Flare System

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

บทที่ 4

แนวปฏิ บตั ิ ทวไปส


ั ่ าหรับการปฏิ บตั ิ การหอเผาทิ้ ง
(General Flare Operations Guidelines)
แนวทางการปฏิบตั กิ ารเกีย่ วกับ หอเผาทิง้ (Flare Operations) จะเน้นการ
ปฏิบตั ิการเฉพาะหอเผาทิ้ง ชนิดหอสูง (Elevated Flare) เท่านัน้ และเป็ นเพียง
แนวทางทัวไป่ ซึ่งแต่ละหน่ วยงานหรือแต่ละผู้สร้างระบบหอเผาทิ้ง (Flare) อาจ
ออกแบบแตกต่ า งกัน ออกไป อย่ า งไรก็ต ามระบบของหอเผาทิ้ง มีก ระบวนการ
โดยทัวไปแสดงดั
่ งรูปที่ 4-1

รูปที่ 4-1 ตัวอย่างแผนผังกระบวนการทางานของระบบหอเผาทิง้


4-1
การปฎิบตั กิ ารของหอเผาทิง้ ประกอบด้วย 5 ลักษณะ คือ
1) การตรวจเช็คและปรับแต่งให้อยู่ในสภาวะปกติ (Monitoring
and Maintaining Steady State)
2) การจุดระบบหอเผาทิง้ (Start-up)
3) การหยุดระบบหอเผาทิง้ (Shutdown)
4) การแก้ไขปญั หา และเหตุ ฉุกเฉิน (Trouble Shooting/Emergencies)
เกีย่ วกับ Pilot Gas
5) การแก้ไขเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการเผาไหม้ (Flare
Burning Efficiency)

4.1 การตรวจเช็คและปรับแต่ งให้ อยู่ในสภาวะปกติ (Monitoring


and Maintaining Steady State)
การตรวจเช็ค และปรับ แต่ ง ให้อ ยู่ในสภาวะปกติ มีวตั ถุ ประสงค์ของการ
ปฏิบตั ดิ งั นี้
1) ควบคุมการปล่อยก๊าซออกหอเผาทิง้ น้อยทีส่ ดุ
2) ปรับแต่งการเผาไหม้ไม่ให้มคี วันและเสียง
3) ป้องกันไม่ให้อากาศเข้าสูร่ ะบบหอเผาทิง้ ขณะหอเผาทิง้ ทางาน
4) ดูแลปรับแต่ง Pilot Burners ให้จุดติดตลอดเวลา
5) ดูแลและควบคุมการทางานของ Flare Knock-out Drum
6) ดูแลและควบคุมการทางานของ Liquid Seal

4-2
ตารางที่ 4-1 การตรวจเช็คและปรับแต่งให้อยู่ในสภาวะปกติ
ลักษณะการปฏิ บตั ิ รายละเอียดในการปฏิ บตั ิ
1) ควบคุมการปล่อย  ควรกาหนดให้ม ี KPI ในการปล่อยก๊าซออกหอเผาทิง้ ให้น้อย
ก๊าซออกหอเผาทิง้ ทีส่ ุด ตามเกณฑ์กาหนดของบริษทั
น้อยทีส่ ุด (Minimum  ลดปริมาณ Purging Gas ให้น้อยทีส่ ดุ หรือไม่เปิดหากไม่
Flaring) จาเป็น
 ลดกาลังการผลิตซึง่ หากผลิตเกินกาลังทาให้มกี ๊าซส่วนเกิน
ออกหอเผาทิง้
 หมันตรวจเช็
่ คการรัวไหลจาก
่ Safety Valve/Process Central Valve
 ไม่ว่ากรณีใดๆ ห้ามปล่อยก๊าซออกสู่ Flare ก่อนจุด Pilot Gas
2) ปรับแต่งการเผาไหม้  ควรติดตัง้ กล้อง CCTV เพือ่ ตรวจเช็คการเผาไหม้
ไม่ให้มคี วันและเสียง  ปรับแต่งไม่ให้มคี วันด้วย Steam หรือ Air เพือ่ ลดควันและ
ต้องไม่ก่อให้เกิดระดับเสียงทีส่ ร้างความราคาญต่อชุมชน
 หากจาเป็นจะต้อง Drain หรือ Vent ก๊าซออกหอเผาทิง้
ให้ทาอย่างระมัดระวังเพือ่ ลดควันและเสียง
3) ป้องกันไม่ให้อากาศ  ไม่ Purge Oxygen จาก Process Plant Equipment ออกสู่
เข้าสู่ระบบหอเผาทิง้ หอเผาทิง้
ขณะหอเผาทิง้ ทางาน  ไม่เปิดหน้าแปลนหรือท่อ Drain ในระบบท่อของหอเผาทิ้ง ซึง่
(ซึง่ ทาให้มสี ่วนผสมที่ อาจเป็นเหตุให้อากาศถูกดูดเข้าหอเผาทิง้
ก่อให้เกิดการระเบิด  รักษาให้ม ี Purge Gas ไหลเล็กน้อยอยู่ตลอดเวลา
ได้ (Explosive  หากถอด Relief Valve เพือ่ ซ่อมบารุง จะต้องปิด Valve ทัง้
Mixture) และ/หรือ สองด้านเสมอ
เกิดไฟไหม้ยอ้ น  บารุงรักษาอุปกรณ์ดกั อากาศ เช่น Density Seal หรือ
(Burn Back) เกิดขึน้ Molecular Seal และ Air Seal (หากมี)
ในระบบ)  รักษาระดับน้าใน Liquid Seal ให้อยู่ในระดับปกติ
4) ดูแลปรับแต่ง Pilot  ตรวจเช็คให้แน่ใจว่า Pilot Gas จุดติดตลอดเวลา โดยดูท่ี
Burners ให้จุดติด CCTV Flame Detectors หรือ Temperature Indicators อนึ่ง
ตลอดเวลา หาก Pilot Gas ดับ จะต้องมีสญั ญาณเตือน (Alarm)
 ตรวจเช็คให้แน่ใจว่า Pilot Gas Supply มีพอเพียงและพร้อม
จ่ายตลอดเวลา
 กรณี Process Plant Shutdown เป็นสาเหตุให้ไม่ม ี Pilot
Gas ควรจัดหา Pilot Gas สารอง เช่น LPG bottle ฯลฯ

