Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 39

บทที่ 4 ดุลยภาพของตลาด

751100
บทที่ 4 ดุลยภาพของตลาด
 การกาหนดราคาและดุลยภาพตลาด
 การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ
 การแทรกแซงราคาของรัฐบาล
 ตลาดและการแข่งขัน
การกาหนดราคาและดุลยภาพตลาด
(Price Determination and Market Equilibrium)
ดุลยภาพของตลาด (Market equilibrium)
คือ ภาวะที่ปริ มาณความต้องการเสนอซื้ อเท่ากับปริ มาณความต้องการเสนอ
ขาย ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่ง
 จุดดุลยภาพดังกล่าวนี้จะถูกกาหนดโดยอุปสงค์และอุปทานของตลาด

ณ จุดที่เส้นอุปสงสค์ตดั กับเส้นอุปทาน เรี ยกว่า “จุดดุลยภาพ” (Equilibrium point)


 ระดับราคา “ราคาดุลยภาพ” (Equilibrium price)
 ระดับปริ มาณ “ปริ มาณดุลยภาพ” (Equilbrium quantity)
การกาหนดราคาและดุลยภาพตลาด (ต่ อ)
เส้น Demand = D1
(P) เส้น Supply = S1

ดุลยภาพอยูท่ ี่จุด E
 ราคาดุลยภาพ =
 ปริ มาณดุลยภาพ =

0
(Q)
อุปทานส่ วนเกิน (Excess Supply)
 หมายถึง ปริ มาณเสนอขาย มากกว่ า ปริ มาณเสนอซื้ อ
(P) ที่ระดับราคา = P2
S1 อุปสงค์ =

อุปทาน =
E1
P1
อุปทานส่ วนเกิน =

D1
0
Q1 (Q)
อุปสงค์ ส่วนเกิน (Excess Demand)
 หมายถึง ปริ มาณเสนอซื้อ มากกว่ า ปริ มาณเสนอขาย
(P)
ที่ระดับราคา = P3
S1
อุปสงค์ =

E1 อุปทาน =
P1
อุปสงค์ ส่วนเกิน =

D1
0
Q1 (Q)
การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ (Change in Equilibrium)

ภาวะดุลยภาพของตลาดจะเปลี่ยนแปลงก็ต่อเมื่อปั จจัยโดยอ้อมของอุปสงค์
หรื ออุปทานเปลี่ยนแปลงไป ทาให้เส้นอุปสงค์หรื อเส้นอุปทานย้ายไปทั้งเส้น

โดยการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพของตลาดอาจเกิดขึ้นได้ใน 3 กรณี คือ


1. อุปสงค์เปลี่ยนแปลง โดยที่อุปทานคงที่
2. อุปทานเปลี่ยนแปลง โดยที่อุปสงค์คงที่ 3.1. D S
3. อุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลง 3.2. D S
3.3. D S
3.4. D S
1. อุปสงค์ เปลี่ยนแปลง โดยที่อุปทานคงที่
กรณีอุปสงค์ เพิม่
(P)
S1
เดิม D = D1 S = S1
ดุลยภาพ = E1

E1 ต่ อมา D = S=
P1
ดุลยภาพ =

ทาให้
D1
0
Q1 (Q)
อุปสงค์ เปลี่ยนแปลง โดยที่อุปทานคงที่ (ต่ อ)
กรณีอุปสงค์ ลดลง
(P)
S1

E1
P1

D1
D3
0
Q1 (Q)
2. อุปทานเปลี่ยนแปลง โดยที่อุปสงค์ คงที่
กรณีอุปทานเพิม่ ขึน้
(P)
S1 S2

