ไฟฟ้าสถิตMath house 2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 114

1 ไฟฟ้าสถิต

ไฟฟ้าสถิต (Static electricity)


เมื่อ ประมาณ 60 ปีก่อนพุทธศักราช ทาลีส นักปราชญ์ชาวกรีกสังเกต
พบว่า ถ้าใช้แท่งอาพัน (amber) ถูกับขนสัตว์ (fur) แท่งอาพันจะสามารถดูด
วัตถุชิ้นเล็กๆ เช่น เศษฟางหรือเศษกระดาษได้
หลังจากนั้น ดร.กิลเบิรต์ แพทย์ชาวอังกฤษได้ทาการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
แล้วพบว่ายังมีสารชนิดอื่นๆ มาถูกันก็สามารถดูดวัตถุชิ้นเล็กได้เช่นเดียวกัน ปัจจุบัน
เรียกปรากฏการนี้ว่า ไฟฟ้าสถิต ( Static electricity ) ซึ่งมาจากคาว่า
electron ซึ่งในภาษากรีก หมายถึงแท่งอาพัน
Step ความรูท้ ี่ 1 : ประจุไฟฟ้า
ประจุไฟฟ้า คือ วัตถุที่มีอานาจไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ
1) ประจุบวก ( Positive charge ,+ )
2) ประจุลบ (Negative Charge-)
โครงสร้างอะตอม
อะตอมประกอบด้วย
- นิวเคลียส (Nucleus) เป็นแกนกลางของอะตอม
ซึ่งประกอบด้วย โปรตอน และ นิวตรอน
- อิเล็กตรอน (Electron) วิ่งวนอยู่รอบๆนิวเคลียส

อนุภาค สัญลักษณ์ ประจุ (คูลอมบ์,C) มวล (กิโลกรัม,kg)


โปรตอน P 1.67 10 27
อิเล็กตรอน e
นิวตรอน n เป็นกลาง 1.67 10 27
ระวังเข้าใจผิด!! : ประจุที่เป็นบวกมันไม่ได้หมายความว่ามันมีค่ามากกว่าประจุที่เป็นลบนะครับ เครื่องหมายบวกลบ
เป็นเพียงการแสดงชนิดของประจุไฟฟ้าเท่านั้น
 ถ้าอะตอมมี จานวน P เท่ากับ e จะไม่แสดงอานาจไฟฟ้าออกมา เป็น กลางทางไฟฟ้า
 ถ้าอะตอมมีจานวน P มากกว่า e จะแสดงอานาจไฟฟ้าเป็น บวก(+)
 ถ้าอะตอมมีจานวน e มากกว่า P จะแสดงอานาจไฟฟ้าเป็น ลบ(-)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 2

อะตอมสูญเสียอิเล็กตรอนไป เกิด ประจุ บวก อะตอมได้รบั อิเล็กตรอนเข้ามาเกิดประจุลบ

อิเล็กตรอนหลุดไปทาให้ P มากกว่า e อะตอมจะแสดง อิเล็กตรอนเพิ่มเข้ามาทาให้ e มากกว่า P อะตอม


อานาจของประจุ..........ออกมา จะแสดงอานาจของประจุ..........ออกมา

การคานวณหาขนาดของประจุไฟฟ้า
ประจุที่เกิดขึน้ จะเป็นจานวนเต็มเท่าของ  1.6 10 19 C เสมอ

e = 1.6 10 19 (หน่วยคูลอมบ์: C)


Q = ประจุไฟฟ้า (หน่วยคูลอมบ์: C)
N = จานวนอิเล็กตรอนหรือโปรตรอนส่วนเกิน

ทดสอบความเข้าใจ
EX1. ถ้าอิเล็กตรอนหลุดออกจากอะตอมไป 5 ตัวจะทาให้อะตอมมีประจุชนิดใด และมีประจุทั้งหมดกี่คูลอมบ์

EX2. โดยปกติแล้วการเกิดประจุไฟฟ้าในอะตอมมักเกิดจากการเคลื่อนย้ายโปรตรอนหรืออิเล็กตรอน……………….