4-3
ตารางที่ 4-1 การตรวจเช็คและปรับแต่งให้อยู่ในสภาวะปกติ (ต่อ)
ลักษณะการปฏิ บตั ิ รายละเอียดในการปฏิ บตั ิ
5) ดูแลและควบคุมการ  Flare Knock-out Drum ทาหน้าทีใ่ นการดักจับของเหลวออก
ทางานของ Flare จากก๊าซทีร่ ะบายออก (Flare Gas) หากมีของเหลวล้นออกสู่
Knock-out Drum หอเผาทิง้ จะมีปญั หาเรือ่ งลูกไฟในลักษณะฝนไฟ (Raining
(เพือ่ ป้องกันไม่ให้ Fire) ส่งผลให้เกิดไฟไหม้บริเวณทีล่ กู ไฟตกลงมา
ของเหลวไหลขึน้ สู่  ตรวจเช็ค Level Indicators/Level Switches ให้ทางาน
ปล่องของหอเผาทิง้ ถูกต้องอยู่เสมอ เพือ่ ทีจ่ ะเดินเครือ่ งสูบ (Pump) เอาของเหลว
และป้องกันไม่ให้ก๊าซ ไปสู่ถงั เก็บ
ทีเ่ ย็นจัดไหลเข้าสู่  ตรวจเช็คระบบ Heating Coils/Heaters ให้ทางานถูกต้องใน
Liquid Seal ซึง่ ผลที่ การทาให้ของเหลวทีอ่ ุณหภูมติ ่าทีต่ ดิ ลบมาก (-90 ºC)
ตามมาคือน้าใน กลายเป็นไอและอยู่ในสภาวะอุณหภูมปิ กติ มิฉะนัน้ น้าใน
Liquid Seal จะ Liquid Seal จะกลายเป็นน้าแข็ง ทาให้ก๊าซไม่สามารถไหล
กลายเป็นน้าแข็ง) ขึน้ สู่ปล่องได้ ผลตามมาคือ เกิดความดันย้อนกลับ (Back
Pressure) ในระบบหอเผาทิง้ ซึง่ เป็นอันตรายต่อระบบทีจ่ ะ
เกิด Overpressure และนาไปสู่การเกิดระเบิด
 ตรวจเช็คเครือ่ งสูบ (Pump) ของ Knock-out Drum ให้พร้อม
ใช้งานตลอดเวลาหากมีของเหลวต้องสูบของเหลวเพือ่ เก็บใน
ถังได้ทนั ที
6) ดูแลและควบคุมการ  ตรวจเช็คและปรับแต่งระดับน้าให้อยู่ในระดับตามทีต่ งั ้ ค่าไว้
ทางานของ Liquid (Level Controller Set Point)
Seal (เพือ่ ให้ทา  หากไม่มตี วั ควบคุมระดับ ต้องตรวจเช็คให้มนใจว่ ั ่ ามีน้าล้น
หน้าทีเ่ ป็น Vacuum ทางท่อระบายรูปคอห่านตลอดเวลา
Breaker และป้องกัน  น้าทีร่ ะบายออกจาก Liquid Seal ต้องได้รบั การบาบัดเรือ่ ง
ไฟย้อนกลับ) กลิน่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสิง่ แวดล้อม

4-4
4.2 การจุดระบบหอเผาทิ้ ง (Start-up)
วิธกี าร Start-up Flare หรือวิธกี ารจุดระบบหอเผาทิง้ นี้เป็ นเพียงแนวปฏิบตั ิ
ทัวไป
่ ทัง้ นี้การออกแบบก่อสร้างอาจแตกต่างกันไปตามแต่ละโรงงานและคุณสมบัติ
ของก๊าซทีป่ ล่อยออกสู่หอเผาทิง้ เช่น Hot Flare Gas หรือ Cold Flare Gas หรือ
รวมกันทัง้ 2 ชนิด ซึง่ การปฏิบตั อิ าจแตกต่างกันไป
ภายหลังทา Major Shutdown หรือซ่อมบารุงใหญ่ ต้องจุดระบบหอเผาทิง้
หรือ Start-up ก่อนหน่ วยผลิตอื่น ทัง้ นี้ เพื่อรองรับก๊าซหรือ ของเหลวทีจ่ าเป็ นต้อง
ปล่อยออกสู่หอเผาทิง้ ในช่วง Start-up ดังนัน้ หอเผาทิง้ จะต้องมีความพร้อมในการ
รองรับเหตุการณ์เหล่านี้
ขัน้ ตอนการ Start-up Flare Unit หลังจาก Major Shutdown มีขนั ้ ตอน
หลักดังนี้
1) การเตรียมความพร้อมของระบบก่อน Start-up
2) การกาจัดอากาศออกจากระบบ (Air Freeing)
3) การจุด Pilot Burners
4) การจุด Main Flare Gas
เพื่อความเข้าใจในการ Start-up ควรศึกษาระบบหอเผาทิง้ ดังรูปที่ 4-2

4-5
S14

PILOT
FFC Main Flare BURNER

FV

3"
Purge Gas FV
FG N2 8" Molecular
Seal
Process Units
Fuel gas system
Tankage FG
FI
Y
FI
FI LO
LO TICA
RO
16" 24" 30" 30"
LO
FT
WTR

3"

