CC 1 e 21 C 1 e 07 A 48 FD 9599

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

รายงานเชิงวิชาการ 

การอ่านและพิจารณาวรรณคดีเรือง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มท


ั รี 

โดย 

นางสาว ภาณิตา ชัยวัฒน์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/1 เลขที 1 

นางสาว ณิชาภา ชยารังการณ์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/1 เลขที 3 

นางสาว กรรามิล มัศยาอานนท์ ชันมัธยมศึกษาปที 5/1 เลขที 7 

นางสาว นันท์นภัส แย้มสวน ชันมัธยมศึกษาปที 5/1 เลขที 21 

เสนอ 

อ.ปทวรรณ พันชัย 

ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2563 

โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 

รายงานนีเปนส่วนหนึงของกิจกรรมการเรียนรูโ้ ดยใช้โครงงานเปนฐาน 

(Project Based Learning) 

รายงานวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชันมัธยมศึกษาปที 5   
คํานํา 

รายงานเล่มนีเปนส่วนหนึงของวิชาภาษาไทย ระดับชันมัธยมศึกษาปที ๕ จัดทําขึนเพือจุดประสงค์ ใน


การวิเคราะห์และพิจารณาวรรณคดีเรือง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มท
ั รี ทางคณะผูจ
้ ัดทําต้องการจะนํา เสนอ
ข้อมูลเชิงวิชาการทางด้านเนือเรือง กลวิธใี นการประพันธ์ และคุณค่าทีวรรณคดีทีเรืองนีมอบให้ ให้ผอ
ู้ ่าน และ
หวังเปนอย่างยิงว่าข้อมูลในรายงานเล่มนีจะสามารถให้ประโยชน์แก่ผท
ู้ ีสนใจ หรือต้อง การทําการศึกษาเกียวกับ
วรรณคดีเรืองนีได้ไม่มากก็นอ
้ ย 

หากทางคณะผูจ
้ ัดทําได้ทําสิงผิดพลาดประการใด ต้องขออภัยมา ณ ทีนี และขอน้อมรับทุก คําแนะนํา
เพือไปปรับปรุง ทังนีรายงานเล่มนีสําเร็จได้ด้วยความช่วยเหลือของ อาจารย์ปทวรรณ พันชัย ทางคณะผูจ
้ ัดทํา
จึงขอขอบพระคุณอาจารย์ทีช่วยเปนผูใ้ ห้คําแนะนําและให้ขอ
้ เสนอแนะ เพือให้ คณะผูจ
้ ัดทํานํากลับ ไปแก้ไข
รายงานเล่มนีได้อย่างสําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี 

คณะผูจ
้ ัดทํา 
11/5/63 

1
สารบัญ 

สารบัญ  หน้า 

1. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 3-8 

1.1 เนือเรือง 3 

1.2 โครงเรือง 3 

1.3 ตัวละคร 3-5 

1.4 ฉากท้องเรือง 6 

1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 7-8 

1.6 แก่นเรือง 8 

2. การอ่านและพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 9-12 

2.1 การสรรคํา 9-10 

2.2 การเรียบเรียงคํา 10-11 

2.3 การใช้โวหารภาพพจน์ 11-12 

3. การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 13-16 

3.1 คุณค่าด้านอารมณ์ 13 

3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม 13-14 

3.3 คุณค่าด้านอืนๆ 14-15 

4. บรรณานุกรม 16 
 

2
1. การอ่านและพิจารณาเนือหาและกลวิธใี นวรรณคดีและวรรณกรรม 

1.1 เนือเรือง 

พระนางมัทรีเสด็จเข้าปาเพือหาผลไม้ตามเช่นเคย แต่เมือถึงปากลับพบว่า หลายอย่างผิดปกติ


ไปจากทีเคยเปน เช่น ต้นไม้ทีเคยมีผลกลับไม่มี ท้องฟาดูมด
ื มน และน่ากลัว ไม้คานหาบผลไม้ก็พลัดตก
จากบ่า และ ไม้ตะขอก็หลุดจากมือ พระนาง จึงมีลางสังหรณ์ว่าอาจ จะเกิดสิงร้ายกับ 2 กุมารได้ จึง
ตัดสินใจรีบกลับเอาศรมแต่ว่า ระหว่างทางมีเทวดามาขัดขวางไว้ เพือไม่ให้พระนางมาขัดขวางการทํา
บุตรทานของพระเวสสันดร โดยการแปลงกายเปน สิงโต เสือโคร่ง และเสือเหลืองขวางทางไว้ จนฟามืด 
 
เมือพระนางกลับถึงบ้าน กลับไม่พบสองกุมาร และเมือทูลถามพระเวส สันดรก็ไม่ได้รบ
ั คําตอบ
เพราะพระเวสสันดรเห็นนางโศกเศร้าและเกรงว่าถ้าบอกความจริงไปอาจเกิดอันตรายกับนางได้ จึง
แกล้งกล่าวหาว่าทีนางกลับอาศรมดึกดืน เปนเพราะนอกใจ ทําให้พระนางมัทรีโกรธและสลบไป เมือนาง
ตืนขึนมา พระเวสสันดรจึงเล่าความจริงว่าตนได้ทําทานโดยการให้สองกุมารแก่ชูชกไป พระนางมัทรีจึง
หายเศร้าและทรงอนุโมทนาในการบําเพ็ญทานบารมีของพระเวสสันดรในครังนีด้วย 