EX3. A มีประจุ 8 1019 C กับ B มีประจุ 8 1019 C แสดงว่าขนาดของประจุ A มากกว่า B ใช่


หรือไม่……………………………

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


3 ไฟฟ้าสถิต

Step ความรู้ที่ 2 : อานาจไฟฟ้าจากประจุไฟฟ้า


ประจุที่เหมือนกันจะผลักกัน ประจุตรงกันจะดูดกัน

A B A C

C D

วัตถุทมี่ ปี ระจุจะดูดกับวัตถุทเี่ ป็นกลาง

Note มีข้อยกเว้นสาหรับโมเลกุลไม่มีขั้วเช่นน้ามัน จะไม่ถูกวัตถุที่มีประจุดูด

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 4

ตัวนาและฉนวน(Conductor and Insulator)

ตัวนา (Conductor) คือ วัตถุที่ยอมให้ประจุไฟฟ้าไหลผ่านได้โดยง่าย เช่น เงิน ทองแดง เหล็ก

ฉนวน (Insulator) คือ วัตถุทไี่ ม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าไหลผ่าน เช่น อากาศ พลาสติก ยาง ไม้แห้ง

Step ความรู้ที่ 3 : การทาให้เกิดประจุไฟฟ้า


มี 3 วิธี คือ 1) การถูกนั 2) การแตะกัน 3) การเหนีย่ วนาการเ
กิดประจุ
1) การถูหรือการขัดสี (ประจุทไี่ ด้จะเป็นชนิดตรงข้ามกัน)

ถ้าเรานาวัตถุต่างชนิดมาขัดถูกัน
เช่น นายางสนมาถูกับผ้าขนสัตว์ งาน
ที่ใช้ในการถูหรืองานของแรงเสียดทาน
ระหว่างวัตถุจะทาให้อิเล็กตรอนในวัตถุ
ทั้งสองมีพลังงานสูงขึ้นและหลุดจาก
วัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่ง
* วัตถุที่รับอิเล็กตรอนเข้ามาก็จะมี
ประจุลบมากกว่าประจุบวก ดังนั้น
มันก็จะแสดงอานาจเป็นประจุลบ
* วัตถุที่เสียอิเล็กตรอนไปก็จะมี
ประจุบวกมากกว่าประจุลบดังนั้นมันก็
จะแสดงอานาจเป็นประจุบวก
หมายเหตุ: การขัดถูเป็นวิธีการทาให้อิเล็กตรอนย้ายที่จากวัตถุหนึ่งไปยังอีกวัตถุหนึ่งเท่านั้นไม่ใช่เป็นการสร้างประจุ
ขึ้นมาใหม่ (กฎอนุรกั ษ์ประจุ = ประจุไฟฟ้าไม่สามารถสร้างขึ้นใหม่หรือทาลายได้)
1. วัตถุทเี่ สียอิเล็กตรอนง่ายกว่าจะมีประจุบวก
2. วัตถุทเี่ สียอิเล็กตรอนยากกว่าจะเป็นประจุลบ
Note : วัตถุที่นามาถูกันควรเป็นฉนวนเพราะประจุจะเคลื่อนที่ผ่านฉนวนได้ยาก ประจุจึงคงอยู่ในวัตถุได้นาน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


5 ไฟฟ้าสถิต

บัญชีของกิลเบิรต์ (Gilbert)
ดร.กิลเบิร์ตได้ทาการทดลองและรวบรวมข้อมูลใส่บัญชีไว้แล้วว่า วัตถุคู่หนึ่งๆ ถ้านามาถูกันวัตถุชนิดใดจะ
เป็นประจุบวก วัตถุชนิดใดจะเป็นประจุลบ บัญชีที่กิลเบิร์ตจัดทาเป็นลาดับตัวเลขไว้ดังนี้

การนาไปใช้งาน: เมื่อนาวัตถุที่มีหมายเลขน้อยไปถูกับวัตถุที่มี
หมายเลขมาก
 วัตถุที่มีหมายเลขน้อยกว่าจะมีพลังงานในการยึด
เหนี่ยวอิเล็กตรอนน้อยกว่า อิเล็กตรอนจะหลุดออก
ง่ายกว่าวัตถุนั้นจึงมีประจุเป็นบวก(+)
 วัตถุที่มีหมายเลขมากกว่าจะมีพลังงานในการยึด
เหนี่ยวอิเล็กตรอนมากกว่า อิเล็กตรอนจะหลุดออก
ยากกว่า วัตถุนั้นจึงมีประจุเป็นลบ (-)

หมายเลขน้อยเป็นบวก หมายเลขมากเป็นลบ

ตัวอย่าง 1.
1) ถ้านาไม้ถูกับผ้าแพร ไม้จะมีประจุ.....ผ้าแพรมีประจุ.......
2) นาผ้าฝ้ายถูกับอาพัน ผ้าฝ้ายมีประจุ.....อาพันมีประจุ......