E1
P1

D1
0
Q1 (Q)
อุปทานเปลี่ยนแปลง โดยที่อุปสงค์ คงที่ (ต่ อ)
กรณีอุปทานลดลง
(P)
S3

S1

E1
P1

D1
0
Q1 (Q)
3. อุปสงค์ และอุปทานเปลี่ยนแปลง
 เกิดจากปั จจัยทางอ้อมที่กาหนดอุปสงค์และอุปทานเปลี่ยน
 การเปลี่ ย นแปลงทั้ง อุ ป สงค์แ ละอุ ป ทานพร้ อ มกัน มี ผ ลท าให้ดุ ล ยภาพเปลี่ ย นแปลง
แต่ราคาและปริ มาณดุลยภาพจะเปลี่ยนแปลงอย่างไรขึ้นอยูก่ บั แต่ละกรณี
 ราคาและปริ ม าณใหม่ อ าจสู ง หรื อ ต่ า กว่ า ราคาและปริ ม าณเดิ ม ขึ้ น อยู่กับ ขนาดการ
เปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์และอุปทาน
 เกิดขึ้นได้ 4 กรณี คือ
3.1. อุปสงค์เพิ่ม อุปทานเพิ่ม
3.2. อุปสงค์เพิม่ อุปทานลด
3.3. อุปสงค์ลด อุปทานเพิ่ม
3.4. อุปสงค์เพิ่ม อุปทานลด
3.1 อุปสงค์ เพิ่ม อุปทานเพิ่ม
3.1.1 อุปสงค์เพิ่ม มากกว่า อุปทานเพิ่ม
(P)
S1 S2

E1
P1

D2

D1
0
Q1 (Q)
3.1 อุปสงค์ เพิ่ม อุปทานเพิ่ม (ต่ อ)
3.1.2 อุปสงค์เพิ่ม เท่ากับ อุปทานเพิ่ม
(P)
S1 S2

E1
P1

D2

D1
0
Q1 (Q)
3.1 อุปสงค์ เพิ่ม อุปทานเพิ่ม (ต่ อ)
3.1.3 อุปสงค์เพิ่ม น้อยกว่า อุปทานเพิม่
(P)
S1 S2

E1
P1

D2
D1
0
Q1 (Q)
3.2 อุปสงค์ เพิ่ม อุปทานลด (ต่ อ)
3.2.1 อุปสงค์เพิ่ม มากกว่า อุปทานลด
(P)
S2

S1

E1
P1

D2

D1
0
Q1 (Q)
3.2 อุปสงค์ เพิ่ม อุปทานลด (ต่ อ)
3.2.2 อุปสงค์เพิ่ม เท่ากับ อุปทานลด
(P)
S2

S1

E1
P1

D2

D1
0
Q1 (Q)
3.2 อุปสงค์ เพิ่ม อุปทานลด (ต่ อ)
3.2.3 อุปสงค์เพิ่ม น้อยกว่า อุปทานลด
(P) S2

S1

E1
P1

D2
D1
0
Q1 (Q)
3.3 อุปสงค์ ลด อุปทานเพิ่ม
3.3.1 อุปสงค์ลด มากกว่า อุปทานเพิ่ม
(P)
S1 S2

E1
P1

D1
D2
0
Q1 (Q)
3.3 อุปสงค์ ลด อุปทานเพิ่ม (ต่ อ)
3.3.2 อุปสงค์ลด เท่ากับ อุปทานเพิ่ม
(P)
S1 S2

E1
P1

D1
D2
0
Q1 (Q)
3.3 อุปสงค์ ลด อุปทานเพิ่ม (ต่ อ)
3.3.3 อุปสงค์ลด น้อยกว่า อุปทานเพิ่ม
(P)
S1
S2

E1
P1

D2 D1
0
Q1 (Q)
3.4 อุปสงค์ ลด อุปทานลด
3.4.1 อุปสงค์ลด มากกว่า อุปทานลด
(P)
S1 S2

E1
P1

D1
D2
0
Q1 (Q)
3.4 อุปสงค์ ลด อุปทานลด (ต่ อ)
3.4.2 อุปสงค์ลด เท่ากับ อุปทานลด
(P)
S2

S1

E1
P1

D2 D1
0
Q1 (Q)
3.4 อุปสงค์ ลด อุปทานลด (ต่ อ)
3.4.3 อุปสงค์ลด น้อยกว่า อุปทานลด
(P) S2

