Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 130

International Training

สารบัญ

บทที่ 1 บทนํา
1.1 นิวแมติกสสามารถทําอะไรไดบาง 1
1.2 คุณสมบัติในการใชงานของลมอัด 2

บทที่ 2 ระบบนิวแมติกสพื้นฐาน
2.1 ระบบผลิตและสงจายลมอัด 4
2.2 ระบบที่ใชและสูญเสียลมอัด 5

บทที่ 3 ทฤษฎีลมอัด
3.1 หนวยวัด 6
3.2 ความดัน 9
3.3 คุณสมบัติของแกส 9
3.4 ความดันและการไหล 15

บทที่ 4 เครื่องอัดลมและการสงจายลมอัด
4.1 เครื่องอัดลม 18
4.2 อัตราสวนลมอัด 21
4.3 สวนประกอบของลมอัด 23

บทที่ 5 การปรับปรุงคุณภาพลมอัด
5.1 การกรอง 38
5.2 วาลวปรับลดความดัน 42
5.3 การหลอลื่นลมอัด 45
5.4 หนวย F.R.L. 46

บทที่ 6 วาลวเปลี่ยนทิศทางลม
6.1 หนาที่ของวาลว 47
6.2 การกําหนดจุดตอของวาลว 48
6.3 ชนิดและโครงสรางของวาลว 48
6.4 การสั่งงานวาลว 52
6.5 การติดตั้งวาลว 57
6.6 การหาขนาดของวาลว 58
6.7 วาลวสนับสนุนหรือวาลวชวย 64

i
International Training
บทที่ 7 อุปกรณทํางานในระบบนิวแมติกส
7.1 กระบอกลมแนวเสนตรง 67
7.2 อุปกรณทํางานในแนวหมุน 81
7.3 อุปกรณทํางานพิเศษ 85

บทที่ 8 สัญลักษณและวงจรนิวแมติกสพื้นฐาน
8.1 สวนประกอบ 90
8.2 สัญลักษณ 90
8.3 วงจรควบคุม 93

บทที่ 9 วงจรนิวแมติกสพื้นฐาน
9.1 หนาที่ขั้นตน 99
9.2 ฟงกชันเวลา 102
9.3 การควบคุมกระบอกลม 105
9.4 การตรวจหาตําแหนงของกระบอกลม 108
9.5 ลําดับการควบคุม 110

แบบฝกหัด 114

ii
บทที่ 1
บทนํา

ระบบพลังงานจากของเหลวนั้นเปนหนึ่งในการสงผานและการควบคุมพลังงานผานการใชงานเกี่ยวกับความดัน
ของเหลวหรือกาซ
ในระบบนิวแมติกสนี้ เปนผลมาจากการบีบอัดของอากาศ ซึ่งแนนอนมาจากชั้นบรรยากาศและการถูกทําใหลด
ปริมาณอากาศลงโดยการอัด ซึ่งนั่นถือเปนการเพิ่มแรงดันของมัน
อากาศที่ถูกบีบอัดเปนสวนใหญจะถูกใชใหทํางานโดยการกระทําบนลูกสูบหรือกังหัน
ในขณะที่ขอบเขตของอุตสาหกรรมนิวแมติกส จะถูกนํามาพิจารณาความสามารถในการใชงานพลังงานในหลายๆ
ดานของงานอุตสาหกรรม
การควบคุมการใชงานระบบนิวแมติกสที่ถูกตองนั้น ตองการความรูที่มีความเกี่ยวของกับสวนประกอบของระบบ
นิวแมติกสอยางเพียงพอ และในการปฏิบัติงานของระบบ เพื่อเปนการแนใจในการทํางานรวมกันของระบบอยางมี
ประสิทธิภาพ
หนังสือเลมนี้เปนการดําเนินการในเรื่องที่เกี่ยวกับสวนประกอบเทคโนโลยีในระบบการควบคุม ซึ่งจะบรรยายถึง
ชนิดและลักษณะเฉพาะในการออกแบบของเครื่องมือที่ใชเก็บอากาศ ผูกระทําการเปดและปดของวาลว วิธีการการเชื่อมตอ
ระหวางกัน และแนะนําเกี่ยวกับแผงวงจรนิวแมติกสพื้นฐาน.

1. 1 นิวแมติกสสามารถทําอะไรไดบาง ?
การใชงานสําหรับลมอัดไมมีขอบเขต ซึ่งจากการนําไปทดสอบแรงดันต่ําในลูกตามนุษย เปนการใชงานที่
หลากหลายของการทํางานของเครื่องจักหุนยนตในแนวเสนตรง และการหมุน เชน ในแรงดันสูงจะตองการใชในงาน
ประเภทลมไปกด และ การใชลมในการเจาะ

ซึ่งรายละเอียดสั้นๆ ขางลางนี้ เปนการนําระบบนิวแมติกสไปใชงาน และเปนการแสดงถึงการควบคุมการทํางาน ใน


อุตสาหกรรมตางๆ

• การทํางานของระบบวาลวลม, น้ํา, สารเคมี


• การทํางานของประตูที่มีน้ําหนักมากหรือรอน
• การนําไปเปดปดของไซโล การขึ้นรูปเหล็ก อุตสาหกรรมเคมี และเหมืองแร
• การตอกและกดคอนกรีต และ การลาดยางมะตอย
• การยกและเคลื่อนยายภายในเครื่องจักรที่ใชทําแมพิมพ
• การทํางานเก็บเกี่ยวผลผลิต และการทํางานที่เกี่ยวกับอุปกรณลากจูงอื่นๆ
• งานพนสี
• การจับและการเคลื่อนที่ในงานไมและเฟอรนิเจอร
• การยึดจับในจิ๊กและการยึดจับใหอยูกับที่ในเครื่องจักรกลและเครื่องมือของเครื่องจักร
• การใชกาวในการยึดจับ สําหรับซีลกันความรอน หรืองานเชื่อมพลาสติก

-1-
International Training
• การยึดจับสําหรับงานเชื่อมหรือการประสานเขาดวยกัน
• การทําการขึ้นรูปใหโคงงอ การวาดแบบ และการทําใหแบนราบ
• เครื่องจักรที่ใชในการเชื่อมจุด
• การทํางานย้ําหมุด
• การทํางานของใบมีดเครื่องตัด
• เครื่องจักรที่ใชบรรจุและปดขวด
• เครื่องขับและปอนออกในงานไม
• การทดสอบใหสามารถใชงานได
• การปอนของเครื่องมือกลในการทํางานงานหรือเครื่องมือ
• งานประกอบและการสงถายวัตถุบนสายพาน
• หุนยนตนิวแมติกส
• เครื่องมือวัดอัตโนมัติ
• การกระจายของอากาศและระบบสุญญากาศที่ใชในการยกแผนชิ้นงานบางๆ ขึ้น
• การเจาะยึดรากฟน
• และอื่นๆ

1.2 คุณสมบัตใิ นการใชงานของลมอัด


เหตุผลบางอยางที่สําคัญที่ทําใหมีการใชงานลมอัดอยางกวางขวางในอุตสาหกรรม คือ:
1.2.1 ความสามารถในการนําใชงาน โรงงานและอุตสาหกรรมเพาะปลูกหลายๆ แหง มีความตองการใชงาน
แรงดันลมในพื้นที่การทํางาน และ แรงดันที่ทําการเคลื่อนยายนั้นยังสามารถสนองตอบไดมากในตําแหนงที่อยูไกล
1.2.2 การจัดเก็บ งายตอการจัดเก็บในปริมาตรที่มากตามที่ตองการ

1.2.3 การออกแบบและการควบคุมเปนไปไดงาย สวนประกอบนิวแมติกสนั้นเปนการออกแบบอยาง


ธรรมดา และมีความสมบูรณในตัวอยางงายๆ ในการเตรียมการเพิ่มเติมและทําใหกลายเปนระบบอัตโนมัติ โดยเปรียบเทียบ
กับการควบคุมการทํางานอยางงาย

1.2.4 ทางเลือกของการเคลื่อนยาย เปนการเสนอทั้งสองทางในการเคลื่อนยาย ทั้ง ในแนวตรง และ มุม การ


หมุน ที่ซึ่งงาย และแสดงใหเห็นถึงความเร็วในการปฏิบัติงานอยางตอเนื่อง

1.2.5 การประหยัด ความสัมพันธของตนทุนที่ต่ําในการติดตั้งนั้น เนื่องมาจากราคาของสวนประกอบนั้น


พอประมาณ นั้นสงผลถึงการบํารุงรักษาที่ต่ําดวย เพราะสามารถใชงานไดยาวนานโดยไมตองมีการบริการ

1.2.6 ความเชื่อใจ สวนประกอบนิวแมติกสมีความเชื่อใจไดในผลของการใชงานระยะยาวของระบบสูง

-2-
International Training
1.2.7 ความทนทานตอสภาวะแวดลอม ไมมีผลกระทบขนาดใหญในอุณหภูมิสูง สกปรก และ การกัดกรอนจาก
สภาวะอากาศ ที่ซึ่งพบไดกับระบบอื่นๆ

1.2.8 ความปลอดภัยตอสิ่งแวดลอม มีความสะอาด เนื่องจากมีสมบัติเฉพาะในการกําจัดของเสียใหหมดไป จึง


สามารถติดตั้งในหองสะอาดไดโดยปกติ

1.2.9 ความปลอดภัย จะไมทําใหกลายเปนวัตถุไวไฟในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง และระบบจะไม


สงผลกระทบ จากการที่ใชกระแสไฟเกิน อันเนื่องมาจาก การหยุดหรือเกิดความผิดพลาดของตัวกระตุน ซึ่งตัวกระตุนของ
ระบบนิวแมติกสจะไมทําใหสินคาเกิดความรอนขึ้นได

-3-
International Training
บทที่ 2
ระบบนิวแมติกสพื้นฐาน

กระบอกสูบ อุปกรณทํางานในลักษณะของการหมุน มอเตอรลม เปนอุปกรณทํางานในระบบนิวแมติกสที่


นําไปใชในการจับยึด, เคลื่อนที่, ขึ้นรูป หรือเปนสวนประกอบในขั้นตอนตาง ๆ ของโปรเซสของเครื่องจักรการควบคุม
อุปกรณทํางานตางๆ เหลานี้จะตองอาศัยสวนประกอบอื่น ๆ ตัวอยางเชน ชุดบริการ, วาลวควบคุมทิศทางลม, วาลวควบคุม
ความเร็ว เปนตน พื้นฐานของระบบนิวแมติกสจะประกอบไปดวย 2 สวนที่สําคัญกลาวคือ ระบบที่ผลิต และสงจายอัดกับ
ระบบที่ใช และสูญเสียลมอัด

Production
System

Consumption
System
รูปที่ 2.1 ระบบนิวแมติกสพื้นฐาน

2.1 ระบบผลิต และสงจายลมอัด


จะมีสวนประกอบ และหลักการทํางานดังตอไปนี้
1. คอมเพรสเซอร เปนอุปกรณที่ทําหนาที่เอาอากาศ (ที่ความดันบรรยากาศ) มาอัดใหมีความดันสูงเพื่อจาย
ใหกับระบบนิวแมติกส โดยทั้งนี้เปนการเปลี่ยนพลังงานกลใหอยูในรูปพลังงานนิวแมติกส หรือพลังงาน
ลม
2. มอเตอรไฟฟา เปนอุปกรณที่ใหกําลังขับทางกลแกคอมเพรสเซอร โดยทําการ เปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปน
พลังงานกล
3. สวิทซความดัน เปนอุปกรณที่ในการควบคุมการทํางานของมอเตอรไฟฟา โดยการวัดคาความดันในถัง
เก็บลม โดยหากมีคาความสูงถึงคาที่ตั้งไวจะสั่งใหมอเตอรหยุดทํางาน และหากความดันต่ํากวาคาที่ตั้ง
ไวก็จะสั่งใหมอเตอรทํางานใหม
4. วาลวปองกันการไหลยอนกลับ ทําหนาที่ปลอยใหลมอัดจากคอมเพรสเซอร ไหลผานเขาไปเก็บในถัง
เก็บลม และปองกันการไหลยอนกลับของลมอัดเมื่อคอมเพรสเซอรหยุดการทํางาน

-4-
International Training
5. ถังเก็บลม ทําหนาที่เก็บลมอัดที่ไดจากคอมเพรสเซอรโดยขนาดจะขึ้นกับคอมเพรสเซอร ถังเก็บลมที่มี
ขนาดใหญ หรือมีปริมาตรมากจะสงผลใหคอมเพรสเซอรทํางานนาน
6. เกจวัดความดัน ใชสําหรับวัดความดันในถังเก็บลม
7. อุปกรณระบายน้ําอัตโนมัติ ทําหนาที่ระบายน้ําที่เกิดจากการกลั่นตัวภายในถังเก็บลมออกสูภายนอกโดย
อัตโนมัติ
8. วาลวนิรภัย ใชทําหนาที่ปลอยลมทิ้งในกรณีที่ความดันภายในถังเก็บลมมี สูงเกินไป
9. อุปกรณกําจัดความชื้นลมอัด ที่มีอุณหภูมิคอนขางสูง เมื่อทําใหอุณหภูมิลดต่ําลงจะทําใหความชื้นที่มีอยู
ในอากาศกลั่นตัวกลายเปนหยดน้ํา
10. อุปกรณกรองลม ในทอลมหลักตัวกรองลมจะตองมีความดันตกครอมนอย และสามารถดักจับน้ํามันได
หนาที่ของตัวกรองลมจะทําหนาที่จับฝุนละอองน้ํา และน้ํามัน

2.2 ระบบที่ใช และสูญเสียลมอัด


ประกอบดวยสวนที่สําคัญดังตอไปนี้
11. ทอสงจายลมจากทอเมน โดยทั่วไปแลวกอนแยกออกจากทอเมนทอที่นําลม อัดไปใชงานตอออกจาก
ดานบนดังรูป 2.1 เพื่อเปนการปองกันน้ําที่จะเขาไปในระบบ
12. ตัวระบายน้ําอัตโนมัติ ที่ปลายทอลมที่สงจายไปยังจุดตาง ๆ ควรติดตั้งตัวระบายน้ําอัตโนมัติ
13. ชุดบริการ เปนอุปกรณที่ชวยในการทําความสะอาด, ปรับแตงคาความดันรวมทั้งบางกรณีอาจมีการผสม
น้ํามันเขาไปในลมอัดดวย เพื่อยืดอายุการใชงานของอุปกรณนิวแมติกส
14. วาลวควบคุมทิศทางของลมอัด ทําหนาที่ควบคุมทิศทางลมเพื่อควบคุมการเคลื่อนที่เขาออกของกระบอก
สูบ หรืออุปกรณทํางาน
15. อุปกรณทํางาน ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานในรูปของความดันลมใหเปนงานทางกล ตัวอยางเชน กระบอก
สูบแบบตาง ๆ, มอเตอรลม
16. อุปกรณควบคุมความเร็ว ใชสําหรับควบคุมความเร็วในการเคลื่อนที่ของอุปกรณทํางาน

และจากที่กลาวมาในขางตนเราจะศึกษารายละเอียดของอุปกรณตาง ๆ ที่ใชในระบบนิวแมติกสในหัวขอตอ ๆ ไป

-5-
International Training
บทที่ 3
ทฤษฎีลมอัด

3.1 หนวยวัด
ในทางปฏิบัติ และการประยุกตใชงานระบบตาง ๆ มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการวัดคาตาง ๆ ออกมา ไมวา
จะเปนคาทางฟสิกส เชน ความรอน แสง สี เสียง ความเร็ว ความเรง คาทางกายภาพ เชน ระยะทาง น้ําหนัก หนวยวัดใน
ระบบสากลนิยม(SI)ถูกใชกันอยางกวางขวางทั่วโลก เมื่อป ค.ศ. 1960

Quantity Symbol SI Unit Name Remarks


1. BASIC UNITS :
Mass m kg kilogram
Length s m metre
Time t s second
Temperature, absolute T K Kelvin 0 oC = 273.16 K
Temperature (Celsius) t, θ o
C Degree Celsius
2. COMPOSED UNITS :
Radius r m metre
Angle a,b,g,d,e,f 1 Radian
Area, Section A,S m2 square metre
Volume V m3 cubic metre
Speed (velocity) V m s-1 metre per second
Angular Speed w s-1 Radians per second
Acceleration a m s-2 metre per sec. per sec.
Inertia J m2 kg
Force F N Newton = kg . m . s-2
Weight G N Earth acceleration 9.80665 m . s-2
Impulse → Ns Newton Second
I
Work W J Joule = Newton metre =kg . m2 . s-2
Potential energy E,W J Joule
Kinetic energy E,W J Joule 0.5. m . v2
Torque M J Joule
Power P W Watt =J . s-1

-6-
International Training

Quantity Symbol SI Unit Name Remarks


3. RELATED TO COMPRESSED AIR :
Pressure p Pa Pascal =N m-2
Standard volume Vn m3n Standard Cubic Metre at q = 0oC and p
=100000 Pa
3 -1
Volume flow Q mns Standard Cubic Metre
per second
Energy, Work E, W N. m Joule = Pa . m3
Power P W Watt = p.Q =N . m . s-1

ตารางที่ 3.1 SI UNIT ที่ใชในระบบนิวแมติกส

Power Preposition Symbol Power Preposition Symbol


10-1 deci d 101 Deka da
10-2 centi c 102 Hecto h
103 milli M 103 Kilo k
10-6 micro µ 104 Mega M

ตารางที่ 3.2 การเปลี่ยนหนวยใหมากขึ้น หรือนอยลงโดยใชสิบยกกําลัง

-7-
International Training
ตารางที่ไมใชหนวยวัดเมตริก
ตารางดานลางตอไปนี้เปนการแสดงการเปรียบเทียบระหวาง SI UNIT กับหนวยวัดอังกฤษ

Magnitude Metric Unit (m) English (e) Factor m ⇒ e Factor e ⇒ m


Mass kg pound 2.205 0.4535
g ounce 0.03527 28.3527
Length m foot 3.281 0.3048
m yard 1.094 0.914
mm inch 0.03937 25.4
o o
Temperature C F 1.8 o C+32 (o F-32) /1.8
2
Area, Section m sq.ft 10.76 0.0929
2
cm sq.inch 0.155 6.4516
3
Volume m cu.yard 1.308 0.7645
3
cm cu.inch 0.06102 16.388
3
dm cu.ft 0.03531 28.32
3
Volume Flow m n/min scfm 35.31 0.02832
dm3n/min (1/min) scfm 0.03531 28.32
Force N pound force (1bf) 0.2248 4.4484
Pressure bar 1bf./sq.inch (psi) 14.5 0.06895

ตารางที่ 3.3 ตารางหนวยวัดที่ไมใชเมตริกซ

-8-
International Training
3.2 ความดัน
หนวยวัดความดันในระบบ SI UNIT จะใชเปน Pascal (Pa)
1 Pa = 1N/m2
100,000 Pa = 100 kPa = 1 bar
หรือหนวยวัด SI UNIT แบบเกาจะใชเปน kgf / cm2

รูปที่ 3.1 การแสดงคาความดัน


คาความดันในระบบนิวแมติกสจะมีคาสูงกวาความดันของบรรยากาศ โดยในทางปฏิบัติจะใชเปนความดันเกจ
โดยความดันเกจมีคาเทากับความดันสมบูรณ (Absolute Pressure) บวกดวยความดันบรรยากาศ (โดยมีคาประมาณเทากับ
หนึ่ง และหากความดันมีคาต่ํากวาบรรยากาศจะถูกเรียกวา ความดันสุญญากาศ (Vacuum)

3.3 คุณสมบัตขิ องแกส


3.3.1 การเปลี่ยนแปลงแบบไอโซเทอรมิกส (กฎของบอยล (Boyles Law))
“ เมื่อกําหนดใหอุณหภูมิมีคาคงที่ ความดันทําใหน้ําหนักของมวลของกาซเปนสวนกลับตรงกันขามกับปริมาตร
โดยใหสัญลักษณเปน ”
p . V = คาคงที่

รูปที่ 3.2 แสดงหลักการกฎของบอยล

-9-
International Training
ตัวอยาง ถาปริมาตร V1 = 1 m3 ที่ความดันสมบูรณ 101325 Pa(1 bar ABS) ใหหาคาความดันเมื่อ V2 = 0.5 m3 ,
V3 = 0.2 m3
จาก p1.V1 = p2.V2 ดังนั้น p2 = p1.V1
V2
.
P2 = 101.325 kPa 1 m3 = 202.650 kPa(2 bar ABS)
0.5 m3
p3 = (p1 . V1) / V3 = (101.325 kPa . 1 m3) / 0.2 m3 P T2
= 500 kPa(5 bar ABS)
โดยอัตราสวน V1 / V2 เปน “ อัตราสวนการอัด” cr
ความดันเกจมีคา 4 บาร, T1
v1 /V2 = (4+1.1013) / 1.013 = 4.95
V
รูปที่ 3.3 กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง
ความดันและปริมาตร (PV Diagram)

p 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
cr 0.987 1.987 2.974 3.961 4.948 5.935 6.922 7.908 8.895 9.882
ตาราง 3.4 อัตราสวนการอัด
อางอิง : ความแตกตางระหวางการลดปริมาตรของอากาศลงครึ่งหนึ่ง 1 : 2.026 และ อัตราสวนความดันที่เกจเทากับ 1 บาร(2 ความดันสัมบูรณ),
1 : 1.987! เปนทางทฤษฎี ยังไมไดนําไปปรับใหเขากันกับเมื่อเราใชเกจวัดความดัน +1 บาร!

