Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 30

คู่มือสาหรับประชาชน 1/30
คานา
……………….
ปัจจุบันสถานการณ์การก่อเหตุรุนแรงด้วยวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง
ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ทั้งองค์ประกอบ
ของวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง และรูปแบบในการก่อเหตุ ผู้ก่อเหตุรุนแรงได้นาความรู้
และเทคนิคใหม่ๆ จากต่างประเทศมาพัฒนาปรับปรุงทาให้ การก่อเหตุรุนแรงใน
ปัจจุบันประส บความสาเร็จ เป็นอย่างดี เช่น มีการพัฒนาให้อานาจการระเบิด
รุนแรงมากขึ้น มีการพัฒนาทาเชื้อปะทุไฟฟ้าแสวงเครื่องขึ้นใช้เอง มีการนาวงจรจุด
ระเบิดที่ จนท. ไม่มีเครื่องมือป้องกันมาใช้ มีการพัฒนารูปแบบก่อเหตุโดยการสร้าง
เหตุการณ์ต่างๆ เพื่อลวงให้ จนท . เข้าตรวจสอบพื้นที่ โดยมีการวางระเบิด
แสวงเครื่องไว้ในเส้นทางเข้า-ออกพื้นที่ หรือใกล้จุดที่เกิดเหตุ ซึ่งการก่อเหตุแต่ละครั้ง
จะมีการกาหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
หน่วยทาลายล้างวัตถุระเบิดอโณทัย จึงได้ปรับปรุงคู่มือประชาชนเล่มนี้
ขึ้นมาใหม่ เพื่อให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับการพัฒนาของวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง
และสถานการณ์จริงที่เกิด ขึ้นในปัจจุบัน บริเวณพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเกิดประโยชน์ช่วยให้ ท่านได้รู้เท่าและรู้ทัน ทราบถึงวิธีในการ
สังเกต การป้องกันตนเองให้ปลอดภัย จากเหตุการณ์ระเบิดแสวงเครื่อง รวมถึงการ
แจ้งข่าวสารกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวข้องซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
ต่อส่วนรวมต่อไป.
………………
..สาเร็จภารกิจ... ทุกชีวิตปลอดภัย... คือ... หัวใจของการทางาน..
หน่วยทาลายล้างวัตถุระเบิดอโณทัย
กรมสรรพาวุธทหารบก

คู่มือสาหรับประชาชน 2/30
สารบัญ
ลาดับ ชื่อเรื่อง หน้า

วัตถุระเบิด และ ระเบิดแสวงเครื่อง


สิ่งที่จาเป็นสาหรับการระเบิด
การระวังป้องกัน
เมื่อพบวัตถุต้องสงสัย จะทาอย่างไร

.................................

คู่มือสาหรับประชาชน 3/30
วัตถุระเบิดและระเบิดแสวงเครื่อง
วัตถุระเบิดคืออะไร?
วัตถุระเบิด คือสารประกอบทางเคมี ที่มีสถานะต่างๆทั้งของแข็ง
ของเหลว และก๊าซ ที่เมื่อได้ได้รับปฏิกิริยาจากภายนอกทั้ง ความร้อน เปลวไฟ การกระแทก
การเสียดสี หรือคลื่นการระเบิด แล้วจะเป ลี่ยนแปลงสภาพจากเดิมกลายเป็นก๊าซปริมาณ
มากมาย จานวนมหาศาล กระจายออกทุกทิศทาง การขยายตัวของก๊าซที่เกิดจาก
การระเบิด ก่อให้เกิด แสงสว่าง เปลวไฟ ความร้อนและแรงดันจานวนมหาศาล
วัตถุระเบิดสามารถแบ่งตามความเร็วในการจุด(Velocity
ตัว Of Detonation)
ได้เป็น ๒ ประเภทคือ
วัตถุระเบิดแรงต่า (Low Explosive) จะแปรสภาพจากเดิมเป็นก๊าซได้
อย่างช้าๆ มีความเร็วในการจุดตัวน้อยกว่า ๑,๐๐๐ เมตร/วินาที เช่น ดินดา ดินส่ง
กระสุน พลุ ประทัด ดอกไม้ไฟ สารไพโรเทคนิคต่างๆ สามารถทาให้เกิดการระเบิดได้
หากเป็นการเผาไหม้อย่างรุนแรงในที่ห้อมล้อม หรือที่บังคับ เช่น การระเบิดของประทัด
การระเบิดของดินส่งกระสุนในรังเพลิง

วัตถุระเบิดแรงสูง (High Explosive) จะแปรสภาพจากเดิมเป็นก๊าซได้


อย่างรวดเร็ว มีความเร็วในการจุดตัวมากกว่า ๑,๐๐๐ เมตร/วินาที การระเบิดของ
วัตถุระเบิดแรงสูงเรียกว่า การปะทุจะก่อให้เกิด คลื่นการปะทุ(Shock Wave) ซึ่งเป็น
สาเหตุสาคัญของการระเบิดพ้อ(ท ง าให้ระเบิดที่อยู่ในรัศมีระเบิดตามไปด้ว) ย

คู่มือสาหรับประชาชน 4/30
วัตถุระเบิดสามารถแบ่งตาม วัตถุประสงค์การใช้งาน ได้
๓ ประเภท คือ
วัตถุระเบิดทางทหาร เป็นวัตถุระเบิดที่ใช้ในทางทหาร มีความเสถียรมาก
มีความปลอดภัยในการเก็บรักษา มีความคงทนต่อการกระแทกเสียดสี เปลวไฟ
และความร้อน ต้องใช้ตัวจุดที่เหมาะสมเท่านั้นจึงจะเกิดการระเบิด ได้แก่ ดินระเบิด
มาตรฐานทางทหารชนิดต่างๆ เช่น TNT, Comp.4, Militaly Dynamite ฯลฯ