1.2 โครงเรือง 

วันหนึง ในขณะทีภรรยาของครอบครัวหนึงไม่อยูบ
่ า้ น สามีก็ได้ยกลูกให้ แก่ผอ
ู้ ืนไป เมือภรรยา
กลับมาไม่พบลูกจึงรูส
้ ก
ึ เสียใจมาก ท้ายทีสุดสามี จึงบอกความจริงและเหตุผลทีทําลงไป ภรรยาได้ฟง
เหตุผลจึงรูส
้ ก
ึ เห็น ด้วยและยินดีในสิงทีสามีได้ทํา 

1.3 ตัวละคร 

1.3.1 พระเวสสันดร  

เปนผูม
้ ค
ี ณ
ุ ธรรมสูงเปนอย่างมากและกล้าทีจะยอมสละหลายสิงอย่างเพือทําทานให้ผอ
ู้ ืน ซึงยากที
มนุษย์ทัวไป จะทําได้ ยกตัวอย่างเช่นในบทกลอนทีทรงได้ทําบุตรทาน หรือการถวายลูกทีรักมาก ให้แก่ชูชก ดัง
กลอนทีว่า 

...มัทรีเอ่ย อันอริยสัตบุรุษ 

เห็นปานดังตัวพีฉะนี ถึงจะมีขา้ วของสักเท่าใดๆ  

3
ทิสว
ฺ า ยาจกมาคเต ถ้าเห็นยาจกเข้ามาใกล้ 

ไหว้วอนขอไม่ยอ
่ ท้อในทางทาน  

จนแต่ชนลู
ั กรักยอดสงสารพียังยกให้เปนทานได้ อันสองกุมารนี 

ไซร้เปนแต่ทานพาหิรกะภายนอกไม่อิมหนํา … 

มีความห่วงใยในภรรยาของตนเอง ยกตัวอย่างเช่น ยอมแซร้งกล่าวหาว่าพระนางมันทรีนอกใจเพือให้ 


พระนางคลายความเศร้าโศก ไม่เช่นนันนางอาจเกิดอันตรายได้ หากรับรูว
้ ่าได้ถวายลูกให้ชูชกไป ดังกลอนทีว่า 

“...พีจะเล่าให้เจ้าฟงก็สด
ุ ใจ  

ด้วยเจ้ามาแต่ปาไกลยังเหนือยนัก  

พีเห็นว่าความร้อนความรักจะรุกอก  

ด้วยสองดรุณทารกเปนเพือนไร้ 

เจ้ามัทรีเอ่ย จงผ่องใสอย่าสอดแคล้ว  

อันสองพระลูกแก้วไปไกลเนตร…” 

1.3.1 นางมัทรี  

รักและห่วงใยลูกของตนมาก ยกตัวอย่างเช่น เมือนางกลับมาถึงบ้านและไม่พบลูกของตนแม้ว่าจะ 


พยายาม ตามหาเพียงใด นางจึงรําพันว่าถ้าไม่มล
ี ก
ู ทังสองคนอยูด
่ ้วยแล้วก็ไม่สามารถมีชว
ี ิตอยูไ่ ด้ ดังกลอนทีว่า 

“...ทังลูกรักดังแก้วตาก็หายไป  

อกเอ๋ยจะอยูไ่ ปไยให้ทนเวทนา  

อุปมาเสมือนหนึงพฤกษาลดาวัลย์  

ย่อมจะอาสัญลงเพราะลูกเปนแท้เทียง…” 

4
มีความอดทน ไม่ยอ
่ ท้อต่อความยากลําบาก และเปนภรรยาทีดี ตัวอย่างเช่น ทีนางเข้าปาเผือหาผลไม้ 
มาปรนิบต
ั ิสามีและลูก และแม้ว่าภายในปาจะมีหนาม หรืออุปสรรคต่างๆแต่นาง ก็ไม่ยอ
่ ท้อทีจะหาผลไม้ต่อไป 
ดังกลอนทีว่า 

“...อุตสาหะตระตรากตระตรําเตร็ดเตร่หาผลาผลไม้  

ถึงทีไหนจะรกเรียวก็ซอกซอนอุตส่าห์เทียวไม่ถอยหลัง 

จนเนือหนังข่วนขาดเปนริวรอย  

โลหิตไหลย้อยทุกหย่อมหนาม  

อารามจะใคร่ได้ผลาผลไม้มาปฏิบต
ั ิลก
ู บํารุงผัว…” 

   

  มีจิตใจเปนกุศล จึงอนุโมบุตรทานของพระเวสสันดรทีได้ยกลูกให้แก่ชูชกไป ถึงแม้ตัวเองจะเศร้าโศก 


และรักลูกมากเพียงใด ดังกลอนทีว่า 

“...พระพุทธเจ้าข้าอันสองกุมารนี  
เกล้ากระหม่อมฉานได้อุตส่าห์ถนอม  
ย่อมพยาบาลบํารุงมา  
ขออนุโมทนาด้วยปยบุตรทานบารมี  
ขอให้นาพระหฤทัยพระองค์จงผ่องแผ้ว  
อย่ามีมจ
ั ฉริยธรรมอกุศล อย่ามาปะปนในนาพระทัยของพระองค์เลย…” 

   

5
1.4 ฉากท้องเรือง 

ในเรืองเวสสันดรชาดก กัณฑ์มท
ั รี มีฉากท้องเรืองอยูใ่ นปาหิมพานต์ โดยฉากทีเห็นเปนฉากแรกคือฉากที
นางมัทรีเข้าไปเก็บผลไม้ในปาแล้วมีเทวบุตรแปลงกายมาเปนเสือทําให้การกลับอาศรมของนางล่าช้า และอีก
ฉากหนึงก็คือฉากทีนางมัทรีกลับมาทีศาลาแล้วไม่เจอลูก จึงเกิดความกระวันกระวายเลยตัดสินใจเข้าไปตามหา
ลูกทังสองของนาง 