ตัวอย่าง 2.
เมื่อนาแท่งแก้วถูกับผ้าแพร ปรากฏว่าเกิดประจุบวกบนแท่งแก้ว
เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะแท่งแก้ว
1. สูญเสียอิเล็กตรอน
2.สูญเสียโปรตอน
3.ได้รับอิเล็กตรอน
4.ได้รับโปรตอน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 6

2) การแตะกันหรือการสัมผัส (วัตถุทงั้ คูจ่ ะมีประจุเหมือนกัน)


เป็นการนาวัตถุที่มีประจุอยู่แล้วมาแตะกับวัตถุที่เราต้องการให้มันมีประจุ เช่น วัตถุ 2(ตามรูป)เดิมทีเป็น
กลางทางไฟฟ้า ถ้าต้องการให้มันมีประจุลบก็ต้องนาวัตถุที่มีประจุลบมาแตะ( วัตถุ 1 ) ประจุจาก 1 ก็จะ
ถ่ายเทไปวัตถุ 2 จนกระทั่งทั้งสองมีศักย์ไฟฟ้าเท่ากันก็จะหยุดถ่ายเท

สูตรหาประจุหลังแตะ

Note. * สิ่งที่สมการบอกเรา คือ หลังแตะแล้วประจุจะมีค่ามากหรือน้อยนั้นขึ้นกับรัศมีของทรงกลม


* ถ้าทรงกลมมีลกั ษณะเหมือนกันทุกประการ(ขนาดเท่ากัน)หลังแตะจะแบ่งประจุไปคนละเท่าๆกัน
𝑄1 𝑄2 𝑄รวม
= = แบ่งคนละครึ่ง
𝑟 𝑟 2𝑟

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


7 ไฟฟ้าสถิต

3) การเหนี่ยวนา

ถ้าเราอยากให้วัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้ามีประจุเป็นอะไรก็ให้นาประจุชนิดตรงข้ามมาเหนี่ยวนา (นามา
ล่อ) ยกตัวอย่าง เช่น ถ้าเราอยากให้วัตถุของเรามีประจุเป็นบวกก็ให้ทา 4 ขั้นตอน ดังนี้

Step1. นาวัตถุทมี่ ปี ระจุลบไปล่อใกล้ ๆ ประจุลบจะส่ง


แรงไปดึงประจุบวกมาใกล้และผลักประจุลบให้ไกลออกไป

Step 2. ต่อสายดินทีว่ ตั ถุ ทาให้ประจุลบจากวัตถุไหล


ลงดิน แต่ประจุบวกดึงดูดอยู่กับประจุลบที่นามา
เหนี่ยวนา

Step 3. ตัดเอาสายดินออกไป เพื่อไม่ให้ประจุลบไหล


กลับขึ้นมาอีก

Step 4. นาวัตถุทใี่ ช้เหนี่ยวนาออกไป วัตถุที่ถูก


เหนี่ยวนาก็จะมีประจุบวกตามต้องการ

ถาม : ถ้าเราเอาตัวล่อออกก่อนที่จะตัดสายดินออกจะเกิดอะไรขึ้น ??

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 8

หมายเหตุ :การเหนี่ยวนาข้างต้นประจุที่เกิดขึ้นจะมีชนิดตรงข้ามกับที่นามาเหนี่ยวนา แต่ถ้าเราต้องการให้วัตถุมี


ประจุไฟฟ้าเหมือนกับประจุที่นามาเหนี่ยวนาก็สามารถทาได้ โดยการดัดแปลงเพียงเล็กน้อย ดังตัวอย่างต่อไปนี้

เรื่องการเหนี่ยวนาเราควรทาความเข้าใจกลไกลของมัน
มากกว่าที่จะไปการท่องจารูปแบบ

หมายเหตุ:
การต่อสายดิน( Ground หรือ Earth ) คือการนาสายไฟฟ้าหรือลวดตัวนามาต่อระหว่างวัตถุที่มีประจุกับ
พื้นดิน เพื่อให้วัตถุนั้นเป็นกลางทางไฟฟ้าหรือมีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ กรณีทปี่ ระจุไฟฟ้ามีค่าน้อยๆ การต่อสายดิน
อย่างง่ายๆคือการใช้นิ้วมือแตะวัตถุนั้น สัญลักษณ์ทางวงจรไฟฟ้าเป็นดังนี้

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


9 ไฟฟ้าสถิต

คาถามการถ่ายเทประจุระหว่างวัตถุกบั โลกจะไม่ทาให้ประจุไฟฟ้าในโลกเปลีย่ นแปลงหรือไม่ ??