16"
LICA

12"
Flare Seal

4-6
Flare KO Drum
V-101 LZA HH Drum V-103
LL
Utilities Process Units
S3

TICA TZA HH
PCV-
HZA
LL
NC
LA
Safeguarding Pilot Gas PCV-
N2 system KO
SRU,SWS Unit
Drum
Purge Gas HS V-102
AIR
FG
Y FG
FI Flare Pump
001
IGNITOR
PANEL
8" To Slops

รูปที่ 4-2 ตัวอย่างภาพรวมระบบหอเผาทิง้ (Flare System)


4.2.1 การเตรียมความพร้อมของระบบก่อน Start-up
การเตรี ย มความพร้ อ มนั บ ว่ า เป็ นสิ่ ง จ าเป็ นและส าคั ญ เพื่ อ น าไปสู่
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการ Start-up

ตารางที่ 4-2 การเตรียมความพร้อมของระบบก่อน Start-up


อุปกรณ์ จุดที่ควรตรวจสอบ รายละเอียด
1) เครือ่ งสูบ  ตรวจเช็คความพร้อม - น้ามันหล่อลืน่ (Lube Oil)
(Pump) ของเครือ่ งสูบ (Pump) - น้าหล่อเย็น (Cooling Water)
ทุกตัว - ตัวกรอง (Strainers)
- ระบบจ่ายไฟฟ้า (Power Supply)
- ระบบเครือ่ งมือวัดและระบบ
ป้องกันภัย (Instrumentation and
Safeguarding)
2) ถัง (Vessel)  Flare Knock-out Drum - ทาความสะอาดภายใน และปิดฝา
 Liquid Seal ครอบ
 Pilot Gas Knock-out - ต้องไม่มสี งิ่ กีดขวางและสะอาด
Drum - ทดสอบการรัว่ (Leak Test)
3) ระบบท่อ  ท่อรวม (Flare Header) - ใส่ Cap หรือ Plug ที่ Vents หรือ
(Piping)  ระบบเชือ้ เพลิง(Fuel Drains
Gas) - Spadesได้ถอดออกตามต้องการ
 ระบบไอน้า (Steam) ดูรายละเอียดตาม Spade List
เช่น Heating Coils และ - หน้าแปลนขันแน่น
Flare Steam
 Instrument Air System

4-7
ตารางที่ 4-2 การเตรียมความพร้อมของระบบก่อน Start-up (ต่อ)
อุปกรณ์ จุดที่ควรตรวจสอบ รายละเอียด
4) ระบบเครือ่ งมือ  Control Valves - ติดตัง้ ถูกต้อง
วัด Temperature Controllers - ได้ทา Stroke Test
(Instrument) Level Controllers - มี Instrument Air Supply
Hand Operate Valves

 ระบบสัญญาณเตือน - Controllers และ Alarms ได้รบั


(Alarm Trip System) การตรวจเช็ค
- Interlock System ทางานถูกต้อง
- มาตรวัดระดับ Level Gauges
Sight หรือ Glass จะต้องสะอาด
5) ระบบความ  เครือ่ งดับเพลิง (Fire - มี Portable Fire Fighting วาง
ปลอดภัย Fighting Equipment) ตามจุดต่างๆ ทีก่ าหนดไว้
(Safety) - ระบบน้าดับเพลิง พร้อมใช้งาน
- Steam ดับเพลิง (Steam Lance)
พร้อมใช้งาน
 วาล์วนิรภัย (Safety - ติดตัง้ ถูกต้อง
Relief Valves) - มีกุญแจ Lock ตามระบบและชนิด
ของ Relief Valve นัน้ ๆ
 อุปกรณ์ทวไป
ั ่ (General - อุปกรณ์ความปลอดภัย PPE มี
Instrument) ความพร้อมทีจ่ ะใช้งาน
- เครือ่ งมือเตือนก๊าซพิษ (Toxic
Gas Alarms) ทางานถูกต้อง
- ฝกั บัวล้างตา (Eye Shower)
พร้อมใช้งาน (หากมี)

4-8
ตารางที่ 4-2 การเตรียมความพร้อมของระบบก่อน Start-up (ต่อ)
อุปกรณ์ จุดที่ควรตรวจสอบ รายละเอียด
6) ระบบ  Steam Cooling Water - Steam Supply ได้เปิดเข้าสู่ Unit
สาธารณูปโภค Nitrogen Power Supply และ Drain Condensate
(Utilities) และ Fuel Gas - Cooling Water Supply พร้อม
เปิดเข้าใช้งาน
- Power Supply พร้อมใช้งาน
- Nitrogen พร้อมใช้งาน
- Fuel Gas สาหรับ Pilot Gas หรือ
ก๊าซทีเ่ ข้าสู่หอเผาทิง้ พร้อมใช้งาน
(หากสามารถจ่ายมาจากแหล่งอื่น
ก่อนทีห่ น่วยผลิตจะเดินเครือ่ ง)

4.2.2 การกาจัดอากาศออกจากระบบ (Air Freeing)


การทา Air Freeing มีวตั ถุประสงค์เพื่อความปลอดภัยเกีย่ วกับของผสมที่
เกิดระเบิดได้ (Explosive Mixture) กล่าวคือ หากมีก๊าซไวไฟ (Flammable Gas)
ผสมกับอากาศในสัดส่วนทีเ่ หมาะสม และมีความร้อนเพียงพอ อาจทาให้เกิดระเบิด
ได้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง หากปล่ อ ยส่ว นผสมเหล่ า นี้ อ อกสู่ร ะบบหอเผาทิ้ง (Flare
System) อาจทาให้เกิดระเบิดภายในหอเผาทิง้ ได้
ก่อนการ Start-up ทุกครัง้ ต้องทา Air Freeing โดยการใช้ไอน้ า Steam
Out หรือใช้ไนโตรเจน (N2) ทัง้ นี้ Purging ทีน่ ิยมใช้คอื Steam Out ซึง่ สะดวกและ
ง่ายต่อการตรวจเช็ค โดยเปิ ดไอน้ า (Steam) เข้าถัง (Vessel) และระบบท่อ (Piping
System) เปิ ด High Point Vents เพื่อปล่อยอากาศออก และเปิ ด Low Point Drains
เพื่อเอา Condensate ออก การทา Steam Out ทีห่ อเผาทิง้ เป็ นการปล่อย Steam ออก
ทีป่ ากปล่องของหอเผาทิง้ (Flare Tip) เพื่อให้ไล่อากาศออกจากทุกส่วนของ Headers
อนึ่ง สาหรับ Header หรือท่อใดทีไ่ ม่ได้เปิ ดออกซ่อมและภายในมีสารไฮโดรคาร์บอน