“...อนึงน้องเปนเอกองค์อัครบริจาริกากรแห่งพระเวสสันดรราช ษีอันจําจากพระบุรม
ี าอยูไ่ พร น้องนีก็ตังใจ
สุจริตติดตามมาด้วยกตเวทีอนึงพระสุรย
ิ ศรีก็ยาสนธยาสายัณห์แล้ว เปนเวลาพระลูกแก้วจะอยากนมกําหนด
เสวย พระพีเจ้าของน้องเอ๋ยทังสามรา ขอเชิญกลับไปยังรัตนคูหาห้องแก้ว แล้วจะได้เชยชมซึงลูกรักและเมีย
ขวัญอนึงน้องนีจะแบ่งปนผลไม้ให้สก
ั กึง…” 

ฉากนีเปนฉากทีนางมัทรีเก็บผลไม้ในปากว่าจะเสร็จก็คาแล้ว แต่เจอเสือร้ายสามตัวมาขวางทางกลับ
อาศรม 

“...ยังไม่วายนมพราหมณ์ยงขู
ิ ข ่ ม
่ เข่นเขียวคํารามตีต้อนให้ด่วนเดิน ตามปารกระหกระเหินหอบหิวแล้วไห้โหย มี
แต่เสียงเธอโอดโอยสะอืนร้องรําพันสังทุกเส้นหญ้า ก็หวันๆ วังเวงวิเวกปาพระหิมพานต์ เตสํ ลาลปตํสต
ุ ว
ฺ า ฝาย
ฝูงเทพทุกสถานพิมานไม้ไศลเกรินเนินแนวพนาวาส ได้สลับคําประกาศสองกุมารทรงพระกันแสงสังศาส์นจนสุด
เสียง…” 

เปนฉากในขณะทีพระนางมัทรีเข้าไปหาของปา ก็เกิดความโกลาหลไปถึงชันพรหมโลก เนืองจากพระ


เวสสันดรได้มอบลูกไปให้ชูชก เหล่าเทวดาจึงหาอุบายทําให้นางกลับไปถึงอาศรมตอนมืดคา 

“สา มทฺที ปางนันส่วนสมเด็จพระมัทรีศรีสน


ุ ทรเทพกัญญา จําเดิมแต่พระนางเธอลีลาล่วงลับพระอาวาส พระทัย
นางให้หวันหวาดพะวงหลังตังพระทัยเปนทุกข์ถึงพระเจ้าลูกมิลืมเลยเดินพลางทางเสวยพระโศกพลาง พระนัยน
เนตรทังสองข้างไม่ขาดสายพระอัสสุชล พลางพิศดูผลาผลในกลางไพรทีนางเคยได้อาศัยทรงสอยอยูเ่ ปนนิตย์ผด

สังเกต เหตุไฉนไม้ทีมีผลเปนพุม
่ พวงก็กลายกลับเปนดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร แถวโน้นก็แก้วเกดพิกล
ุ แกม
กับกาหลง ถัดนันก็สายหยุดประยงค์และยมโดย พระพายพัดก็รว
่ งโรยรายดอกลงมูนมอง แม่ยงั ได้เก็บเอาดอกมา
ร้อยกรองไปฝากลูกเมือวันวาน ก็เพียนผิดพิสดารเปนพวงผล…” 

  พระนางมัทรีรูส
้ ก
ึ เหตุประหลาดทีเกิดขึนในปาเหมือนเปนลางบอกเหตุ จึงหวันใจเปนห่วงลูกของตน 
 

6
1.5 บทเจรจาหรือรําพึงรําพัน 

 
“...น ทิสส
ฺ เร แต่ลก
ู รักทังคู่ไปอยูไ่ หนไม่เห็นเลย อยํ โส อสฺสโม โอพระอาศรมเจ้าเอ๋ยน่าอัศจรรย์ใจ แต่
ก่อนดูนสุ
ี กใสด้วยสีทองเสียงเนือนกนีราร้องสําราญรังเรียกคู่คข
ู ยับขัน ทังจักจันพรรณลองไนเรไรร้องอยู่
หริงๆ ระเรือยโรยโหยสําเนียงดังเสียงสังคีตขับประโคมไพร โอเหตุไฉนเหงาเงียบเมือยามนี ทังอาศรมก็
หมองศรีเสมือนหนึงว่าจะเศร้าโศก เออชะรอยว่าพระเจ้าลูกจะวิโยคพลัดพรากไปจากอกพระมารดาเสีย
จริงแล้วกระมังในครังนี นางก็กลับเข้าไปทูลพระราชสามีด้วยสงสัยว่า พระพุทธเจ้าข้าประหลาดใจ
กระหม่อมฉัน อันสองกุมารไปอยูไ่ หนไม่แจ้งเหตุหรือพากันไปเทียวลับพระเนตรนอกตําแหน่ง สิงห์สต
ั ว์
ทีร้ายแรงคะนองฤทธิมาพานพบขบกัดตัดชีวิตพระลูกข้าพาไปกินเปนอาหาร ถึงกระนันก็จะพบพานซึง
กเลวระร่าง มิเลือดก็เนือจะเหลืออยูบ
่ า้ งสักสิงอัน แต่พอแม่ได้รูส
้ าํ คัญว่าเปนหรือตาย สุดทีแม่จะมุง่
หมายสุดประมาณแล้ว…” 
ฉากนี คือฉากทีนางมัทรีพงกลั
ึ บมาถึงอาศรมแต่นางไม่พบลูกทังสองจึงเริมคิดว่ามีเหตุการณ์
ร้ายเกิดขึงกับลูกของตน 
 