โลกเรามีขนาดใหญ่มากและเป็นกลางทางไฟฟ้า (ประจุบวกเท่ากับประจุลบและมีในปริมาณที่มากมหาศาล ) การ
ต่อสายดินคือการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนระหว่างวัตถุกับโลก ไม่ว่าโลกจะได้รับอิเล็กตรอนเข้ามาหรือสูญเสีย
อิเล็กตรอนไปก็ไม่มีผลกระทบต่อประจุไฟฟ้าบนโลกเลยเพราะถือว่าการถ่ายเทนั้นน้อยมากๆ เมื่อเทียบกับประจุที่มีอยู่
ในโลก เปรียบเมือนกับการตักน้าจากทะเลมาใช้หรือถ่ายน้าทิ้งลงทะเลก็ไม่มีผลทาให้ปริมาณน้าในทะเล
เปลี่ยนแปลง

EXAM : 2 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

EX1. นาผ้าแพรมาถูกับไม้ จงเติมเครื่องหมาย หรือ x หน้าข้อความต่อไปนี้


……………ผ้าแพรกับไม้มีประจุคนละชนิดกัน
.............ประจุที่เกิดขึน้ บนไม้กับผ้าแพรเท่ากัน แต่เป็นชนิดตรงข้ามกัน
.............หลังจากขัดสีแล้วระบบมีประจุเพิ่มขึ้น
EX2. วัตถุ A มีประจุเป็นบวก วัตถุ B เป็นกลางทางไฟฟ้า นาลวดตัวนาเชื่อมระหว่าง A กับ B ข้อใดถูก
1. ประจุบวกจาก B เคลื่อนที่ไปยัง A
2. ประจุลบจาก B เคลื่อนที่ไปยัง A
3. ประจุบวกจาก A เคลื่อนที่ไปยัง B
4. ประจุลบจาก A เคลื่อนที่ไปยัง B

EX3. ตัวนารูปทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็น 5cm และ 20cm ตามลาดับถ้าตัวนา A


มีประจุ +16  10-6 คูลอมบ์ และตัวนา B มีประจุ -8  10-6 คูลอมบ์เมื่อนาเอามาแตะกันแล้วแยกออก
3.1. จงหาประจุของตัวนา A

3.2. จงหาประจุของตัวนา B

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 10
-6
EX4.ทรงกลมสองลูกมีขนาดเท่ากัน ลูกหนึ่งมีประจุขนาด+16  10 คูลอมบ์ อีกลูกหนึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า
จงหาประจุไฟฟ้าบนทรงกลมทั้งสอง หลังจากที่นาทรงกลมทั้งสองมาแตะกันแล้ว

EX5.แผ่นโลหะเป็นกลางทางไฟฟ้าตั้งอยู่บนฐานที่เป็นฉนวน ถ้านาประจุบวกขนาดเท่ากัน มาใกล้ปลายทั้งสองข้าง


พร้อมกัน โดยระยะห่างจากปลายเท่า กันตามลาดับ การกระจายของประจุบนส่วน A ส่วน B และ C ของ
ทรงกระบอกเป็นอย่างไร

EX6. ทรงกลมโลหะ A และ B วางสัมผัสกันโดยยึดไว้ด้วยฉนวนเมื่อ


นาแท่งอิโบไนท์ซึ่งมีประจุลบเข้า ใกล้ทรงกลม A ดังรูปจะมีประจุไฟฟ้า
ชนิดใดเกิดขึ้นที่ตัวนาทรงกลมทั้งสอง

1. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก
2. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ
3. ทรงกลม A มีประจุบวก และทรงกลม B มีประจุลบ
4. ทรงกลม A มีประจุลบ และทรงกลม B มีประจุบวก

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


11 ไฟฟ้าสถิต

EX7. จากรูป วัตถุ A สัมผัสกับลูกพิทที่ฉาบด้วยโลหะ เมื่อนาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าบวกมาแตะอีกปลายหนึ่งของ