4-9
(Hydrocarbon) ไม่จาเป็ นต้องทา Steam Out ซึง่ ปกติใส่ Spade ไว้และถอด Spade
เมื่อได้ทา Air Free ในส่วนของ Flare Header แล้ว
อนึ่ง หากทา Air Freeing ในระบบหอเผาทิง้ แล้ว ห้ามปล่อยหรือไล่อากาศ
จากส่วนอื่นของ Process เข้าสู่ระบบหอเผาทิ้งอีก เพราะทาให้ไม่ปลอดภัยดังได้
กล่าวมาในตอนต้น ตัวอย่างระบบควบคุม Steam เพื่อใช้ในการ Steam Out แสดง
ดังรูปที่ 4-3

รูปที่ 4-3 ตัวอย่างระบบควบคุม Steam

ตารางที่ 4-3 ขัน้ ตอนในการไล่อากาศโดยใช้วธิ ี Steam Out Flare


ขันตอนหลั
้ ก (Key Step) รายละเอียด (Details/Explanation)
1) Steam Out แต่ละ Process ได้แก่ Relief Header จากหน่วยงานต่างๆ เช่น
Unit (Flare Headers  Vessels หรือถังต่างๆ จากหน่วยผลิต
Knock-out Drum หรือ  หอกลัน(Distillation
่ Column)/หอสกัด (Extractor)
Blow-down Drum/Column) (ควรระวังไม่ให้มสี ่วนหนึ่งส่วนใดของท่อมี Dead End ซึง่ ทา
ให้อากาศตกค้างอยู่ในระบบ)

4-10
ตารางที่ 4-3 ขัน้ ตอนในการไล่อากาศโดยใช้วธิ ี Steam Out Flare (ต่อ)
ขันตอนหลั
้ ก (Key Step) รายละเอียด (Details/Explanation)
2) Steam Out Main Flare  ต่อท่อ Steam ชัวคราวเข้
่ าทีต่ น้ ทางของ Main Flare
Header: Header
 ต่อท่อ Steam ชัวคราว
่  ต่อท่อ Steam เข้าตาม Relief Header ของแต่ละ
 เตรียมต่อท่อ N2 หน่วยผลิตในส่วนทีอ่ อกสู่ Main Flare Header
ชัวคราว
่ 2-3 จุด เพือ่ ทา โดยตรง
Blanket ระบบหลัง  Crack Drain/Vent Valves ที่ Outlet/Bypass ของ Relief
หยุดทา Steam Out Valve แต่ละตัว
หากไม่มที ่อต่อไว้  ก่อนเปิด Steam ควรระวังไม่ให้ม ี Condensate เพือ่
โดยตรง ป้องกันการเกิด Hammering

 ระหว่างการทา Steam  Steam Out ที่ Main Flare Knock-out Drum


Out ให้ตรวจเช็ครอยรัว่  ระดับน้าของ Liquid Seal ต้องแห้งหรือต่าสุด เพือ่ ให้
ตามหน้าแปลน Steam ไหลออกสู่ Flare Tip ได้สะดวก
 ให้ตรวจเช็คความดันในระบบขณะทีท่ า Steam Out
ไม่ควรเกิน 1.0 barg.
 ตรวจเช็ค Drain Line ของ Gas Seal ไม่ให้อุดตัน
(ท่อจะร้อนหากมีการอุดตัน)
 ทาการ Steam Out Fuel Gas System ทีเ่ ข้า Pilot
Gas และ Purge System หากเปิดซ่อมไม่ควร
Steam Out ในส่วนของ Ignition System เพราะทา
ให้ Condensate ค้างในท่อซึง่ ยากต่อการจุด Pilot
Burners
 ตรวจเช็คฐานของหอเผาทิง้ ให้ม ี Condensate ไหลเข้า
Liquid Seal
3) Steam Out Sour Flare  ต่อ Steam เข้าทีห่ น่วยผลิตกามะถัน/Sour Water
Header  เปิด Vents/Drains ของแต่ละ Relief Valve