“...เข้าเถือนเจ้าลืมพร้าได้หน้าแล้วลืมหลังไม่แลเหลียวเทียวทอดประทับมากลางทาง อันว่าพระยานาง
สิเปนหน่อกษัตริยจ
์ ะไปไหนก็เคยมีแต่กลดกัน พานจะเกรงแสงพระสุรย
ิ น
ั ไม่คลาเคลือน เจ้ารักเดินด้วย
แสงเดือนชมดาวพลาง ได้นาค้างกลางคืนชืนอารมณ์สมคะเน พอมาถึงก็ทําเสขึนเสียงเลียงเลียวพาโลว่า
ลูกหาย เออนีเจ้ามิหมายว่าใครๆ ไม่รูท
้ ันกระนันกระมัง หรือเจ้าเห็นว่าพีนีเปนชีอดจิตคิดอนิจจังทิงพยศ 
อดอารมณ์เสีย เจ้าเปนแต่เพียงเมียควรหรือมาหมินได้ ถ้าแม้นพีอยูใ่ นกรุงไกรเหมือนแต่ก่อนเก่า หากว่า
เจ้าทําเช่นนี กายของมัทรีก็จะขาดสะบันลงทันตาด้วยพระกรเบืองขวาของอาตมานีแล้วแล” 
  เมือนางมัทรีกลับมาถึงแล้วไม่เจอลูกแล้วเห็นว่าสามีไม่ทก
ุ ข์รอ
้ นใดๆ จึงได้ว่ากล่าวสามีซงก็
ึ คือ
พระเวสสันดร พระองค์จึงตัดพ้อโต้ตอบนางมัทรีว่าด้วยเรืองทีนางกลับอาศรมช้า 
 
“..โอ้เจ้าดวงสุรย
ิ น
ั จันทรทังคู่ของแม่เอ่ย แม่ไม่รูเ้ ลยว่าเจ้าจะหนีพระมารดาไปสูพ
่ าราใดไม่รูท
้ ี หรือจะ 
ข้ามนทีทะเลวนหิมเวศประเทศทิศแดนใด ถ้ารูแ
้ จ้งประจักษ์ใจแม่ก็จะตามเจ้าไปจนสุดแรง 
นีก็เหลือทีแม่จะเทียวแสวงสืบเสาะหา เมือเช้าแม่จะเข้าไปสูป
่ า พ่อชาลีแม่กัณหายังทูลสัง 
แม่ยงั กลับหลังมาโลมลูบจูบกระหม่อมจอมเกล้าทังสองรา กลินยังจับนาสาอยูร่ วยรืน โอ้พระลูก 
ข้านีจะไม่คืนเสียแล้วกระมังในครังนี กัณหาชาลีลก
ู รักแม่นบ
ั วันแต่ว่าจะแลลับล่วงไปเสียแล้ว 
ละหนอ ใครจะกอดพระศอเสวยนมผทมด้วยแม่เล่า ยามเมือแม่จะเข้าทีบรรจถรณ์ เจ้าเคยเคียง 
เรียงหมอนนอนแนบข้างทุกราตรี แต่นแม่
ี จะกล่อมใครให้นท
ิ รา โอ้แม่อุ้มท้องประคองเคียง 
เลียงเจ้ามาก็หมายมัน สําคัญว่าจะได้อยูเ่ ปนเพือนยากจะฝากผีพงลู
ึ กทังสองคน มิรูว
้ ่าจะกลับ 

7
วิบต
ั ิพลัดพรากไม่เปนผลให้อาเพศผิดประมาณ เจ้าเอาแต่หว
่ งสงสารนีหรือมาสวมคล้องให้แม่น ี
ติดต้องข้องอยูด
่ ้วยอาลัย เจ้าทิงชือและโฉมไว้ให้เปล่าอกในวิญญาณ์..” 
ฉากนีเปนฉากทีนางสินหวังสินหวังกับการตามหาลูกและโศรกเศร้าเปนอันมาก เพราะนางได้
ตามหาทุกทีในปา และจึงมารําพึงรําพันถึงลูกเมือกลับถึงอาราม 
 
1.6 แก่นเรือง 
พระเวสสันดร กัณฑ์มท
ั รีต้องการจะสือถึงความรักของแม่ทีมีต่อลูกผ่านการทีนางมัทรีนนเมื
ั อลูกหายก็
รูส
้ ก
ึ หวันใจเปนห่วงโศกเศร้า และอีกประเด็นคือความปรารถนาอันยิงใหญ่ก็ต้องแลกด้วยความอดทนและความ
เสียสละเหมือนอย่างทีพระเวสสันดรได้ยกลูกให้กับชูชก 

   

8
2. การพิจารณาการใช้ภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 

2.1 การสรรคํา 
การสรรคํา คือ การเลือกใช้คําให้สามารถสือถึงความคิด ความรูส
้ ก
ึ ความเข้าใจ ได้อย่างถูกต้องตาม
ความเหมาะสม โดยคํานึงถึงความงามด้านเสียง โวหาร และรูปแบบคําประพันธ์ ในการประพันธ์นนผู
ั ก ้ วีต้อง
เลือกคําให้เหมาะสมกับตัวละครทีต้องการจะสืออกมาให้ผอ
ู้ ่านรับรูถ
้ ึงความรูส
้ ก
ึ อารมณ์ และ ความคิดของตัว
ละครนันๆ อีกทังยังต้องคงความสละสลวยของคําประพันธ์อีกด้วย 
 