S1

E1
P1

D2 D1
0
Q1 (Q)
การแทรกแซงราคาของรัฐ
การปล่อยให้กลไกราคาทางานเอง โดยรัฐไม่เข้าไปแทรกแซงการดาเนิ น
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ อาจเกิด
 ราคาสิ นค้าอาจจะต่ ามากจนไม่ คุม้ กับต้นทุ นการผลิ ต ทาให้ผูผ้ ลิ ตเดื อดร้ อ น
ได้รับความเสี ยหาย
 ราคาสิ นค้าอาจจะสู งเกินไป จนทาให้ผบู ้ ริ โภคเดือดร้อน
 ดังนั้นรัฐบาลจึงจาเป็ นต้องเข้ามาแทรกแซงราคา เรี ยกว่า “การแทรกแซงราคา”

การแทรกแซงราคา แบ่งออกเป็ น 2 ชนิ ด ได้แก่


1. การประกันราคาขั้นต่า
2. การกาหนดราคาขั้นสู ง
1. การประกันราคาขัน้ ต่า (Price Support) หรือการพยุงราคา
 คือวิธีการที่รัฐบาลเข้าช่วยเหลือผูผ้ ลิตให้สามารถขายสิ นค้าในราคาที่สูงขึ้น โดย
การแทรกแซงราคาสิ นค้าให้ สู งกว่ า ราคาดุลยภาพในตลาด
 เป็ นการที่รัฐบาลใช้ช่วยเหลือผูผ้ ลิตสิ นค้า เมื่อราคาสิ นค้าตกต่ามากเกินไปจนไม่
อาจคุม้ กับต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะอย่างยิง่ สิ นค้าเกษตรกรรม

มีวธิ ี การดังนี้
1.1. รับซื้ ออุปทานส่ วนเกิน
1.2. ให้เงินอุดหนุนเกษตรกร
1.1 รั บซือ้ อุปทานส่ วนเกิน
เมื่ อรั ฐบาลทาการประกันราคาขั้นต่ าแล้ว รั ฐบาลจะรั บซื้ อสิ นค้าที่ผูผ้ ลิ ตขายไม่
หมด (อุปทานส่ วนเกิ น) เพื่อช่วยให้ผผู้ ลิตสามารถขายสิ นค้าได้ในราคาต่อหน่ วยที่สูงขึ้น
ตามที่รัฐบาลประกันราคาขั้นต่าไว้
P รัฐบาลทาประกันราคาขั้นต่าที่ระดับราคา P2
S1
P2
A B อุปสงค์ = 0Q3
E1 อุปทาน = 0Q2
P1
อุปทานส่ วนเกิน = Q2Q3

รัฐบาลจะต้องใช้งบประมาณ
D1

Q
เท่ากับพื้นที่ ABQ2Q3
0 Q2 Q3
Q1
1.2 ให้ เงินอุดหนุนเกษตรกร
รัฐบาลจะให้การซื้อขายสิ นค้าเป็ นไปตามกลไกของตลาด แต่รัฐบาลจะจ่ายเงิน
อุดหนุนแก่เกษตรกรเพิ่มเติม เพื่อให้เกษตรกรได้เงินเท่ากับราคาประกันขั้นต่า
P รัฐบาลทาการอุดหนุนเงินให้กบั เกษตรกร
S1 เพื่อให้ได้เงินเท่ากับที่ราคาประกัน คือ ที่ราคา P2
A
P2
E1
โดยที่เกษตรกรจะได้รับเงิน
P1 - จากการขายสิ นค้าที่ราคา P1
= พื้นที่ 0P1E1Q1
- จากการอุดหนุนของรัฐบาลที่ราคา P2
D1 = พื้นที่ P1P2AE1
- ดังนั้นเกษตรกรจะได้รับเงินทั้งหมด
0 Q
Q1 = พื้นที่ 0P2AQ1
2. การกาหนดราคาขัน้ สูง (Price Ceiling) หรือการควบคุมราคา

 เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนสิ นค้า เพราะเมื่อเกิดการขาดแคลนสิ นค้า ราคาสิ นค้า


จะสู งขึ้นเรื่ อย ๆ ทาให้ผบู ้ ริ โภคเดือดร้อน
 รัฐบาลจะเข้ามาควบคุมราคา ด้วยการกาหนดราคาขั้นสู ง
 ซึ่ งจะเป็ นราคาที่ น้ อยกว่ า ราคาดุลยภาพ
 เช่น ข้าวสาร เนื้อหมู ไข่ไก่ น้ ามันพืช น้ าตาลทราย แก๊สหุ งต้ม เป็ นต้น
การกาหนดราคาขัน้ สูง (ต่ อ)
รัฐบาลทาการกาหนดราคาขั้นสู งที่ระดับราคา P3
P
S1 อุปสงค์ = 0Q3
อุปทาน = 0Q2
E1
P1 อุปสงค์ส่วนเกิน = Q2Q3