4-11
ตารางที่ 4-3 ขัน้ ตอนในการไล่อากาศโดยใช้วธิ ี Steam Out Flare (ต่อ)
ขันตอนหลั
้ ก (Key Step) รายละเอียด (Details/Explanation)
4) หยุดการทา Steam Out และ  Steam Out อย่างน้อย 3-4 ชัวโมง ่ และทุกส่วนของ
คลุมด้วย Blanket Gas (N2) System ร้อน > 100 ºC
 ปิด Vents/Drains ตามจุดต่างๆ ทีเ่ ปิดไว้ ใน
ข้อควรระวัง: การหยุดทา ขณะเดียวกันให้ปรับลด Steam ทีเ่ ข้าแต่ละจุดเพือ่
Steam Out จะทาให้เกิด Vacuum รักษาให้ม ี Slightly Positive Pressure ประมาณ 0.3
ในระบบ ควรเฝ้าดู Pressure ถึง 0.5 barg
อย่างใกล้ชดิ ซึง่ เกิดเป็น Vacuum  หยุดทา Steam Out พร้อมกัน โดยให้เปิด N2 เข้า
ค่อนข้างเร็ว คลุม (Blanket) ในระบบ เพือ่ ให้ม ี Slightly Positive
Pressure ประมาณ 0.3 ถึง 0.5 barg
5) ตรวจวัด Oxygen Content  เก็บตัวอย่าง Gas ส่ง Lab เพือ่ หา Oxygen Content
 ค่า Oxygen Content ไม่ควรเกิน 6% หากเกินให้
Purge ด้วย N2 จนกว่าจะได้ Oxygen Content ที่
ต้องการ
6) เติมน้าเข้า Liquid Seal  เติมน้าเข้า Liquid Seal จนได้ระดับปกติ
 ตรวจเช็คให้แน่ใจว่าน้า Overflow ออกจาก Seal
Drain Line
 เปิด Stack และ Gas Seal Drain เข้าสู่ Liquid Seal
7) การจุดหัวเผาไหม้ของ Pilot  เปิด Pilot Gas เข้าสู่ Ignition Mixing Chamber
(Lighting the Pilot Burners)  ตัง้ ค่า Pilot Gas Pressure ประมาณ 7 psi และ
(รายละเอียดเพิม่ เติมดังข้อ Instrument Air Pressure ประมาณ 15 psi ซึง่ ทาให้
4.2.3) ส่วนผสมระหว่างอากาศและเชือ้ ก๊าซอยู่ในสัดส่วนที่
เหมาะสม
 เปิดวาล์ว 3 ทาง (Three Way Valve) ของหัว Pilot Gas
ทีต่ อ้ งการจุด
 รอ 4-5 วินาที เพือ่ ให้ส่วนผสมวิง่ เข้าสู่ Flame Front
Ignition Line

4-12
ตารางที่ 4-3 ขัน้ ตอนในการไล่อากาศโดยใช้วธิ ี Steam Out Flare (ต่อ)
ขันตอนหลั
้ ก (Key Step) รายละเอียด (Details/Explanation)
7) การจุดหัวเผาไหม้ของ Pilot  กดปุม่ Ignition ภายในไม่กว่ี นิ าทีไฟจะติด โดยการ
(Lighting the Pilot Burners) สังเกตเปลวไฟ หรือตูค้ วบคุม (Local Panel)
(รายละเอียดเพิม่ เติมดังข้อ หลอดไฟสีเขียวจะติด หรือดู Temperature ใน
4.2.3) (ต่อ) ห้องควบคุม
 จุด Pilot Gas Burner ทุกหัว
 หากจุดครบทุกหัวแล้วให้ปิด Cock Valve ของ Pilot
Gas และ Instrument Air
8) เปิด Steam เข้าหอเผาทิง้  ระบาย Condensate และเปิด Steam Trap เข้าใช้
(Commission Steam to งาน
Flare)  ให้ความร้อนแก่ทอ่ (Warm Up) โดยใช้ Steam ผ่าน
Orifices จนกระทังท่ ่ อร้อนทัว่
 ตัง้ ค่า Output ของ Control Valves ทีจ่ ุดต่าสุด เปิด
Steam ผ่าน Control Valve
9) นา Flare Knock-out Drum  แน่ใจว่าระบบเครือ่ งมือวัดทุกชนิดพร้อมใช้งาน
เข้าใช้งาน  เปิด Steam เข้า Heating Coil และ Steam trap เข้า
ใช้งาน
 ตรวจเช็ค Power Supply สาหรับ Flare Knock-out
Pump
 เลือกตาแหน่งของ Pump Duty เป็น P-A หรือ ตัว
P-B ในการทาหน้าที่ Normal Duty โดยใช้ HS-001
10) จุด Main Flare โดยใช้ Fuel  Pilot Gas จุดติดทุกหัว
Gas Inject เข้า Main  เปิด Fuel Gas เข้า Main Flare โดยเปิด Purge Gas
Header (อธิบายเพิม่ เติมดัง ทางต้นทางของ Header และ/หรือ Outlet Flare Knock-out
ข้อ 4.2.4) Drum/Liquid Seal ในขณะเดียวกันให้ปิด N2 ทีเ่ ปิดเข้ามา
เพือ่ ทาหน้าทีเ่ ป็ น Blanket Gas (ในข้อ 4)
 รอกระทัง่ Fuel Gas เข้าแทนที่ N2 จนหมด จากนัน้
Main Flare จะจุดติดเอง

4-13
ตารางที่ 4-3 ขัน้ ตอนในการไล่อากาศโดยใช้วธิ ี Steam Out Flare (ต่อ)
ขันตอนหลั
้ ก (Key Step) รายละเอียด (Details/Explanation)
10) จุด Main Flare โดยใช้ Fuel  ปรับแต่งปริมาณ Fuel Gas ที่ Inject เข้า Header ซึง่
Gas Inject เข้า Main Header ขึน้ กับขนาดของเปลวไฟ (Flame) และการรักษา
(อธิบายเพิม่ เติมดังข้อ 4.2.4) ระดับความดันใน Header
(ต่อ)  ปรับแต่งอัตราการไหลของ Stream เพือ่ ควบคุมควัน
11) Commission Purge Gas  เปิดและปรับแต่ง Fuel Gas Purging Flow Rate
ต่าสุดเพือ่ ให้มเี ปลวไฟเล็กๆ ทีป่ ากปล่องหอเผาทิง้

4.2.3 การจุด Pilot Burners


ก่อนจุด Pilot Burners หลังจากการหยุดระบบ (Shutdown) ต้องให้ Main
Flare Header อยู่ในสภาพที่ป ลอดภัย ไม่ มีข องผสมที่ระเบิดได้อ ยู่ใ นระบบ
(Explosive Mixture) ในทีน่ ้ีจะกล่าวถึงการจุด Pilot ระบบ Flame Front Generator
ซึง่ รูปตัวอย่างอุปกรณ์แสดงดังรูปที่ 4-4 และรูปตัวอย่าง Pilot Burners Diagram
แสดงดังรูปที่ 4-5