2.1.1 การใช้ถ้อยคําให้เหมาะสมต่อเรืองและบุคคลในเรือง 
​ปางนันส่วนสมเด็จพระมัทรีศรีสน
ุ ทรเทพกัญญา จําเดิมแต่พระนางเธอลีลาล่วงลับ พระอาวาส พระทัย
นางให้หวันหวาดพะวงหลังตังพระทัยเปนทุกข์ถึงพระเจ้าลูกมิลืมเลย เดินพลางทางเสวยพระโศกพลาง พระนัย
นเนตรทังสองข้างไม่ขาดสายพระอัสสุชล พลางพิศดู ผลาผลในกลางไพรทีนางเคยได้อาศัยทรงสอยอยูเ่ ปนนิตย์
ผิดสังเกต เหตุไฉนไม้ทีมีผลเปนพุม
่ พวง ก็กลายกลับเปนดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร แถวโน้นก็แก้วเกดพิกล

แกมกับกาหลง ถัดนันก็ สายหยุดประยงค์และยมโดย พระพายพัดก็รว
่ งโรยรายดอกลงมูนมอง แม่ยงั ได้เก็บเอา
ดอกมา ร้อยกรองไปฝากลูกเมือวันวาน ก็เพียนผิดพิสดารเปนพวงผล ผิดวิกลแต่ก่อนมา 
 
จากบทประพันธ์เรืองมหาเวสสันดรชาดกกัณฑ์มท
ั รี ทําให้เห็นว่ากวีนนได้
ั เลือกสรรคําให้เหมาะแก่ฐานะ
ของตัวละคนในเรืองทีเปนคนในราชวงศ์ กวีได้เลือกใช้คําราชาศัพท์ทังการกระทํา หรือคํานามต่างๆทีสือถึงตัว
ละครนัน ตัวอย่างเช่น พระทัยนางให้หวันหวาด คําว่าพระทัย แปลว่าใจ 
 
2.1.2 การใช้ถ้อยคําให้เกิดความรูส
้ ก
ึ  
1. การใช้ถ้อยคํารําพึงรําพัน 
เมือเช้าแม่จะเข้าสูป
่ า พ่อชาลีแม่กัณหายังทูลสัง แม่ยงั กลับหลังมาโลมลูบจูบกระหม่อมจองเกล้าทังสอง
รา กลินยังจับนาสาอยูร่ วยรืน ใครจะดอกพระศอเสวยนมผทมด้วยแม่เล่า ยามเมือแม่จะเข้าทีบรรจถรณ์ เจ้า
เคยเรียงหมอนนอนแนบข้างทุกราตรี แต่นแม่
ี จะกล่อมใครให้นท
ิ รา 
 
จากตัวอย่างข้างต้นกวีได้ใช้ถ้อยคําในการรําพึงรําพันถึงบรรยากาศของความเปนแม่ผา่ นตัวละครทําให้
ผูอ
้ ่านได้รบ
ั อารมณ์ความสะเทือนใจ ความตราตรึงใจ และยังสามารถสือให้ตรงใจผูเ้ ปนแม่ในชีวิตจริงในทุกยุค
ทุกสมัย อีกทังเปนการเพิมความรักความผูกพันแก่ผอ
ู้ ่านและผูฟ
้ งทีเปนแม่และลูกได้เปนอย่างดี 
 
2. การใช้ถ้อยคําสํานวนเชิงตัดพ้อ 
อกของใครจะอาภัพยับพิกลเหมือนอกของมัทรีไม่มเี นตร น่าทีจะสงสารสังเวชโปรดปราณีว่ามัทรีนเปน

เพือนยากอยูจ
่ ริงๆ ช่างค้อนติงปริภาษณาได้ลงคอไม่คิดเลย พระคุณเอ่ยถึงพระองค์จะสงสัยก็นาใจของมัทรีนี

9
กตเวที เปนไม้เท้าก้าวเข้าสูท
่ ีทางทดแทน อุปมาเหมือน สีดาอันภักดีต่อสามีรามบัณฑิต ปานประหนึงว่าศิษย์
กับอาจารย์ พระคุณเอ่ยเกล้ากระหม่อมฉานทําผิดแต่เพียงนี เพราะว่าล่วงราตรีจึงมีโทษ ขอพระองค์ทรง
พระกรุณาโปรด ซึงโทษโทษานุโทษกระหม่อมฉันมัทรี แต่ครังเดียวนีเถิด 
 
จากตัวอย่างข้างต้นทีกล่าวมานีกวีเลือกถ้อยคําทีทําให้เกิดอารมณ์สงสารเวทนานางมัทรี และบีบคัน
จิตใจของผูอ
้ ่านและผูฟ
้ งเปนอย่างยิง เพราะเปนการใช้ถ้อยสํานวนเชิงตัดพ้อทีแสดงถึงความอุตสาหะตระตราก
ตระตรําเตร็ดเตร่หาผลไม้ เพือทีจะมาปฏิบต
ั ิลก
ู บํารุงผัว แต่พระเวสสันดรก็ไม่สงสาร อีกทังยังดุว่าได้ลงคอ 
ตัวอย่างเช่น พระคุณเอ่ยเกล้ากระหม่อมฉานทําผิดแต่เพียงนี เพราะว่าล่วงราตรีจึงมีโทษ เปนต้น 
 
