได้เข้าร่วมในปฏิบัติการของ
เศรษฐกิจ สหประชาชาติ
12. หากอาเซียนสามารถขยายบทบาทใน ทัง้ นีเ้ พื่อวัตถุประสงค์ใดเป็ นสำคัญ
เวทีโลกได้ ก. รักษาสันติภาพและฟื้ นฟูประเทศ
จะส่งผลดีอย่างไร ต่างๆ
ก. ชาวต่างชาติหันมาใช้ภาษาของ ข. ส่งเสริมความร่วมมือด้าน
ประเทศกลุ่มอาเซียน ในการติดต่อ วัฒนธรรม
สื่อสาร ค. แสดงอำนาจให้เป็ นที่ประจักษ์
ข. เพิ่มอำนาจในการเจรจาต่อรอง ง. ขจัดปั ญหาความขัดแย้ง
ระหว่างประเทศ 19. เพราะเหตุใด อาเซียนจึงจัดเป็ นกลุ่ม
ค. ได้รับการยกเว้นภาษีในการซื้อ ประเทศที่มีความ
ขายระหว่างประเทศ โดดเด่นทางด้านการเจริญเติบโตทาง
146

ง. มีอำนาจเหนือประเทศนอกกลุ่ม เศรษฐกิจ
อาเซียน ก. ค่าเงินของประเทศสมาชิกมี
13. สมาชิกอาเซียนประเทศใดที่มี เสถียรภาพ
ประชากรนับถือศาสนาอิสลามมาก ข. เป็ นตลาดขนาดใหญ่มีกำลังซื้อสูง
ที่สุดในโลก ค. ประชากรส่วนใหญ่มีการศึกษาดี
ก. เวียดนาม ข. ฟิ ลิปปิ นส์ ง. ประสบภัยธรรมชาติน้อย
ค. อินโดนีเซีย ง. ไทย 20. การที่ไทยส่งกองกำลังทหารเข้าร่วม
14. ข้อใดเป็ นจุดแข็งของอาเซียนที่มี ปฏิบัติการในซูดานนัน
้ เป็ นการ
บทบาทต่อโลกอย่างเห็นได้ชัด สนับสนุนการดำเนินงานของ
ก. เป็ นแหล่งแรงงานที่มีทักษะฝี มือดี สหประชาชาติในด้านใด
ข. เป็ นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง ก. ด้านมนุษยธรรม
ค. มีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามมาก ข. ด้านความปลอดภัย
ง. เป็ นแหล่งผลิตอาหารของโลก ค. ด้านสังคม
15. ข้อใดเป็ นอุปสรรคสำคัญในการแก้ ง. ด้านสันติภาพ
ปั ญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนใน
พม่า
ก. กฎการไม่แทรกแซงกิจการภายใน
ของประเทศ สมาชิก
ได้คะแนน คะแนนเต็ม
ข. ขาดมหาอำนาจตะวันตกเข้าช่วย
เหลือ 20
ค. ประเทศสมาชิกไม่ให้ความร่วมมือ
ง. พม่าขู่จะถอนตัวออกจากอาเซียน

You might also like