รูปที่ 4-4 ตัวอย่างระบบควบคุมการจุด Pilot แบบ Flame Front Generator

4-14
ตารางที่ 4-4 การจุด Pilot Burners
ขันตอนหลั
้ ก (Key Step) รายละเอียด (Details/Explanation)
1) ขันเตรี
้ ยมการ:  เปิดสวิตช์ Power Supply เข้า Ignition Panel สังเกต
1.1) ตรวจสอบ Flame หลอดไฟ Power On จะติด
Front Generator  ตรวจเช็ค Alarms ทัง้ ในห้อง Control Room และ Local
Ignition System Panel ว่าทางานปกติหรือไม่
 ตรวจเช็ค Ignition Line ว่ามีการอุดตันหรือมี
Condensate อยู่ในท่อหรือไม่ โดยการ Blow ด้วย
Instrument Air จนไม่อุดตันหรือเปียก
 ตรวจเช็คการทางานของ Spark Plug โดยกด Ignition
Button และดูการ Spark จาก Sight Port หากมีปญหา ั
ให้แจ้งแก่ผทู้ เ่ี กีย่ วข้อง เนื่องจากภายในตูข้ อง Local
Panel ต้องการความปลอดภัยเกีย่ วกับ Explosive
Mixture ดังนัน้ ต้องมี Instrument Air เข้าเป็น
Pressurize
 ท่อ Pilot Gas ต้องเปา่ ด้วยลมแห้งก่อนจุด เพือ่ ให้ไม่อุดตัน
1.2) เปิด Fuel Gas  ตรวจเช็ค และ Drain Liquid ใน Knock-out Drum
Supply เข้า  นาระบบเครือ่ งมือวัดเข้าใช้งาน เช่น Flow Meter
Knock-out Drum Pressure Gauge และยืนยันการทางานให้ถูกต้อง
 หาก Filter สกปรก ต้องเปลีย่ นใช้ตวั ใหม่ และทาความ
สะอาดตัวทีส่ กปรก
o ตัง้ ค่าความดัน PCV ที่ 1.1 barg
o ตรวจเช็คความดันขาออกของ Knock-out Drum
ไม่ให้เกิด Low Alarm

4-15
ตารางที่ 4-4 การจุด Pilot Burners (ต่อ)
ขันตอนหลั
้ ก (Key Step) รายละเอียด (Details/Explanation)
2) การจุด Pilot (Pilot  เปิด Pilot Gas เข้าสู่ Ignition Mixing Chamber
Lighting)  ตัง้ ค่า Pilot Gas Pressure และ Instrument Air
Pressure ซึง่ ทาให้ส่วนผสมระหว่าง อากาศและเชือ้
ก๊าซอยู่ในสัดส่วนทีเ่ หมาะสม
 เปิดวาล์ว 3 ทาง (Three way Valve) ของหัว Pilot
Gas ทีจ่ ะจุด
 รอ 4-5 วินาทีเพือ่ ให้ส่วนผสมวิง่ เข้าสู่ Flame Front
Generator Ignition Line
 กดปุม่ Ignition ภายในไม่กว่ี นิ าทีไฟจะติด โดยการ
สังเกตเปลวไฟ หรือดูทต่ี คู้ วบคุม (Local Panel)
หลอดไฟสีเขียวจะติด หรือดู Temperature ใน
ห้องควบคุม (MCB)
 จุด Pilot Gas Burner ทุกหัว
 หากจุดครบทุกหัวแล้วให้ปิด Cock Valve ของ Pilot
Gas และ Instrument Air

4-16
4-17
รูปที่ 4-5 ตัวอย่าง Pilot Burners Diagram
4.2.4 การจุด Main Flare Burner
การจุด Main Flare Burner ของหอเผาทิง้ จะจุดเมื่อ Pilot Burners ได้จุด
ติดรอไว้แล้ว วิธกี ารไม่ยุ่งยากเหมือนจุด Pilot Burners เพียงแต่เปิ ดก๊าซทีจ่ ะปล่อย
ออกสู่ระบบ Flare ให้ออกสู่ Main Flare Burner โดยมี Pilot Burners ทาหน้าที่จุด
ให้ Main Flare Burner ติด บางกรณีหากไม่มกี ๊าซทีร่ ะบายออกเข้าสู่ระบบ Flare
มักจะออกแบบให้มี Fuel Gas เปิ ดเข้าสู่ระบบ Flare เพื่อจุดเลีย้ งเอาไว้ก่อนทีจ่ ะ
ปล่อยก๊าซทีต่ ้องการระบายออกสู่ Main Flare Burner หลังจาก Main Flare Burner
จุดติดแล้วให้ปรับแต่ง Smokeless Steam หรือ Smokeless Air แล้วแต่กรณีเพื่อลด
ควันดาและปรับแต่งรูปแบบของเปลวไฟ

4.3 การหยุดระบบหอเผาทิ้ ง (Shutdown)