2.1.3 การใช้ถ้อยคําทีคํานึงถึงเสียง 
อกแม่นให้
ี อ่อนหิวสุดละห้อย ทังดาวเดือนก็เคลือนคล้อยลงลับไม้ สุดทีแม่จะติดตามเจ้าไปในยามนี ฝูง
ลิงค่างบ่างชะนีทีนอนหลับ ก็กลิงกลับเกลือกตัวอยูย
่ วเยี
ั ย ทังนกหกก็งัวเงียเหงาเงียบทุกรวงรัง แต่แม่เทียวเซซัง
เสาะแสวงทุกแห่งห้องหิมเวศ ทัวประเทศทุกราวปา สุดสายนัยนาทีแม่จะตามไปเล็งแล สุดโสตแล้วทีแม่จะซับ
ทราบฟงสําเนียง สุดสุรเสียงทีแม่จะราเรียกพิไรร้อง สุดฝเท้าทีแม่จะเยืองย่องยกย่างลงเหยียบดิน ก็สด
ุ สินสุด
ปญญาสุดหาสุดค้นเห็นสุดคิด จะได้พานพบประสบรอยพระลูกน้อยแต่สก
ั นิดไม่มเี ลย 
 
จากตัวอย่างข้างต้นกวีได้ใช้การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ เพือให้เกิดไพเราะ และความสละสลวยของ
บทประพันธ์ ทําให้บทประพันธ์มค
ี วามน่าหลงไหลและน่าฟง เช่น ก็กลิงกลับเกลือก เยืองย่องยกย่าง เปนต้น 
 
 
 
2.2 การเรียบเรียงคํา 
การเรียบเรียงคํา คือการจัดวางคําทีเลือกสรรแล้วให้มาเรียบเรียงกันอย่างต่อเนืองตามจังหวะ ตาม
โครงสร้างคําพูด หรือตามฉันทลักษณ์ทีวางไว้ 
 
ส่วนเทพเจ้าทังสามองค์ได้ทรงฟงพระเสาวนีย์ พระมัทรีเธอไหว้วอน ขอหนทาง พระพักตร์นางนองไป
ด้วยนาาพระเนตร เทพเจ้าก็สงั เวชในวิญญาณ ก็พากันอุฏฐาการ คลาไคลให้มรคาแก่นางพระยามัทรี พอแจ่ม
แจ้งแสงสีศศิธรนางก็ยกหาบคอนขึนใส่บา่ เปลืองเอา พระภูษามาคาดพระถันให้มนคง
ั วิงพลางนางทรงกันแสง
พลาง ยะเหยาะเหย่าทุกฝย่างไม่หย่อนหยุด พักหนึงก็ถึงทีสุดบริเวณพระอาวาสทีพระลูกเจ้าเคยประพาสแล่น
เล่น ประหลาดแล้วแลไม่เห็น ก็ใจหาย ดังว่าชีวิตนางจะวางวายลงทันที จึงตรัสเรียกว่าแก้วกัณหาพ่อชาลีของแม่
เอ่ย แม่มา ถึงแล้ว เหตุไฉนไยพระลูกแก้วจึงมิมาเล่าหลากแก่ใจ แต่ก่อนแต่ไรสิพร้อมเพรียง เจ้าเคยวิงระรี เรียง
เคียงแข่งกันมาคอยรับพระมารดา ทรงพระสรวลสํารวลร่าระรืนเริงรีบรับเอาขอคาน แล้วก็พา กันกราบกราน

10
พระชนนี พ่อชาลีเจ้าเลือกเอาผลไม้ แม่กัณหาฉะอ้อนวอนไหว้ว่าจะเสวยนม ผทมเหนือพระเพลาพลางฉอเลาะ
แม่นต่
ี างๆ ตามประสาทารกเจริญใจ 
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้นกวีได้เรียบเรียงคําโดยใช้การเรียงวลีหรือประโยคทีมีความสําคัญเท่าๆเคียงข้าง
กันไป อีกทังยังค่อยเรียงลําดับความเข้มข้นของเนือหาเพิมมากขึนเรือย ดังการไต่ขนบั
ึ นไดอารมณ์ ทําให้ผอ
ู้ ่าน
รูส
้ ก
ึ ตามตัวละครและลุ้นไปกับเนือหาของเรือง 

2.3 การใช้โวหารภาพพจน์ 

การใช้โวหารภาพพจน์ คือ การทีกวีเลือกใช้สาํ นวนภาษาเพือทําให้ผอ


ู้ ่านเกิดจินตนาการ อ่านง่าย มี
ความไพเราะ และด้วยเหตุเช่นนีทําให้บทประพันธ์มค
ี ณ
ุ ค่าด้านวรรณศิลป 
 
2.3.1 อุปมาโวหาร 
พอประจวบจวนพญาพาฬมฤคราช สะดุ้งพระทัยไหวหวาดวะหวีดวิงวนแวะเข้าข้างทาง พระทรวงนาง
สันระรัวริกเต้นดังตีปลา ทรงพระกันแสงโศกาไห้พไิ รราว่ากรรมเอ๋ยกรรม 
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้นเปนการใช้อุปมาโวหาร เปนการเปรียบเทียบสิงทีต่างกันให้เหมือนกับอีกสิงหนึง 
เพราะสามารถสังเกตได้จากคําว่า ดัง ทีเปนการกล่าวถึงพระนางมัทรีว่าเมือหาลูกไม่เจออกของนางเต้นระรัว
เหมือนปลาทีถูกตีให้ดิน 
 