ในบางสวนหากนําทฤษฎีของบอยลไปใชในนิวแมติกสอาจทําใหผิดพลาดได ดังนั้นในเครื่องมือลมก็ดี เชนใน


กระบอกสูบมักไมมีการเปลี่ยนแปลงในลักษณะของความรอน(ไอโซเทอรมิกส) เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่ไมมีความ
รอนมาเกี่ยวของ

- 10 -
International Training
3.3.2 การเปลี่ยนแปลงทางเทอรโมไดนามิกสที่ใหความดันเทากับศูนย มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการความ
รอนในระบบ(Isobaric Change)
กฎของชาลส (Charles Law)
ที่ความดันคงที่ มวลของกาซจะเพิ่มขึ้น 1/273 ของปริมาตรทุกๆ องศาเซลเซียสของอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น

กฎของเกยลูแซด (Law of Gay Lussac)

V / T = คาคงที่ ดังนั้น : V1 = T1 และ V2 = V1 T2


V 2 T2 T1 P1
V P2
ตัวอยาง : V1 = 100, T1 = 0 oC, T2 = 20 oC, V2 = ?
เมื่อตองการใหอุณหภูมิอยูในหนวยของคาสัมบูรณ (K) จึงตองบวกดวย
273
จาก V1 / V2 = T1 / T2 ดังนั้น V2 = V1 . T2 / T1

T
V2 = (100) . (293) / (273) = 107.326
รูปที่ 3.4 กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง
ปริมาตร และอุณหภูมิ (VT Diagram)

3.3.3 การเปลี่ยนแปลงทางเทอรโมไดนามิกสเมื่อกําหนดปริมาตรเทากับศูนยเมื่อไมมีความดัน(Isochoric
Change)
เมื่อกําหนดใหปริมาตรมีคาคงที่ ความดันเปนสวนที่แปรผันกับอุณหภูมิ
การเปลี่ยนแปลงเมื่อไมมีความดันมาเกี่ยวของนี้มาจากภาษากรีก V1 V2
(cwra)อานวา ครอรา สําหรับชองวางหรือบริเวณ สวน ไอโซแปลวาเทากัน
ดังสมการ P1 . P2 / (T1 . T2) and P2 = P1 (T2 / T1)
P
เมื่อ T เปนอุณหภูมิสัมบูรณหนวยเปนเควิน (Kelvin)
ความสัมพันดังกลาวเปนการรวมกันในรูปของสมการแกสทั่วไป :
(P1 . V1) / T1 = (P2 . V2) / T2 = คาคงที่ T

รูปที่ 3.5 กราฟแสดงความสัมพันธระหวาง


ความดัน และอุณหภูมิ(pT Diagram)

ทฤษฎีนี้เปนสวนหนึ่งจากพื้นฐานในการคํานวณออกแบบหรือเลือกอุปกรณนิวแมติกส เมื่ออุณหภูมิมีการ
เปลี่ยนแปลง

- 11 -
International Training
3.3.4 กระบวนการอะเดียแบติก(ไอเซนโทปก)
กระบวนการอะเดียแบติก ในทางอุณหพลศาสตรคือกระบวนการที่ไมมีการถายเทความรอนเขาและออกจากระบบ
กระบวนการอะเดียแบติกที่ผันกลับไดจะเรียกวากระบวนการไอเซนโทรปก
กระบวนการที่จะเรียกวาเปนกระบวนการอะเดียแบติกนั้นจะเกิดขึ้นไดเมื่อการเปลี่ยนแปลงนั้นรวดเร็วจนความรอนไม
สามารถถายเทระหวางระบบกับสิ่งแวดลอมไดทัน กระบวนการอะเดียแบติกกับกระบวนการไอโซเทอรมอล คือ
กระบวนการไอโซเทอรมอลจะเกิดขึ้นไดเมื่อการ
เปลี่ยนแปลงเกิดไดชามาจนความรอนเปลี่ยนแปลงไปเปน
พลังงานในรูปอื่นโดยการทํางานของระบบกระบวนการ
อะเดีบแบติกของแกสอุดมคติสามารถเขียนเปนสมการไดคือ P . V = C (คาคงที่)
P
p . Vk = C (คาคงที่)
p . Vk = C (คาคงที่)

V
รูปที่ 3.6 กระบวนการที่ไมมีการถายเทความรอน
ก. ปริมาตรมาตรฐาน
ความสัมพันธระหวางปริมาตร, ความดัน และอุณหภูมิ มีความจําเปนที่ตองอางอิงขอมูลทั้งหมดบนปริมาตรของ
อากาศ 1 ลูกบาศกเมตร(mn3) มีน้ําหนัก 1.293 กิโลกรัม ที่อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส และมีความดันสัมบูรณที่ 760 mmHg
หรือ 101325 Pa
ข. การไหล
หนวยวัดพื้นฐานของปริมาณการไหล Q คือ m3n/S ซึ่งทางดานนิวแมติกสจะใชเปน l/min หรือกรณีที่เปนหนวยวัด
แบบอังกฤษจะใชเปนลูกบาศกฟุตตอนาที : SCFM (Standard Cubic Foot Per Minutes)
ค. สมการของเบอรนัวลี่ (Bernoulli’s Equation)
เบอรนัวลี่ไดกลาววา คุณสมบัติของของเหลวที่ไหลในแนวนอนผานทอซึ่งมีขนาดที่ตางกัน ผลรวมของพลังงานที่
จุดที่ 1 และ 2 จะมีคาเทากัน
หรือ P1 + (1/2) ρ ⋅ v12 = P2 + (1/2) ρ ⋅ v22
สมการนี้กลาวถึงการนําไปใชกับกาซที่ความเร็วเกินกวา 330 เมตรตอวินาที โดยประมาณ
การใชงานสมการนี้เปนทอเวนจุรี่และเปนคาชดเชยการไหลในความดันปกติ

รูปที่ 3.7 แสดงกฎของเบอรนัวลี่

- 12 -
International Training
จากสมการนี้สามารถนํามาประยุกตใชกับแกสที่มีอัตราการไหลไมเกิน 330 m/S โดยประมาณตัวอยางการ
ประยุกตใชงาน เชน Venturi Tube และการไหลชดเชยในอุปกรณปรับความดัน
ง. ความชื้นอากาศ (Air Humidity)
อากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปแลวจะมีสวนผสมของน้ํา หรือไอน้ําอยูดวยเสมอ โดยคิดออกเปนเปอรเซ็นตจะมี
จํานวนมาก หรือนอยนั้นขึ้นอยูกับอุณหภูมิ และความชื้น เมื่ออากาศเย็นจนถึงจุดอิ่มตัว (Saturated) หรืออาจเรียกวาจุด DEW
Point ถาใหความเย็นตอไปอีกความชื้นในอากาศจะกลั่นตัวเปนหยดน้ํา

ตารางดานลางตอไปนี้จะเปนการแสดงปริมาณของน้ําในอากาศที่อุณหภูมิตาง ๆ จาก –40 oC ถึง +40 oC

Temperature oC 0 5 10 15 20 25 30 35 40
g/m3n * (Standard) 4.98 6.99 9.86 13.76 18.99 25.94 35.12 47.19 63.03
g/m3 (Atmospheric) 4.98 6.86 9.51 13.04 17.69 23.76 31.64 41.83 54.108
Temperature oC 0 -5 -10 -15 -20 -25 -30 -35 -40
g/m3n * (Standard) 4.98 3.36 2.28 1.52 1 0.64 0.4 0.25 0.15
g/m3 (Atmospheric) 4.98 3.42 2.37 1.61 1.08 0.7 0.45 0.29 0.18

ตารางที่ 3.5 อากาศอิ่มตัวเปนน้ํา(จุดน้ําคาง)

จ. ความชื้นสัมพัทธ (Relative Humidity)


ความชื้นสัมพัทธสามารถอธิบายความหมายไดจากสมการตอไปนี้

Relative humidity r.h. = actual water content . 100%


saturation quantity (dew point)

ตัวอยาง 1 อุณหภูมิ 25oC, r.h 65% อยากทราบวาจะมีน้ําอยูปริมาณเทาไร


ที่ Dew Point 25oC = 24 g/m3 ⋅ 0.65 = 15.69 g/m

- 13 -
International Training
ตัวอยาง 2 อากาศ 10 m3 ที่อุณหภูมิ 15oC และความชื้นสัมพัทธ 65% ถูกอัดใหมีความกดดันเปน 6 บาร (โดยวัดดวย
เกจ) อุณหภูมิสูงขึ้นเปน 25oC อยากทราบวาจะกลั่นตัวออกเปนปริมาณเทาใด
จากตารางที่ 3.5 ที่อุณหภูมิ 15oC อากาศ 10 m3 จะมีน้ําเปน 13.04 g/m ⋅10 m3 = 130.4 g. และความชื้นสัมพัทธ 65% จะมีน้ํา
130.4 g ⋅ 065 = 84.9 g (a) ปริมาตรจะลดลงเมื่อถูกอัดเปน 6 บาร

p 1 . V1 = p2 . . V2 ดังนั้น
V2 = p1 . V1 = 1.013 bar . 10 m3
p2 6+1.013
= 1.44 m3
ที่อุณหภูมิ 25 oC และปริมาตร 1.44 m3 จะมีน้ํา 23.76 g ⋅1.44 m3
= 34.2 g (b)
ดังนั้นน้ําที่จะระบายออกสูภายนอกมีคาเปน 84.9 - 34.2 = 50.6 g.
เมตร)Absolute Humidity (g H2O/m3)
ความชื้นสัมพัทธ (กรัมน้ําตอลูกบาศก

รูปที่ 3.8 ความชื้นสัมพัทธ(Absolute Humidity Diagram)

- 14 -
International Training
3.4 ความดันและการไหล
สิ่งที่มีความสําคัญและความสัมพันธกับนิวแมติกสก็คือ ความดันและการไหล การไหลจากจุดหนึ่งไปสูอีกจุดหนึ่ง
ความดันจะไมเทากัน เนื่องจากเกิดความดันตกครอมขึ้นซึ่งจะอยูกับคาตาง ๆ ดังตอไปนี้
• ความดัน ณ จุดเริ่มตน
• ปริมาณการไหล
• ความตานทานการไหลของทอทาง และจุดตอ

การตานทานการไหลของอากาศ จะไมมีหนวยในระบบไฟฟาความตานทานจะมีหนวยวัดเปนโอหม ในระบบนิว


แมติกสจะใชลักษณะที่ตรงขามกับคาความตานทาน คือจะใชสวนที่ลมไหลผาน (S, Kv or CV Factory) โดยที่สวนที่ลมไหล
ผานสวน S จะมีหนวยเปนตารางมิลลิเมตร แทนดวยพื้นที่ของรูกับความสัมพันธระหวางความดันกับขอจํากัดของการไหลนี้

รูปที่ 3.9 Flow Section Diagram

จากรูป 3.9 เปนการแสดงความสัมพันธระหวางความดัน และการไหลของ Orifice ที่มีพื้นที่ 1 ตร.มม. พื้นที่ใน


สวนที่แรงเงาสวนนี้จะเรียกวา Sonic Flow Speed

- 15 -
International Training
ตัวอยางการใชไดอะแกรม
ตัวอยางที่ 1 ความดันดานอินพุท เปน 6 บาร, ความดันตกครอมเปน 1 บาร ดังนั้นความดันดานเอาทพุท มีคา = 5 บาร สังเกต
เสนความดัน 6 บาร ที่ตัดกับเสนในแนวนอนที่ 5 บาร แลวกําหนดจุดลากเสนตรงในแนวดิ่งจะไดคาประมาณ 55 ลิตร/นาที
หรือมีคา = 54.44 ลิตร/นาที จากการคํานวณซึ่งจะไดกลาวถึงในลําดับตอไป ปริมาณการไหลของลมที่ความดันอินพุท และ
เอาทพุทนี้ถูกเรียกวาเปนปริมาณการไหลมาตรฐาน (Standard Volume Flow On)
ปริมาณการไหลที่ 54.44 l/min นี้สามารถนําไปประยุกตใชกับอุปกรณตาง ๆ เชน วาลว, ขอตอ, ทอ ที่มีคา S เทากับ
1 mm2 หรือ อาจเปนคาอื่นก็ไดเชน S = 4.5 mm2 ดังนั้นอัตราการไหลมีคา 4.5 ⋅ 54.44 = 245 l/min

ตัวอยางที่ 2 ทออันหนึ่งมีคา S เทากับ 12 mm2 ความดันที่ปอนเขาเปน 7 บาร ปริมาณการไหลของลมเปน 600 ลิตร/นาที ให
หาความดันดานเอาทพุท
ที่อัตราการไหล 600 l/min ผาน S ที่ 12 mm2
ดังนั้นถา S = 1 อัตราการไหลจะมีคา = 600/12 = 50 l/min
จากแผนภาพไดอะแกรมในรูปที่ 3.7 ที่ความดัน 7 บาร และอัตราการไหลเปน 50 l/min ดังนั้นจะไดความ
ดันดานเอาทพุท = 6.3 บาร

สูตร :
หากตองการคามากขึ้นจากไดอะแกรม เราสามารถคํานวณการไหลจากสองสูตรขางลางนี้ โดยดูจากไดอะแกรมรูป
3.9 โดยที่ตองทราบความแตกตางของการไหลเพื่อใหทราบถึงชวงการไหลที่ผานจุดที่มีความเร็วของเสียงกับเร็วของอากาศ
ไหลผานชองเล็กๆ ทําใหเกิดเสียง (Sonic: ความเร็วในการไหลสูง และ Subsonic:ความเร็วในการไหลต่ํา ) ที่เกิดขึ้นในการ
ไหลรูปแบบตางๆ ในชั่วขณะที่เกิดการไหลเมื่อสัดสวนความดันทางเขาและความดันขาออกนอยกวาหรือเทากับ 1.896 ดังนี้

ความเร็วในการไหลสูง(Sonic flow) = p1 + 1.013 – 1.896 • (p2 + 1.013)


ความเร็วในการไหลต่ํา(Subsonic flow) = p1 + 1.0013 – 1.896 • (p2 + 1.013)

ปริมาณการไหลสําหรับการไหลแบบ Subsonic and Sonic

Subsonic Q = 22.2 • S • (p2 + 1.013) x (p1- p2) (l/min)

Sonic Q = 11.1 • S • (p1 + 1.013) (l/min)

เมื่อ S หนวยเปนตาราง ม.ม. และ p เปนบาร: 22.2 เปนคาคงที่ในสมการ (dm3 / 60 Ns’) เปนลิตรตอ 60 วินาที ตอ
แรงที่กระทําตอความดัน
อางอิง : ระบบนิวแมติกสไมสามารถทํางานไดต่ํากวาการไหลแบบโซนิก เมื่อปอนความดันเชน 6 บาร และใหออกนอยกวา
2.7 บาร

- 16 -
International Training
ตวอยาง เราสามารคํานวณอัตราการไหล โดยที่กําหนดดังตัวอยาง 2 ใหความดันขาเขา 7 บาร ผลรวมของการไหลเทากับ 12
ม.ม.2 สําหรับวาลและทอ เราคํานวณความดันใชงานที่ 6.3 บาร

Q = 22.2 x 12 x 7.313 x 0.7 = 602.74 l/min

สวนที่แสดงถึงความละเอียดของไดอะแกรมเปนเพียงสวนหนึ่งสําหรับนิวแมติกสใชกัน

- 17 -
International Training
บทที่ 4
เครื่องอัดลม และการสงจายลมอัด
Air Compression and Distribution

4.1 เครื่องอัดลม (Compressors)


คอมเพรสเซอร จะทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานกลใหเปนพลังงานลมซึ่งมีความดันสูงคอมเพรส-เซอรสามารถแบง
ออกไดเปน 2 กลุมใหญดวยกัน คือคอมเพรสเซอรที่ทํางานในอีกขณะการเคลื่อนที่ที่เปนแนวตรงกับคอมเพรสเซอรที่ทํางาน
ในลักษณะของการหมุน

Displacement Compressors

Reciprocating Rotary

Piston Diaphragm Vane Screw

รูปที่ 4.1 ชนิดของคอมเพรสเซอร

4.1.1. เครื่องอัดลมที่ทํางานในลักษณะการเคลื่อนที่เปนแนวตรง(Reciprocating Compressors)


ก. คอมเพรสเซอรชนิดลูกสูบแบบอัดชั้นเดียว (Single Stage Piston Compressor)
หลักการทํางาน :ในขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลงจะดูดเอาอากาศจากภายนอกเขามาทางลิ้นดูด สวนลิ้นอัดจะถูกปด
และในขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นก็จะอัดใหอากาศมีความดันสูงขึ้น เนื่องจากปริมาตรนอยลงเปนผลใหในลิ้นอัดปดปลอยให
อากาศซึ่งมีความดันสูงออกสูภายนอก สวนลิ้นดูดจะถูกปดคอมเพรสเซอรชนิดนี้โดยทั่วไปจะใชกับระบบที่ตองการความ
ดันอยูในชวง 3-7 บาร

รูปที่ 4.2 แสดงการทํางานของคอมเพรสเซอรชนิดลูกสูบแบบอัดชั้นเดียว

- 18 -
International Training
ข. เครื่องอัดลมชนิดลูกสูบอัดสองชั้น (Two Stage Piston Compressor)
ในกรณีที่ใชคอมเพรสเซอรแบบอัดชั้นเดียวแลว ตองการความดันที่สูงกวา 6 บาร จะสงผลใหเกิดความรอนขึ้นซึ่ง
เปนผลตอเนื่องใหประสิทธิภาพลดลง ดวยเหตุนี้ในอุตสาหกรรมจึงหันมาใชคอมเพรสเซอรแบบอัดสองชั้นแทน โดยการนํา
อากาศเขามาอัดสองชั้นเพื่อใหไดความดันที่ตองการ ถาเราตองการความดันที่ 7 บาร จะทําการอัดในขั้นตนประมาณ 3 บาร
หลังจากนั้นมีการระบายความรอนกอนทําการอัดในจังหวะที่สองตอที่ 7 บาร
ทางเขาลมอัดในจังหวะสูบที่สองที่มีการลดอุณหภูมิกอนผานครีบระบายความรอน เปนผลใหประสิทธิภาพดีกวา
แบบจังหวะเดียว ซึ่งลมอัดที่ไดอุณหภูมิอาจจะสูงถึง 120 °C

รูปที่ 4.3 แสดงหลักการทํางานของคอมเพรสเซอรชนิดลูกสูบอัดสองชั้น

ค. เครื่องอัดลมชนิดลูกสูบไดอะแฟรม (Diaphragm Compressor)


คอมเพรสเซอรแบบนี้จะสรางความดันอยูในชวง 3-5 บาร อากาศที่อัดออกมาปราศจากน้ํามัน สวนมากจะใชใน
อุตสาหกรรมอาหาร และยา รุนเล็ก ๆ สามารถใชกับมอเตอรขนาดเล็ก 1 กิโลวัตต(kW) ซึ่งนําไปใชกับเครื่องอัดในการพนสี
เปนตน

รูปที่ 4.4 แสดงหลักการทํางานคอมเพรสเซอรแบบไดอะแฟรม

- 19 -
International Training
4.1.2. เครื่องอัดลมที่ทํางานในลักษณะของการหมุนตามเสนรอบวง (Rotary Compressors)
ก. เครื่องอัดลมแบบใบพัดหมุน (Rotary Sliding Vane Compressor)
คอมเพรสเซอรแบบนี้จะดูดอากาศเขามาทางดานเขา โดยอาศัยใบพัดซึ่งมีลักษณะคลายใบมีดแลวลดปริมาตรให
นอยลงเพื่ออากาศจะไดมีความดันสูงขึ้นแลวสงออกไปใชงาน หรือเขาถังคอมเพรสเซอรแบบนี้จะใชน้ํามันเปนตัวหลอลื่น
เพื่อลดความรอนในขณะทํางาน และเปนแบบที่นิยมใช

รูปที่ 4.5 คอมเพรสเซอรแบบใบพัดหมุน

ข. เครื่องอัดลมแบบสกรู (Screw Compressor)


หลักการทํางานของคอมเพรสเซอรแบบนี้จะอาศัยตัวหมุน 2 ตัว ซึ่งทําเปนเกลียวมีทิศทางตรงกันขามระหวาง
เกลียวทั้งสอง จะมีชองวางสําหรับดูดอากาศเขามาแลวอัดใหมีปริมาตรนอยลงเพื่อเพิ่มความดันแลวสงออกภายนอก
คอมเพรสเซอรแบบนี้จะใหอัตราการไหลของลมอัดสูงถึง 400 m3/min ที่ความดันสูงถึง 10 บาร ซึ่งไดลมอัดมากกวาแบบ
ใบพัดหมุน และเปนแบบที่นิยมนําไปใช

รูปที่ 4.6 หลักการทํางานของคอมเพรสเซอรแบบสกรู

- 20 -
International Training
4.2 อัตราสวนลมอัด(Compressor Rating)
ความสามารถของคอมเพรสเซอร หรือสมรรถภาพทางดานเอาทพุทขึ้นอยูกับปริมาตรการไหล ซึ่งอาจจะอยูใน
หนวยของ m3/min, m3/s, dm3/min, dm3/s หรือ I/min ปริมาตรในการดูดในเชิงทฤษฎีของคอมเพรสเซอรแบบลูกสูบสามารถ
หาคาไดจากสมการดังตอไปนี้

Q = A . L . n . N (I/min)
เมื่อ Q = ปริมาตรการดูด (I/min)
A = พื้นที่หนาตัดของลูกสูบ (dm2)
L = ระยะชัก (dm)
n = จํานวนลูกสูบ
N = ความเร็วรอบ (rpm)

ในกรณีที่เปนคอมเพรสเซอรแบบอัดสองชิ้นสามารถใชสมการเดียวกันได แตตองพิจารณาลูกสูบในแตละชั้น
ความเปนจริงปริมาตรที่ดูดเขามาไมสามารถที่จัดสงผานออกไปภายนอกทั้งหมดไดเนื่องมาจากสวนที่เรียกวา
Dead Volume และนอกจากนี้ความรอนก็มีผลตอปริมาตรดวย
ความรอนที่เกิดขึ้นระหวางการทํางานของคอมเพรสเซอร จะมีอุณหภูมิที่สูง ดังนั้นปริมาตรที่เพิ่มขึ้น สามารถทํา
ใหอุณหภูมิลดลงไดหากอุณหภูมิของอากาศที่รอบนอกกอนดูดเขามีความเย็น(จากกฎของชารล)

4.2.1 ประสิทธิภาพการไหล
อัตราสวนระหวางลมกอนอัดสวนลมอัด เปนสัดสวนของประสิทธิภาพการไหล และจะเปลี่ยนแปลงโดยขนาด
และชนิดของคอมเพรสเซอร จํานวนจัวหวะและความดันสุดทาย ประสิทธิภาพการไหลในจังหวะที่สองของคอมเพรสเซอร
จะนอยกวาในจัวหวะแรกซึ่งทั้งสองจัวหวะในการอัดมีการเกิดปริมาตรที่ไมสามารถนําไปใชได

4.2.2 ความรอนและประสิทธิภาพโดยรวม
นอกจากการสุญเสียดังกลาวแลว จะพบวาความรอนที่เกิดขึ้นก็จะทําใหประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องอัดอากาศ
ลดลง การลดความสูญเสียดังกลาวที่แสดงจากอัตราสวนลมอัดและโหลด เครื่องอัดอากาศทํางานเต็มประสิทธิภาพ จะทําให
เกิดความรอนสะสมและการสูยเสียประสิทธิภาพ จากเครื่องอัดอากาศสองจังหวะอัตราการอัดตอจังหวะมีนอย และลมอัดใน
สูบแรกจะไมมาก สวนการทําใหลมอัดเย็นลงโดยการใชระบบอินเตอรคูลเลอรกอนทําการอัดเพื่อใหไดความดันสุดทายใน
จังหวะที่สอง

- 21 -
International Training
ตัวอยาง : ถาความดันบรรกาศ นํามาทําการอัดในจังหวะแรกในสูบที่หนึ่ง กลาวคือการอัดในสวนปริมาตรที่สาม ความดัน
สัมบูรณที่ขาออกที่ 3 บาร ความรอนไดเกิดขึ้นทําใหประสิทธิภาพการอัดลดต่ําลง การอัดลมดังกลาวในชวงที่สอง ตองผาน
การทําการลดอุณหภูมิลมลงกอน ที่จะไดปริมาตรลมอัดในชวงที่สาม ที่ความดันสุดทายมีคา 9 bar abs
จากไดอะแกรมรูป 4.7 การอัดและประสิทธิภาพโดยรวมในจัวหวะที่หนึ่งและที่สองของเครื่องอัดอากาศกอนความ
ดันเปลี่ยนแปลง
สําหรับความดันสุดทายที่ต่ํา จัวหวะการอัดในจังหวะแรกจะดี และก็ใหประสิทธิภาพในการไหลดีกวา และถาหาก
เราทําการเพิ่มความดันสุดทานใหมากขึ้น จะเปนผลทําใหเกิดความรอนที่ทําใหเกิดการลดประสิทธิภาพลง และสวนสําคัญ
สําหรับเครื่องอัดที่ใชงานจังหวะที่สอง จะทําใหเกิดความรอนตามมา

รูป 4.7 ไดอะแกรมประสิทธิภาพโดยรวม

4.2.3 ความตองการปริมาณพลังงาน
การวัดประสิทธิภาพโดยรวมและเราสามารถที่จะใชประมาณการตนทุนคาใชจายเครื่องผลิตลมอัดดังรูป แลวยัง
สามารถที่จะสรุปไดวาที่ 1 kW ของคากระแสไฟฟาสําหรับผลิตลมอัด 120-150 ลิตรตอนาที = 0.12 ถึง 0.15 mn3 / min / kW
ที่ความดัน 7 บาร
หมายเหตุ จากรูปเปนการประมาณซึ่งขึ้นอยูกับชนิดและขนาดของเครื่องกําเนิดลมอัด

- 22 -
International Training
4.3 สวนประกอบสําหรับลมอัด(Compressor Accessories)
4.3.1 ถังเก็บลม (Air Receiver)
ลมอัดที่ออกมาจากคอมเพรสเซอรจะถูกเก็บไวในถังเก็บลมที่ทําจากแผนเหล็ก ซึ่งนํามาเชื่อมตอกัน โดยอาจจะ
ติดตั้งไวในแนวนอน หรือแนวตั้งก็ได จุดประสงคหลักของถังเก็บลมก็คือ เพื่อเปนการลดภาระในการทํางานของ
คอมเพรสเซอร นอกจากนี้ยังอาจจะถือวาเปน After Cooler อีกรูปแบบหนึ่งก็ได ในการติดตั้งควรติดตั้งไวในสถานที่อากาศ
สามารถถายเทไดสะดวก นอกจากนี้ถังที่เก็บลมควรติดตั้ง Safety Valve, เกจวัดความดัน, ตัวระบายน้ํา และตัววัดความ
สะอาดภายในดวย