วัตถุระเบิดทางพลเรือนเป็นวัตถุระเบิดที่ใช้ในทางพลเรือน ตามเหมืองหิน
หรืองานก่อสร้างต่างๆ เช่นการขุดหลุม การขุดอุโมงค์ การทาลายโครสร้างอาคารต่างๆ
มีความเสถียรน้อย ต้องใช้ความระมัดระวังในการเก็บรักษา มีความไวต่อการ
กระแทกเสียดสี เปลวไฟ และความร้อน มากกว่าวัตถุระเบิดทางทหาร ได้แก่
ANFO, Commercial Dynamite ฯลฯ

วัตถุระเบิดทาเอง (Homemade Explosive or Dirty Bomb) เป็น


วัตถุระเบิดที่สามารถทาได้ขึ้นเองอย่างง่ายๆ จากสารระเบิด ( Blasting Agent)
ซึ่งเป็น สารตั้งต้นที่มีใช้ทั่วไปในชี วิตประจาวันและมีจาหน่วยทั่วไปตามท้องตลาด
เช่น ปุ๋ยเคมี น้ามัน ยาปราบศัตรูพืช ยาย้อมผม ด่างทับทิม ก๊าซหุงต้ม ฯลฯ และ

คู่มือสาหรับประชาชน 5/30
หากนามาผสมรวมกันในอัตราส่วนที่เหมาะสมแล้วจะกลายเป็นวัตถุระเบิด ปกติแล้ว
จะประกอบด้วยที่มีค่าออกซิเจนสูงๆ (Oxidizer)และสารที่เป็นเชื้อเพลิง (Fuel) เช่น
การนา Ammonium nitrate + Gasoline = ANFO

ระเบิดแสวงเครื่องคืออะไร ?
วัตถุระเบิดแสวงเครื่อง(IED.- Improvised Explosive Device) เป็นรูปแบบหนึ่ง
ของกับระเบิด เป็นการนาวัสดุที่มีอยู่ทั่วไป ที่จัดหาได้ง่าย ๆ นามาประดิษฐ์ เป็น
ระเบิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการนาวัตถุระเบิดทางทหารทางพลเรือน สารประกอบทางเคมี
และนาเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆมาประกอบรวมกันเป็นระเบิดแสวงเครื่อง มีรูปแบบ
หลากหลาย ไม่แน่นอนตายตัสามารถออกแบบได้
ว สลับซับซ้อน อันตราย เก็บกู้แก้ไขได้ยาก
ซึ่งการออกแบบขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์การใช้งาน และความชานาญของผู้ประกอบระเบิด
สามารถพกพาซุกซ่อนได้สะดวก แยกองค์ประกอบเคลื่อนย้ายได้ง่าย ตรวจพบได้ยาก
ต้นทุนในการผลิตต่า มีอานาจการทาลายล้างสูง กว่าการก่อวินาศกรรมแบบอื่นๆ
ก่อ ให้เกิดความหวาดกลัว มีผลต่อขวัญและกาลังใจสูงและที่สาคัญที่สุดคือเป็นที่
นิยมใช้อย่างกว้างขวางทั่วโลก

คู่มือสาหรับประชาชน 6/30
องค์ประกอบของวัตถุระเบิดแสวงเครื่อง
ระเบิดแสวงเครื่องมีองค์ประกอบหลายอย่าง มีความแตกต่างกันในระเบิดแต่
ละลูก มีส่วนประกอบที่สาคัญโดยทั่วไปดังนี้.-
แหล่งพลังงาน (Power Supply) หรือแบตเตอรี่ ชนิดและขนาดต่างๆ
เป็นตัวให้พลังงานไฟฟ้าในการจุดตัวจุดระเบิดหรือเชื้อปะทุไฟฟ้า ซึ่งใช้
แรงเคลื่อนไฟฟ้าในการจุดตัวเพียง ๐.๗ โวลต์ ในพื้นที่ จชต. มีใช้ด้วยกันหลายแบบ
แต่ที่พบส่วนมาก จะเป็นแบตเตอรี่ ขนาด ๑.๕, ๖, ๙, ๑๒ โวลต์ ทั้งแบบแห้ง และ
แบบเติมน้ากลั่น

วัตถุระเบิด ( Explosive) เป็นส่วนประกอบหลักที่ก่อให้เกิดแรงดันจานวน


มหาศาล ความเสียหายที่เกิดมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของวัตถุระเบิดและ
ปริมาณของวัตถุระเบิดที่ใช้ วัตถุระเบิดที่มีความเร็วในการจุดตัวสูงจะให้อานาจการ
ระเบิดรุนแรงกว่าวัตถุระเบิดที่มีความเร็วในการจุดตัวต่ากว่า
ส่วนใหญ่วัตถุระเบิดที่ใช้เป็นวัตถุระเบิดหลักจะเป็น ดินระเบิดมาตรฐานทาง
พลเรือน และดินระเบิดชนิดทาเอง
วัตถุระเบิดมาตรฐานทางพลเรือน ที่พบว่ามีการใช้มากและใช้ งานมา
โดยต่อเนื่องคือ แอมโมเนียม ไนเตรท(Ammonium nitrate ) ที่มีใช้งานทั่วไปตาม
เหมืองหินในพื้นที่ นามาผสม น้ามันเชื้อเพลิงในอัตราส่วนที่เหมาะ กลายเป็นวัต ถุ
ระเบิดที่เรียกว่า ANFO (Ammonium nitrate+Fuel) นอกจากยังสามารถนา
ปุ๋ยเคมีสูตร ๔๖-๐-๐, สารปราบศัตรูพืช (Sdium Chlorate) มาใช้ทดแทนได้ด้วย

คู่มือสาหรับประชาชน 7/30
ดินระเบิดผสมเอง(ANFO) ที่นามาบรรจุในถังน้ายาเคมีดับเพลิง