2.3.2 บุคคลวัต  
อกแม่นให้
ี อ่อนหิวสุดละห้อย ทังดาวเดือนก็เคลือนคล้อยลงลับไม้ สุดทีแม่จะติดตามเจ้าไปในยามนี ฝูง
ลิงค่างบ่างชะนีทีนอนหลับ ก็กลิงกลับเกลือกตัวอยูย
่ วเยี
ั ย ทังนกหกก็งัวเงียเหงาเงียบทุกรวงรัง  
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้นเปนการใช้บุคลาธิษฐาน ให้สงไม่
ิ มช ี ว
ี ิตหรือสัตว์ให้มช
ี ว
ี ิตคล้ายมนุษย์ ในบทนีใช้ 
นกหกก็งัวเงียเหงาเงียบทุกรวงรัง คําว่างัวเงียใช้กับมนุษย์ ทําให้เปนการแสดงให้เห็นถึงอาการของสัตว์ให้เหมือน
มนุษย์  
 
2.3.3 อุปลักษณ์โวหาร 
ทังแปดทิศก็มด
ื มัวทัวทุกแห่ง ทังขอบฟาก็ดาดแดงเปนสายเลือด ไม่เว้นวายหายเหือดเปนลางร้ายไป
รอบข้าง 

11
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้นเปนการใช้อุปลักษณ์โวหารโดยสังเกตได้จากคําว่า เปน ดัง ในประโยคทีว่า ทัง
ขอบฟาก็ดาดแดงเปนสายเลือด เปนการเปรียบเทียบสีของท้องฟาในยามนันเปนเหมือนสีแดงของเลือด 
 
2.3.4 อติพจน์ 
เจ้าเคยฟงแต่เสียงพี เลียงเขาขับกล่อมบําเรอด้วยดุรย
ิ างค์ ยามบรรทมธุลีลมก็มไิ ด้พด
ั มาแผ้ว พาน 
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้นเปนการกล่าวเกินจริง โดยสังเกตได้จากประโยคทีว่า ยามบรรทมธุลีลมก็มไิ ด้
พัดมาแผ้ว พาน เปนการสือถึงว่าตอนนอนแม่ก็ปกปองลูก แม้กระทังลมก็ไม่ให้โดนตัวลูกได้ 
 
2.3.5 สัทพจน์ 
โอ พระอาศรมเจ้าเอ๋ยน่าอัศจรรย์ใจ แต่ก่อนดูนสุ
ี กใสด้วยสีทอง เสียงเนือนกนีราร้องสําราญรังเรียกคู่คู
ขยับขัน ทังจักจันพรรณลองไนเรไรร้องอยูห
่ ริงๆ ระเรือยโรย 
 
จากบทประพันธ์ขา้ งต้นเปนการเลียนเสียงสัตว์ ในบทประพันธ์นกวี
ี ใช้คําว่า หริงๆ โดยมาจากแมลง 
ได้แก่ จักจัน ลองไน และเรไร ทําให้ผอ
ู้ ่านจินตนาการถึงเสียงของแมลงเหล่านีและเข้าถึงได้มากยิงขึน 
 
 
 

   

12
3.การอ่านและพิจารณาประโยชน์หรือคุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรม 

3.1 คุณค่าด้านอารมณ์ 

 
“ ใครได้เห็นเปนขวัญตาเต็มจะหลงละลายทุกข์ปลุกเปลืองอารมณ์ชายให้เชยชืน ” 
 
ในวรรคนีแสดงให้เห็นถึงอารมณ์หงึ หวงของพระเวสสันดรทีได้ตัดพ้อพระนางมัทรีว่ามีชายอืนเพือดับ
ความโศกเศร้าของพระนางแล้วลืมเรืองลูกทีพลัดพรากจากไป 
 

3.2 คุณค่าด้านคุณธรรม 

 
การเปนพ่อแม่ทดี
ี  
 
“ ชาลี กัณหา แม่มาถึงแล้ว เหตุไฉนไยพระลูกแก้ว จึงไม่มารับเล่าหลากแก่ใจ แต่ก่อนร่อนชะไรสิพร้อม
เพรียง เจ้าเคยวิงระรีเรียงเคียงแข่งกันมารับพระมารดา เคยแย้มสรวลสํารวลร่า ระรืนเริงรีบรับเอาขอคาน แล้วก็
พากันกราบกรานพระชนนี พ่อชาลี ก็จะรับเอาผลไม้ แม่กัณหาก็จะอ้อนวอนไหว้จะเสวยนม ผทมเหนือ
พระเพลาพลาง เจ้าเคยฉอเลาะแม่ต่าง ๆ ตามประสาทารกเจริญใจฯ ” 
 
ในวรรคนีแสดงให้เห็นถึงความเปนห่วงของแม่นางมัทรีทีมีต่อลูกหลังจากกลับมาทีอาศรมก็ไม่พบกัณหา 
ชาลี เพราะลูกคือแก้วตาดวงใจของผูเ้ ปนพ่อแม่ ไม่มใี ครรัก ห่วง และหวงเราได้เท่าพ่อแม่ให้ 
 
 
การเปนสามีภรรยาทีดี 
 
“ แห่งน้องนางนามชือพระมัทรี (ราชปุตต
ฺ ี) น้องก็กลายเปนกัลยาณี หน่อกษัตริย์ มัททราชสุรย
ิ วงศ์ อนึง
น้องเปนเอกองค์อัครบริจาริกากรแห่งพระเวสสันดรราชฤาษี อันจําจากพระบุรม
ี าอยูไ่ พร น้องนีก็ตังใจสุจริต
ติดตามมาด้วยกตเวที ” 
 
ในวรรคนีแสดงให้เห็นถึงว่านางมัทรี เปนภรรยาทีมีความกตัญ ูจงรักภักดีต่อสามี และจากบ้านเมืองมา
อยูป
่ ากับพระเวสสันดรด้วยใจบริสท
ุ ธิ 
 