ขนาดของถังเก็บลม
ขนาดของถังเก็บลมจะขึ้นอยูกับปริมาณลมที่ออกจากคอมเพรสเซอร ขนาดของระบบรวมทั้งปริมาณความตองการ
ใชลมดวย การทํางานของเครื่องอัดอากาศในอุตสาหกรรม จํานวนในการตอพวง สวิทซควบคุมระหวางความต่ําและความ
ดันสูงสุด จะถูกควบคุมโดยชุดควบคุม ซึ่งแนนอนความจําเปนสําหรับปริมาณลมสํารองต่ําสุดที่ควรมี
เครื่องผลิตลมอัดชนิดที่สามารถเคลื่อนยายไดที่ใชเครื่องยนตจะไมหยุดเมื่อความดันสูงสุดแตจะมีวาลวสําหรับการ
เปดยกเพื่อใหลมไหลออกสูขางนอก โดยปราศจากการอัด ความดันที่แตกตางระหวางการอัดและการเดิน ก็จะทําใหเสียงเบา
ลง โดยจะใชสําหรับความตองการที่นอย
แตสําหรับอุตสาหกรรมขนาดใหญ จะทําใหเกิดความยุงยากในการเลือกใชขนาดของถังสําหรับเก็บลมอัด คํานวณไดจาก
ขนาดถงลม = ปริมาณลมอัดตอนาที (ไมใชปลอยสูอากาศ)
ตัวอยาง : การคํานวณปริมาณความตองการ 18 mn3/min (free air), ความดันเฉลี่ย 6 บาร
ดังนั้น = 18000/(6+1)
= 2571.42 ลิตร
เลือกขนาดถังโดยประมาณ 2500 ลิตร หรือจะใชเปนขนาด 2750 ลิตรเพื่อความรองรับไดดียิ่งขึ้น

4.3.2 ตัวกรองลมดานเขา (Inlet Filter)


ในอากาศโดยทั่ว ๆ ไป จะประกอบดวยสิ่งเล็ก ๆ ประมาณ 40 ลานชิ้น (ฝุนละออง) ตอปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร
และหากอัดอากาศใหมีความดันสูงถึง 7 บาร จะทําใหมีสิ่งเหลานี้เพิ่มขึ้นเปนประมาณ 320 ลานชิ้นตอ 1 ลูกบาศกเมตร หาก
ฝุนละอองเหลานี้ผานเขาไปในคอมเพรสเซอร อาจสงผลตอการทํางานของกระบอกสูบ, ลูกสูบ ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองมีตัว
กรองลม โดยไมจําเปนตองละเอียดมากนัก
การกรองไมจําเปนตองละเอียดมากจะทําใหประสิทธิภาพของเครื่องอัดอากาศไดนอยลงทําใหเกิดแรงเสียดทาน
ในการไหล จะใชอยูประมาณ 2-5µ
การนําอากาศเขาควรมีการทําความสะอาดกอนเขา ทอทางเขามีขนาดใหญเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพลดความดันที่จะ
สูญเสีย มีการใชตัวเก็บเสียง เชนเดียวกับการกรองเมื่อเวลาลมออกจะเกิดเสียงรบกวน ดังนั้นการเก็บเสียงจะทําใหการไหล
ของอากาศเปนชวงๆสั้นๆ

- 23 -
International Training
4.3.3 การนําน้ําออกจากลมอัด (Air Dehydration)
การระบายความรอนลมอัด (After Coolers)
ในจังหวะสุดทายของการอัดของคอมเพรสเซอร จะทําใหอากาศหรือลมอัดมีความรอนเพื่อเปนการลดอุณหภูมิให
ต่ําลง และเปนการนําน้ําออกจากลมอัด จึงมีการใชตัวระบายความรอนซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะคือ

ก. ระบายความรอนดวยอากาศ
การระบายความรอนแบบนี้จะใหลม
อัดไหลผานในทอ ซึ่งมีครีบเปนตัวชวยระบาย
ความรอนดวยแลวใชพัดลมเปาระบายความ
รอน อุณหภูมิของลมอัดที่ออกที่ปลายทออีก
ดานหนึ่งควรมีอุณหภูมิประมาณ 15 oC ดังรูป
4.8

รูปที่ 4.8 การระบายความรอนโดยใชลมเปา


ข. ระบายความรอนดวยน้ํา
การระบายความรอนแบบนี้ จะใหลมอัดไหลผานในทอซึ่งอยูในทอน้ําอีกชั้นหนึ่งการไหลของลมอัด และน้ําจะมี
ทิศทางตรงขามกัน ดังรูป 4.9
การใชน้ําในการระบายความรอนควรใชน้ําอุณหภูมิประมาณ 10 °C โดยประมาณสําหรับน้ําในการหลอเย็น
ควรมีอุปกรณระบายน้ําอัตโนมัติติดรวมอยูที่ เครื่องระบายความรอนเพื่อระบายน้ําที่เกิดการควบแนนกลายเปน
หยดน้ําของลมอัด
อุปกรณระบายความรอนควรเปนอุปกรณที่มีวาลวนิรภัย เกจวัดความดัน และเครื่องมือวัดอุณหภูมิสําหรับลมและ
น้ํารวมอยูดวย

รูปที่ 4.9 การระบายความรอนโดยใชน้ํา

- 24 -
International Training
4.3.4 เครื่องทําลมแหง (Air Dryer)
อุณหภูมิของลมอัดที่ผานตัว After Cooler จะอยูในชวงประมาณ 10-15oC โดยที่อุปกรณทางดานนิวแมติกสจะ
ทํางานอยูในชวงอุณหภูมิประมาณ 20oC ในกรณีที่ทอสงลมผานในปริมาณที่มีอุณหภูมิต่ําหรือในหนาหนาว หรือเวลา
กลางคืน ปนเหตุใหเกิดการกลั่นตัวของลมอัดเปนหยดน้ําขึ้นในระบบนิวแมติกดวยเหตุนี้จึงจําเปนตองมีอุปกรณกําจัดน้ํา
และความชื้นอีกชั้นหนึ่ง

ก. การดูดความชื้นโดยใชสารดูดความชื้นผานพื้นผิว(Absorption (Deliquescent) Drying)


การกําจัดความชื้นดวยวิธีนี้โดยการนําลมอัดไหลผานผงชอลก หรือแมกนีเซียมคลอไรด ลิเทียมคลอไรด หรือ
แคลเซียมคลอไรด ในรูปของแข็ง จะถูกเปลี่ยนเปนโซเดียมครอไรด หรือแคลเซียมคลอไรด และความชื้นจากกระบวนการนี้
จะถูกกําจัดโดยดานลางของถังดังรูป
วัสดุดูดความชื้นตองคอยเติมอีกครั้งใหอยูในระดับปกติ โดยผานทางชองวางนี้ทําใหเกิดการกลั่นตัวเปนหยดน้ํา
จากเกลือที่ใสในกระบวนการ โดยที่อุณหภูมิการควบแนน(PDP) 5 °C ที่ความดน 7 bar

รูปที่ 4.10 หลักการทํางานของ Absorption Dryer

ขอดีสําหรับวิธีการนี้จะทําใหคาใชจายลดลง แตอุณหภูมิทางเขาไมควรเกิน 30°C และเคมีที่อยูระหวางนี้ควร


ระมัดระวังเนื่องจากจะทําใหเกิดการกัดกรอนในอุปกรณนิวแมติกส

- 25 -
International Training
ข. การดูดความชื้นโดยใชสารดูดความชื้นดูดซึม(Adsorption (Dessicant) Drying)
การกําจัดความชื้นดวยวิธีนี้จะใหเม็ดซิลิกาเจล หรืออลูมินา ซึ่งเก็บอยูในถังเปนตัวดูดความชื้น โดยใหลมอัดไหล
ผาน โดยปกติแลวจะมี 2 ถัง ใหลมผานไดทีละถัง อีกถังสามารถใหความรอนกับสารดูดความชื้นเพื่อนํากลับมาใชใหมได ดัง
รูป 4.11 ลมอัดที่ออกมาจะเปนลมที่แหงมาก
ลมอัดที่มีความชื้นไหลผานวาลวปดเปด และผานเขามาที่สารดูดความชื้นในถังที่หนึ่ง และจะเปนลมแหงนําไปใช
งาน
ระหวางการทําลมอัดใหแหงไหลผานจะมีการนําลมแหงประมาณ 10-20% ไหลผานชองเล็กๆ ที่ O2 เปนผลใหมี
การทําการไลความชื้นออกจากสารดูดความชื้นในถังที่สองเพื่อเปนการไลความชื้นนั่นเอง

รูปที่ 4.11 Heatless Adsorption Air Dryer

วาลวควบคุมในการเปลี่ยนทิศทางจะมีเวลาเพื่อเปนการเปลี่ยนทิศทางการทํางานของลมที่จายใหจากถังที่หนึ่งและ
ไลความชื้นในถังที่สองเพื่อทําใหลมแหงตลอดการใชงาน
ซึ่งเปนวิธีที่ทําใหเกิดจุดที่กลั่นตัวเปนน้ําต่ําลงถึงติดลบ 40 °C การเปลี่ยนสีเปนการบอกถึงการอิ่มตัวของสารดูด
ความขึ้น ดังนั้นจําเปนอยางยิ่งที่เราจะใชตัวกรองละเอียดเพื่อปองกันไมใหเกิดการพาความชื้นไปกอนเพื่อเปนการลดตนทุน
ในการดําเนินการ และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ยังเปนการลดการบํารุงรักษาลงดวย

- 26 -
International Training
ค. เครื่องทําลมแหงแบบใชความชื้นผานทอเสนใย(Membrane Air Dryer)
เครื่องทําลมแหงชนิดนี้ถูกออกแบบมาเพื่อไมตองใช
กระแสไฟฟา และสารความเย็น ซึ่งเปนเครื่องทําลมแหงที่มี
ขนาดเล็ก เพื่อใชในการนําไปใชประโยชนกับเครื่องมือ เครื่อง
บรรจุ และอุปกรณที่ตองการใชลมอัด
เครื่องทําลมแหงชนิดนี้ใชหลักการไลความชื้นผาน
เสนใย ซึ่งทําใหสามารถไลความชื้นไดอยางมีประสิทธิภาพ
ดวยทอเสนใยจะทําใหอณูของอากาศแหงไหลผานไป ในขณะที่
ความชื้นที่มีน้ําหนัก จะถูกไลผานผนังของทอ เมื่ออากาศมี
ความชื้นเขามาผานทอเสนใยจําทําใหอากาศขาออกแหง ไอน้ํา
จะถูกไลผานเสนใยออกนอกทอดวยความดันที่แตกตางระหวาง
ภายในและภายนอกทอของเครื่องทําลมแหงชนิดนี้ อากาศดาน
นอกของทอเสนใยนี้จะใชเทากับความดน 1 บรรยากาศ ดวย
หลักการ ลมอัดที่ไหลผานดานในของเสนใยจะถูกไลความชื้นออก

- 27 -
International Training
ง. เครื่องทําลมแหงแบบใชสารความเย็น(Refrigerant Drying)
การกําจัดความชื้นดวยวิธีนี้จะใชสารความเย็น โดยมีตัวระบายความรอนสองขุดดังรูป 4.12 กลาวคือจะใหลมอัด
ซึ่งมีความชื้น โดยการนําความเย็นขาออกมาในการลดอุณหภูมิขาเขา 1 เปนการใชความเย็นของอากาศมาเพื่อลดพลังงาน
เมื่อมีการทําใหอากาศเย็นจากเครื่องทําลมแหงชนิดใชสารความเย็นนี้โดยการใชกาซฟอ็อน ในเครื่องทําความเย็น
สวนการแลกเปลี่ยนความรอนที่จุด 2 นี้ทําใหความชื้นและน้ํามันถูกควบแนนกลายเปนหยดน้ํา การทําใหลมเย็นจะทําใหให
ลมแหงไหลผานอากาศรอนขาเขา 1 เปนการทําใหอากาศรอนที่เขามา เปนการปองกันการกลั่นตัวเปนน้ําในขาที่ลมออก
ในขณะที่เพิ่มปริมาตรและลดปริมาณความชื้นสัมพัทธ

รูปที่ 4.12 Refrigerated Air Dryer

สําหรับลมออกที่อุณหภูมิลดลง 2 °Cนั้น สําหรับวิธีการนี้ จะทําใหลมขาออกเพิ่มเปน 5 °C ซึ่งใชอยูสําหรับการใช


งานลมอัดทั่วไป อุณหภูมิขาเขา ถึง 60 °C ซึ่งในทางการคาแลวควรทําใหอุณหภูมิต่ํากวานี้ ซึ่งโดยทั่วไปตนทุนคาใชจายของ
เครื่องทําลมแหงจะอยูประมาณ 10-20 % ของคาลมอัด

- 28 -
International Training
4.3.5 ตัวกรองลมเมน (Main Line Filter)
ตัวกรองลมหลักซึ่งมีขนาดใหญควรติดตั้งไวหลังถังเก็บลม เพื่อกรองฝุนละอองตาง ๆ รวมทั้งน้ําออกจากลมอัด ตัว
กรองลมอัดที่ดีควรมีความดันตกครอมนอย และมีประสิทธิภาพในการกรองฝุนละอองตาง ๆ ไอน้ํามันออกจากปมลม ที่เปน
สีขาวออกจากระบบลมอัด ถาเรามีการปองกันโดยเราใชในสวนของกรองลมหลัก บางครั้งอาจเกิดความดันตกครอมเล็กนอย
เพื่อเปนปองกันทําความสะอาดลมอัดแลว จึงควรมีตัวถายน้ําอัตโนมัติจะทําใหลดการสะสมของน้ํา ซึ่งไสกรองสามารถทํา
การเปลี่ยนไดงาย

รูปที่ 4.13 โครงสรางของ Main Line Filter

- 29 -
International Training
4.3.6 การสงจายลมหลัก (Air Distribution)
การสงจายลมอัดเพื่อนําไปใชงาน หรือเขาเครื่องจักรที่เปนระบบนิวแมติกสสามารถแบงออกไดเปน 2 กลุมใหญๆ
คือ
ก. การเดินทอแบบปด(Dead end line)

รูปที่ 4.14 แสดงการเดินทอแบบทายปด

การเดินทอแบบนี้จะมีจุดออนกลาวคือ ยิ่งทอยาวเทาไหร ความดันที่ปลายทอจะนอยกวาตนทางเนื่องจากเกิดความ


ดันตกครอม และการเดินทอควรทําเปนสโลปเพื่อชวยในการระบายไปในตัว

ข. การเดินทอแบบวงแหวน(Ring main)

รูปที่ 4.15 แสดงการเดินทอแบบวงแหวน


การเดินทอดวยวิธีนี้จะชวยแกปญหาของการเดินทอแบบแรก

- 30 -
International Training
ค. ทอสงจายลมรอง(Secondary Lines)
เพื่อใหประสิทธิภาพของลมอัดและลมที่แหงในการนําไปใชงานลมอัด และทอสงจายควรมีการทําใหเย็นและมีการ
ดักน้ําและน้ํามันออกจากทอ ทอแยกตางๆควรทําการปรับใหอยูดานบนสําหรับการนําลมอัดไปใชงาน เพื่อเปนการปองกัน
น้ําที่เกิดกับทอลมหลัก จากการที่ลมอัดเคลื่อนที่ ผานทอ การนําน้ําออกจากระบบทําไดคือการใชงานสวนลางของขอตอ
และมีการถายน้ําออกอยางสม่ําเสมอดวยตัวถายน้ําอัตโนมัติเปนประจํา

รูปที่ 4.16 Automatic Drains


หากการติดตั้งมีคาใชจายสูง ควรมีการใชแรงงานเพื่อทําการถายน้ําในทุกชั่วโมงการทํางานเปนประจํา เพื่อปองกัน
การปนเปอนจากปญหาดังกลาว หากไมสะดวกเนื่องจากมีการใชงานลมปริมาณมากๆ ควรมีการติดตั้งวาลวถายน้ําอัตโนมัติ
จะเปนการดี

ง. วาลวถายน้ําอัตโนมัติ
ประกอบไปดวยสองชนิดสําหรับวาลวปลอยน้ําทิ้งอัตโนมัติ ดังรูป 4.17 และ 4.18 ในสวนสําหรับชนิดที่เปนลูก
ลอย ดังรูป 4.17

รูปที่ 4.17 ตัวระบายน้ําอัตโนมัติแบบลูกลอย

ในกรณีที่มีน้ําอยูภายในลูกลอยจะยกตัวขึ้น เปดลิ้นใหลมอัดไหลลงดานลางดันใหกานสูบเลื่อนเปดน้ําออกสู
ภายนอก นอกจากนั้นตัวระบายน้ําแบบนี้ยังสามารถปลอยน้ําออกจากระบบดวยวิธีการใชมือกดไดอีกดวย

- 31 -
International Training

รูปที่ 4.18 ตัวระบายน้ําอัตโนมัติแบบใชมอเตอร

ตัวระบายน้ําแบบนี้จะใชมอเตอรขับลอหมุนซึ่งติดแคมเอาไว เมื่อหมุนถึงรอบที่ติดตั้งแคมไวก็จะกดใหวาลว
ดานลางเปลี่ยนตําแหนงปลอยน้ําออกสูภายนอก

จ. ขนาดของทอเมน (Sizing Compressed Air Mains)


ขนาดของทอเมน และทอแยกในการพิจารณาตองมีการกําหนดความเร็วลม โดยทั่วไปจะใชที่ 6 m/s ในขณะที่
วงจรยอยจะใชความดันประมาณ 6 บาร และกรณีมีความยาวไมมากนักอาจใชความเร็วถึง 20 m/s ความดันตกครอมจาก
คอมเพรสเซอรถงึ ปลายสุดไมควรเกิน 0.3 บาร ขนาดของทอสามารถหาไดจากแผนภาพโมโนกราฟ (ในรูปที่ 4.19)

ตัวอยาง (A) :
ใหหาขนาดทอที่จะใหลมอัดผาน 16,800 l/min มีความดันตกครอมไมเกิน 0.3 บาร ในความยาว125 เมตรของทอ
คอมเพรสเซอรเปนระบบลูกสูบอัดสองชั้นทํางานที่ 8 บารจะหยุดทํางานที่ 10 บาร คาเฉลี่ยที่ 9 บาร

30 kPa ความดันตกครอมที่ความยาวตอ 125 เมตร 30 kPa = 0.24 kPa/m.


125 m.
อางอิงกับโมโนแกรมในรูปที่ 4.19 ลากเสนจาก 9 บาร บนเสน Pressure line ผาน 0.24 kPa/m บนเสน Pressure
drop line ตัดเสนอางอิงที่ x ลากเสนจาก x ไป 0.28 m/s แลวลากเสนตัดเสน Pipe size line จะไดเสนผานศูนยกลางของทอ
ประมาณ 61 มม.
ดังนั้นทอที่ใชควรมีเสนผานศูนยกลางไมนอยกวา 61 มม. อาจจะเลือกใชเปน 65 มม. ซึ่งเปนขนาดที่มีใชกันอยู
ทั่วไป

- 32 -
International Training
ตัวอยาง (B) :
ถาความยาวของทอเปน 125 เมตร ในตัวอยาง (A) และมีขอตอตาง ๆ ดังนี้
ขอตอหักศอก 2 ตัว
ของอ 90o 2 ตัว
ขอตอตัวที 6 ตัว
Gate Valve 2 ตัว
จงหาขนาดของทอที่สามารถกําหนดความดันตกครอมที่ 3 kPa
ในตารางที่ 4.20 คอลัมน 65 มม. เราสามารถเปรียบเทียบขอตอตาง ๆ ออกมาเปนความยาวไดดังตอไปนี้
Two Elbows : 2x1.4 m. = 2.8 m.
Two 90 bends : 2X0.8 m. = 1.6 m.
Six standard tees : 6x0.7 m. = 4.2 m.
Two Gate Valve : 2x0.5 m. = 1.0 m.
Total = 9.6 m.
ดังนั้นความยาวรวมทั้งหมดคือ 125+9.6 = 135 m.
ความดันตกครอมตอเมตร 30 kPa = 0.22 kPa/m.
135 m
อางอิงกับโมโนกราฟในรูป 4.19 ขนาดทอจะพิจารณาใหมในขณะที่เสนผานศูนยกลางเหมือนเดิมคือ 65 มม. โดย
ที่เสนผานศูนยกลางจริงภายในเปน 68 มม.
Note : แผนภาพโมโนแกรมที่ใชในการหาขนาดทอ

- 33 -
International Training

รูปที่ 4.19 ตารางที่ใชในการเปลี่ยนขอตอตาง ๆ และวาลวใหอยูในรูปความยาว

Type of Fitting Nominal pipe size (mm)


15 20 25 30 40 50 65 80 100 125
Elbow 0.3 0.4 0.5 0.7 0.8 1.1 1.4 1.8 2.4 3.2
90* Bend (long) 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.8 0.9 1.2 1.5
90* Elbow 1.0 1.2 1.6 1.8 2.2 2.6 3.0 3.9 5.4 7.1
180* Bend 0.5 0.6 0.8 1.1 1.2 1.7 2.0 2.6 3.7 4.1
Globe Valve 0.8 1.1 1.4 2.0 2.4 3.4 4.0 5.2 7.3 9.4
Gate Valve 0.1 0.1 0.2 0.3 0.3 0.4 0.5 0.6 0.9 1.2
Standard Tee 0.1 0.2 0.2 0.4 0.4 0.5 0.7 0.9 1.2 1.5
Side Tee 0.5 0.7 0.9 1.4 1.6 2.1 2.7 3.7 4.1 6.4
ตารางที่ 4.1 ตารางเทียบเทาความยาวของขอตอ

- 34 -
International Training
ฉ. วัสดุสําหรับใชเปนทอลม
1. ทอ SGP (Standard Gas Pipe)
ในบางครั้งอาจจะใชทอเหล็ก หรือทอเหล็กออน ซึ่งอาจจะอยูในรูปของทอดํา หรือ กัลปวาไนซ เผื่อปองกันการผุ
กรอน ทอแบบนี้สามารถทําเกลียวได แตกรณีที่มีขนาดใหญกวา 80 มม. ขึ้นไปสามารถเชื่อมตอได

Nominal Width Outside Dia. Thickness Mass


A B mm. mm. kg/m
6 1/8 10.5 2.0 0.419
8 1/4 13.8 2.3 0.652
10 3/8 17.3 2.3 0.851
15 1/2 21.7 2.8 1.310
20 3/4 27.2 2.8 1.680
25 1 34.0 3.2 2.430
32 1 1/4 42.7 3.5 3.380
40 1 1/2 48.6 3.5 3.890
50 2 60.3 3.65 5.100
65 2 1/2 76.1 3.65 6.510
75 3 88.9 4.05 8.470
100 4 114.3 4.5 12.100
ตารางที่ 4.2 SGP Standard diameters

2. ทอแสตนเลส จะใชในกรณีที่ทอมีขนาดใหญมาก และระยะทางไกล

3. ทอทองแดง ในที่ที่เปนสนิม, ตานทานความรอน และความแข็งคอนขางสูงจะใชทอทองแดง เพื่อสนอง


ความตองการดังกลาว สามารถใชทอทองแดงไดถึงขนาด 40 มม.