โดยทัวไประบบหอเผาทิ
่ ้ง (Flare System) จะหยุดระบบ (Shutdown)
เพื่อซ่อมอุปกรณ์ มักทาในช่วงหยุดซ่อมบารุงใหญ่ (Major Turnaround) และหยุด
ระบบ (Shutdown) หลังจากหน่ วยผลิตอื่นๆ หยุดหมดแล้วเท่านัน้ การหยุดระบบ
(Shutdown) หอเผาทิง้ มีความซับซ้อนอยู่บา้ งหลังจากทาการกาจัดของเหลวออกจาก
ถัง (Vessel) ของระบบหอเผาทิง้ (Flare System) แล้วต้องทา Steam Out เพื่อไล่
ก๊าซออกจากระบบ มิฉะนัน้ การตรวจเช็คและ/หรือซ่อมแซมอาจทาได้ยาก
รายละเอีย ดวิธีก ารหยุ ด ระบบ (Shutdown) อาจแปรเปลี่ย นไปตาม
สถานะการณ์ของการหยุดระบบในแต่ละครัง้ ดังนัน้ แนวปฏิบตั ทิ ่จี ะกล่าวถึงนี้ เป็ น
หลักการทัวไปเพื
่ ่อเตรียมหอเผาทิง้ และอุปกรณ์ให้สะอาด มีความปลอดภัย สาหรับ
ตรวจเช็ค ซ่ อ มแซม ตามแผนงาน ซึ่ง กิจ กรรมหลัก ที่ท าให้ มีก ารหยุ ด ระบบ
(Shutdown) มีดงั นี้
1) กาจัด Hydrocarbons Liquid ออกจาก Vessels/Columns
2) ปิ ดกัน้ ระบบและทา Steam Out Flare Headers
3) ดับ Pilot Burners
4) กาจัดของเหลวออกจาก Vessel และทา Steam Out

4-18
5) ใส่ Spades ตามความต้องการของการตรวจสอบหรือซ่อมบารุง
6) เปิ ดทางเข้าถัง และทา Steam Out
7) ฉีดน้าทาความสะอาด
8) ส่งมอบงานให้ฝา่ ยซ่อมบารุง

ตารางที่ 4-5 รายละเอียดกิจกรรมหลักทีท่ าให้มกี ารหยุดระบบ (Shutdown)


ขันตอนหลั
้ ก (Key Step) รายละเอียด (Details/Explanation)
1) กาจัด Hydrocarbons Liquid  ในการนาของเหลวออกจาก Vessels ของแต่ละ
ออกจาก Vessels/Columns หน่วยผลิต ต้องทาก่อนการหยุดหอเผาไหม้
 ในการนาของเหลวออกจาก Main Flare Knock-out
Drum จุดนี้มกั ทาหลังสุดเนื่องจากช่วงทา Steam
Out จะมีของเหลววิง่ มาสะสมทีจ่ ุดนี้
2) ปิดกัน้ ระบบและทา Steam  ปิดกัน้ ระบบและทา Steam Out Sub-Header โดย
Out Flare Headers ต่อ Steam จากต้นทางของ Sub-Header ต่างๆ โดย
ให้ปริมาณ Steam เพียงพอทีจ่ ะไล่ Gases/Liquid
ออกจากระบบ และเฝ้าระวังไม่ให้เกิด Hammering
 เมือ่ หน่วยผลิตทุกหน่วย ได้ Steam Out หมดแล้ว
ให้ทาการ Isolate และ Steam Out Main Flare
Header ไปยัง Flare Knock-out Drum ออกสู่ Flare
Stack โดยต่อ Steam จากต้นทางของ Sub-Header
และที่ Flare Knock-out Drum
 ทาการ Steam Out Sour Gas Header โดยต่อ
Steam จากต้นทางของ Header ออกสู่ Main Flare
Stack
 ทาการ Steam Out Fuel Gas ไปยังระบบหอเผาทิ้ง
3) ดับ Pilot Burners  เมือ่ แน่ใจว่าไม่มกี ๊าซออกที่ Flare Burner แล้ว ให้
ดับ Pilot Gas โดยปิด Pilot Gas Supply จากต้น
ทางเพือ่ ลดความดันของระบบ
 ตรวจเช็คว่า Pilot Gas ดับจาก Lamp Indicators

4-19
ตารางที่ 4-5 รายละเอียดกิจกรรมหลักทีท่ าให้มกี ารหยุดระบบ (Shutdown) (ต่อ)
ขันตอนหลั
้ ก (Key Step) รายละเอียด (Details/Explanation)
4) กาจัดของเหลว ออกจาก  ใช้เครือ่ งสูบ (Pump) ดูดของเหลวใน Flare Knock-
Vessel และทา Steam Out out Drum หากไม่ม ี Liquid เหลือให้เปิด Bottom
Drain
 ถ่ายน้าใน Liquid Seal จนแห้ง และปิดน้าขาเข้า
 ต่อท่อและทา Steam Out ถังพัก Pilot Gas
 ไม่ควรทา Steam Out ที่ Ignition Line แต่ควรเปา่
ด้วย Air
5) ใส่ Spades ตามความ ตัวอย่าง การใส่ Spades :
ต้องการของการตรวจสอบ  Flare Knock-out Drum ใส่ Spade ที:่
หรือซ่อมบารุง(ในระยะการ o Vapor Inlet & Outlet
ทา Steam Out ประมาณ 4-8 o Steam Inlet Heating Coil
ชัวโมงและอุ
่ ณหภูม ิ >100 ºC )  Liquid Seal ใส่ Spade ที:่
ข้อควรระวัง: เมือ่ หยุด o Inlet Water
Steam Out จะเกิด vacuum o Purge Gas จากต้นทาง
ในระบบ ดังนัน้ ห้ามปิด Vents o Vapor Outlet & Flare Stack Drain
และ Drains  Pilot Gas Knock-out Drum
 Pilot Gas inlet
6) เปิดทางเข้าถัง และทา  เปิดทางเข้าถังและวัดปริมาณสารไฮโดรคาร์บอนใน
Steam Out ถัง หากพบว่าในถังมีสารไฮโดรคาร์บอนตกค้าง ให้
ทาการ Steam Out กระทังไม่ ่ มสี ารตกค้าง
7) ฉีดน้าทาความสะอาด  ต่อสายน้าดับเพลิงฉีดภายในถัง ทาความสะอาด
เพือ่ เข้าตรวจเช็คหรือซ่อม

8) ส่งมอบงานให้ฝายซ่อมบารุง  ใส่ Spade Inlet Control Valve เพือ่ ขึน้ ตรวจเช็ค Flare
Tip
 ออก Maintenance Work Permit