เนื่องจากภาชนะบรรจุที่มีขนาดใหญ่ทาให้ต้องใช้ดินระเบิดที่ผสมเอง
เป็นดินระเบิดหลัก

สารปราบศัตรูพืช (Sdium Chlorate)

คู่มือสาหรับประชาชน 8/30
วัตถุระเบิดมาตราฐานทางพลเรือน อีกประเภทหนึ่งที่นามาใช้ อย่างกว้างขวาง
และต่อเนื่อง คือ Emulsion Explosive หรือที่เรียกกันว่า Power gel นิยม
นามาใช้เป็นส่วนขยายการระเบิด (Booster) ทาให้การระเบิดสมบูรณ์ยิ่งขึ้น


วัตถุระเบิดมาตรฐานทางพลเรือนที่นิยมนามาใช้เป็นส่วนขยายการระเบิดอีก
ประเภทหนึ่ง คือ ฝักแคระเบิด ( Detonation Cord ) ซึ่งเป็นวัตถุระเบิดแรงสูง
ชนิดเอนกประสงค์มีลักษณะเป็นเส้น กลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๐.๕ ซม.
มีความยาวม้วน ละ ๕๐๐, ๑๐๐๐ เมตร 

นอกจากนี้ยังพบว่ามีการใช้ วัตถุระเบิดแรงต่าประเภท ดินดา และสารไพโรเทคนิค


(สารให้แสงสว่างและสีต่างๆ) มาใช้ เป็นวัตถุระเบิดหลักทดแทนวัตถุระเบิดข้างต้น
ซึ่งสามารถให้อานาจการระเบิดได้เช่นกัน ส่วนใหญ่ได้มาจาก ดินดาทาเอง ดินด/เทา

จาก พลุ ประทัด ดอกไม้ไฟ 



คู่มือสาหรับประชาชน 9/30
วัตถุระเบิดทางทหาร ในช่วงแรกของการก่อเหตุ ( ปี ๒๕๔๗-๒๕๕๑) ไม่
พบว่ามีการใช้ดินระเบิดมาตรฐานทางทหาร แต่หลังจาก ปี ๒๕๕๒ เป็นต้นมาพบว่า
มีการใช้ดินระเบิดทางทหารมากขึ้น ส่วนใหญ่นามาเป็นส่วนขยายการระเบิ ดเพื่อให้
การระเบิดมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

ตัวจุดระเบิด หรือเชื้อปะทุ(Detonator) ถือเป็นหัวใจสาคัญของการจุดระเบิด


หากขาดเชื้อปะทุก็จะไม่สามารถเกิดระเบิดขึ้นได้ เชื้อปะทุที่ใช้ใน จชต. ส่วนใหญ่
เป็นเชื้อปะทุไฟฟ้า ที่มีทั้งแบบมาตรฐานทางพลเรือนและแบบแสวงเครื่อง
เชื้อปะทุไฟฟ้า มาตรฐานทางพลเรือน ที่พบในพื้นที่ส่วนมากเป็นเชื้อปะทุ
ไฟฟ้าที่ลักลอบนามาจากเหมืองหินในพื้นที่ จชต. ซึ่งสามารถตรวจสอบได้จากสีของ
สายไฟที่ใช้ โดยมีข้อกาหนดให้ผู้ขออนุญาตใช้ต้องระบุสีของสายไฟจุดระเบิดเพื่อให้
สามารถตรวจสอบได้ แต่ก็มีบางครั้งที่ตรวจสอบแล้วพบว่าเป็นเชื้อปะทุจาก
ต่างประเทศ

คู่มือสาหรับประชาชน 10/30
เชื้อปะทุไฟฟ้าแสวงเครื่องที่พบในพื้นทีม่ ีด้วยกัน ๒ ลักษณะ คือ การดัดแปลง
เชื้อปะทุชนวนเป็นเชื้อปะทุไฟฟ้า และการทาเชื้อปะทุไฟฟ้าแสวงเครื่องขึ้นเอง
แปลงเชื้อปะทุชนวนเป็นเชื้อปะทุไฟฟ้า เป็นการนาเชื้อปะทุชนวนซึ่งปกติ
สามารถจุด ระเบิดได้ด้วยเปลวไฟจากฝักแคเวลา นามาแสวงเครื่องโดยนาหลอด
ไฟฟ้าขนาดเล็กที่ใช้สาหรับประดับ มาบีบให้แ ตกเหลือไว้เพียงขดลวดความร้อน
แล้วนาดินดามาบบรรจุไว้แทน เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดจะเกิดความร้อนขึ้น
แล้วเผาไหม้ดินดาเกิดเป็นเปลวเพลิงไปจุดเชื้อปะทุชนวนอีกครั้งหนึ่ง

เชื้อปะทุไฟฟ้าแสวงเครื่อง จากมาตรการควบคุมเชื้อปะทุฟ้าทั้งในและนอก
พื้นที่ จชต. ทาให้การ ลักลอบนาเชื้อปะทุไฟฟ้าจากเหมืองหิน ทาได้ยาก ผู้ก่อเหตุ
รุนแรงจึงได้ผลิตเชื้อปะทุไฟฟ้าขึ้นเอง โดยนาเอาดินระเบิดที่อยู่ใน ฝักแคระเบิด
ซึ่งเป็นดินระเบิด ชนิดเดียวกับในเชื้อปะทุ มาผสมกับดินเทาที่ได้จากประทัดแล้ว
บรรจุใส่ หลอดดินสอเขียนคิ้ว หลอดปากกาเคมี จุดด้วยหลอดไฟประดับ
ซึ่งสามารถใช้ทดแทนกันได้