4. ทอยาง ในสวนที่ตองการความยืดหยุนสําหรับเครื่องมือลม หรือสวนที่ตองการความอิสระในการเคลื่อนที่ของ


การใชงาน มาตราฐานเสนผานศูนยกลางของทอยางในนิวแมติกส จะแสดงดังตาราง 4.3 (อางอิงจากทอที่มีการถักเสนใย
ภายใน) ทอยางที่แนะนําสําหรับเครื่องมือหรือการใชงานในที่ที่ไมมีการเสียดสีทางแมคคานิกส

- 35 -
International Training

Nominal Width Outside Dia. Inside Dia. Inner Sectional Area


Inches mm mm mm2
1/8 9.2 3.2 8.04
¼ 10.3 6.3 31.2
3/8 18.5 9.5 70.9
½ 21.7 12.7 127
5/8 24.10 15.9 199
¾ 29.0 19.0 284
1 35.4 25.4 507
1¼ 45.8 31.8 794
1½ 52.1 38.1 1140
1¾ 60.5 44.5 1560
2 66.8 50.8 2030
2 ¼* 81.1 57.1 2560
2 ½* 90.5 63.5 3170
ตารางที่ 4.3 สายลมขนาดตาง ๆ

5. ทอพลาสติก สวนมากจะใชในการตอระหวางอุปกรณนิวแมติกสดวยกัน มีขอจํากัดสําหรับเรื่องอุณหภูมิการ


ใชงาน งายตอการตัดทอตามขนาดความยาว งานในการเดิน หรือติดตั้ง มีความยืดหยุน

- 36 -
International Training
ช. ขอตอ ใชในการตอสายลมเขาดวยกันหรือตอสายลมเขากับตัวอุปกรณตาง ๆ ของนิวแมติกส ขอตอ
ชนิดที่มีความแข็งแรง โดยการนําทอตอเขากับปลายที่เปนบาแลวนํานัตฝาทายขันอัดทอ แรงขันนัตทําใหทอแนบสนิทกับบา
และปองกันการหลุดออกเมื่อมีความดันภายในทอได (สําหรับชนิดที่เปนแบบสวมอัด; Insert)

รูปที่ 4.20 ตัวอยาง Insert Fitting

รูปที่ 4.21 ตัวอยาง Push in Fitting

ขอตอแบบที่รวมเอาระบบปองกันการกลับมา ซึ่งเปนวาลวทางเดียว เพื่อไมใหลมมีการระบายทิ้งเมื่อไมมีการใช


งานหลังจากถอดสายลมออกจากขอตอชนิดนี้ และสามารถใชไดกับที่ไมตองการทองแดงเปนสวนปนเปอนไดเชนกัน

รูปที่ 4.22 ตัวอยางขอตอที่มีวาลวกันกลับ(Check Valve) ในตัว (Self Seal Fitting)

- 37 -
International Training
บทที่ 5
การปรับปรุงคุณภาพลม

5.1 การกรอง (Filtering)


5.1.1 ตัวกรองมาตราฐาน (Standard Filter)
มาตรฐานของตัวกรองจะประกอบดวย ตัวแยกน้ํา และตัวกรอง เพื่อเปนการปองกันน้ํา และฝุนละอองกอนที่จะนํา
ลมอัดเขาไปในระบบนิวแมติกส

รูปที่ 5.1 แสดงโครงสราง และสัญลักษณของตัวกรอง

เมื่อลมอัดจากภายนอกเขามาปะทะกับแผนบังคับทิศทางลม (Baffle Plate) ทําใหเกิดเปนกระแสอากาศไหลวนขึ้น


สลัดน้ํา และฝุนละอองลงดานลาง และกอนที่ลมอัดออกสูดานนอกจะไหลผานไสกรองกรองฝุนละออง ละอองน้ํามัน ซึ่ง
สามารถกรองไดละเอียดถึง 5 ไมครอน นอกจากนี้ที่ตัวกรองยังสามารถติดตั้งตัวระบายน้ําอัตโนมัติไดอีกดวย

- 38 -
International Training
5.1.2 กรองละเอียด (Micro Filters)
เมื่อมีการปนเปอนของไอน้ํามันจากปมลม เพื่อความแนใจในการที่จะนําเอาลมอัดไปใชงาน โดยปราศจากน้ํามัน
และฝุนละอองใหมีความละเอียดมากยิ่งขึ้นนั้นจําตองใชกรองที่มีความละเอียด(Micro Filter) เขามาชวยกรองอีกชั้นหนึ่ง
เพื่อใหไดลมที่มีสะอาดมากยิ่งขึ้น

รูปที่ 5.2 แสดงโครงสรางของ Micro Filter

5.1.3 กรองละเอียดชนิดพิเศษ (Sub-Micro Filters)


เพื่อเพิ่มความสามารถในการกรองไอน้ํามันใหมีขนาดต่ําลงอีก รวมถึงขนาดของฝุนละออง 0.01 µm เพื่อทําการ
ดักจับและปองกันสําหรับงานเครื่องมือวัดนิวแมติกส งานที่มีการพนสีแบบไฟฟาสถิตย งานทําความสะอาดชิ้นงาน งาน
ประกอบ เปนตน

- 39 -
International Training
การเลือกขนาดของตัวกรอง
ขนาดของการกรองนั้นขึ้นอยูกับขนาดของละอองโมเลกุลที่พบจาก
ก. อัตราไหลสูงสุดของลมอัด ขึ้นอยูกับอุปกรณการใชงาน
ข. ขนาดที่ยอมรับของความดันตกครอมของการใชงาน
ในกระบวนการผลิตอธิบายถึงการไหล ความดัน จากไดอะแกรมของขนาดที่ถูกตอง โดยที่จะแสดงในการใชกรอง
มาตราฐานสําหรับการใชงานจะไมทําการมากไปกวาที่ใชงานเนื่องจากจะทําใหเกิดการไหลที่ต่ําลง

คุณภาพของลมอัด (Air Quality)


การเลือกกรอง(filter)
ตามรูป 5.3 แสดงใหเห็นความแตกตางของระดับของคุณภาพการกรองสําหรับการใชงาน ลมอัดจากปมไหลผาน
ตัวลดอุณหภูมิลมอัด โดยมีวาลวระบายน้ําอัตโนมัติสําหรับระบายน้ําทิ้งที่เกิดจากการควบแนน เพื่อทําใหลมอัดเย็นลงกอน
เขาสูถังสํารองลมอัด การควบแนนนี้เปนการระบายน้ําออกโดยตัววาลวระบายน้ําอัตโนมัติ โดยติดตั้งตัววาลวใหอยูต่ําสุดใน
ทอลมดังรูปไดแบงออกเปน 3 สวน คือ
1 - 2 สําหรับสวนที่ตอโดยตรงจากถังเก็บลมอัด
3 – 6 สวนที่ใชกับเครื่องลดอุณหภูมิลมอัด (Air Dryer) ชนิดน้ํายาทําความเย็น
7 สําหรับสวนนี้จะเพิ่มตัวทําลมเย็นชนิดที่เปนสารดูดความชื้น

รูปที่ 5.3 แสดงระดับการกรอง

- 40 -
International Training
สําหรับกรองมาตราฐานในสวนที่ 1-2 ใชรวมกับวาลวระบายน้ําอัตโนมัติ สวนที่ 2 มีระดับการกรองที่มีการกรอง
ละเอียดขึ้น สวนที่ 3 – 5 ไดมีการใชเครื่องลดอุณหภูมิลมอัด สวนที่ 3 ไมมีวาลวระบายน้ําอัตโนมัติ สวนที่ 4 ใชการกรองลม
สองสวนในสวนกอน และหลังในชุดเดียวกัน สวนที่ 5 เปนการเพิ่มคุณสมบัติโดยการทําใหลมอัดมีความสะอาดจากละออง
น้ํามัน และฝุนละออง ความชื้น โดยใชเครื่องลดอุณหภูมิลมอัดชนิดสารความเย็น สวนที่ 6 เปนการใชตัวกรองรวมมีการ
นําเอากรองที่ใชสําหรับการกรองกลิ่นไอน้ํามันออกจากลมอัด สวนที่ 7 การใชตัวลดอุณหภูมิลมอัดชนิดแบบดูดซับ ทําให
เกิดการควบแนน ที่อุณหภูมิต่ํา

Number Removal of … Application Typical Examples


>99% Saturated humidity Where some solid Workshop Air for clamping,
Dust particles > 5 µm impurities, humidity and oil blowing, simple pneumatic
Liquid oil > 96% can be accepted drives
Dust particles > 0.3 µm General industrial , equipment
Where the removal of and oil
Oil Mist > 99.9% pneumatic, controls and drives
dominates, but a certain amount
Saturated humidity 99% sealless metallic joints, air tools and
of condensation can be risked
air motors
Humidity to an atmospheric Where the removal of humidity Similar to (1) but as the air is
dew point below –17 oC is imperative but traces of fine dry additionally general
Further as in (1) dust and oil are acceptable spray paining

Dust particles > 0.3 µm Process control, measuring


Oil mist > 99.9% Where no humidity, fine equipment, high quality spray
Humidity to an atmospheric dust and oil vapor are painting, cooling of foundry and
dew point below –17 oC Acceptable injection molding dies

Dust particles > 0.01 µm Pneumatic precision, measuring


Oil mist > 99.9999% Where pure air, practically devices, electrostatic spray painting,
Humidity as (4) free from any impurity is cleaning and drying of electronic
Required assemblies

as (5), Where absolutely pure air, Pharmacy, food industry for


with additional odour as under (5), but odour free packaging, air transport and
removal air is required brewing, Breathing air
All impurities as in (6) but Where every risk of Drying electronic Components
With an atmospheric dew condensation during expansion Storage of pharmaceuticals, Marine
Point below –30 oC and at low temperatures must be measuring Equipment, Air transport
avoided of power

ตารางที่ 5.4 การใชงานของลมอัดที่คุณภาพลมตางกัน

- 41 -
International Training
5.2 วาลวปรับลดความดัน (Pressure Regulation)
วาลวปรับลดความดันสําหรับปรับลดความดันไปสูความดันใชงาน สามารถปรับลดไดทั้งนอยและไมมีการปรับ
การใชงานที่ความดันต่ํามากไมเหมาะสําหรับนําไปใหเกิดประสิทธิภาพ
5.2.1 วาลวปรับลดความดันมาตราฐาน
ความดันที่ออกมาจากถังเก็บลมบางครั้งอาจจะสูงกวาที่อุปกรณตาง ๆ ในระบบนิวแมติกสจะสามารถทนได จึง
จะตองใชอุปกรณในการปรับแตงความดันโดยการลดคาใหต่ําลงมา ในการปรับคาความดัน แรงดันดานเขาจะมากกวาความ
ดันดานออกใชงานเสมอ

รูปที่ 5.5 แสดงโครงสรางของอุปกรณปรับความดัน

หลักการทํางาน

รูปที่ 5.5 ตําแหนงระบาย

- 42 -
International Training
หลักการทํางาน ในรูป a คือในสภาวะปกติสปริงดานบนจะมีแรงมากกวาสปริงดานลางกดใหแกนวาลวเลื่อนลง
ดานลาง ความดันลมจาก p1 สามารถไหลผานออกไปยัง p2 ได ในกรณีที่ p2 มีความดันมากกวา (เพื่อเปนการรักษาความดัน
ใหคงที่) ก็จะมีแรงยกใหแผนไดอะแฟรมขึ้นดานบน ความดันลมจาก p2 สามารถระบายทิ้งออกสูภายนอกได
ในกรณีที่อัตราไหลของลมสูงวาลวจะเปดกวางสปริงจะยืด และออนตัวในสภาพที่คงที่ เพื่อเปนการชดเชยเหตุการณดังกลาว
จึงมีการออกแบบเพิ่มเติมโครงสรางจากแบบเดิม

รูปที่ 5.6 วาลวปรับลดความดันจะชดเชยการไหล

ในกรณีที่ไมสะดวกสําหรับการติดตั้งวาลวดังรูป 5.6 ถาความดันทางดาน p1 เพิ่มขึ้น ก็จะเกิดแรงที่สูงขึ้นกระทํา


กับวาลว พยายามปด ดังนั้นถาความดันเพิ่มขึ้น แลวลดความดันดานออกออกแทน ดังแสดงโดยวาลวที่กระทํากับพื้นที่หนา
ทั้งทางเขาและทางออก ดังรูป 5.7

1. กานปรับ
2. สปงปรับตั้ง
3. บาระบายลม
4. ไดอะแกรม
5. หองชดเชยการไหล
6. ทอตอหองชดเชยการไหล
7. วาลว
8. โอริงสําหรับชดเชยความดัน
9. สปงวาลว
10. โอริงสําหรับชดเชยการไหล

รูปที่ 5.7 การปรับความดันเมื่อคายสุด

- 43 -
International Training
5.2.2 อุปกรณปรับลดความดันโดยใชลมชวยใน
การทํางาน (Pilot Operated Regulator)
อุปกรณปรับแตงความดันประเภทนี้จะ
ใหความดันแนนอน หรือความเที่ยงตรงสูง
นอกจากการปรับละเอียดโดยการนําลมผานรูป
เล็กไปตั้งคาสปงมาตราฐาน แทนการใชมือหมุน
วาลวปรับความดันชนิดนี้จะมีรูลมเขา ทาง
ดานบนในสวนที่จายลมหรือสวนที่ระบายลมทิ้ง
เพียงเทานั้น เพื่อใหทางออกตามที่ตองการ

รูปที่ 5.8 Pilot Pressure Regulator

5.2.3 กรองและวาลวปรับลดความดัน (Filter – Regulator)


เพื่อความสะดวก และประหยัดพื้นที่จึงมีการรวมเอาตัวกรอง และปรับลด
ความดันเอาไวในตัวเดียวกัน ดังรูป 5.9 แสดงสวนประกอบไว
คุณสมบัติ
การเลือกขนาดของอุปกรณปรับแตงความดันขึ้นอยูกับความตองการปริมาณ
ลมความดันในชวงที่ใชงาน ในการเลือกใชควรพิจารณาจากกราฟ หรือขอมูลของบริษัท
ที่ผลิต
a : ชวงเริ่มตนการไหล (Inrush)
b : ชวงในการปรับแตง
c : ชวงอิ่มตัว วาลวจะเปดและเปนผลใหปรับคาได

รูปที่ 5.10 Regulator Flow / p2 Diagram รูปที่ 5.9 Typical Filter Regulator

- 44 -
International Training
5.2.4 ขนาดของตัวปรับลดความดันและตัวกรอง
ขนาดของตัวกรองของอุปกรณ FRL นั้นขึ้นอยูกับอัตราการไหลที่ตองการ สําหรับตัวปรับลดความดัน คาเฉลี่ยดัง
รูป 5.11 สวนขนาดของตัวกรองก็ขึ้นอยูกับความดันตกครอม สวนการใชตัวกรองรวมกับตัวกรองน้ํามันจะใชในสายงานที่
ไมมีการใชน้ํามันหลอลื่น ความดันตกครอมต่ําสุดประมาณ 0.2 บาร หรือประมาณ 0.02 MPa อยางไรก็ดีหากเกิดความดัน
ตกครอมมากถึง 1 บาร หรือประมาณ 0.1 MPa ควรทําการเปลี่ยนไสกรองทันที
สําหรับขนาดนั้นขึ้นอยูกับความตองการการไหล ไมไดขึ้นกับขนาดขอตอ การประกอบเขากับระบบโดยเกลียว
ผานไปยังทอ

รูปที่ 5.11 Filter Flow/Pressure Drop Diagram

5.3 การหลอลื่นลมอัด
อุปกรณลอลื่นน้ํามันปจจุบันแทบไมมีความจําเปน เนื่องจากคุณภาพที่มีการพัฒนาทําใหการใชงานนานยิ่งขึ้นรวม
กับประสิทธิภาพของอุปกรณมีคุณภาพทางดานแมคคานิกสที่ดีขึ้น ขอดีสําหรับระบบที่ไมไดหลอลื่นดวยน้ํามัน
1. ประหยัดสํารับอุปกรณ น้ํามันหลอลื่น และรักษาระดับน้ํามัน
2. เทคโนโลยีสะอาด สามารถใชกับอุตสาหกรรมอาหารและยา
3. น้ํามันไมถูกปลอยสูบรรยากาศ สรางความปลอดภัยใหกับสภาพแวดลอม
ซึ่งก็จําเปนสําหรับอุปกรณที่ตองการการหลอลื่น การใชงานสําหรับน้ํามันหลอลื่นอยางตอเนื่อง คุณภาพน้ํามันที่
ใชสําหรับลมอัดที่ตองการการหลอลื่น อุปกรณจายน้ํามัน จะทําหนาที่สงจายน้ํามันใหกับระบบการทํางานของนิวแมติกส
หลักการทํางาน
เมื่อใสความดันเขาตัวสงจายน้ํามัน อัตราเร็วของลมอัดที่ไหลออกไปใชงานจะมีความเร็วสูงเปนผลใหถังน้ํามันใน
กระเปาะขึ้นมาผสมกับลมอัดกอนที่จะเขาระบบนิวแมติกส การปรับน้ํามันโดยทั่วไปจะปรับ 1 หรือ 2 หยด ตอการทํางาน
หนึ่งรอบของเครื่องจักร หรือตามขนาดของความตองการของอุปกรณที่ใชลมอัดที่มีการใชน้ํามันหลอลื่น

- 45 -
International Training

รูปที่ 5.12 แสดงโครงสรางของตัวสงจายน้ํามัน

5.4 หนวย F.R.L


หนวย FRL เปนการรวมเอาตัวกรอง, ตัวปรับลดความดันลม และตัวสั่งจายน้ํามันเขาไวเปนชุดเดียวกันซึ่งอาจเรียก
อีกอยางวาชุดบริการลมอัด (Service Unit)

รูปที่ 5.13 แสดงหนวย FRL

- 46 -
International Training
บทที่ 6
วาลวเปลี่ยนทิศทางลมอัด
Directional Control Valve

6.1 หนาที่ของวาลว (Valve Function)


วาลวเปลี่ยนทิศทางลม จะทําหนาที่เปลี่ยนทิศทางลมจากจุดที่จะตอไปใชงานซึ่งอาจจะปลอยลม หรือปดลม
แลวแตวาลวแตละตัว หรือการนําไปใชงาน โดยที่การเปลี่ยนแปลงดังกลาวนี้จะเกิดขึ้นภายในตัววาลว การเรียกชื่อวาลวจะ
ขึ้นตนดวยจํานวนจุดหลังรูตอลม, จํานวนตําแหนงในการทํางาน, ตําแหนงปกติ และวิธีการในการเลือกวาลว วาลวเปลี่ยน
ทิศทางลมที่ใชในระบบนิวแมติกสตามมาตรฐาน ISO/AS สามารถแสดงใหเห็นไดในตารางตอไปนี้

ตาราง 6.1 สัญลักษณวาลว รายละเอียดและการใชงาน

- 47 -
International Training
6.2 การกําหนดจุดตอของวาลว
ตารางตอไปนี้จะแสดงการใชตัวอักษร ตัวเลขที่กําหนดอยูบนตัววาลว

Supply NC output NO output Exhaust of NC Exhaust of NO Pilot for NC Pilot for NO


P A B R S Z Y
P A B R1 R2 Z Y
P A B EA EB PA PB
1 4 2 5 3 14 12
ตารางที่ 6.2 จุดตอสําหรับวาลวมาตราฐาน ISO5599

6.3 ชนิดและโครงสรางของวาลว
วาลวเปลี่ยนทิศทางลมโดยทั่วไปหากแบงประเภทออกตามโครงสรางสามารถแบงออกไดเปน 2 กลุมดวยกันคือ
วาลวแบบนั่งบา (Poppet Valve) และวาลวแบบสไลด (Slide Valve)

Poppet Valves
Directional Elastomere
Control Spool Seal
Valves Valve
Sliding Valves

Rotary
Valve
Metal Seal

Plane
Slide
Valves

รูปที่ 6.1 การแบงประเภทของวาลวตามโครงสราง

- 48 -
International Training
6.3.1 วาลวแบบนั่งบา (Poppet Valve)
วาลวที่มีโครงสรางแบบนี้จะควบคุมทิศทางโดยใชแผนชีส หรือลูกบอล วาลวที่มีโครงสรางแบบนี้ปญหาชีลชํารุด
จะมีนอยกวาแบบอื่นแตแรงที่ใชในการเลื่อน หรือเปลี่ยนตําแหนงวาลวคอนขางมาก

รูปที่ 6.2 แสดงโครงสรางของวาลวแบบนั่งบา

ตัวอยาง วาลว 3/2 ปกติปดสั่งงานทางกล และเลื่อนกลับตําแหนงปกติดวยสปริง

รูปที่ 6.3 โครงสรางและหลักการทํางานของวาลว 3/2 ปกติปด

จากรูป A คือสภาวะปกติลมจาก P ไมสามารถผาน A และ R ตอถึงกัน รูป B คือสภาวะทํางานเมื่อวาลวโดนกดลม


จาก P สามารถผานไป A ได และ R ถูกปด

P R

ISO Symbol

รูปที่ 6.4 แสดงโครงสรางของวาลวที่สามารถตอลมได 2 ทิศทาง


วาลว 3/2 สามารถตอในลักษณะการทํางานบางแบบเปนแบบปกติปดหรือปกติเปดได เชน N.O สามารถใชความ
ดันต่ําสลับกลับความดันสูงไดหรือกลับดวยสปงสามารถนํามาใชเรื่องความปลอดภัยหรือวงจร

- 49 -
International Training
6.3.2 วาลวลูกสูปเลื่อน(Sliding Valves)
วาลวที่อาศัยการเคลื่อนที่ เปนแบบเคลื่อนที่ในแนวระนาบหรือแนวนอน เชน Spool, Rotary และแบบแผนเลื่อน
จะใชการเลื่อนปด และเปดรูลม

ก. Spool Valve
ลักษณะโครงสรางของวาลวแบบนี้ อาศัยแกนลูกสูบเคลื่อนที่ผานชองของหองโดยที่ลมอัดจะไหลผานไปทาง
ดานขวาของหอง คือชอง B และมีการทําใหลมสมดุลยภายในหอง เมื่อมีการเคลื่อนที่ลูกสูบภายในจากลมอัดก็จะทําใหแกน
ถูกเคลื่อนเปลี่ยนทิศทางการไหลของลมไปสูดานซายในชอง A แทน แบงออกได 2 ชนิด
1. Elastomer seal
Elastomer Seal หรือซีลที่ยืดหยุนได แสดงอยูในรูปที่ B, C และ 6.5 ในรูปที่ 6.15 O-ring จะติดอยูในชวงบน Spool
และเคลื่อนไปดานในตัวโครงสราง มีทั้งแบบที่ยึดติดกับตัวแกนลูกสูบ ชนิดที่ยึดติดกับโครงสราง ชนิดที่หลอติดกับแกน
ลูกสูบ

รูปที่ 6.5 Spool Valve with O-ring

รูปที่ 6.6 ซีลจะติดตั้งอยูกับตัววาลว (Spool Valve with Sleeve)

รูป 6.7 จะแสดง Spool with Oral Rings(ซีลชนิดหลอขึ้นรูป) ซึ่งซีลแบบนี้จะมีแรงเสียดทานนอย

- 50 -
International Training
2. Metal Seal
โครงสรางของวาลวแบบนี้จะทําดวยโลหะที่ลูกสูบ (Spool) และโครงสรางจะตองเหมาะสมเพื่อใหความเสียดทาน
มีคานอยที่สุด ระยะระหวาง Metal Spool และ Sleeve Valve ประมาณ 0.003 มม. มีสัดสวนการรั่วภายในประมาณ หนึ่งลิตร
ตอนาที ในบางครั้งไมเหมาะสําหรับวาลวชนิด 5/3 ปกติปด

รูปที่ 6.8 โครงสรางของ Sealless Spool และ Sleeve Valve

6.3.3. วาลวแบบแผนเลื่อน (Plane Slide Valve)


การควบคุมทิศทางลมจะใชแผนเลื่อนในการควบคุม ซึ่งอาจนํามาจากแผนโลหะไนลอน หรือพลาสติก

รูปที่ 6.9 วาลว 5/2 แบบแผนเลื่อน

- 51 -
International Training
6.3.4. วาลวแบบหมุน (Rotary Valve)
ชองตอลมสําหรับแผนเลื่อนจะมีการตอถึงกัน ใหความดันจากดานหนึ่งไปสูอีกดานหนึ่ง ซึ่งมีการรั่วที่ผิวเล็กนอย
เมื่อมีความดันสูงที่แผนเลื่อน