13
“ถึงพระร่มเกล้าปกเกศเสด็จทุเรศไร้ราชสุรย
ิ วงศ์ จะบุกปาฝาดงไปแห่งใด ข้าพระบาทจะตามเสด็จไปไม่
ขออยู ่ จะเอาชีวิตและกายนีไปสูส
้ นองพระคุณกว่าจะสินบุญข้ามัทรีทีจะละพระราชสามีนนหามิ
ั ได้  แม้นจะตกไร้
แสนกันดารจะบริโภคมูลผลาหารต่างโภชนาก็จะสูท
้ รมานหามาปฏิบต
ั ิพระองค์  ถึงแม้มาตรจะปลดปลงก็มไิ ด้คิด
จะเอาชีวิตนีเปนเกือกทองฉลองพระบาท”   
 
ในวรรคนีแสดงให้ถึงความซือสัตย์ของพระนางมัทรีทีมีต่อพระเวสสันดร แม้จะรูว
้ ่าการทีจะต้องเดินทาง
ไปกับพระเวสสันดรนันจะยากลําบากขนาดไหน แต่พระนางก็ไม่เกรงกลัวและยินดีเสด็จตามพระเวสสันดรไป 
เพือจะได้มโี อกาสปรนนิบต
ั ิดแ
ู ลพระเวสสันดรตามรูปแบบของภรรยาทีดี 
 
 
3.3 คุณค่าด้านอืนๆ 
 
คุณค่าด้านความเชือ 
 
“ พลางพิศดูผลาผลในการไพรทีนางเคยได้อาศัยทรงสอยอยูเ่ ปนนิตย์ผด
ิ สังเกต เหตุไฉนไม้ทีมีผลเปน
พุม
่ พวง ก็กลายกลับเปนดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร ” 
 
ในวรรคนีพระนางมัทรีกําลังอยูใ่ นปาแต่กลับพบสิงผิดสังเกตมากมาย เช่น ไม้ผลกลับกลายเปนไม้ดอก 
ผลไม้กลายเปนดอกไม้ทีน่าเกลียด เปนต้น สะท้อนให้เห็นถึงความเชือของผลบุญกุศลทีทํา คนไทยมักมีความคิด
ว่าถ้ามีอะไรผิดแปลกไปจากสิงปกติทีเห็นแล้ว นันแปลว่าอาจเปนลางบอกเหตุทีแสดงให้เห็นถึงเรืองร้ายทีกําลัง
จะเกิดขึน 

คุณค่าด้านสังคม 

“ เจ้าเปนแต่เพียงเมียควรหรือมาหมินได้ ถ้าแม้นพีอยูใ่ นกรุงไกรเหมือนแต่ก่อนเก่า หากว่าเจ้าทําเช่นนี 


กายของมัทรีก็จะขาดสะบันลงทันตาด้วยพระกรเบืองขวาของอาตมานีแล้วแล ”  

ในวรรคนีแสดงให้เห็นถึงค่านิยมของสังคมไทย ในสมัยโบราณทีว่า ภรรยาเปนทรัพย์สมบัติของสามี 


สามีมส
ี ท
ิ ธิเหนือภรรยาทุกประการ ถ้าสามีเปนกษัตริย์ อํานาจนันก็มากขึน  

คุณค่าด้านวรรณศิลป 

การเล่นเสียง 

14
การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะ เช่น 

“ พระพายรําเพยพัดมาฉิวเฉือย เรไรระรีเรือยร้องอยูห
่ ริงๆ ” 

การเล่นเสียงสัมผัสพยัญชนะเกิดจากการใช้พยัญชนะเสียงเดียวกันมาต่อๆกัน หลายๆคํา จากในวรรค


ข้างบนเราสามารถเห็นได้ว่า “พระ” “พาย” “เพย” “พัด” นันสัมผัสกันด้วยพยัญชนะ พ.พาน และเช่นเดียวกับ 
“เร” “ไร” “ระ” “รี” “เรือย” “ร้อง” “หริง” สัมผัสกันด้วยพยัญชนะ ร.เรือ 

การเล่นเสียงสัมผัสสระ เช่น 

“ นางก็ถึงวิสญ
ั ญีสลบลงตรงหน้าฉาน ปานประหนึงว่าพุม
่ ฉัตรทองอันต้องสายอัสนีฟาดระเนน
เอนก็ล้มลงตรงหน้าพระทีนังเจ้า นันแล ” 

การเล่นเสียงสัมผัสสระทําให้เกิดเปนเสียงเสนาะไพเราะ จากในวรรคข้างบนเราสามารถเห็นได้ว่า “หน้า


” “ฉาน” “ปาน” นันสัมผัสกันด้วยสระอา และเช่นเดียวกับ “เนน” “เอน”ที สัมผัสกันด้วยสระเอ 

 
 
 
 
   

15
บรรณานุกรม 

 
อักษรเจริญทัศน์, บริษัท. หนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๕. กรุงเทพฯ : บริษัท ไทยร่ม
เกล้า จํากัด, พ.ศ.๒๕๕๑. ๑๗๒ หน้า. 
ศึกษาธิการ, กระทรวง. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน. หนังสือเรียน รายวิชาพืนฐาน ภาษา
ไทย วรรณคดีวิจักษ์ ชันมัธยมศึกษาปที ๕ กลุ่มสาระการเรียนรูภ
้ าษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค, 
พ.ศ. 2555. 131 
ณรงค์ศก
ั ดิ กาหลง. ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ มัทรี [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือวันที ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓. 
สืบค้นได้จาก 
https://sites.google.com/site/socialtanniisno2/baeb-thdsxb-reuxng-phra-wessandr-chadk  
 
 
   
 

16

You might also like