คู่มือสาหรับประชาชน 11/30
ระบบควบคุมการจุดระเบิด ( Switch ) เป็นส่วนประกอบ สาคัญ ที่จะทาให้
ระเบิดแสวงเครื่องเกิดระเบิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ ของผู้ก่อเหตุ ที่พบส่วนมากเป็น
การดัดแปลงจากอุปกรณ์ไฟฟ้า อิเลคทรอนิคส์ที่ใช้ทั่วไป มีรูปแบบของ
องค์ประกอบเหมือนในต่างประเทศทั้งอุปกรณ์และการประกอบพอสรุปได้ดังนี้.-
การควบคุมการจุดระเบิดด้วยสายไฟระยะไกล (Command Wire)
หรือ การลากสาย เป็นระบบจุดระเบิดที่ ใช้งานมาโดยต่อเนื่อง ให้ความเที่ยงตรง
ที่สุด มีองค์ประกอบน้อยที่สุด ไม่ยุ่งยากในการใช้งาน สามารถต่อพ่วงกันเพื่อให้เกิด
การระเบิดหลายจุดพร้อมๆกัน ส่วนใหญ่จะนามาใช้ กับเป้าหมายเคลื่อนที่
ยานพาหนะที่มีความเร็ว


คู่มือสาหรับประชาชน 12/30
วงจรจุดระเบิดด้วยโทรศัพท์มือถือ (Cell Phone) เป็นอีกวงจรหนึ่งที่
นิยมนามาใช้อย่างกว้างขวางและต่อเนื่องจนถึงปัจจุบันสามารถทางานได้๒ ระบบ คือ
การตั้งเวลา และ การเรียกเข้า ส่วนมากใช้กับ เป้าหมายอยู่กับที่ ในเขตเมืองที่มี
สัญญาณโทรศัพท์ เคยพบว่ามีการ ชิม การ์ดต่างประเทศในพื้นที่ตามแนวชายติด
ประเทศเพื่อนบ้าน

คู่มือสาหรับประชาชน 13/30
วงจรจุดระเบิดด้วยนาฬิกาข้อมือแบบดิจิตอล เป็นอีกวงจรหนึ่งที่นิยม
ใช้งานมาโดยต่อเนื่อง มีความแม่นยาสูง มีขนาดเล็ก ดัดแปลงง่าย สามารถ
ประกอบในระเบิดแสวงเครื่องขนาดเล็ก ซุกซ่อนง่าย ไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน นาฬิกา
รุ่นที่นิยมนามาใช้คือ CASIO รุ่น F200 และ F201

คู่มือสาหรับประชาชน 14/30
วงจรจุดระเบิดตั้งเวลาแบบอิเลคทรอนิคส์ (IC Timer) เป็นวงจรที่ใช้ตั้ง
การเวลาด้วยอุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ (IC 4060) มีขนาดเล็ก สามารถตั้งเวลาได้
ตั้งแต่ ๒ – ๒,๗๐๐ วินาที เนื่องจากดัดแปลงซุกซ่อนวงจรได้ง่าย เพื่ออาพรางการ
ตรวจค้นของเจ้าหน้าที่ ปัจจุบันนามาใช้เป็นวงจรหลักในลูกระเบิดขว้างแบบแสวงเครื่อง



คู่มือสาหรับประชาชน 15/30
วงจรจุดระเบิดด้วยคลื่นวิทยุความถี่ต่า โดยการใช้รีโมทคอนโทรลรถ
(Car Alarm) เป็นอุปกรณ์ควบคุมการจุดระเบิด เป็นวงจรที่นา มาทดแทนวงจรจุด
ระเบิดด้วยโทรศัพท์ สามารถจุดระเบิดได้โดยตรง (Real Time) มีความแม่นยา
ระยะทางานประมาณ ๑๕๐-๒๐๐ เมตร มีการนามาใช้ในห้วงปี ๒๕๕๐ ปัจจุบัน
พบว่ามีการใช้น้อยลง หรือเกือบจะไม่พบเลยในพื้นที่ เนื่องจาก มีการควบคุมการ
ขายในพื้นที่ และเจ้าหน้าที่มีอุปกรณ์ในการป้องกันทั่วถึง

















คู่มือสาหรับประชาชน 16/30
วงจรจุดระเบิดด้วยสัญญาณ DTMF ผ่านวิทยุสื่อสาร เป็นวงจร
จุดระเบิดที่นิยมใช้อย่างกว้างขวางในปัจจุบัน ใช้หลักการทางานโดยการส่งสัญญาณ
DTMF ผ่านคลื่นวิทยุเพื่อทาการจุดระเบิด ใช้ได้กับวิทยุสื่อสารทุกย่าน ( CB, VHF,
UHF, ) สามารถจุดระเบิดได้โดยตรง และทาให้วงจรพร้อมทางานสามารถ
ควบคุมการจุดระเบิดพร้อมกันหลายๆที่หมาย หรือเลือกให้ระเบิดที่หมายแต่ละแห่ง
ได้ด้วยการตั้งรหัส



คู่มือสาหรับประชาชน 17/30
วงจรจุดระเบิดแบบผสม ทางกลไกลและระบบไฟฟ้า หรือวงจรกับระเบิด
(กับดัก -Booby Trap) เป็นวงจรจุดระเบิดโดยการให้เป้าหมายกระทาโดยตรงอย่างใด
อย่างหนึ่งต่อวัตถุระเบิด เช่น การเปิด ปิด ยกขึ้น กดลง ดึง ปล่อย ขยับ หรือ
เคลื่อนย้าย นิยมนามาใช้ร่วมกับการก่อเหตุแบบอื่นๆ โดยการสร้างสถานการณ์ลวง
เช่น การยิง การเผา หรือระเบิด เพื่อลวงเจ้าหน้าที่เข้าที่เกิดเหตุแล้วไปกระทาอย่าง
ใดอย่างหนึ่งต่อวัตถุระเบิด มีหลายรูปแบบ