รูปที่ 6.10 วาลเลื่อนแบบแผนหมุนในตําแหนงปกติปด

6.4 การสั่งงานวาลว
การกระทําทางกลในการทํางานที่เปนระบบก็มักจะใชวาลวที่เลื่อน หรือเปลี่ยนตําแหนงดวยวิธีนี้
6.4.1 การสั่งงานทางกล(ดวยแมคคานิกส)
การทําใหเครื่องจักรเคลื่อนที่เปนไปอยางอัตโนมัติ ใหสั่งงานใหวาลวสามารถเปดปด สั่งงานเปนจังหวะตามรอบ
ของเครื่องจักร การสั่งงานโดยตรงดังรูป 6.11

รูปที่ 6.11 ชนิดที่ทํางานทางกล

- 52 -
International Training
ขอควรพิจารณาในการใช Roller Levers Valve
ในการใช Roller Levers Valve การติดตั้งไมควรติดตั้งไวสุดระยะขั้วโดยตรง และควรทํามุมประมาณ 30 องศา

รูปที่ 6.12 คําแนะนําสําหรับการติดตั้ง

6.4.2 การเลื่อนโดยใชเครื่องมือหรือกลามเนื้อ
สวนมากใชในการสั่งเริ่มตนการทํางาน หยุดการทํางาน การหยุดฉุกเฉิน ในทองตลาดปจจุบันมีใหเลือกอยูมากมาย
หลายรูปแบบขึ้นอยูกับลักษณะการใชงาน

รูปที่ 6.13 ชนิดแบบปุมกด

รูปที่ 6.14 ชนิดที่เปนลูกบิด

- 53 -
International Training
6.4.3 การเลื่อนโดยใชลมตรงในการเลื่อนตําแหนง
วาลวที่ใชลมเลื่อนโดยสวนมากจะเปนวาลวหลัก หรือวาลวที่ใชในการควบคุมการทํางานของกระบอกลม หรือ
อุปกรณทํางานในระบบนิวแมติกส

รูปที่ 6.15 3/2 Piloted Valve and Air Assited Spring Ruturn

ตัวอยาง วาลว 3/2 ปกติปดเลื่อนการทํางานดวยลม และตําแหนงปกติเปดดวยลม


(3/2 Piloted Vale with Air Return)

รูปที่ 6.16 3/2 Pilot Valve with Air Return

ตัวอยาง วาลว 5/2 เลื่อนการทํางานดวยลมทั้งสองดาน


(Bistable Double Piloted 5/2 Valve)

รูปที่ 6.17 5/2 สั่งงานดวยลมทั้งสองดาน(Bistable Double Piloted 5/2 Valve)


หมายเหตุ : วาลวแบบนี้อาจเรียกอีกอยางหนึ่งวา Memory Valve

- 54 -
International Training
6.4.4 วาลวที่ใชลมชวยในการเลื่อนตําแหนง
การใชแรงเลื่อนวาลวโดยตรงจะใชแรงสูงกวาวาลวที่ใชลมชวยในการเลื่อนวาลว ดังนั้นไดมีการออกแบบวาลว
ลมชวยเพื่อทําใหลดแรงที่ใชในการกระทํากับวาลวลมเมื่อมีขนาดใหญขึ้น

รูปที่ 6.18 สั่งงานโดยทางออมชวยในการกดออกแรงเลื่อน

6.4.5 วาลวที่ใชไฟฟาชวยในการเลื่อนตําแหนง (Solenoid Valve)


ในระบบที่ใชอุปกรณไฟฟา หรืออิเลคทรอนิคสควบคุมการทํางานแนนอนวาการเลื่อนวาลวจะตองใชไฟฟาซึ่ง
เรียกวา “โซลินนอยดวาลว” ก็ได

รูปที่ 6.19 2/2 หรือ 3/2 สั่งงานดวยโซลินอยด(คอยล)

- 55 -
International Training
ในขดลวดโซลินนอยดจะมีแกนเหล็กออน เมื่อใสไฟที่โซลินนอยดจะเกิดเปนอํานาจแมเหล็กดูดแกนเหล็กขึ้น
ดานบนทําใหวาลวเปลี่ยนตําแหนง และเมื่อตัดไฟแกนเหล็กจะถูกปลอยกลับตําแหนงเดิมโดยสปริง
โซลินนอยดวาลว 5/2 ที่เลื่อนดวยไฟฟาโดยตรง และเลื่อนกลับตําแหนงปกติดวยสปริงแสดงใหเห็นโครงสราง
ภายในรูปที่ 6.20 และจากรูปจะเปนแบบ Sealless Lapped Spool และ Sleeve Type ซึ่งจะใหแรงเสียดทานที่นอยมาก

รูปที่ 6.20 การสั่งงานตรงดวยคอยล

เพื่อเปนการลดขนาดของโซลินอยด และประหยัดกระแสไฟฟา จึงมีการพัฒนาโดยการใชลมชวยในการทํางาน

รูปที่ 6.21 5/2 สั่งงานทางออมดวยลมโดยใชโซลีนอยดกลับดวยสปง

วาลว 5/3 ตําแหนงกลางซึ่งเปนตําแหนงปกติปดเลื่อนดวยโซลินอยดทั้งสองดาน ดังแสดงในรูปที่ 6.22

รูปที่ 6.22 5/3 สั่งงานทางออมดวยลมโดยใชโซลีนอยด กลับดวยสปงทั้งสองดาน

- 56 -
International Training
6.5 การติดตั้งวาลว
การตอตรง เปนวิธีการที่ธรรมดาที่สุดของการตอขอตอเขาที่มีวาลวโดยตรง โดยมีขอตอที่จะตอเขากับกระบอกสูบ
ตําแหนงตัวจายลมเขากับตัววาลว และตัวเก็บเสียงซึ่งติดตั้งที่รูระบาย ดังรูปที่ 6.20 เปนการติดตั้งวาลวบนฐานซึ่งเรียกวา Sub
Base Manifolds :

6.5.1 ฐานสําหรับวาลวหลายตัวชนิดเกลียว(Manifolds)
จะเปนฐานที่ใชสําหรับติดตั้งตัววาลว โดยจะมีแหลงจายลมเขาและรูระบายลมออกรวมกัน แตรูที่จะตอไปใชงาน
แยกอยูที่วาลวแตละตัวโดยที่วาลวที่นํามาติดตั้งอาจจะตางกันก็ได เชน 5/3 หรือ 5/2 เลื่อนดวยโซลินนอยดดานเดียว หรือ
สองดานก็ได ดังตัวอยางในรูปที่ 6.23

รูปที่ 6.23 โซลินอยดวาลววางอยูบนฐานรวมกันชนิดที่ใชวาลวเปนชองตอไปใชงาน

6.5.2 ฐานสําหรับวาลวหลายตัวชนิดใชสําหรับฐานวางเทานั้น(Multiple Sub Bases)


จะมีลักษณะคลายกับ Manifolds กลาวคือ จะมี
แหลงจายลมเขารวมกัน รูระบายลมออกรวมกัน สวนรูที่จะ
นําไปใชงาน หรือควบคุมการทํางานของกระบอกสูบจะวาง
ไวอยูที่ฐานของวาลวเพื่องายตอการถอดประกอบวาลว กับ
อุปกรณเมื่อตองการเปลี่ยน ดังแสดงในรูปที่ 6.24

รูปที่ 6.24 โซลินอยดวาลววางบนฐานสําหรับวาลวหลายตัวชนิด


ใชสําหรับฐานวางเทานั้นสําหรับตอไปใชงาน

- 57 -
International Training
6.5.3. ฐานและวาลวที่สามารถเพิ่มหรือลดจํานวนตัวชองวาลว( Ganged Sub Bases)
จะเปนการนําวาลวที่มีลักษณะการติดตั้งแบบ Sub Bases ซึ่งแยกแตละตัวมารวมอยูในชุดเดียวกัน โดยที่สามารถ
เพิ่มขยายหรือลดจํานวนได ดังแสดงตัวอยางในรูปที่ 6.25

รูปที่ 6.25 เปนวาลวชนิดที่สามารถนําฐานและวาลวมาประกอบกันตามจํานวนที่ตองการ

6.6 การหาขนาดของวาลว
6.6.1. ปริมาณการไหล
ขนาดของพอรทหรือรูของวาลวไมไดเปนตัวบอก หรือแสดงความแสดงความสามารถในการไหลของวาลวเสมอ
ไป การเลือกขนาดของวาลวจะขึ้นอยูกับความตองการปริมาณการไหลของลมและความดันตกครอมที่ตัววาลวที่รับได
ในกระบวนการผลิตจะใชปริมาณการไหลผานวาลว ซึ่งปริมาณการไหลดังกลาวมักจะระบุเปนมาตราฐานการ
ไหล Qn ในหนวยลิตรของการปลอยสูบรรยากาศตอนาที ที่ความดัน 6 บาร และความดันใชงานที่ 5 บาร หรือใชแฟกเตอร
การไหล Cv หรือ kv หรือ การไหลเทียบเทากับพื้นที่ S ซึ่งทั้งสามแฟกเตอร สามารถคํานวณหาคาไดจากสมการตอไปนี้

เมื่อ Cv, kv = ประสิทธิภาพของการไหล


S = พื้นที่หนาตัดเทียบเทาของทอ (mm)
Q = อัตราไหลของลมอัด (Liters/min)
P2 = ความดันดานใชงาน (bar)
∆p = ความดันตกครอมที่ยอมได (bar)
o
= อุณหภูมิใชงาน (oC)

- 58 -
International Training
จากการคํานวณแลวเราจะพบวาขอมูลที่ไดจากความเปนจริงนั้นมีคาอัตราการบริโภคลมอัดที่สูงกวาเนื่องจากไดมี
ความสูญเสียผานวาลว กระบอกลมขอตอตางๆ ทอ ซึ่งทําใหเกิดความสัมพันธกับตารางเปรียบเทียบความสัมพันธ ของคา S
= m3/Pa ดังกลาวขึ้น

1 CV = 1 KV = 1S=
981.5 68.85 54.44
1 14.3 18
0.07 1 1.26
0.055 0.794 1
ตารางที่ 6.3 ตารางความสัมพันธคา CV/KV/S

6.6.2. การตออนุกรมของทอ (Orifices in Series Connection)


กอนที่เราจะหาขนาดของวาลวและทอ เราจะตองดูความดันตกครอมที่ Orifices ที่อนุกรมกัน โดยสามารถใช
สมการตอไปนี้

รูปที่ 6.26 ผมรวมของพื้นที่ที่นํามาตออนุกรมกันและอัตราการไหล

ในรูปที่ 6.26 แสดงความสัมพันธระหวางจํานวนของ Orifices ที่เทากันมาตออนุกรม และผลลัพธของปริมาณการ


ไหล

- 59 -
International Training
6.6.3. การหาอัตราการไหลของลมอัดภายในทอ(Flow Capacity of Tubes)

สามารถหาคาไดจากสมการตอไปนี้

เมื่อd เปนเสนผานศูนยกลางภายในของทอ (mm)


L เปนคาความยาวทอ (m)
α เปนคาสัมประสิทธิ์ของทอ
α = 0.0844 ⋅ ct ⋅ d0.155
ct = 1.6 สําหรับทอแกส , เทากับ 2.0 สําหรับทอพลาสติก, ทอยาง และทอทองแดง

นอกจากนี้เพื่อความสะดวกเรายังสามารถหาคา S ไดจากแผนภาพทางดานลางตอไปนี้

รูปที่ 6.27 แผนภูมิแสดงขนาดของทอ

- 60 -
International Training
การหาอัตราการไหลของลมอัดภายในขอตอ
หากตองการหาคา S ของขอตอ (Fitting) แบบ Push-in หรือแบบ One Touch รูปที่ 4.21 และ Insert รูปที่ 4.20
สามารถหาคาไดจากตารางตอไปนี้

Tube Material Length Fittings Total


Dia. I 1m 0.5 m Insert Type One Touch 0.5 m tube+
(mm) Straight Elbow Straight Elbow 2 strt. fittings
4 x 2.5 N, U 1.86 3.87 1.6 1.6 1.48
5.6 4.2 3.18
6x4 N, U 6.12 7.78 6 6 3.72
13.1 11.4 5.96
8x5 U 10.65 13.41 11 (9.5) 11 6.73
18 14.9 9.23
8x6 N 16.64 20.28 17 (12) 16 10.00
26.1 21.6 13.65
10 x 6.5 U 20.19 24.50 35 (24) 30 12.70
29.5 29.5 15.88
10 x 7.5 N 28.64 33.38 30 (23) 26 19.97
41.5 41.5 22.17
12 x 8 U 33.18 39.16 35 (24) 30 20.92
46.1 46.1 25.05
12 x 9 N 43.79 51.00 45 (27) 35 29.45
58.3 58.3 32.06
ตาราง 6.4 ตารางแสดงอัตราการไหลของขอตอ

- 61 -
International Training
กรณีที่ความดันใชงาน และความดันตกครอมเปลี่ยนแปลงไปสามารถใชกราฟในรูปที่ 6.28 หาคาแฟกเตอร (cf :
correction functions) มาคูณหาในตารางที่ 6.5

Average piston speed in mm/s


Dia. Mm 50 100 150 200 250 300 400 500 750 1000
8, 10 0.1 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.4 0.5 0.75 1
12, 16 0.12 0.23 0.36 0.46 0.6 0.72 1 1.2 1.8 2.4
20 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2 1.6 2 3 4
25 0.35 0.67 1 1.3 1.7 2 2.7 3.4 5 6.7
32 0.55 1.1 1.7 2.2 2.8 3.7 4.4 5.5 8.5 11
40 0.85 1.7 2.6 3.4 4.3 5 6.8 8.5 12.8 17
50 1.4 2.7 4 5.4 6.8 8.1 10.8 13.5 20.3 27
63 2.1 4.2 6.3 8.4 10.5 12.6 16.8 21 31.5 42
80 3.4 6.8 10.2 13.6 17 20.4 27.2 34 51 68
100 5.4 10.8 16.2 21.6 27 32.4 43.2 54 81 108
125 8.4 16.8 25.2 33.6 42 50.4 67.2 84 126 168
140 10.6 21.1 31.7 42.2 52.8 62 84.4 106 158 211
160 13.8 27.6 41.4 55.2 69 82.8 110 138 207 276
Equivalent Flow Section in mm2
ตารางที่ 6.5 ผลรวมสําหรับพื้นที่ของการประกอบทอ (วาลวและทอ)

- 62 -
International Training
6.6.4 วาลวกับกระบอกสูบ
ขนาดจริงของวาลวจะมีคาสูงกวาคาในทางทฤษฎี เนื่องจากจะตองมีการชดเชยความดันตกครอมในจุดตอทอ และ
ขอตอดังกลาวในตอนตน เพื่อทําใหสิ่งเหลานี้งายขึ้น ตารางที่ 6.5 จะใชในการหาคา S สําหรับวาลวและสําหรับเลือกทอ และ
ขอตอดังตารางที่ 6.4 โดยที่ตารางทั้งสองจะใชความดันที่ 6 บาร และความดันตกครอม 1 บาร กอนเขากระบอกสูบวัดคาที่
อุณหภูมิ 20 องศา

รูปที่ 6.28 คาแฟกเตอรสําหรับแรงดันที่เขากับแรงดันตกครอม

ตัวอยางที่ 1 : กระบอกสูบเสนผานศูนยกลาง 80 มม. ระยะ 400 มม. ทํางานที่ความดัน 6 บาร ความดันตกครอมสูงสุด 1 บาร
ถากระบอกสูบทํางานดวยความเร็ว 500 มม./วินาที ใหหาคา CV ต่ําสุดของวาลว
วิธีการ : จากตารางที่ 6.5 สามารถหาคา S ไดเปน 34 มม. ซึ่งสามารถหาคา CV ไดโดยการหารดวย 18 ดังนี้
CV = 34/28 = 1.89 (1CV = 18 S)
ขนาดของทอลม 12X9 มม. พรอมดวยขอตอแบบ One Touch เพื่อใหไดความเร็วสูงสุด

ตัวอยางที่ 2 : กระบอกสูบเสนผานศูนยกลาง 50 มม. ทํางานดวยความเร็ว 400 มม./วินาที ความดันใชงานเปน 7 บาร และ


ความดันเปน 2.5 บาร ซึ่งหมายถึงวาความดันที่ใชงานที่ลูกสูบจริงเปน 4.5 บาร
วิธีการ : จากตารางที่ 6.5 คา S เปน 10.8 มม. และจากกราฟในรูปที่ 6.28 เราจะใชคา cf คือ 0.66 ดังนั้น คา S ที่แทจริงก็คือ
(10.8 X 0.66) = 7.128 มม. เลือกวาลวตามคาที่ได หรือใหญกวาและเลือกทอลม 8 X 5 หรือ 8 X 6 มม.

- 63 -
International Training
6.7 วาลวสนับสนุนหรือวาลวชวย (Auxiliary Valves)
6.7.1 วาลวที่ใหลมไหลเพียงทิศทางเดียว (Non-Return Valves)หรือ วาลวกันกลับ

รูปที่ 6.29 วาลวกันกลับ

หลักการทํางาน :
จากรูป a หากความดันไหลเขาตามหลักลูกศรจะไมสามารถผานไปอีกสายหนึ่งได และหากตองการใหสามารถ
ไหลผานอีกดานหนึ่งได ใชเปลี่ยนทิศทางการปอนลมใหมดังรูป b

6.7.2 วาลวควบคุมความเร็ว (Speed Controllers)

รูปที่ 6.30 ชนิดของวาลวควบคุมความเร็ว

หลักการทํางาน :
จากรูปและสัญลักษณอาจเรียกวาลวแบบนี้อีกอยางหนึ่งวาวาลวควบคุมความเร็วแบบพิเศษทางเดียว วาลวแบบนี้
จะควบคุมปริมาณที่สะดวกไปอีกดานหนึ่งสวนมากจะใชในการควบคุมความเร็วของกระบอกสูบ หรืออุปกรณการทํางาน
โดยการหมุนที่หัวปรับจะทําใหปรับลดพื้นที่ลงเปนผลใหปริมาณลมที่ผานไปอีกดานจะลดลง สวนในทางตรงขามเมื่อมีลม
ผานก็จะทําใหมีการผานของลมไดอยางสะดวกขึ้นอยูกับความเร็วสูงสุดที่ทําได

- 64 -
International Training
6.7.3 วาลวลมเดี่ยว (Shuttle Valve)

รูปที่ 6.31 วาลวทางเดียว


หลักการทํางาน :
ไมวาจะใสลมดานซาย ดานขวา หรือทั้งสองดานก็ตามก็จะมีลมออกไปดานบน หรือดานใชงาน วาลวแบบนี้อาจ
เรียกอีกอยางหนึ่งวา Or Gate จากหลักการทํางานดังกลาวอาจเปรียบเทียบการทํางานเหมือนกับวงจรขนานทางไฟฟาก็ได

6.7.4 วาลวเรงระบาย (Quick Exhaust Valves)


ในกรณีที่ตองการใหกานสูบเคลื่อนที่เร็วกวาปกติไมวาจะเปนการเคลื่อนที่ออก หรือมีการนําเขาอุปกรณที่นํามา
ชวยในการทํางานดังกลาวคือ วาลวเรงระบาย ทั้งนี้ความเร็วกระบอกลมก็จะไมสามารถทําไดเกิดความเร็วสูงสุดที่กระบอก
ลมแตละรุนหรือแตละยี่หอจะทําไดเปนตน

รูปที่ 6.32 วาลวเรงระบาย

- 65 -
International Training
หลักการทํางาน :
เมื่อลมอัดเขามาดานอินพุท ลิ้นวาลวจะปดดานระบายออก (Ex) สัญญาณลมจะเขาไปยังกระบอกสูบ และกรณีไมมี
ลมเขามาทางดานอินพุท (In) แรงดันลมจากกระบอกสูบจะดันใหลิ้นวาลวปดดานอินพุท (In) ความดันลมจะระบายออกสู
ภายนอก การติดตั้งวาลวแบบเรงระบายนี้โดยสวนใหญจะติดตั้งใหใกลกับกระบอกสูบมากที่สุด เพื่อปดกั้นแรงดันตกครอม

- 66 -
International Training
บทที่ 7
อุปกรณทํางานในระบบนิวแมติกส

เปนอุปกรณที่ใชในการเปลี่ยนพลังงานลมใหเปนพลังงานกล ซึ่งอาจทํางานในแนวตรงหรือแนวหมุนโดยการ
เคลื่อนที่อาจใชลูกสูบในกรณีที่การเคลื่อนที่เปนแนวตรง หรืออาจใชใบหรือใบพัดในกรณีที่การเคลื่อนที่เปนลักษณะเปนมุม
โดยทั่วไปกระบอกลมไดแบงออกเปนสองแบบ
7.1. กระบอกลมทํางานแนวเสนตรง
7.2. กระบอกลมทํางานแนวเสนรอบวง

7.1 กระบอกลมแนวเสนตรง
กระบอกลมนิวแมติกสในปจจุบันนี้ถูกผลิตออกมาคอนขางหลากหลาย แตในรูปแบบที่หลากหลายเหลานั้น
สามารถแบงออกเปน 2 กลุมใหญ ๆ ดวยกันคือ
7.1.1 กระบอกลมแบบทางเดียว (Single Acting Cylinder)
7.1.2 กระบอกลมแบบสองทาง (Double Acting Cylinder)
7.1.3 กระบอกลมแบบพิเศษ(Special Cylinder)

7.1.1 กระบอกลมแบบทางเดียว (Single Acting Cylinder)


กระบอกลมแบบทางเดียวจะใชความดันลมในการทํางานเพียงดานเดียว อีกดานจะใชแรงของสปริงโดยที่สปริง
อาจจะติดตั้งไวดานทาย หรือดานหนาของลูกสูบก็ไดแลวแตลักษณะของงาน และความตองการ

รูปที่ 7.1 กระบอกสูบทํางานทางเดียว

กระบอกลมทํางานแบบทางเดียวสวนมากจะใชในการจับยึดชิ้นงานทําเครื่องหมาย หรือคัดเลือกชิ้นงาน อัตราการ


สูญเสียลมจะนอยกวากระบอกลมสองทางที่ขนาดเดียวกัน กระบอกสูบทางเดียวจะไมนิยมทําขนาดใหญ ๆ เนื่องจากแรงของ
สปริง และพื้นที่ในการเก็บสปริง

- 67 -
International Training
7.1.2 กระบอกลมแบบสองทาง (Double Acting Cylinder)
กระบอกลมแบบสองทางทํางานไมวาจะเปนการเคลื่อนที่ออก หรือเคลื่อนที่เขาจะใชลมในการทํางานทั้งสองดาน

รูปที่ 7.2 กระบอกลมทํางานสองทาง

ก. โครงสรางและสวนประกอบของกระบอกลมแบบสองทาง

รูปที่ 7.3 แสดงโครงสรางและสวนประกอบ

- 68 -
International Training
ข. กันกระแทรกกระบอกลม
กันกระแทกกระบอกลมทํางานดวยความเร็วขางสูง ชวงที่เคลื่อนที่ออกหรือเขาสุดของระยะชักจะทําใหเกิดการ
กระแทกระหวางลูกสูบกับฝาปดดานหัวและทาย กรณีเปนกระบอกลมเล็ก ๆ อาจปองกันการกระแทกไดโดยใชแผนยาง ถา
เปนกระบอกลมใหญการกันกระแทกจะเอาอากาศเปนตัวกันกระแทก (Air Cushioning)

รูปที่ 7.4 แสดงการกันกระแทกโดยใชอากาศ

7.1.3 กระบอกลมแบบพิเศษ
ก. กระบอกลมแบบสองกานสูบสองดาน (Double Rod)

รูปที่ 7.5 แสดงโครงสรางและสัญลักษณ

กระบอกลมแบบสองแกนจะทําใหความสามารถในการรับแรงดานขางดีขึ้นเปนผลมาจากโครงสรางที่มีจุดรองรับ
แกนอยู 2 จุด และระยะหางไมมากนัก กระบอกลมชนิดนี้มักจะยึดแกนไวแลวใหตัวกระบอกลมเปนตัวเคลื่อนที่