4-20
4.4 การแก้ไขปัญหา และเหตุฉุกเฉิ น (Trouble Shooting/
Emergencies) เกี่ยวกับ Pilot Gas
ในการดาเนินการเกีย่ วกับ Pilot Gas อาจมีปญั หาเกิดขึน้ อย่างกระทันหัน
ในที่น้ี ข อยกตัว อย่ า งเหตุ ก ารณ์ ท่ีอ าจเกิด ขึ้น พร้ อ มทัง้ แนวทางการแก้ ไ ขดัง
ตารางที่ 4-6

ตารางที่ 4-6 ปญั หาและการแก้ไขเกีย่ วกับ Pilot Gas


ปัญหา สาเหตุ แนวทางแก้ไข
1) Pilot จุดไม่ตดิ  หัว Pilot อุดตันจากสิง่  ทุกครัง้ ทีม่ กี ารซ่อมบารุงใหญ่ควร
สกปรก ถอดหัว Pilot Burners มาทาความ
สะอาด และควรเปา่ ท่อ Pilot Gas
ด้วยลมแห้ง
 Gas Strainer อุดตัน  ตรวจเช็ค Pressure Drop และทา
(รูปที่ 4-6) ความสะอาด Strainer
 Orifice อุดตัน (รูปที่ 4-7)  ตรวจเช็ค Condensate ถอดทา
ความสะอาด และเปา่ ด้วยลมแห้ง
2) Flame front  Ignition System และ  ตรวจเช็คระบบ Electrical System
Generator ไม่ Spark Plug ไม่ทางาน  ตรวจเช็คการทางาน Spark Plug
ทางาน (รูปที่ 4-8 และ 4-9) โดยกด Ignite และให้สงั เกตจาก
Mixer Port
 ตรวจเช็ค Spark Plug Gap
 Ignition System และ  ทาความสะอาดหากพบว่าท่อ
Spark Plug ไม่ทางาน Flame Front Generator อุดตัน
(รูปที่ 4-8 และ 4-9)  ท่อ Flame Front Generator ต้อง
ไม่เปียก
 ปรับแต่งส่วนผสมระหว่าง Gas และ
Air Pressure

4-21
รูปที่ 4-6 ตัวอย่าง Pilot Gas Strainer

รูปที่ 4-7 ตัวอย่าง Orifice ทีต่ อ้ งทาการถอดล้าง

รูปที่ 4-8 ตัวอย่าง Ignition Line

4-22
รูปที่ 4-9 ตัวอย่าง Ignition Air และ Gas Orifice

4.5 การแก้ไขเพื่อเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพในการเผาไหม้


(Flare Burning Efficiency)
การดาเนิน การของหอเผาทิ้ง ในบ้า งครัง้ อาจไม่ อยู่ในสภาวะเสถีย รและ
ประสิทธิภาพอาจต่ ากว่ามาตรฐาน ในที่น้ีขอยกตัวอย่างปญั หาด้านประสิทธิภาพ
การเผาไหม้ของหอเผาทิง้ และแนวทางการแก้ไขดังตารางที่ 4-7

ตารางที่ 4-7 การแก้ไขเพื่อเพิม่ ประสิททธิภาพในการเผาไหม้


ปัญหา สาเหตุ แนวทางแก้ไข
1) หอเผาทิง้ เกิด  Steam หรือ Air ไม่  เพิม่ Steam หรือ Air
ควัน พอ  ตรวจเช็คการเพิม่ ของอัตราการไหล
(Flow)
 มีการปล่อย Gas  ลดปริมาณการปล่อย Gas/Liquid ให้
หรือ Liquid ออกหอ อยู่ในสภาวะทีย่ อมรับได้ ยกเว้นกรณี
เผาทิง้ (Flare) มาก ฉุกเฉิน
2) หอเผาทิง้ เสียง  Safety Relief Valve  ตรวจเช็คแหล่งกาเนิดเสียง ควรทา
ดัง Pop/Passing การเปลีย่ นใช้ตวั Spare และถอดซ่อม

4-23
ตารางที่ 4-7 การแก้ไขเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการเผาไหม้ (ต่อ)
ปัญหา สาเหตุ แนวทางแก้ไข
2) หอเผาทิง้ เสียง  Steam มากเกินไป  ต้องแน่ใจว่าเสียงมาจากหอเผาทิง้ (Flare)
ดัง (ต่อ)  ลดอัตราการไหลของไอน้า (Steam
Flow Rate) ทีไ่ ปยัง Steam Ring
 หากตัวลด (Muffler) เสียงชารุด ให้
ทาการตรวจเช็คและซ่อมบารุงช่วง
การหยุดระบบ(Shutdown)
3) Flame Pull-  ก๊าซทีร่ ะบายออกมี  เพิม่ อัตราการไหลของไอน้าตรงกลาง
Down เป็น อัตราการไหลหรือ (Center Steam) เพือ่ ให้เปลวไฟตัง้
สาเหตุให้หวั ความเร็วต่า (Waste ตรง
หอเผาทิง้ Low Flow/Velocity)
เสียหาย (ดังรูป  กระแสลมแรง  ตรวจเช็คสภาพและซ่อมบารุงตัวป้อง
ที่ 4-10) ลม Wind Shield
4) Flame Out  อัตราการไหลของไอ  ลดอัตราการไหลของไอน้า (Steam
น้า (Steam Flow) Flow) แล้วจุดหอเผาทิง้ ขึน้ มาใหม่
มากเกินไป  เปิด Fuel Gas เข้าเสริมเพือ่ ให้เปลว
 ส่วนผสมของก๊าซที่ ไฟจุดติด
ระบายออก (Flare Gas)
มี Heating Value น้อย
เช่น มี NH3 เจือปน
 ฝนตก หรือ ลมแรง

รูปที่ 4-10 ตัวอย่างกรณีเกิด Flame Pull-down


4-24

You might also like