คู่มือสาหรับประชาชน 18/30
ภาชนะที่ใช้บรรจุ (Container) ในพื้นที่ จชต. มีรูปแบบของภาชนะบรรจุที่
มีความหลากหลาย ตามวัตถุประสงค์การใช้งาน การซ่อนพรางและตามความ
ต้องการของผู้ประดิษฐ์ เมื่อเกิดการระเบิดขึ้น ชิ้นส่วนของภาชนะบรรจุจะแตกออก
กลายเป็น สะเก็ดระเบิด (Fragment) สาดกระจาย ออกไปทุกทิศทาง ก่อให้เกิด
ความเสียหาย สร้างความการบาดเจ็บ และสูญเสีย ตามตัวอย่างที่นาเสนอ

















คู่มือสาหรับประชาชน 19/30
เศษโลหะเพิ่มเติม (Shrapnel) ผู้ประกอบระเบิดมักจะนาเอา เศษวัสดุต่างๆ
บรรจุรวมกับวัตถุระเบิรดะเบิดแสวงเครื่องเพื่อเพิ่มเติสะเก็
ม ดระเบิดที่เกิดจากภาชนะบรรจุ
สามารถทาจากสิ่งต่างๆ ได้มากมาย เช่น ตะปู เหล็กเส้น โซ่รถ ลูกปราย ฯลฯ

คู่มือสาหรับประชาชน 20/30
วัตถุต้องสงสัย หรือ ระเบิดแสวงเครื่อง
คาสองคานี้แตกต่างกันอย่างไร
เนื่องจากระเบิดแสวงเครื่อง ที่พบในพื้นที่ จชต . จะมีสภาพหีบห่อภายนอก
เหมือนกับสิ่งของที่ใช้ทั่วไปในชีวิตประจาวัน ทาให้ไม่สามารถที่จะพิจารณาและ
ตัดสินใจได้ว่าจะมีวัตถุระเบิดซุกซ่อนอยู่ภายในหรือไม่ จึงมีข้อแนะนาเพื่อช่วยใน
การตัดสินใจดังต่อไปนี้.-

สิ่งของที่พบเห็นนั้น ต้องเป็นสิ่งของที่
- ไม่เคยเห็น?
- ไม่เป็นของใคร?
- ไม่ใช่ที่อยู่?
- ดูไม่เรียบร้อย?