P3

D1

0 Q
Q2 Q1 Q3
ตลาดและการแข่ งขัน

 “กิจกรรม” การตกลงซื้ อขายสิ นค้าและบริ การ รวมทั้งปั จจัยการผลิต


 ดังนั้น ตลาดในที่น้ ี ไม่ได้หมายถึงสถานที่เท่านั้น แต่จะหมายถึง การทากิ จกรรม
การซื้ อ ขายแลกเปลี่ ย นสิ น ค้า กัน โดยผูซ้ ้ื อ และผูข้ ายอาจไม่ ไ ด้พ บกัน เลย แต่
สามารถจะติดต่อซื้ อขายกันได้
 เช่น การซื้ อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ การซื้ อขายทองคา การซื้ อขาย
เงินตราต่างประเทศ เป็ นต้น
 ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ ประกอบด้วย ผูซ้ ้ื อ ผูข้ าย และสิ นค้าที่ซอ้ ขาย
ตลาดและการแข่ งขัน (ต่ อ)
ประเภทของตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ แบ่งได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfectly Competitive Market)

2. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Imperfectly Competitive Market)


2.1 ตลาดผูกขาด (Monopoly)
2.2 ตลาดผูข้ ายน้อยราย (Oligopoly)
2.3 ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)
1. ตลาดแข่ งขันสมบูรณ์ (Perfectly Competitive Market)
 มีผซู ้ ้ื อผูข้ ายจานวนมากราย
 สิ นค้าที่ซ้ื อขายกันนั้นมีลกั ษณะเหมือนกันทุกประการ (Homogeneous Product)
 ผูข้ ายสามารถเข้าและออกจากกิจการได้อย่างเสรี (Freedom of entry or exit)
 สิ นค้าและปั จจัยสามารถโยกย้ายได้อย่างเสรี (Free Mobility)
 ผูซ้ ้ื อและผูข้ ายมีความรอบรู ้เกี่ยวกับสภาพของตลาดได้เป็ นอย่างดี (Perfect
Knowledge)
2. ตลาดแข่ งขันไม่ สมบูรณ์ (Imperfectly Competitive Market)
 มีผขู ้ ายจานวนไม่มาก

 ผลิตสิ นค้าเป็ นสัดส่ วนที่มากในตลาด

 มีการกีดกันผูข้ ายรายใหม่ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ

 สิ นค้าที่ซ้ื อขายมีลกั ษณะแตกต่างกัน

 ผูข้ ายแต่ละรายมี อานาจในการกาหนดราคาสิ นค้าได้บา้ งและผูซ้ ้ื อไม่สามารถ


ทราบการเคลื่อนไหวของตลาดได้อย่างสมบูรณ์
2.1 ตลาดผูกขาด (Monopoly)

 มีผขู ้ ายเพียงรายเดียว เรี ยกว่า “ผูผ้ กู ขาด” (Monopolist)

 สิ นค้าที่ขายมีคุณสมบัติพิเศษไม่เหมือนใคร และไม่สามารถหาสิ นค้าอื่นมา


ทดแทนได้ (No close substitution)

 ผูข้ ายเป็ นผูก้ าหนดราคาหรื อปริ มาณสิ นค้า อย่างใดอย่างหนึ่ งเท่านั้น

 ผูผ้ กู ขาดสามารถกีดกันไม่ให้ผขู ้ ายรายอื่นเข้ามาทาการผลิตแข่งขันได้ (Barrier to