ข. กระบอกลมแบบกานไมหมุน (Non Rotating Rod)

รูปที่ 7.6 รูปแบบของแกนลูกสูบแบบไมหมุน

- 69 -
International Training
ค. กระบอกลมแบบกานคู (Twin Rod)

รูปที่ 7.7 กระบอกลมแบบกานคู

ง. กระบอกลมแบบทรงสี่เหลี่ยม (Flat Cylinder)


กระบอกสูบแบบนี้ถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองในลักษณะของการติดตั้งที่กระบอกสูบแบบกลม หรือแบบ
ธรรมดาไมสามารถติดตั้งได และกระบอกสูบแบบนี้สามารถประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งอีกดวย

รูปที่ 7.8 กระบอกลมแบบทรงสี่เหลี่ยม

จ. กระบอกลมแบบเพิ่มแรงสองเทา (Tandem Cylinder)


กระบอกลมแบบนี้เปนการรวมเอากระบอกลมแบบสองทางไวในตัวเดียวกันสองตัว

รูปที่ 7.9 กระบอกลมแบบใหแรงสองเทา(แทนเดม)


กระบอกลมแบบนี้ในการควบคุมการทํางานตองใหทิศทางลมไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้นจากโครงสรางจะเห็น
ไดวาแรงที่ไดจากกานสูบจะสูง กระบอกลมแบบนี้จะไวทดแทนกระบอกลมทางแบบธรรมดาที่ขนาดเทากันแตตองการแรง
ที่กานสูบมากเปนสองเทาของปกติ แตความยาวตัวก็จะเพิ่มขึ้นตามระยะชัก

- 70 -
International Training
ฉ. กระบอกลมแบบชวงชักหลายตําแหนง (Multi Position Cylinder)
โดยทั่วไปกระบอกลมสองทางแบบธรรมดาจะมีแคสองตําแหนงคือ ชวงสุดระยะออกและเขาของระยะชัก หาก
ตองการตําแหนงที่มากกวานี้สามารถใชกระบอกลมสองตัวที่มีระยะชักตางกันมาประกอบรวมอยูในตัวเดียวกัน

ที่ 7.10 กระบอกลมแบบชวงชักหลายตําแหนง

- 71 -
International Training
ก. การติดตัง้ กระบอกลม (Cylinder Mounting)
การติดตั้งกระบอกลมสามารถกระทําไดหลายวิธีขึ้นอยูกับลักษณะของงาน และความตองการในรูปที่ 7.11 แสดง
ตัวอยางการติดตั้งกระบอกลมแบบตาง ๆ
1. แบบตอตรง (Direct Mounting)
2. แบบตัวแอล (Foot Mounting)
3. แบบหนาแปลนหนา(Front Flange)
4. แบบหนาแปลนหลัง(Rear Flange)
5. แบบหมุนที่ทาย (Rear Clevis)
6. แบบหมุนกลาง (Trunnion)

รูปที่ 7.11 การติดตั้งกระบอกลม

- 72 -
International Training
ตัวปรับเสนแนวแรงการเคลื่อนที่ของลูกสูบ(Floating Joint)
ในการติดตั้งกานสูบเขากับชิ้นสวนเครื่องจักร หรืองานที่บางครั้งอาจมีปญหาในเรื่องของ Alignment สามารถใช
Floating Joint ชวยนาการแกปญหาได

รูปที่ 7.12 แนวแรงที่กระทํา

การโกงงอของกานสูบ (Buckling Strength)


การใชงานกระบอกลมเกินกําลัง หรือในงานบางลักษณะอาจสงผลใหกานสูบเกิดการโกงงอแรงที่กระทําตอกาน
สูบสามารถแสดงใหเห็นอยูในรูปของความเคนของการกดการโกงงอของกานสูบขึ้นอยูกับวิธีการติดตั้ง ดังแสดงตัวอยางใน
รูปที่ 7.13

รูปที่ 7.13

- 73 -
International Training
ข. ขนาดของกระบอกลม (Cylinder Sizing)
แรงของกระบอกลมในเชิงทฤษฎี
ขนาดมาตรฐานของกระบอกลมตาม ISO สามารถแสดงใหเห็นไดดังตอไปนี้
8, 10, 12, 16, 20, 25, 32, 40, 50, 63, 80, 100, 125, 140, 160, 200, 250, 320 mm.
Force (N) = Piston area (m2) ⋅ air pressure (N/m2) หรือ
Force (lbf) = Piston area (in2) ⋅ air pressure (lbf/in2)

ก. สําหรับกระบอกลมแบบสองทาง
ตอนเคลื่อนที่ออก : FE = π ⋅ D2 ⋅ p
4
D = เสนผานศูนยกลางของลูกสูบ, p = ความดันเกจ
ตอนเคลื่อนที่เขา : FR = π ⋅ (D2 – d2) ⋅ pg
4
d = เสนผานศูนยกลางของกานสูบ

ข. สําหรับกระบอกลมทางเดียว
FEs = π ⋅ D2 ⋅ pg – Fs (Fs = แรงสปง ;Spring force at the end of stroke)
4

ตารางหาขนาดกระบอกสูบ

รูปที่ 7.14 ตารางความสัมพันธของแรง จากเสนผานศูนยกลางกระบอกลมกับความดันใชงาน

- 74 -
International Training
ตัวอยาง : ใหหาขนาดของกระบอกสูบเมื่อตองการแรง 1600 N ที่ความดัน 6 บาร
FE = π ⋅ D2 ⋅ p
4

= 0.0583 m = 58.3 mm

จากมาตรฐานของกระบอกสูบสามารถเคลื่อนกระบอกสูบไดขนาด 63 มม.

แรงที่ตองการ (Required Force)


แรงที่ตองการขึ้นอยูกับน้ําหนักของโหลด, ทิศทางในการเคลื่อนที่, มุม, ความเสียดทาน, ความดันที่ใช,
พื้นที่หนาตัดจริงของลูกสูบที่รับความดัน
โหลดจะประกอบไปดวยน้ําหนักของมวล (รูป 7.15a) แรงเสียดทาน (รูป 7.15b) ความเรงขณะที่โหลดเคลื่อนที่
(รูป 7.15 c) นอกจากนี้แรงยังขึ้นอยูกับมุมของกระบอกสูบในแนวแกน ดังแสดงในตัวอยางรูป 7.15 d

รูปที่ 7.15 Component Forces Diagram

สัดสวนของแรง (Load Ratio)

Required Force = 100 %


Theoretical Force

กระบอกสูบไมควรจะมี Road Ratio สูงกวา 85% และหากมีการปรับแตงความเร็ว หรือแรงที่ตองการก็ควรอยูในชวง 60-


70%

- 75 -
International Training
ตารางที่ 7.1 จะไดคา Load Ratio สําหรับกระบอกสูบขนาดตั้งแต 25 ถึง 100 มม. พรอมทั้งสัมประสิทธิ์การเสียดทาน โดยใช
ความดันที่ 5 บาร

Cyl. Mass Vertical 60o 45o 30o Horizontal


Dia (kg) µ0.01 µ0.2 µ0.01 µ0.2 µ0.01 µ0.2 µ0.01 µ0.2
25 100 - - - - - - - 4 80
50 - - - - - - - 2.2 40
25 - (87.2) (96.7) 71.5 84.9 50.9 67.4 1 20
12.5 51.8 43.6 48.3 35.7 342.5 25.4 33.7 0.5 10
32 180 - - - - - 4.4 -
90 - - - - - 2.2 43.9
45 - (95.6) - 78.4 (93.1) 55.8 73.9 1.1 22
22.5 54.9 47.8 53 39.2 46.6 27.9 37 0.55 11
40 250 - - - - - - - 3.9 78
125 - - - - - (99.2) - 2 39
65 - - - 72.4 (86) 51.6 68.3 1 20.3
35 54.6 47.6 52.8 39 46.3 27.8 36.8 0.5 10.9
50 400 - - - - 4 79.9
200 - - - - - 2 40
100 - 87 (96.5) 71.3 84.8 50.8 67.3 1 20
50 50 43.5 48.3 35.7 42.4 25.4 33.6 0.5 0
63 650 - - - - 4.1 81.8
300 - - - - 1.9 37.8
150 (94.4) 82.3 (91.2) 67.4 80.1 48 63.6 0.9 18.9
75 47.2 41.1 46.5 33.7 40.1 24 31.8 0.5 9.4
80 1000 - - - - 3.9 78.1
50 - - - - 2 39
250 (97.6) 85 (94.3) 69.7 82.8 49.6 65.7 1 19.5
125 48.8 42.5 47.1 34.8 41.4 24.8 32.8 0.5 9.8
100 1600 - - - - 4 79.89
800 - - - - 2 40
400 - (87) (96.5) 71.4 884.4 50.8 67.3 1 20
200 50 43.5 48.3 35.7 42.2 25.4 33.6 0.5 10
ตารางที่ 7.1 สัดสวนของโหลด ที่ความดัน 5 บาร

- 76 -
International Training
ในทางปฏิบัติเพื่อใหถูกตองในการเลือกขนาดของกระบอกสูบ จะตองรูเงื่อนไขตาง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปที่มีผลตอ
กระบอกสูบเพื่อความสะดวก ตารางที่ 7.2 จะแสดงน้ําหนักของโหลดในหนวย kg. Load Ratio 85% และความดันเปน 5 บาร

Cylinder. Vertical 60o 45o 30o Horizontal


Dia µ: 0.01 0.2 0.01 0.2 0.01 0.2 0.01 0.2
25 21.2 24.5 22 30 25 42.5 31.5 2123 106
32 39.2 45 40.5 54.8 46.2 77 58.2 3920 196
40 54.5 62.5 56.4 76.3 64.2 107 80.9 5450 272.5
50 85 97.7 88 119 100.2 167.3 126.4 8500 425
63 135 155 139.8 189 159.2 265.5 200.5 13500 675
80 217.7 250 225.5 305 256.7 428 323.5 21775 1089
100 340.2 390.5 390.8 352 476.2 669.25 505.5 34020 1701
ตารางที่ 7.2 โหลดที่เหมาะสม/ตามไดอะแกรมขนาดเสนผานศูนยกลางกับมุม

การควบคุมความเร็ว (Speed Control)


การควบคุมความเร็วของกระบอกสูบที่มี Load Ratio ต่ําจะใหผลดีกวา Load Ratio สูง การควบคุมความเร็วของ
กระบอกสูบสามารถกระทําไดสองลักษณะคือ การควบคุมลมเขา หรือการควบคุมลมออก โดยการควบคุมลมเขาเหมาะกับ
กระบอกสูบขนาดเล็ก และควบคุมลมออกจะเหมาะกับกระบอกสูบขนาดใหญ และกรณีที่ควบคุมความเร็วคงที่ควรใช Load
Ratio ประมาณ 75%
แรงตอหนวยเวลา = (kg • m)/s2
ความเรง = m/s2

ตัวอยาง :
น้ําหนักของโหลด 100 กก. ความดันใชงาน 5 บาร, กระบอกสูบเสนผานศูนยกลาง 32 มม. เคลื่อนที่ในแนวนอน
สัมประสิทธิ์เสียดทาน 0.2 แรงทางทฤษฎีเปน 401.2 นิวตัน
วิธีการ : จากตารางที่ 7.1 ที่มวล 90 กก. Load Ratio เปน 43.9%
ดังนั้นที่มวล 100 kg. จะมีคา Load Ratio เปน 43.9%
43.9 . 100 = 48.8%
90
แรงที่โหลดคือ 48.8% ของ 401.2 N = 196 N
คิดประสิทธิภาพของกระบอกลมที่ 95%, 95-48.80% = 46.2% ของแรงสําหรับความเรงของโหลดคือ 185.7 N
ความเรง 185.7 kg ⋅ m ⋅ s-2/100 kg.= 1.857 m•s-2
ถาปราศจากการควบคุม ความเร็วเชิงทฤษฎีมีคาประมาณ 2 m/s

- 77 -
International Training
Air Flow and Consumption (อัตราการสูญเสียลม)
ปริมาณลมอัดสําหรับกระบอกลมแบงได สองชนิดดวยกันคือ
1. ปริมาณลมอัดที่ใชเฉลี่ยตอชั่วโมงการทํางานหรือในขณะนั้น(อัตราการไหล)เพื่อใหทราบถึงปริมาณ
ลมอัดในชวงเวลาสูงสุดต่ําสุด
2. ปริมาณลมอัดที่ใชปริมาณการใชสะสม ใชสําหรับนําไปคํานวณคาใชจายสําหรับปมลมที่นํามาผลิตลม
อัด และนําลมอัดไปใชไดจริง
= พื้นที่ลูกสูบ x ระยะชัก x จํานวนระยะชักตอนาที x ความดันสัมบูรณ(bar)
(Piston area ⋅ Stroke length ⋅ number of single strokes per minute ⋅ absolute pressure in bar)

รูปที่ 7.16

อัตราการสูญเสียในเชิงทฤษฎี สามารถคํานวณหาคาไดจากสมการตอไปนี้

D (m) ⋅ D (m) ⋅ π ⋅ (p + 1.013) ⋅ Stroke (m) ⋅ n (strokes / min) ⋅ 103 (l / min) หรือ
4
D (mm) ⋅ D (mm) ⋅ π (p + 1.013) ⋅ Stroke (mm) ⋅ n (strokes / min) • 10-6 (l / min)
4

- 78 -
International Training
การสูญเสียลมสําหรับทอลม ระหวางวาลวลมกับกระบอกลม สามารถหาไดจากวาลวและกระบอกลมดังสมการ

Inner Tube diameter(mm) x Inner Tube diameter(mm) x Tube Length(mm) x Gauge Pressure in MPa(0.1 bar)

สวนตาราง 7.3 แสดงอัตราการสูญเสียลมในเชิงทฤษฎีในหนวยลิตรตอ100 มม.ของระยะชัก สําหรับกระบอกลม


เสนผานศูนยกลาง 20 มม. ถึง 100 มม. และความดัน 3 ถึง 7 บาร

Working Pressure in bar(litre)


Piston dia. 3 4 5 6 7
20 0.124 0.155 0.186 0.217 0.248
25 0.194 0.243 0.291 0.340 0.388
32 0.319 0.398 0.477 0.557 0.636
40 0.498 0.622 0.746 0.870 0.933
50 0.777 0.971 1.165 1.359 1.553
63 1.235 1.542 1.850 2.158 2.465
80 1.993 2.487 2.983 3.479 3.975
100 3.111 3.886 4.661 5.436 6.211
ตารางที่ 7.3 แสดงอัตราการสูญเสียลมในเชิงทฤษฎีในหนวยลิตร/100 มม.
ตัวอยาง 1 : จากขอมูลคาพลังงานตอชั่วโมงของกระบอกลมแบบสองทางที่ เสนผานศูนยกลาง 80 มม. ความยาวชวงชัก
400 มม. ทํางาน 12 ครั้งตอนาที ที่ความดัน 6 บาร
จากตาราง 7.3 จะเห็นไดวา เสนผานศูนยกลางกระบอกลม 80 มม. ใชปริมาณลม 3.5 ลิตรตอ 100 มม.
โดยประมาณ ดังนั้น
Q x 400 มม. st x จํานวนระยะชักตอนาที x ไปและกลับตอระยะชัก
100 มม. st.
= 3.5 x 4 x 24 = 336 l/min
จากกราฟและประสิทธิภาพโดยรวมเราจะพบวาปริมาณการใชกระแสไฟฟา 1 kw สําหรับ 0.12-0.15 m3/min ที่
ความดัน 7 bar มาเปน 1 m3n/min เราจะไดปมลมขนาด 8 kw
เมื่อเรานําไปคํานวณ 1 kw . hr ประมาณ 5 c จะได 5 c x 8 kw = 40 c/hr.
จากตัวอยาง 0.336 m3n/min • 40 c/hr = 13.4 c/hr
1 m3n/min
กระบอกลมทั้งหมดในเครื่องจักร สามารถคํานวณดวยวิธีการนี้ เพื่อหาปริมาณลมและคาใชจาย โดยมีขอควรใช
ดังนี้
• คาปริมาณลมอัดนอกเหนือจากจากตารางที่ให ไมไดรวมระยะจากขอตอ ทอลม ถึงวาลวทํางาน
• การเปลี่ยนแปลงพลังงานไมรวมการสูญเสีย จากลมรั่ว จากเครื่องมือวัด

- 79 -
International Training
สําหรับการเลือกขนาดสําหรับวาลวลมที่ใชสําหรับกระบอกลมตัวเดี่ยว เราสามารถเลือกตามขนาดอัตราการไหล
สูงสุด ซึ่งจะแสดงใหเห็นความเร็วสูงสุดของกระบอกลม ปริมาณลมสูงสุดที่ไหลผานที่ทําใหกระบอกลมเคลื่อนที่ เพื่อนําไป
เลือกชุด FRL ตอไป
สวนความสูญเสียทางดานความรอน ในเรื่องคุณสมบัติของกาซ (adiabatic change) เราจะพบวาเกิดการ
เปลี่ยนแปลงตามทฤษฎีของ Boyle p x V = คาคงที่ เปน p x Vk = คาคงที่ ซึ่งคา k สําหรับลมอัดมีคา 1.4 สวน
ตาราง 7.4 อธิบายถึงการเพิ่มสําหรับคาคงที่ โดยสัดสวน isothermic/adiabatic compression

Pabs 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
cr isothermic 0.987 1.987 2.974 3.961 4.948 5.935 6.923 7.908 8.895 9.882
cr adiabatic 0.991 1.633 2.178 2.673 3.133 3.576 3.983 4.38 4.749 5.136
factor 1 1.216 1.365 1.482 1.579 1.66 1.738 1.8 1.873 1.924
ตาราง 7.4 Isothermic/Adiabatic Correction Factors
การชดเชยตามที่ปรากฏตามความสัมพันธกับการเปลี่ยนแปลง ทําใหความยุงยาก จากทฤษฎีการไหลมีการคูณ
ทางดานแฟกเตอร 1.4 แทนคาเฉลี่ยที่ไดจากการทดสอบ ดังแสดงในรูปคาจะนอยกวาในทฤษฎี โดยที่คาการเปลี่ยนแปลง
ทั่วไปไมถึง 100 % adiabatic
ตาราง 7.5 แสดงขอมูลของตาราง 7.3 แตเปนขอมูลที่รวมคาแฟกเตอร

Piston Diameter Air Consumption in litres/100 mm stoke(Working Pressure bar)


(mm) 3 4 5 6 7
20 0.174 0.217 0.260 0.304 0.347
25 0.272 0.340 0.408 0.476 0.543
32 0.446 0.557 0.668 0.779 0.890
40 0.697 0.870 1.044 1.218 1.391
50 1.088 1.360 1.631 1.903 2.174
63 1.729 2.159 2.590 3.021 3.451
80 2.790 3.482 4.176 4.870 5.565
100 4.355 5.440 6.525 7.611 8.696
ตาราง 7.5 การเปลี่ยนแปลง Adiabatic Correction Factor เพิ่มเติมจากตาราง 7.3
ตัวอยาง 2 : กระบอกลมเสนผานศูนยกลาง 63 มม. ระยะชัก 500 มม. ที่ความดัน 6 บาร ใชปริมาณลม 15 ครั้งตอนาที
Q = 1.4 x (63 มม.)2 x ¶ x 500 มม. x 30 ครั้งตอนาที x 6 บาร + 1.023 บาร x 10-6 มม3/ลิตร
4 1.013 บาร
= 453.195 ลิตรตอนาที
จากการใชตารางเราจะพบวา 3.021 ลิตรตอ 100 มม.ระยะชัก โดยใชตัวคูณ 5 จะได
3.021 x5 x 30 ครั้งตอนาที = 453.15 ลิตรตอนาที

- 80 -
International Training
7.2 อุปกรณทํางานในแนวหมุน (Rotary Actuator)
7.2.1. แบบเฟองตรงและเฟองสะพาน Rack and Pinion Type
อุปกรณทํางานแบบนี้จะใชลูกสูบสงกําลังผานเฟองสะพานที่ตอยูภายใน เมื่อเคลื่อนที่จึงไปขับเฟองตรงที่อยูใน
แนวเสนรอบวงใหหมุนทํางาน ซึ่งมุมมาตรฐานที่นํามาใชกันจะเปน 90o หรือ 180o ปจจุบันไดทําการปรับปรุงและสามารถ
ทํามุมไดถึง 360 o หมุนไปและหมุนกลับ

รูปที่ 7.17 อุปกรณทํางานแบบเฟองตรงและเฟองสะพานเพื่อใชในแนวเสนรอบวง

7.2.2. Vane Type Rotary Actuators


อุปกรณทํางานชนิดนี้นี้จะใชใบพัดเปนตัว
ขับแกนเพลา โดยการทีทําการปองกันการรั่วโดยใช
ซีลกันการรั่วจากหอง โดยทั่วไปที่พบมักจะเปนการ
หลอซีลขึ้นรูป นอกจากนั้นแลวในสวนที่เปนสวนที่
ใชในการหยุดใบพัดกับเพลาก็จะเปนยาง มุมของ
การหมุนที่พบดังนี้ 90o, 180o หรือ 270o
นอกจากนั้นแลวในบางรุนยังสามารถที่จะทําการ
ปรับมุนในการหมุนเพื่อใหเหมาะสมกับการใชงาน
ไดเชนกัน

รูปที่ 7.18 อุปกรณทํางานแบบใบพัด(Vane)

- 81 -
International Training
ก. ขนาดของ อุปกรณแบบหมุน Rotary Actuator)
กําลังบิด(Torque)และความเฉื่อย(Inertia)
กระบอกลมในแนวเสนตรงที่มีกันกระแทรกแบบลมที่ใชในการลดความเร็วของกระบอกลมที่มาปะทะเพื่อ
ปองกันความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้น แตเราสามารถนํากันกระแทรกที่นํามาคํานวณในการเคลื่อนไหววัตถุจาก
= ½ mv2
ซึ่งสวนสําคัญที่นํามาคํานวณสําหรับโหลดก็มีความเสียดทาน และความเร็วที่สูง จึงเปน เรื่องสําคัญมากเพื่อใหเรา
ทําความเขาใจถึงโหลดไดอยางถูกตองมากชึ้น เพื่อนําไปใชสําหรับหยุดน้ําหนักโหลดโดยปราศจากกันกระแทรก สําหรับ
งานที่มีอยูในลักษณะการหมุนนี้ โดยจะอธิบายถึงพลังงานที่ตองใชและควรทําความเขาใจ

รูปที่ 7.19 แสดงเกี่ยวกับโมเมนความเฉื่อยเพื่อใชในการคํานวณในลักษณะชิ้นงานตาง ๆ

- 82 -
International Training
เพื่อใหทราบถึงกําลังบิดที่ไดของโหลด นําไปแทนคาเพื่อหาคากําลังของโหลดตอพื้นที่หรือระยะในแนวการหมุน
ตามสมการดังนี้
J = m • r2 • (kg • m2)
สําหรับการหมุนนั้นทําใหเกิดการลื่นไถลของอุปกรณ ไมสมดุลกัน ตัวอยางดังรูป 7.19k แสดงใหเห็นความเฉื่อยที่
เกิดกับแขนสองดานไมเทากันในรูปแบบของเหลี่ยมของระยะทางกับจุดศูนยถวงของการหมุนของแกน
สวนรูปที่ 7.20 a แสดงใหเห็นเมื่อน้ําหนักไปหยุดที่ตําแหนงของตัวลดพลังงานกอนหยุด(Shock absorber) ซึ่งหาง
จากแกนที่หมุนอยูที่ปลาย กับตําแหนงรูป 7.20 b ซึ่งใกลกวา การหยุดในตําแหนงนี้สามารถทําไดแตจะเกิดแรงตานสูงแตเรา
สามารถจะทําไดหากเปนจะที่เคลื่อนยายยอมรับได

รูปที่ 7.20 การหยุดของแขนหมุนทําใหเกิดแรงตาน

ความเฉื่อยสําหรับการหมุนตัววัตถุ คือการเคลื่อนยายมวล คือถึงการเคลื่อนไหวเชิงเสน.พลังงานคือ จํากัดความ


โดยความเร็วของมัน สําหรับการหมุนตัว,ความเร็ว คําจํากัดความโดยความเร็วเชิงมุม ω,แสดงในหนวย rad/sec ดังรูป
7.21ภาพประกอบ

รูปที่ 7.21 นิยามของความเร็วเชิงมุม

- 83 -
International Training
ข. ความเร็วเฉลี่ยและความเร็วสูงสุด
วาถึงกันกระแทรกสําหรับการเคลื่อนไหวเชิงเสน,สําหรับสูงที่สุด ยอมใหถึงการหยุดกระบอกลมแบบเสนรอบวง
นี้เราจะพิจารณาความเร็วสุดทาย อัตราเรงโดยการอัดอากาศ ถาไมมีการจํากัดเฉพาะโดยหลัง-กอน-การแนใจ อาจจะพิจารณา
ถึงเกือบคาคงที่ ที่ศูนยเริ่มตนการเคลื่อนไหวและเพิ่มขึ้นเปนสองเทาของความเร็วเฉลี่ย(ตอเวลา) ที่สิ้นสุดของระยะ สําหรับ
การเคลื่อนไหวนิวแมติกสเร็ว การคํานวณใหพื้นฐานสองเทาของความเร็วเฉลี่ยดังรูปที่ 7.22.