- ไม่เคยเห็น หมายถึง เป็นสิ่งของที่ไม่เคยพบเห็นในบริเวณนั้นมาก่อน


รวมถึงสิ่งที่เคยอยู่ ณ ที่นั้น ซึ่งได้หายไป แล้วกลับมาวางอยู่ ณ ที่นั้นโดยไม่ทราบ
สาเหตุ
- ไม่เป็นของใคร หมายถึง เป็นสิ่งของที่ทิ้ งไว้ไม่มีเจ้าของ ประกาศหา
เจ้าของแล้วไม่มีผู้มาแสดงตัว หรือไม่สามารถระบุตัวผู้เป็นเจ้าของได้
- ไม่ใช่ที่อยู่ หมายถึง สถานที่ๆพบสิ่งของกับเป็นสิ่งของที่พบไม่มี
ความสัมพันธ์กัน หรือสิ่งของสิ่งนั้นควรจะอยู่ในสถานที่อื่นมากกว่าที่จะมาอยู่
บริเวณนั้น
- ดูไม่เรียบร้อย หมายถึง เป็นสิ่งของที่มีลักษณะภายนอกผิดปกติ หรือ
มีรูปร่างผิดไปจากเดิม เช่น กล่องมีรอยเปรอะเปื้อน มีการปิดผนึกไม่เรียบร้อย
อาจมีรอยปิดผนึกใหม่ มีรอยยับต่างๆ มีสีที่เปลี่ยนไปจากเดิม มีรอยเชื่อมใหม่
มีการผูกมัดรัดตรึงที่แน่นหนาผิดปกติ มีสายไฟ หรือมีชิ้นส่วนต่างๆ โผล่พ้นออกมา
ผิดปกติ เป็นต้น
คู่มือสาหรับประชาชน 21/30
จากข้อพิจารณาข้างต้น ไม่จาเป็นต้องเข้าหลักเกณฑ์ครบทั้งหมดทุกข้อ
เพียงเข้าหลักเกณฑ์ อย่างน้อย ๒ ข้อ ก็เพียงพอสาหรับการสันนิฐานและตัดสินใจ
ได้แล้วว่าเป็น วัตถุต้องสงสัย
ระเบิดแสวงเครื่อง หมายถึง วัตถุต้องสงสัย ซึ่งภายในมีการบรรจุวัตถุระเบิด
( วัตถุระเบิดมาตรฐานและ/หรือสารเคมีต่างๆ ) และอุปกรณ์ต่างๆที่สามารถทาให้
เกิดการระเบิดได้ ด้วยระบบการจุดระเบิดด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง
การระวัง ป้องกัน ความเสียหายที่เกิดจากการระเบิด จะเกิดมากหรือน้อย
เพียงใดขึ้นอยู่กับ สถานที่ ปริมาณวัตถุระเบิดและการระวัง ป้องกัน หากมีการ ระวัง
ป้องกันที่ดกี ็จะเป็นการ
ลดความเสี่ยง ต่อการถูกลอบวางระเบิดหรือลดเหตุระเบิด
หลีกเลี่ยงความเสียหาย ที่เกิดจากการระเบิรดู้จักป้องกันเมื่อพบสิ่งของต้องสงสัย
ปราศจากเหตุร้ายในพื้นที่ เมื่อมีการระวัง ป้องกันที่ดีการลอบวางระเบิด ก็จะ
กระทาได้ยาก ทาให้พื้นที่นั้นปลอดภัยต่อเหตุระเบิด
เพื่อความปลอดภัยมีข้อแนะนาดังนี้
- หมั่นติดตามข่าวสารและปฏิบัติตามคาแนะนาที่เกี่ยวข้อง
- หลีกเลี่ยงไปในพื้นที่ที่เสี่ยงต่ออันตราย
- หมั่นตรวจดูสิ่งผิดสังเกตรอบๆ ตัวเอง
การป้องกันเป็นหน้าที่ของใคร?
การระเบิดทาให้เกิ ดความเสียหายต่อสถานที่ต่างๆ และผู้ที่อยู่ในบริเวณที่
เกิดการระเบิด ฉะนั้นการป้องกันจึงเป็นหน้าที่ของทุกคน
จะป้องกันอย่างไร?
การป้องกันตัวเองที่ดีที่สุด คือ การไม่เข้าไปในที่ที่มีการวางระเบิด หรือ อยู่ห่าง
ให้มากที่สุด แต่ไม่มีใครรู้ล่วงหน้าก่อนว่าจะมีการวางระเบิดที่ใด เมื่อใด
อาคาร บ้านเรือน ห้างร้าน สถานที่ของท่านอาจเป็นเป้าหมายของการ
ลอบวางระเบิดได้เท่าๆกัน การตรวจหรือมองหา สิ่งของที่ผิดสังเกต บริเวณโดยรอบ
บ้านพักอาศัย ตามสถานที่ต่างๆ เป็นการระวังป้องกันเพื่อความปลอดภัยต่อสถานที่
สิ่งที่จะต้องตรวจได้แก่
คู่มือสาหรับประชาชน 22/30
บุคคล คือ ผู้ที่เข้ามาในบริเวณพื้นที่ของท่าน หรือ อาจเป็นบุคคลแปลก
หน้าที่มาเฝ้าสังเกตใกล้สถานที่ของท่าน โดยอาจนาสิ่งของติดตัวมา เพื่อการลอบ
วางระเบิด
สิ่งของ คือ สิ่งของที่ผู้เข้ามาในบริเวณสถานที่ของท่านนาติดตัวมา เช่น
กระเป๋า กล่องบรรจุสิ่งของ ถุงต่างๆ ฯลฯ เพราะหลายเหตุการณ์ที่เกิดการระเบิด
เนื่องจากมีผู้นาสิ่งของวางไว้ บริเวณ ที่ลับตา สังเ กตเห็นได้ยาก หรื อ มองเห็นแต่
อาจไม่สนใจเนื่องจากอาจเป็นสิ่งของที่คล้ายกับสิ่งของที่อยู่ในบริเวณนั้น
ยานพาหนะ คือ รถ ที่เข้ามาในพื้นที่ เนื่องจากอาจมีการซุกซ่อน วัตถุ
ระเบิดมากับรถได้ โดยเฉพาะรถยนต์บรรทุก ( รถกระบะ ) เนื่องจากโครงสร้างของ
รถมีพื้นที่ว่างมาก
เพื่อให้การระวังป้องกันทาได้สะดวกรวดเร็ ว ไม่สับสน อาจมีข้อกาหนดใน
การปฏิบัติให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น
การกาหนดพื้นที่ เนื่องจากแต่ละสถานที่มีเนื้อที่ไม่เท่ากัน การกาหนด
พื้นที่อาจไม่สามารถกระทาได้ ให้พิจารณาตามความจาเป็นดังนี้.-
พื้นที่จอดรถ คือ ควรแยกพื้นที่ จอดรถของเจ้าหน้าที่กับผู้มาติดต่อ
หรือ ผู้มาใช้บริการออกจากกัน หากเป็นไปได้ควร กาหนดพื้นที่จอดภายนอก พื้นที่
ภายใน ให้เข้าได้เฉพาะรถเจ้าหน้าที่เท่านั้น จะช่วย ลดภาระในการตรวจของ
เจ้าหน้าที่ หากเกิดเหตุระเบิดสามารถตรวจสอบได้และลดความเสียหายที่จะเกิดกับ
สถานที่ได้มาก โดยเฉพาะสถานที่ที่มีผู้มาใช้บริการมากซึ่งเป็นสถานที่เสี่ยงต่อการ
ถูกลอบวางระเบิด เช่น ร้านค้า ห้างสรรพสินค้า สถานที่ราชการ โรงแรม สถาน
บันเทิง ร้านอาหาร ฯลฯ
พื้นที่พักรอ ส่วนใหญ่จะเป็นสถานที่ราชการ ธนาคา ร หรือ สถานที่
อื่นๆ เนื่องจาก มีผู้ใช้บริการจาน วนมาก จึงควรแบ่งพื้นที่เพื่อแยก บุคคลที่ไม่
เกี่ยวข้องออกจากเจ้าหน้าที่ เช่น เขต
ห้วงห้ามเขตพักรอของผู้ใช้บริการ ข้อดี การตรวจหา
สิ่งผิดปกติทาได้สะดวกและง่าย