entry)
ตลาดผูกขาด (ต่ อ)
สาเหตุที่เกิดการผูกขาด
 ผูผ้ ลิตหลายรายรวมตัวกันผูกขาด
 รัฐออกกฎหมายให้ผกู ขาดการผลิตแต่เพียงผูเ้ ดียว
 เป็ นการผลิตที่ตอ้ งใช้ทุนจานวนมากและต้องมีขนาดการผลิตใหญ่ เพื่อจะได้รับ
ประโยชน์จากการประหยัดของขนาดการผลิต (Economies of Scale) ทาให้ผผู้ ลิต
รายใหม่เข้ามาทาการแข่งขันได้ยาก เพราะต้องการเงินทุนที่สูงพอ
 การเป็ นเจ้าของวัตถุดิบการผลิตแต่เพียงผูเ้ ดียว
 การจดทะเบียนลิขสิ ทธิ์ ตามกฎหมาย
2.2 ตลาดผู้ขายน้ อยราย (Oligopoly)
 มีผขู้ ายจานวนน้อยราย
 ผูข้ ายแต่ละรายมี ส่วนแบ่งตลาดมาก แต่อานาจในการกาหนดราคาหรื อปริ มาณ
ขายของผูข้ ายแต่ละรายมีนอ้ ยกว่าตลาดผูกขาด
 สิ นค้าที่ซ้ื อขายกันในตลาดอาจมีลกั ษณะคล้ายคลึงกันหรื อแตกต่างกันก็ได้
- มีลกั ษณะเหมือนกันทุกประการ (Pure oligopoly) เช่น น้ ามัน
- มี ลกั ษณะแตกต่างกัน แต่ ใช้ทดแทนกันได้ (Differentiated oligopoly)
เช่น รถยนต์
 ในตลาดน้อ ยรายผูข้ ายมักจะไม่ ลดราคาแข่ งขันกัน เพราะการแข่งขันลดราคา
สิ นค้าจะทาลายผลประโยชน์ของผูผ้ ลิตทุกคน
ตลาดผู้ขายน้ อยราย (ต่ อ)
 ผูผ้ ลิตในตลาดจะแข่งขันกันด้วยวิธีการ เช่น การพัฒนาคุณภาพของสิ นค้าและการ
ส่ งเสริ มการขาย เช่น การแจกของแถม การโฆษณา เป็ นต้น
 เป็ นการแข่งขันทางด้านการพัฒนาคุ ณภาพสิ นค้าและการส่ งเสริ มการขายนี้ ถือ
เป็ นการแข่งขันโดยไม่ใช่ราคา (Non-price Competition)
 เพราะการลดราคาสิ นค้าไม่ ช่วยให้ผูข้ ายสามารถขายสิ นค้าได้มากนัก เพราะผู ้
แข่งขันรายอื่นจะโต้ตอบด้วยการลดราคาสิ นค้าเช่นกัน แต่ถา้ ผูข้ ายรายใดรายหนึ่ ง
ขึ้ น ราคาสิ นค้า ผูข้ ายรายอื่ น ๆ จะไม่ ข้ ึ น ราคาสิ น ค้า ตามไปด้ว ย ท าให้ข ายได้
น้อยลง
 เช่น เบียร์ น้ าอัดลม โทรศัพท์มือถือ ปูนซี เมนต์
2.3 ตลาดกึ่งแข่ งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)
• หมายถึงตลาดที่มีผขู ้ ายจานวนมาก แต่มีจานวนน้อยกว่าตลาดแข่งขันสมบูรณ์
• ผูข้ ายแต่ละรายขายสิ นค้าที่คล้ายคลึงกันแต่ไม่เหมือนกัน สิ นค้าจะแตกต่างกันดังนี้
- คุณภาพของสิ นค้า เช่น แชมพู สบู่ รองเท้า
- ทางด้านการบริ การ เช่น โรงแรม โรงพยาบาล
- การโฆษณา เป็ นการทาให้ผบู ้ ริ โภคมีความรู ้สึกว่าสิ นค้ามีความแตกต่างกัน
- การบรรจุหีบห่อ
• ผูผ้ ลิตแต่ละรายจะมีอานาจผูกขาดมากน้อยเพียงใดขึ้นอยูก่ บั ว่าผูผ้ ลิตสามารถทาให้
สิ นค้าของตนแตกต่างจากผูผ้ ลิตรายอื่นได้มากน้อยเพียงใด
• เช่น สบู่ เครื่ องเขียน เสื้ อผ้านิตยสาร บริ การเสริ มสวย ถ่ายเอกสาร ซ่อมรถ

You might also like