รูปที่ 7.22 ความสัมพันธความเร็วเฉลี่ยและความเร็วสุดทาย

- 84 -
International Training
7.3 อุปกรณการทํางานพิเศษ (Special Actuators)
7.3.1 กระบอกลมแบบล็อคตําแหนงได (Locking Cylinder)
กระบอกลูกลมแบบนี้จะติดตั้งหัวจับไวที่บริเวณสวนหัวซึ่งเอาไวจับกานสูบสามารถใหหยุด ณ ตําแหนงใดๆ ก็ได
การล็อคจะใชการทํางานทางกล เพื่อความปลอดภัย แมแตในกรณีมีความดัน หรือกรณีเครื่องจักรมีปญหา ก็จะล็อคแนน

รูปที่ 7.23 กระบอกลมชนิดสามารถล็อคตําแหนงได

7.3.2 กระบอกลมไรกาน (Rodless Cylinders)


- กระบอกลมแบบไรกานชนิดแมเหล็กในการเคลื่อนที่ (With magnetic coupling, unguided)

รูปที่ 7.24 กระบอกลมไรกาน

กระบอกลมแบบนี้กานสูบจะอยูกับที่ตัวที่เคลื่อนที่คือ กระบอกภายนอก หลักการทํางานของกระบอกสูบแบบนี้


กลาวคือ ภายในกานสูบจะมีลูกสูบซึ่งมีแมเหล็กเปนสวนประกอบ และที่กระบอกภายนอกก็จะมีแมเหล็กถาวรติดอยู
เชนเดียวกันซึ่งมีขั้วตรงกันขาม เปนผลใหลูกสูบภายในกานสูบ และกระบอกสูบดูดติดกันดวยอํานาจแมเหล็ก ดังนั้นเมื่อใส
ความดันลมเขากานสูบลูกสูบภายในกานสูบเลื่อนก็จะทําใหกระบอกภายนอกเคลื่อนที่ไปดวย

- 85 -
International Training
กําลังที่มีใหจากแมเหล็กถาวรชนิดคู ทั้งในลูกสูบและที่เสื้อสูบ ของกระบอกลมไรแกนนี้มีขอจํากัด โดยแมเหล็กจะ
สงวนกําลังไมเกินแรงที่ดูดไดปกติ สามารถใชความดันไดถึง 7 บาร เวนแตใชงานแบบไดนามิกจะทําใหเกิดแรงกระแทรก
สูง ทําใหแตกหักเสียหายได การเคลื่อนไหวแนวตั้งไมแนะนํา นอกจากขอบความปลอดภัย ขึ้นอยูกับขอจํากัดของผูจําหนาย
คือเพื่อนําไปใชประโยชน
เมื่อดูระหวาง ชุดพาและชุดโหลด Fo ไมไดอยูบนเสนแกนเดียวกัน คือระยะที่เยี่ยงศูนยแนนอน ซึ่งระยะ lo ในรูป
เปนระยะที่อนุญาติใหรับโหลด นอยลง จากขอมูลผูขายแนะนําสําหรับการประกอบแลวเกิดการเยี่ยงศูนยอาจทําใหเกิดความ
เสียหายสําหรับชุดพากระบอกลมไรแกนได

รูปที่ 7.25 ความสัมพันธของกระบอกลมไรแกนกับการพาโหลด

รูป7.26แสดงโดยชนิดไกดของกระบอกลมไรกานแบบที่เปนแมเหล็ ระหวางลูกสูบและชุดพา

รูปที่ 7.26 กระบอกไรแกนแบบแมเหล็กที่มีไกด


7.3.3 กระบอกลมไรแกนแบบแมคคานิกส
กระบอกลมแบบนี้จะประหยัดพื้นที่ในการติดตั้งมากกวากระบอกสูบแบบสองทางธรรมดา นอกจากนี้ก็ยังมีแบบที่
มีไกด ดังรูป ขึ้นอยูกับชนิดของไกด ใช ปญหาที่พบของการรับโหลดดานขาง สามารถแกใขโดยการใชลูกปนชนิดทรงกลม
มาแกปญหา สวนการรับโหลดดานขางและระยะชักยาวๆ นั้น ขึ้นอยูกับความละเอียดของไกดรับแรง อยางไรก็ตามควรมี
ระยะสําหรับพิกัดดานขางสําหรับความตานทาน สําหรับระยะชักที่ยาวควรมีแฟกเตอรของแรงมาเกี่ยวของ ใหทําการจับยึด
จุดยึดตามระยะที่ผูผลิตไดใหคําแนะนําการใช เรียกจุดยึดนี้วาจุดยึดดานขาง

- 86 -
International Training
7.3.4 กระบอกสูบแบบไรกานชนิดอาศัยแม็กคานิกส (Guided, with mechanical coupling)

รูปที่ 7.27 กระบอกลมไรกานแบบแมคคานิกส

7.3.5 กระบอกลมแบบสองแกน(Slide Units)


อุปกรณทํางานแบบนี้สวนมากจะใชในอุตสาหกรรมประกอบชิ้นสวนเครื่องจักร ใชเปนสวนประกอบของลักษณะ
งานแบบหุนยนต

รูปที่ 7.28
สําหรับงานที่ตองการความเที่ยงตรง ในแนวขนาน หรือที่มีการเคลื่อนที่ที่ตองการเปนเสนตรงกระบอกลชนิดนี้จะ
ทําใหการเคลื่อนในสวนนี้เปนไปดวยความราบเรียบสม่ําเสมอ
โดยที่เราสามารถใชงานใหกระบอกลมมีการจับยึดที่เสื้อก็ไดในรูป b ใหอยูกับที่แกนเคลื่อนไปมาได สวนในรูป c
เราสามารยึดกระบอกลมใหหัวทายอยูกับที่ โดยที่เสื้อเคลื่อนที่ไปมาได โดยทั้งสองวิธีเราสามารถที่จะทําการยึดหรือ ใชจุด
ตอชองสําหรับเกลียวลมใชงานไดหลายวิธี

- 87 -
International Training
7.3.6 กระบอกลมแบบกานกลวง (Hollow Rod Cylinder)
กระบอกสูบแบบนี้ถูกออกแบบมาใชในงาน Pick and Place โดยที่กานสูบสามารถตอโดยตรงเขากับจุดสราง
สุญญากาศ

รูปที่ 7.29 กระบอกลมกานกลวง

7.3.7 กระบอกลมแบบเสนตรงรวมกับกระบอกลมแบบหมุน(Rotating Cylinder)


โดยการนําเอากระบอกลมแบบเสนตรงมาประกอบกับกระบอกลมที่หมุนในแนวเสนรอบวง โดยที่แขนการหมุน
สามารถที่หมุนกอนหรือหลังหรือพรอมๆ กันกับการที่กระบอกแบบเสนตรงเคลื่อนที่ เหมาะสําหรับงานจับเคลื่อนยาย
ชิ้นงาน

รูปที่ 7.30 กระบอกลมแบเสนตรงรวมกับกระบอกลมแบบหมุน

- 88 -
International Training
7.3.8 กระบอกลมแบบมือจับชิ้นงาน (Air Chuck, Gripper)
อุปกรณทํางานประเภทนี้ถูกออกแบบมาใชสําหรับเปนมือจับของแขนหุนยนตในงานอุตสาหกรรม

รูปที่ 7.31 กระบอกลมแบบมือจับชิ้นงาน

ตัวอยาง : การประยุกตใชงานในอุตสาหกรรม

รูปที่ 7.32 ตัวอยางการใชกระบอกลมแบบมือจับชิ้นงานและแบบเสนตรงพรอมกับกระบอกลมแบบหมุน

- 89 -
International Training
บทที่ 8
สัญลักษณและวงจรนิวแมติกสพื้นฐาน

8.1 สวนประกอบ
สัญลักษณสําหรับระบบพลังของไหล และคอมโพแนนท ตามมาตราฐาน ISO 1219(AS1101) ตามมาตราฐานได
รวมสัญลักษณไฮดรอริกและนิวแมติกสไวดังแสดงใหเห็นดังรูปจากหนาที่ เนื่องจากมาตาฐานไมไดระบุเกี่ยวกับโครงสราง
ดังตัวอยาง ตามก ISO/AS ที่ไมไดมีความแตกตางในสัญลักษณระหวางกระบอกลมสองทาง และกระบอกลมแแบบสองแกน
ถึงแมวาบางผูผลิตไดมีการแนะนําในสวนสัญลักษณที่แยกออกไป

8.2 สัญลักษณ
8.2.1 สัญลักษณอุปกรณทําความสะอาดลมอัด
สัญลักษณพื้นฐานสําหรับลมอัดที่สะอาดและแหง ในสวนของสี่เหลี่ยมโดยมีเสนทางเขาและเสนทางออกจาก
ทางดานซายมือและมุมทางดานขวามือ ในสวนของหนาที่การทํางานจะระบุไวภายในของชองสี่เหลี่ยมรูปเพชรนี้ ดังรูปขาง
ลาวจะแสดงใหเห็น
พื้นฐานของสัญลักษณของวาลวปรับความดันในรูปสี่เหลี่ยมพรอมกับเสนทางเขาและเสนทางออกในสวนบริเวณ
ตรงกลางดานซายและดานขวา เสนทางเดินของลมอัดจะแสดงดวยลูกศร การตั้งหรือปรับคาของสปงจะมีรูปรางเปนเสนตรง
ซิกแซกสลับกัน แลวตัดดวยลูกศรที่สามารถปรับได ดังรูป 8.1

รูปที่ 8.1 สัญลักษณสําหรับการทําความสะอาดลมอัด ISO 1219/AS 1101.1

- 90 -
International Training
8.2.2 สัญลักษณกระบอกลม
กระบอกลมเสนตรงจะเขียนภาพจากซายไปขวาดังรูป หรือไมก็ไมแตกตางกันระหวางลูกสูบและกระบอกชนิด
อื่นๆ สวนกระบอกลมแบบหมุน(Rotary ) จะเปนแบบเฟองตรงกับเฟองสะพานแและแบบเวนดังรูป

รูปที่ 8.2 ISO/AS สัญลักษณกระบอกลม

8.2.3 สัญลักษณวาลว
สัญลักษณพื้นฐานของวาลวควบคุมจะแบงออกเปนกลุมเปนรูปสี่เหลี่ยม โดยที่ทางเขาและทางออกจะเขียน
ดานลาง ออกดานบน โดยที่สี่เหลี่ยมๆแตละชองจะแบงหนาที่ เชนวาลวควบคุมที่ทําหนาที่ สองและสามฟงกชัน สี่เหลี่ยมใน
แนวนอน จะเปนตัวบอกหนาที่การทํางาน

โดยจะมีการแบงออกเปนหองๆ แสดงถึงการทํางานของวาลวที่มีชองตอถึงกัน

- 91 -
International Training
ภายในถาหามีสัญลักษณ
แสดงกวาปด Τ
ลมปอนระบบ
ลมระบายทิ้ง
เสนลม
ลมชวย
ลมระบาย
สัญลักษณสําหรับตัวดําเนินการจะมีรูปรางเล็กดานขางทั้งสองดานของสี่เหลี่ยม โดยสัญลักษณจะแสดงดาน
ซายมือ ยกเวนสปงจะวางไวดานตรงขามของดานที่ดําเนินการทางแมคคานิกส ซึ่งเปนเทคนิคของตัวดําเนินการ โดยจะมีการ
ยายชองหากมีการทํางาน

- 92 -
International Training

รูป 8.3 จะอธิบายถึงสัญลักษณและการนํามารวมกันของสวนตางๆ

8.3 วงจรควบคุม
8.3.1 วงจรควบคุมพื้นฐาน
ไดอะแกรมสําหรับการเขียนวงจรพื้นฐานสําหรับตําแหนงการควบคุมเครื่องจักร เริ่มจากแหลงจายลมอัด จากรูป
เปนการรวมเอาระบบไฟฟามารวม โดยที่สวนประกอบทั้งหมดในรูปจะบอกตําแหนงและผลการทํางานดังรูป 8.4

รูปที่ 8.4 พื้นฐานและสวนประกอบสําหรับวงจรนิวแมติกสพื้นฐาน

- 93 -
International Training
8.3.2 ตําแหนงหยุด (Resr Position)
การสั่งงานสําหรับวาลวแมคคานิกสนั้นเราสามารถทําใหกระบอกลมทํางานในตําแหนงปกติโดยมีรูปแสดง อยูใน
รูปของสี่เหลี่ยมดานซายมือในรูปเปนการสั่งดวยไฟฟา สําหรับวาลวแบบ 5/2 นั้นผลเมื่อเราทําการปอนลมเขาทางชองปอน
ลมอัด ลมอัดจะผานไปยังกระบอกลมทางดานขวามือ เปนผลใหกระบอกลมอยูในลักษณะปกติทํางานคือหดอยู จนเมื่อเรามี
การสั่งโซลีนอยดไฟฟาใหทํางาน เปนผลใหแกนภายในของวาลวเคลื่อนที่ไปทางดานขวามือกลาวคือเปนการเปลี่ยนทิศ
ทางการเคลื่อนทําใหลูกสูบที่อยูภายในของกระบอกลมเคลื่อนที่ออกไปทางดานขวามือ และเมื่อทําการปลดการสั่งการดวย
โซลีนอยดไฟฟาก็จําทําใหวาลวเคลื่อนที่กลับดวยสปง เปนผลใหกระบอกลมเคลื่อนที่กลับสูตําแหนงเดิม(ปกติหด)

ก. วาลวที่สั่งงานดวยมือ(Manually Operated Valves)

รูปที่ 8.5 กฎการเชื่อมตอของวาลวชนิดตําแหนงของวาลวสั่งงานดวยมือ

ข. วาลวสั่งงานดวยไฟฟาและสั่งงานดวยลม
ตําแหนงการสั่งงานดวยโซลีนอยดผานไปยังวาลวลม ตําแหนงการสั่งงานดวยลมผานไปยังวาลวลม
3/2 ปกติปด (N.C) 3/2 ปกติเปด(N.O)

รูปที่ 8.6 กฎและตําแหนงปกติทํางานในการสั่งงานดวยโซลีนอยดและลม

- 94 -
International Training
ค. การสั่งงานวาลวดวยแมคคานิกส
วาลวปกติปด(N.C) วาลวปกติเปด(N.O)

รูปที่ 8.7 กฎและตําแหนงปกติทํางานในการสั่งงานวาลวดวยแมคคานิกส

- 95 -
International Training
8.3.3 สัญลักษณและการออกแบบวงจรนิวแมติกส
ในวงจรไดอะแกรมการทํางาน ทิศทางการไหลจากดานลางจนถึงดานบนสําหรับวงจรพื้นฐานนิวแมติกส การ
ทํางานจากทางดานซายมือไปขวามือ เริ่มจากการปอนลมอัดผานชุด FRL จากดานลางมุมขวามือ ผานมาสูวาลวลมตรง
สวนกลาง สวนบนจะเปนวาลวปรับความเร็วและบนสุดคือที่วางตําแหนงของกระบอกลมทํางาน
จากสวนที่เปนกระบอกลม วาลวควบคุมความเร็วและวาลวหลัก เราจะเรียกวาสวนกําลัง(POWER LEVEL) ในรูป
8.8 จะแสดงไว สวนที่สองจะปน ตกรรก(LOGIC LEVEL)และสวนสุดทายจะเปนสวนสัญญาณ(SIGNAL LEVEL) ในสวน
นี้เราจะใชวาลว 3/2 แบบลูกกลึ้งใชสําหรับควบคุมตําแหนงของกระบอกลมในการขับเคลื่อนชิ้นสวน ซึ่งเปนสวนลางสุด
ระหวางสวนที่เปนสวนกําลัง(POWER UNIT) และสวนที่เพิ่มเติมสําหรับวาลวเพื่อทําการตามวงจรเงื่อนไขตางๆ
เพื่อใหเปนไปตามการควบคุมที่เแมนยําเราจึงใชเปนสวนของตกรรก(LOGIC FUNCTION) ซึ่งบล็อคไดอะแกรมดังรูป 8.8
ไดอธิบายไวแลว

รูปที่ 8.6 วงจรพื้นฐานสําหรับนิวแมติกส

- 96 -
International Training
ก. วิธีเรียกแตละตําแนง
จากรูปขางตนวงจรนิวแมติกสนํามาเขียนวงจร โดยใชวาลวแบบลูกกลิ้งมาไวที่ตําแหนงบนเพื่อทําหนาใหลูกเบี้ยว
ทํางานที่ตําแหนงสุดทายของกระบอกลม ในวงจรสมัยใหมไดนําเอาการตอวงจรและวิธีการเขียนเสน สัญลักษณเหลานี้มา
เพื่อดําเนินการดังรูป 8.5 แลวใชเสนในแนวตั้งเปนตัวกํากับสัญญาณ เสนตรงใชสําหรับบอกจะหมายปลายทางที่เครื่องจักร
ทํางานโดยการเขียนในรูปสัญลักษณ
โดยที่เราจะนําอุปกรณตางๆ จากหนาที่ตางๆ เริ่มตนจากตนกําลังซึ่งใชอักษรตัวหนา เขียนแทนตัวสั่งงาน
ยกตัวอยางเชน C เปนตัวจับชิ้นงาน สวน D เปนสวาน โดยการแบงหนาที่ของกระบอกลม ในสวนที่เปนวาลวกําลังและมีตัว
สวิทซที่เปนแบบลูกกลิ้งอยูที่ปลายทั้งสองขาง ตําแนงเริ่มตนจะใหเปน C0 สวนตําแหนงทํางาน(ยืด)คือ C1
จากตัวอยางรูป เราจะใชรูปที่ 8.6, 8.7 มาเพื่อที่จะทํางาน จากรูปที่ 8.9 จะอธิบายการทํางานไดดังนี้ วาลวลูกกลิ้งใน
ตําแหนง C0 ถูกกดอยูทําใหมีลมผานมาที่วาลวปดเปดแตยังไมทํางานจนกระทั่ง เมื่อทําการเปดวาลวปดเปด(start/stop) ทํา
ใหลมผานวาลวปดเปดไปเปลี่ยนทิศวาลวหลัก C+ ทําใหลมผานไปดันกระบอกลมใหลูกสูบเคลื่อนไปดานหนา
ขณะเดียวกันสวิทซ C0 ก็จาก จนกระทั่งลูกสูบเคลื่อนที่มาแตะสวิทซ C1 เปนผลใหวาลว C1 ถูกกดลมไหลผาน C1 ไปทํา
ใหวาลวหลัก C- ทํางานเลื่อนชองวาลวไปดานซาย ทําใหลมไหลผานชองวาลวทําใหลูกสูบเคลื่อนที่กลับ(หด) ครบหนึ่งรอบ

รูปที่ 8.9 การเขียนวงจรในการทํางาน

- 97 -
International Training
ข. ตัวอยางไดอะแกรม
เราสามารถทํางานเปนขั้นตอนปกติ ตามไดอะแกรมเบื้องตน หาการทํางานนั้นไมเปนไปตามวงจรพื้นฐานโดยที่มี
เงื่อนไขการทํางานไมปกติ จึงจําเปนที่จะตองทําการแบงเปนกลุมเพื่อทําการแยกลมออกมิฉะนั้นจําทําใหไมสามารถควบคุม
วงจรดังกลาวไดเชน
A+, B+, B-, A-
เราไดนําเอาวาลวสําหรับเปลี่ยนกลุมลมมาใชในชวงที่กระบอกลม B+ มีการเคลื่อนที่ออกไปแตะสวิทซเพื่อเปลี่ยน
กลุมลม M+ และเมื่อจะเคลื่อนที่กลับมานั้นในชวงที่กระบอกลม A- แตะสวิทซลมก็จะทําใหเปลี่ยนกลุมลม M- เพื่อใหการ
ทํางานเปนไปอยางตอเนื่องดังรูป

รูปที่ 8.10 ตัวอยางไดอะแกรมแบบเงื่อนไข( Cascade)

- 98 -
International Training
บทที่ 9
วงจรนิวแมติกสพื้นฐาน
บทนํา
วงจรนิวแมติกสพื้นฐานเปนการนําสวนตางๆ รวมวาลวที่ทําหนาที่แตกตางกันออกไป นํามารวบรวมหนาที่และ
ขั้นตอนการทํางานตามวงจรที่เราตองการ
หนาที่ที่สามารถนําไปควบคุมกระบอกลมหรือสั่งงานวาลว
หนาที่การใชงาน สําหรับการควบคุมจากหนาจอการควคุม หนาที่วาลว ความปลอดภัย
สวนหนาที่สุดทายในการใชเปนตกรรก มีดังนี้ ระบุ ปฏิเสธ และ หรือ

การออกแบบวงจร
ดังที่กลาวไวในตอนตนการออกแบบของวงจรนิวแมติกสนั้น มีผลลัพธที่แตกตางมากมาย ที่เราสามารถปฏิบัติ
และไมมีมาตราฐานหรือคําแนะนํามากขึ้นอยูกับลําดับขั้นการออกแบบ ซึ่งขึ้นอยูกับพื้นฐานเจ็ดอยางที่ควรปฏิบัติ สําหรับ
การออกแบบดังนี้
1. ตองมีความเขาใจกับวงจรอยางงาย เขียนวงจรอยางงาย เพื่อใหเขาใจ การทํางานของกระบอกลม
แบบสองทาง
2. เริ่มตนจากทางออก(กระบอกลม) เมื่อเขียนวงจร เริ่มตนเขียนกระบอกลม จะทําใหสามารถเลือก
ขนาดวาลวและวาลวควบคุม
3. เขียนระดับวงจรที่ใชในการควบคุม ขยายวงจรแยกเปนสวนๆ
4. เขียนวงจรในแนวเสมอกัน ระบุตําแหนงในเครื่องจักรหรืออุปกรณทํางานตองแตตนจนสุดทาย
5. เขียนเสนทางผานของลม เมื่อลมอัดไหลผานมากกวาสองทางหรือมีทางหลักเพื่อใหงาย
6. กระบอกทางเดียวทํางานสองหนาที่ สําหรับกระบอกลมทางเดียวตองทํางานในหนาที่ปดเปนเปด
หากทําหนาที่ หรือจากปดเปนเปด
7. กระบอกลมสองทางควรมีสวิทซสี่ตัว กระบอกลมสองทางไมใชวิธีใชมือสําหรับตําแหนงลมอัด
ตองใช หนึ่งกระบอกลมทางเดียวใชวาลวสองตัวสองหนาที่ กระบอกลมสองทางใชวาลวสี่ตัวทํา
หนาที่ ถาตองจายลมปดเปนเปด สองครั้ง เปดเปนปด มีสวิทซสี่ตัว