คู่มือสาหรับประชาชน 23/30
ขับขี่ไปตามเส้น ในการควบคุมวัตถุระเบิดที่ซุกซ่อนมากับยานพาหนะ
นอกจากการกาหนดพื้นที่จอดรถแล้ว การกาหนดเส้นทางเดินรถเป็นอีกวิธีหนึ่ง
หากไม่สามารถกาหนดพื้นที่จอดรถให้กับผู้มาใช้บริการได้ การกาหนดให้เดินรถทาง
เดียว เป็นสิ่งที่จาเป็นเพื่อให้การตรวจไม่สับสนและทาได้อย่างรวดเร็ว การควบ คุม
โดยการจดบันทึกข้อมูลของ บุคคล ยานพาหนะและสิ่งของที่ผ่านเข้ามาในพื้นที่
ก็เป็นสิ่งจาเป็น รวมทั้งการกาหนดบัตรผ่านเพื่อแยก เจ้าหน้าที่กับผู้ใช้บริการ
ไม่ละเว้นการตรวจ วัตถุระเบิดที่ซุกซ่อนสามารถผ่านเข้ามาในพื้นที่
ส่วนมากมักจะเกิดจากสาเหตุดังต่อไปนี้.-
- คุ้นเคย
- เกรงใจ
- ให้ของ
- ไม่มองสิ่งที่ตรวจ
คุ้นเคย เป็นสาเหตุที่ทาให้วัตถุระเบิดที่ซุกซ่อนผ่านเข้ามาในพื้นที่ได้
เกิดขึ้นกับบุคคลที่รู้จัก สนิทสนม บุคคลในสถานที่ทางาน หรือ บุคคลที่มาเป็น
ประจา ทาให้ไว้วางใจและมั่นใจว่าไม่คิดที่จะซุกซ่อนวัตถุระเบิดมาอย่างแน่นอน
จึงละเลยการตรวจ
เกรงใจ การเข้าใจที่ผิดประการหนึ่ง คือความเกรงกลัว ความเกรงใจ
ต่อผู้บริหาร เช่น เจ้าของกิจการ หัวหน้าหน่วยงานราชการ เป็นต้น ว่าหากทาการ
ตรวจยานพาหนะของบุคคลเหล่านี้ อาจทาให้เกิดความไม่พอใจได้ และเกิดจากการ
ไม่ให้ความสาคัญต่อมาตรการรักษาความปลอดภัย ของผู้บริหาร เจ้าของกิจการ
หรือ หัวหน้าหน่วยงานราชการ เพราะบุคคลเหล่านี้เป็นเป้าหมายขอ งการถูกลอบ
วางระเบิด จึงจาเป็นอย่างยิ่งต่อการตรวจ
ให้ของ การให้ของแก่ผู้ตรวจ เป็นการสร้างความเป็นมิตรและความ
ประทับใจแก่ผู้ได้รับ ซึ่งเป็นสาเหตุอีกประการหนึ่งที่ทาให้วัตถุระเบิดที่ถูกซุกซ่อน
ผ่านเข้ามาในพื้นที่ได้ เนื่องจาก ผู้ตรวจอาจละเลยต่อการตรวจได้เช่ นกัน สาเหตุนี้
อาจเกิดจากผู้นาระเบิดแสวงเครื่องซุกซ่อนไว้ในรถและต้องการผ่านการตรวจของ
เจ้าหน้าที่ อาจใช้วิธีนี้ก็ได้

คู่มือสาหรับประชาชน 24/30
ไม่มองสิ่งที่ตรวจ สาเหตุที่ทาให้วัตถุระเบิดที่ถูกซุกซ่อนมากับรถ
ผ่านเข้าในพื้นที่ประการสาคัญ คือ การไม่มองสิ่งที่ตรวจซึ่งเกิดจากผู้ตรวจไม่สนใจ
มองหาสิ่งที่ตรวจ ตัวอย่างเช่น การตรวจด้วยกระจกตรวจใต้ท้องรถยนต์ แต่สายตา
ผู้ของตรวจกับมองสิ่งอื่นแทนที่จะมองกระจกที่ส่องดูใต้ท้องรถยนต์
บริเวณที่พบวัตถุต้องสงสัย วัตถุต้องสงสัยที่พบส่วนมากจะพบ
ตามสถานที่เหล่า นี้ ถนน หรือ เส้นทางสาธารณะต่างๆ บริเวณถังขยะ ถุงขยะ
กาแพง รั้ว ท่อระบายน้า แนวต้นไม้ กระถางต้นไม้ ตู้รับจดหมาย ที่รับหนังสือพิมพ์
ฯลฯ การทาให้หน้าบ้านพักอาศัย สถานที่ต่า งๆ สะอาดเรียบร้อย หมั่นตรวจดูรอบ
สถานที่เป็นสิ่งสาคัญ
การตรวจ หรือ มองหา สิ่งผิดปกติ ที่อาจวาง ทิ้งไว้ หรือ รถที่จอดทิ้งไว้เป็น
เวลานาน ในลักษณะการตรวจเพื่อป้องสถานที่ต่างๆ อาจจาเป็นต้องมีเครื่องมือ
เพื่อช่วยในการตรวจ เช่น
- ไฟฉาย เพื่อให้แสงสว่างสาหรับที่ที่มีแสงสว่างน้อย
- กระจกเงา เพื่อช่วยตรวจหาในพื้นที่ที่ไม่สามารถต รวจได้สะดวก เช่น
ใต้ท้องรถยนต์ ใต้โต๊ะ หรือ ตามซอกต่างๆ
- กล้องวงจรปิด ใช้เพื่อตรวจและบันทึกภาพสาหรับใช้ในการตรวจสอบ
หลังเกิดเหตุ หรือ ใช้กล้องวงจรปิด สาหรับตรวจใต้ท้องรถยนต์ที่ผ่านเข้ามาในพื้นที่
อุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันอันตราย เมื่อพบสิ่งของต้องสงสัย หรือ วัตถุต้อง
สงสัย จาเป็นต้องมีสิ่งป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจากการะเบิดขึ้น เช่น
- ยางนอกรถยนต์ สามารถช่วยลดระยะอันตรายของ แรงระเบิดและ
สะเก็ดระเบิดได้ ความหนาของยาง จะทาให้ลดระยะอันตรายของสะเก็ดได้ดี
กับระเบิดแสวงเครื่องที่เป็นหีบห่อขนาดเล็ก ข้อดี หาได้ง่าย ข้อเสีย หากยางมีความ
หนาไม่มากพอ จะทาให้สะเก็ดอาจสาดกระจายออกได้ การแก้ไขโดยวางยางซ้อน
กันหลายวง ควรวางยางซ้อนกันอย่างน้อย ๒ - ๓ ชั้น
- ยางล้อเครื่องบิน เนื่องจากยางล้อเครื่องบินภายในตันและมีขนาดใหญ่
สามารถป้องกันอันตรายจากสะเก็ดระเบิดได้ดี กับระเบิดแสวงเครื่องที่เป็นหีบห่อ

คู่มือสาหรับประชาชน 25/30
ขนาดเล็กและขนาดกลาง ข้อดี กันสะเก็ดและแรงระเบิดได้ดี ข้อเสีย มีน้าหนักมาก
หายาก การแก้ไข อาจใช้กระสอบทราย หรือ ยางรถยนต์แทน
- กระสอบบรรจุทราย สามารถใช้ป้องกันแรงระเบิดและสะเก็ดระเบิด
ได้ดี โดยการนามาวางเรียงรอบวัตถุต้องสงสัยห่างพอสมควร อย่างน้อย ๒-๓ แถว
ความสูงขึ้นอยู่ กับพื้นที่รอบบริเวณนั้น เมื่อเกิดการระเบิดจะเสียหายเพียงใด
ควรวางให้สูงอย่างน้อย ๔-๕ ชั้น

พบแล้วจะทาอย่างไร?
เมื่อพบสิ่งของที่เข้าหลักเกณฑ์ เป็น วัตถุต้องสงสัย เพื่อความปลอดภัย
สาหรับประชาชนทั่วไป ควรปฏิบัติตามข้อแนะนาดังต่อไปนี้.-
- ห้าม
- ถาม
- จดจา
- นาแจ้งความ
- กาหนดเขตปลอดภัย
- ให้คนออก
ห้าม หมายถึง การ แตะ จับ ขยับ เคลื่อนย้าย หรือ การกระทาใดๆ กับวัตถุ
ต้องสงสัย เพราะการกระทาใดๆ กับวัตถุต้องสงสัย อาจทาให้เกิดการระเบิดได้
ถาม หมายถึง เมื่อพบวัตถุต้องสงสัย ให้ถามหาเจ้าของก่อน ว่ามีหรือไม่
เพราะหากมีเจ้าของสิ่งที่พบก็ไม่ใช่ วัตถุต้องสงสัย
จดจา หมายถึง ผู้ที่พบเห็นสิ่งของนั้น อย่าตกใจ ควรสังเกตุ ดูสิ่งต้องสงสัย
โดยรอบและควรจดจาลักษณะวัตถุต้องสงสัยนั้นให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทาได้ เพราะ
จะเป็นประโยชน์ในการให้รายละเอียดแก่เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องต่อไป
นาแจ้งความ หมายถึง เมื่อพบวัตถุต้องสงสัยและจดจารายละเอียดลักษณะ
รูปร่างแล้ว ให้ผู้ที่พบเห็นแจ้งสิ่งที่พบกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง หรือ เจ้าหน้าที่ที่ใกล้
ที่สุด อาจเป็น ตารวจ หรือ ทหาร ในพื้นที่ โดยวิธีใดวิธีหนึ่ง เช่น โทรศัพท์ เข้าแจ้ง
ความโดยตรง

คู่มือสาหรับประชาชน 26/30
กาหนดเขตปลอดภัย หมายถึง การประเมินระยะอันตรายที่เกิดจากการ
ระเบิด ระยะอันตรายขึ้นอยู่กับ ลักษณะของหีบห่อ จานวนดินระเบิดที่บรรจุ
โดยมีหลักเกณฑ์สาหรับระยะปลอดภัยดังนี้.-
หีบห่อขนาดเล็ก ระยะปลอดภัย ๑๐๐ เมตร ได้แก่ สิ่งของที่บรรจุ วัตถุ
ระเบิดได้ไม่เกิน ๕ ปอนด์ หรือประมาณ ๒ กิโลกรัม เช่น ท่อน้าพลาสติก กล่อง
พลาสติก ฯลฯ

คู่มือสาหรับประชาชน 27/30
หีบห่อขนาดกลาง ระยะปลอดภัย ๒๐๐ เมตร ได้แก่ สิ่งของที่บรรจุ วัตถุ
ระเบิดได้ไม่เกิน ๑๐ ปอนด์ หรือ ประมาณ ๔.๕ กิโลกรัม เช่น รถมอเตอร์ไซด์
หม้อแกง หรือ หม้อข้าว ถังดับเพลิง ฯลฯ

คู่มือสาหรับประชาชน 28/30
หีบห่อขนาดใหญ่ ระยะปลอดภัย ๔๐๐ เมตร ได้แก่ สิ่งของที่บรรจุ วัตถุ
ระเบิดประมาณ ๕๐ ปอนด์ หรือ ประมาณ ๒๒ กิโลกรัม หรือมากกว่า เช่น ถังแก๊ส
หม้อขนาดใหญ่ ฯลฯ

ระยะปลอดภัยนี้เป็นระยะอันตรายที่เกิดจากแรงระเบิด หากมีสะเก็ดระเบิด
ระยะปลอดภัยนี้จะไกลมากกว่า
ระยะปลอดภัยนี้ หากมีที่กาบังที่แข็งแรง อาจลดระยะลงได้
คู่มือสาหรับประชาชน 29/30
ให้คนออก หมายถึง ผู้พบเห็นควรแจ้งให้ทุกคนที่อยู่ในระยะอันตราย
ออกนอกเขตอันตรายให้หมดและควรอยู่ในที่กาบังที่แข็งแรง เพื่อเป็นการป้องกัน
อันตรายจากแรงระเบิดและสะเก็ดระเบิด

ข้อคิดคติเตือนใจ
วัตถุระเบิด ไม่เคยปรานีใคร
วัตถุระเบิด ไม่เคยให้โอกาสใครแก้ตัว
วัตถุระเบิด ไม่เคยมีคาตอบที่ถูกต้องให้ใคร
วัตถุระเบิด ไม่เคยจาว่าใครเป็นเจ้าของ
วัตถุระเบิด คือ ดาบสองคม

หน่วยทาลายล้างวัตถุระเบิดอโณทัย
กรมสรรพาวุธทหารบก

คู่มือสาหรับประชาชน 30/30

You might also like