9.1 หนาที่ขั้นตน
9.1.1 เพื่อขยายสัญญาณ (Flow Amplification)
จากรูปกระบอกลมมีขนาดใหญดังนั้นจะมีการใชปริมาณลมอัดมาก ซึ่งการที่จะใชวาลวที่มือที่มีขนาดใหญนั้นใน
การทําใหกระบอกลมทํางาน เราสามารถที่จะใชวาลวเพื่อการทําใหวาลวขนาดใหญทํางานแทนที่หรือเรียกวาลวขยาย
สัญณาณ ซึ่งปรกอบไปดวยวาลว 2 ตัวดวยกันปกติปด ลักษณะนี้ก็สามารถนําไปใชงานกับวาลวที่มีขนาดเล็กกวาได

- 99 -
International Training

รูปที่ 9.1 วงจรขยายสัญญาณ

9.1.2 เพื่อเปนสัญญาณตรงกันขาม(NOT)
นอกจากการนําวาลวเพื่อเปนสัญณาณบวกแลว เราสามารถใชการเปลี่ยนหนาที่ของวาลวในทางตรงกันขามที่
เรียกวาเปนปกติปด ใหเปนปกติเปด ตัวอยางหากมีวาลวที่เปนปกติเปดอยูเมื่อเราใหสัญญาณวาลวก็จะเปลี่ยนการทํางานเปน
ปกติปด ตรงกันขามได ดังรูป

รูปที่ 9.2 การใหสัญญาณตรงกันขาม(NOT)

9.1.3 การเลือก
ก. การทํางานแบบวงจรไมคางตําแหนง
การเลือกวาลวจาก 3/2 ไปเปลี่ยนวาลวที่เปน 5/2 นั้น ขั้นตนการนําวาลว 3/2 มาเพื่อทํางานพลักวาลวหลัก 5/2 เพื่อ
เปลี่ยนการทํางานของกระบอกลม ทําใหวาลว 3/2 นั้นขยายสัญญาณ ดังรูป เราจะใชหลอดสีเขียวในปกติทํางาน เมื่อมีการสั่ง
การดวยวาลวสัญญาณจะเปลี่ยนเปนหลอดสีแดงแทน และเมื่อปลอยมือกดสปงก็จะดันวาลว 3/2 และ 5/2 กลับเปนผลใหลม
ก็จะกลับไปในหลอดสีเขียวดังเดิม ลักษณะเชนนี้เรียกการทํางานแบบไมคางตําแหนง ดังรูป 9.3

- 100 -
International Training

รูปที่ 9.3 วงจรแบบไมคางตําแหนง


ข. การทํางานแบบคางตําแหนง
จากรูปที่ 9.4 เมื่อเราทําการเปลี่ยนวาลว 3/2 ในการทํางานเปนสองตัว โดยมีวาลวหลักเปน 5/2 จะพบวาเมื่อเรา
สั่งงานวาลว 5 ทํางานจะทําการเปลี่ยนทิศลมอัด ทําใหวาลวหมายเลข 7 เปลี่ยนทําใหลมออกในหลอดสีแดงเปลี่ยนมาเปนลม
ออกในหลอดสีเขียวแทน และยังคงคางตําแหนงนั้นไวถึงแมจะปลอยวาลว 5 ก็ตาม หลังจากนั้นถาเรากดวาลวหมายเลข 6
จากปกติปดก็จะเปลี่ยนไปเปนเปด ทําใหลมผานไปยังวาลวหลัก 7 เปลี่ยนการทํางานวาลวเคลื่อนไปทางดานซาย ลมที่ออก
ในหลอดสีเขียวก็จะเปลี่ยนเปนลมออกในชองที่เปนหลอดสีแดงแทน และยังคงคางตําแหนงถึงแมจะปลอยสวิทซ 6

รูปที่ 9.4 วงจรแบบคางตําแหนง

- 101 -
International Training
9.2 ฟงกชนั เวลา
ในรูปของเวลาในนิวแมติกสจําเปนอยางยิ่งเนื่องจากความดันกับปริมาตรที่เคลื่อนที่ชองหรือรูของวาลว ของ
ชองทางใชงาน ถาเรามาพิจารณาในรูปที่ 9.5 เราก็จะพบวาในกราฟ a เปนการไหลปริมาณสูงและ b เปนการไหลปริมาณต่ํา
กวา ดังนั้นรูป a เวลาในการสวิทซวาลวในชวงที่ความดัน ps จะเปนเวลา t1 สวน b เวลาจะเพิ่มขึ้นเปน t2
ดังนั้นความสัมพันธระหวางความดันกับปริมาตรที่ตอผานชองลมและกลับดวยสปงความเร็วจะถูกเปลี่ยนแปลง
จากชองลม ที่อยูภายในของวาลวทําใหเวลาสั้นลง

รูปที่ 9.5 ความสัมพันธระหวาง ความดันตอเวลา

โดยไดมีการแบงความแตกตางเวลาออกไดดังนี้
1. หนวงเวาลาขณะเปด
2. หนวงเวลาขณะปด
3. จัวหวะการเปดของสัญญาณ
4. จังหวะการปด

รูปที่ 9.6 ตัวอยางเวลาในการทํางาน

- 102 -
International Training
9.2.1 วงจรหนวงเวลาเปด
ตามรูป 9.7 เมื่อทําการกดวาลวหมายเลข 1 ความดันไหลผานวาลวหนวงเวลาทํางานเปนไปตามที่เราตั้งไว จะ
ออกไปที่ชอง A สั่งงานใหวาลว 2 ทํางานจากปกติปด ก็จะทําการเปดใหลมไหลผานขึ้นอยูกับปริมาณลมที่ไหลผานวาลว

รูปที่ 9.7 วงจรหนวงเวลาเปด

9.2.2 วงจรหนวงเวลาปด
จากรูป 9.8 เมื่อเรากดวาลว 3 ทํางานลมไหลผานวาลวหนวงเวลาจนเต็มลมออกมาดันวาลว 4 ซึ่งเดิมอยูปกติเปด ก็
จะสวิทซมาเปนปกติปดแทน

รูปที่ 9.8 วงจรหนวงเวลาปด

- 103 -
International Training
9.2.3 วงจรเปดสัญญาณ
ถาใหสัญญาณจากวาลว คือตามปกติการเปดวาลว คือกระทํา เชนเดียวกับสัญญาณ จะไมมีความดันที่ทางออก ถา
ใหสัญญาณผานความดันก็สามารถไหลผาน ผลลัพธคือเกิดเปนจังหวะความดันที่สามารถนําเปนทางออกของวาลวปกติเปด
ในFig9.9 จังหวะสัญญาณออกปกติเปดที่วาลว 6 เมื่อเปดวาลว 5

รูปที่ 9.9 วงจรเปดสัญญาณ

9.2.4 วงจรทํางานระบายทิ้ง
เมื่อความดันถึงแสดงหลังจากสัญญาณถูกปดลง ความดันที่มาจากแหลงจายอื่นๆ ก็จะถูกปดไปดวย และเมื่อเปด
วาลว 1 (3/2)ทํางานเปดใหสัญญาณลมมาที่วาลว 2 ทําใหลมถูกปดพรอมกับลมสวนหนึ่งเขาชองเก็บ Volume 3 เปนผลให
เมื่อความดันตามที่ปรับและเมื่อปดลมจะระบายออกจาก valve 2 ออกสูอากาศ เปนผลใหลมที่มีในตอนแรกทําใหวาลวลม
เปด ลมจึงผานวาลว 2 ไปสูหลอดจึงติด ดังรูป

รูปที่ 9.10 วงจรทํางานระบายทิ้ง

- 104 -
International Training
9.3 การควบคุมกระบอกลม
9.3.1 การควบคุมดวยมือกดสําหรับกระบอกลมทางเดียว
ก. การควบคุมทางตรงสําหรับกระบอกลมทางเดียว
โดยการใชวาลว4 3/2 ปกติปด N.C. ซึ่งเรียกวาเปนการควบคุมโดยตรง เมื่อกดวาลว4 ลมจะไหลผานตัวปรับ
ความเร็วทําใหกระบอกลมทํางานเคลื่อนที่ออก ตานกับแรงที่มาจากสปง และเมื่อทําการปลอยวาลวควบคุมดวยมือเปนผลให
สปงดันลูกสูบกลับ กานสูบมีการเคลื่อนที่กลับ ความเร็วที่กลับคือความเร็วจากคาความแข็งของสปงนั้นเอง

รูปที่ 9.11 การควบคุมทางตรง

ข. การควบคุมจากสองจุด (OR function)


เราสามารถที่จะทําการควบคุมกระบอกลมไดจากสองดวยวิธีการใชวาลวมือกดดังรูป 9.12 จะเห็นไดวาเราสามารถ
ควบคุมวาลว 3/2 ใหตอไปยังวาลวหรือ(OR) ซึ่งทําการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่เมื่อเรากดวาลวขางซายก็จะเปลี่ยนให
วาลวหรือ(OR) เปลี่ยนไปทางดานขวาลม ก็จะวิ่งทําใหกระบอกลมเคลื่อนที่ไปขางหนา และเมื่อปลอยมือกดซาย กระบอกก็
จะกลับมาตําแหนงเดิม และหากเรากดวาลวมือกดดานขวาก็จะไปเปลี่ยนวาลวหรือ(OR) เปลี่ยนไปทางซาย เปนผลให
กระบอกเคลื่อนไปขางหนาเชนกัน และจะกลับเมื่อปลอยวาลวมือกดนี้ ทํานองเดียวกันหากกดทั้งสองจุดพรอมกันก็จะทําให
วาลวเคลื่อนมาตรงกลางเปนผลใหกระบอกลมเคลื่อนที่ไปขางหนาไดเชนกัน

รูปที่ 9.12 การควบคุมจากสองจุด (OR function)

- 105 -
International Training
ค. การควบคุมการทํางานดวยฟงกชันและ(AND; วงจรล็อค )
เปนการทํางานที่เราจําเปนอยางยิ่งที่จะตองกดวาลวมือกดสองตัวกระบอกลมถึงจะทําการเคลื่อนไปขางหนาได
หากเรากดตัวใดตัวหนึ่งกระบอกลมจะไมสามารถเคลื่อนไปขางหนาไดดังรูปที่ 9.13 วงจรควบคุมการทํางานและ(AND)

รูปที่ 9.13 วงจรควบคุมการทํางานและ(AND)

ง. การควบคุมการทํางานดวยฟงกชั่น “NOT”

รูปที่ 8.6 การควบคุมการทํางานดวยฟงกชัน NOT

- 106 -
International Training
9.3.2 การควบคุมการทํางานกับกระบอกลมสองทาง
ก. การควบคุมทางตรงและการควบคุมความเร็ว

รูปที่ 9.15 การควบคุมทางตรงสําหรับกระบอกลมสองทาง

ข. การทํางานแบบคางตําแหนงเมื่อสุดระยะชักสําหรับกระบอกลมแบบสองทาง
การยึดสิ้นสุดตําแหนงสําหรับการกระบอกลมสองทาง สวนมากกระบอกลม รักษาตําแหนงของมัน เมื่อหดสุด
และเมื่อยืดสุดคางตําแหนงสิ้นสุด

รูปที่ 8.7 การทํางานแบบคางตําแหนงเมื่อสุดระยะชักสําหรับกระบอกลมแบบสองทาง

- 107 -
International Training
9.4 การตรวจหาตําแหนงของกระบอกลม
9.4.1 การควบคุมแบบกึ่งอัตโนมัติกลับ
วาลว 6 ในวงจรรูป 9.16 สามารถเปลี่ยนไปใชเปนวาลวแบบลูกกลึ้งคือ วาลวหมายเลข 9 ในรูป9.17 หลังจากกด
มือกดหมายเลข 8 ลมไหลผานไปกดวาลวหมายเลข 10 ทําใหกระบอกลมเคลื่อนที่ออกจนไปกดวาลวหมายเลข 9 เปนผลให
วาลวหมายเลข 9 เปดลมไหลผานไปยังวาลว 10 เปนผลใหกระบอกบมเคลื่อนที่หด

รูปที่ 9.17 การควบคุมการกลับแบบกึ่งอัตโนมัติ

9.4.2 การควบคุมแบบกลับอัตโนมัติ

รูปที่ 9.18 การควบคุมแบบกลับอัตโนมัติ

- 108 -
International Training
9.4.3 การควบคุมแบบอัตโนมัติ(ตอเนื่อง)
การทํางานแบบนี้เมื่อบิดมือหมุนวาลว 5 ทํางานลมจะไหลผานไปยังวาลวหมายเลข 7 ทําใหวาลวหลัก 8 เปลี่ยนทิศ
การไหลทําใหลมไหลผานมาทางชองซาย เปนผลใหกระบอกลมเลื่อนไปทางดานขวา เมื่อชนกับวาลวหมายเลข 6 เปนผลทํา
ใหเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวาลวหลัก 8 ไปทางดานซายทําใหกระบอกลมเคลื่อนที่กลับจนกระทั่งมาแตะวาลว
หมายเลข 7 ทําใหวาลวหลัก 8 ทํางานตอเนื่องเชนนี้จนกระทั่งมีการบิดมือหมุนวาลว 5 ทําใหกระบอกเคลื่อนกลับแลวหยุด

รูปที่ 9.19 การควบคุมแบบอัตโนมัติ(ตอเนื่อง)

- 109 -
International Training
9.5 ลําดับการควบคุม
9.5.1 ลําดับการทํางานสําหรับกระบอกลมสองตัว
หลักเบื้องตนที่จะชวยใหเราสามารถอธิบายวงจร ของการเคลื่อนที่ใหกระชับโดยอาศัยสัญลักษณจากกระบอกลม
ตามรูป 9.20 แสดงลําดับการทํางานของกระบอกลม A ตําแหนงที่หยุดในวงจร จากรูป ตําแหนง อยูดานในสุดของกระบอก
ลมใหเทากับ 0 สวน ที่กระบอกลมเคลื่อนที่สิ้นสุดใหเทากับ 1 ดังนั้นวาลวที่เปนตัวสัญญาณลมที่อยูดานในกระบอกลมจะให
เทากับ a0 และวาลวที่อยูดานเมื่อกระบอกลมเคลื่อนยืดสุดคือ a1 สวนA+ แสดงใหเห็นคือเมื่อสั่งงานวาลวทางดานซาย A+
เปนผลใหวาลวลมเคลื่อนที่ไปทางดานขวามือ สวนเมื่อสั่งงาน A- วาลวหลักจะเคลื่อนที่ไปทางดานซายมือ

รูปที่ 9.20 ไดอะแกรมที่ระบุสัญญาณ


สําหรับกระบอกลมสองตัวจะเขียนไดวา

A+, B+, A-, B-

เขียนในรูปของระบบปดไดดังนี้

รูปที่ 9.20 a

- 110 -
International Training
EXERCISE 3
แบบฝกหัดที่ 3

ภาชนะที่ใชสําหรับใสวัสดุชุดหนึ่งสามารถควบคุมใหรับ และเทวัสดุไดโดยใชกระบอกสูบสองทางโดยเมื่อกด
สวิทซ P1 กระบอกสูบเคลื่อนที่ออก และเมื่อกด P2 กระบอกสูบเคลื่อนที่เขา ใหออกแบบวงจรควบคุมการทํางานดังกลาว

- 116 -
International Training
9.5.2 การควบคุมการทํางานแบบตอเนื่องสําหรับการทํางานหนึ่งรอบ/แบบตอเนื่อง

รูปที่ 9.21 วงจรแบบ A+, B+, A-, B-

9.5.3 สําหรับการทํางานแบบจังหวะ
ตัวอยางวงจรสําหรับการจับชิ้นงานและเจาะดวยกระบอกทางเดียวและกระบอกสองทาง

รูปที่ 9.22 วงจรควบคุมงานจับและเจาะ

- 111 -
International Training

รูปที่ 9.23 Opposing Command Override Circuit


9.5.4 วงจรเปลี่ยนกลุมลม
เรามักจะพบปญหาสําหรับการงานที่มีการทํางานที่ไมตรงขั้นตอน การทํางานที่มีเงื่อนไขที่แปลกออกไปจากเดิม
นั้นคือ มีการทํางานที่ซ้ํากันในขั้นตอน ดังตัวอยาง A+, B+, B-, A-
ใหเราทําการแบงกลุมลมเปนสองกลุมดังนี้
A+, B+ B-, A-
Group I Group II
การแบงกลุมเราทําตามบล็อคไดอะแกรมขางลางนี้

รูปที่ 9.24 บล็อคไดอะแกรมในการแบงกลุมลม

- 112 -
International Training

1. กระบอกลมหนึ่งตัวตอวาลว ในกลุมที่ I
2. ทุกสิ้นสุดกระบอกลม วาลวในกลุม I ยกเวนในตอนลาง
3. ไปสูวาลวลมหลักในกลุม I เปนลมหลักในกลุม I
4. วาลวสงสัญญาณจากกระบอกในกลุม I มาเปลี่ยนกลุม กลุมลมที่ I เพื่อระบายและมาเปนลมในกลุมที่ II
5. วาลวหลักของกระบอกลมทีทําการเปลี่ยนในกลุมที่ II
6. กลุมวาลวสําหรับในกลุมที่ II ยกเวนลมหลัก I
7. กลุมวาลสําหรับกลุมที่ II ซึ่งเปนลมสําหรับกลุม 2
8. วาลวสัญญาณ สุดทายในกลุมที่ II เปลี่ยนกลับ

ดังตัวอยางการนําไปใชงานเมื่อมีกระบอกลม 4 ตัวเชน
A+, B+, A-, C+, D+, D-, B-, C-
จะแบงไดเปน 3 กลุม
|A+, B+| | A-, C+, D+| |D-, B-, C-|
I II III
ตัวอยางสําหรับสองกระบอกลมแบบเงื่อนไข(Cascade)

รูปที่ 9.25 ตัวอยางกระบอกลมสองกระบอกแบบเงื่อนไข(Cascade)

- 113 -
International Training
EXERCISE 1
แบบฝกหักที่ 1

ชิ้นงานจะถูกกระบอกสูบแบบทางเดียวดันออกจากกลองสูระบบลําเลียงโดยการเคลื่อนที่เขาออกของกระบอกสูบ
จะใชสวิทซปุมกดในการควบคุม ใหออกแบบวงจรการควบคุม

- 114 -
International Training
EXERCISE 2
แบบฝกหัดที่ 2

ในการปด-เปดประตูบานหนึ่งซึ่งมีน้ําหนักคอนขางมากจึงใชกระบอกสูบแบบสองทางเปนตัวชวยเปดและปด
ประตู ใหออกแบบวงจรการควบคุมการทํางานดังกลาว

- 115 -
International Training
EXERCISE 4
แบบฝกหัดที่ 4

ในกระบวนการผลิตหนึ่งชิ้นงานจะถูกปอนเขา JIG โดยใชกระบอกสูบสองทาง หลังจากกด สวิทซกานสูบจะ


เคลื่อนที่ออก และเมื่อถึงตําแหนง JIG กานสูบจะเคลื่อนที่กลับเองโดยอัตโนมัติ จงออกแบบวงจรควบคุมการทํางาน

- 117 -
International Training
EXERCISE 5
แบบฝกหัดที่ 5

ในการให Rotary Indexing Table สามารถหมุนไดจะใชกระบอกสูบสองทางทํางานอัตโนมัติ กลาวคือกานสูบจะ


เคลื่อนที่เขา-ออกเองเมื่อกดสวิทซ Start และหยุดการทํางานเมื่อกดสวิทซ Stop ใหออกแบบวงจรควบคุมการทํางาน

- 118 -
International Training
EXERCISE 6
แบบฝกหัดที่ 6

ประตูเหล็กบานหนึ่งใช Rodless Cylinder ในการปดและเปดโดยมีสวิทซปด 2 ตัว และเปด 2 ตัว โดยอยูดานนอก


และในประตูอยางละตัว ใหออกแบบวงจรควบคุมการทํางาน

- 119 -
International Training
EXERCISE 7
แบบฝกหัดที่ 7

กระบอกสูบแบบหลายตําแหนงตัวหนึ่งถูกนํามาใชในการคัดเลือกชิ้นงานสายพานบนลําเลียงดังรูป โดยที่ตําแหนง
ตาง ๆ จะควบคุมดวยสวิทซปุมกด ใหออกแบบวงจรควบคุมการทํางานดังกลาว

- 120 -
International Training
EXERCISE 8
แบบฝกหัดที่ 8

การเปด-ปดหลังคาแหงหนึ่งจะใชสวิทซปุมกดสองตัว โดยสวิทซแตละตัวจะใชควบคุมการเคลื่อนที่เขาและออก
ของกระบอกสูบสองทาง ซึ่งทางนี้กานสูบจะหยุด ณ ตําแหนงใดก็ได นอกจากนี้ในกรณีที่กานสูบเคลื่อนที่เขาสุดจะมีหนวย
แสดงผลทํางานดวย จงออกแบบวงจรการควบคุมดังกลาว

- 121 -
International Training
EXERCISE 9
แบบฝกหัดที่ 9

ในการเลื่อนไมออกจากที่เก็บจะใชกระบอกสูบสองทางเปนอุปกรณชวยในการทํางาน โดยเมื่อกดสวิทซปุมกด
กานสูบจะเคลื่อนที่ดันชิ้นจนถึง Roller Valve 1 กานสูบ จึงเคลื่อนที่เขาและเคลื่อนที่ออกใหม หากกดสวิทซปุมกดคางไว จง
ออกแบบวงจรควบคุมการทํางาน

- 122 -
International Training
EXERCISE 10
แบบฝกหัดที่ 10

ชิ้นงานบนสายพานลําเลียงจะใช Roller Valve 3 ตัว เปนตัวเช็คตําแหนง และเมื่อชิ้นงานเขามาตรงชุดจัดชิ้นงาน


ซึ่งเคลื่อนยายโดยกระบอกสูบสองทางโดยกานสูบจะเคลื่อนที่ออกเมื่อชิ้นงานเคลื่อนที่เขามาครบ และเคลื่อนที่กลับเองโดย
อัตโนมัติ ใหออกแบบวงจรควบคุมการทํางานดังกลาว

- 123 -
International Training
EXERCISE 11
แบบฝกหัดที่ 11

ใหออกแบบวงจรเพื่อควบคุมชุดพั๊นซชิ้นงาน โดยมีเงื่อนไขดังตอไปนี้ ในสภาวะปกติกานสูบของกระบอกสูบ


แบบสองทางจะเคลื่อนที่ออก การกดสวิทซเพื่อเริ่มตนการทํางานจะทําไดก็ตอเมื่อชิ้นงานวางอยูในตําแหนงที่ถูกตอง และ
ปดฝาครอบเปนที่เรียบรอยแลวเทานั้น ทั้งนี้การกดสวิทซเพื่อเริ่มตนการทํางานอาจจะใชมือ หรือเทาเหยียบก็ได นอกจากนั้น
การเคลื่อนที่เขาออกของกานสูบจะเร็วกวาปกติ

- 124 -
International Training
EXERCISE 12
แบบฝกหัดที่ 12

ในการประกอบพลาสติกกลองชิ้นเขาดวยกันจะใชความรอน และแรงอัดจากกระบอกสูบเมื่อกดสวิทซเพื่อเริ่มตน
การทํางานกานสูบจะเคลื่อนที่ออกเพื่อกดชิ้นงานนาน 15 วินาที แลววิ่งเคลื่อนกลับเองโดยอัตโนมัติ การตั้งเวลาจะเริ่มนับ
เมื่อกานสูบเคลื่อนที่ออก จงออกแบบวงจรเพื่อควบคุมการทํางานดังกลาว

- 125 -
International Training
EXERCISE 13
แบบฝกหัดที่ 13

ใหออกแบบวงจรควบคุมกระบอกสูบ A และ B ตามเงื่อนไขตอไปนี้ คือ A+B+A-B- นอกจากนี้ใหเขียน


แผนภาพแสดงการเคลื่อนที่เขาออกของกระบอกสูบ (Step Displacement Diagrams) ทั้งสองดวย

- 126 -

You might also like