วัตถุ A ผลที่เกิดขึ้นเป็นอย่างไร
ถ้า A เป็นแท่งไม้

ถ้า A เป็นแท่งทองแดง

การบ้านชุดที่ 1
1. A ,Bและ C เป็นแผ่นวัตถุ 3 ชนิดที่ทาเกิดประจุไฟฟ้าโดยการถู ซึ่งได้ผลดังนี้ A และ B ผลักกัน
ส่วนA และ C ดูดกันข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. A และ C มีประจุบวก แต่ B มีประจุลบ 2. B และ C มีประจุลบ แต่ A มีประจุบวก
3. A และ B มีประจุบวก แต่ C มีประจุลบ 4. A และ C มีประจุลบ แต่ B มีประจุบวก
2. ตัวนาทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนาทรงกลมรัศมี 2a ที่มีประจุ +4Q หลังจากแยกออก
จากกันแล้วตัวนาทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเท่าไร (ตอบ Q)
3. ถ้าต้องการทาวัตถุ A มีประจุบวก ควรมีขั้นตอนในการกระทาอย่างไร
ก. นาวัตถุที่มีประจุบวกเข้าใกล้วัตถุ A
ข. นาวัตถุที่มีประจุลบเข้าใกล้วัตถุ A
ค. ต่อสายดินที่วัตถุ A
ง. ดึงวัตถุที่มีประจุออก
จ. ตัดสายดินออก
1. ก.,ค.,ง.,จ. 2. ก.,ค.,จ.,ง 3. ข.,ค.,ง.,จ 4. ข.,ค.,จ.,ง
4.ตัวนารูปทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็น r และ2r ตามลาดับ ถ้าตัวนา A มีประจุ Q และตัวนา
B มี ประจุ –2Q เมื่อนาเอามาแตะกันแล้วแยกออก จงหาประจุของตัวนา A
Q 2Q Q
1. –Q 2.- 3.- 4.-
2 3 3

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 12

การกระจายของประจุบนวัตถุ
ถ้าวัตถุเป็นฉนวน ถ้าใส่ประจุที่ตาแหน่งใดประจุก็จะอยู่ที่ตาแหน่งนั้น เพราะ
ฉนวนถ่ายเทประจุได้ยาก

ถ้าวัตถุเป็นตัวนา ไม่ว่าเราจะใส่ประจุไฟฟ้าที่ตาแหน่งใด ประจุจะกระจายออกไป


ทั่วทั้งผิววัตถุ และประจุจะหยุดกระจายเมื่อศักย์ไฟฟ้าเท่ากันตลอดวัตถุ

จา!! ตัวนาจะเก็บประจุที่ผิวนอกเท่านั้น ในเนื้อตัวนาจะไม่มีประจุอยู่เลย


การกระจายของประจุบนวัตถุตวั นามีประเด็นทีน่ ่าจดจา 2 ประเด็น คือ

1. ประจุจะกระจายอยูท่ ี่ผิวนอกของตัวนาเท่านัน้

Figure: Bio-Sawat’Experiment

2. ประจุจะหนาแน่นในบริเวณทีม่ ปี ลายแหลม

คาถาม.ลูกบอลทองแดงทรงกลมกลวงมีเนื้อหนา 2 เซนติเมตร มีรัศมีภายนอก 3 เซนติเมตรรัศมีภายใน


1 เซนติเมตรถ้าให้ประจุ+3 คูลอมบ์ แก่ลูกบอลนี้ อัตราส่วนของประจุที่ผิวภายในต่อประจุที่ผิวภายนอกเป็น
เท่าไร
1. 0 : 3 2. 1 : 3 3. 1 : 9 4. 1 : 27

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


13 ไฟฟ้าสถิต

Step ความรู้ที่ 4 : อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)


อิเล็กโทรสโคปเป็นอุปกรณ์ตรวจสอบประจุไฟฟ้า มี 2 ชนิด
1) แบบลูกพิท และ 2) แบบแผ่นโลหะ

การตรวจสอบประจุ
มี 2 แบบคือ 1) ตรวจสอบว่ามีประจุหรือไม่ ?
2) ตรวจสอบว่ามีประจุชนิดใด ?

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 14

1. ตรวจสอบวัตถุวา่ มีประจุหรือไม่?

หลักการ : วัตถุที่มีประจุจะดูดวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้า
(ประจุบวกดูดกับวัตถุที่เป็นกลาง , ประจุลบก็ดูดกับวัตถุที่เป็นกลาง)

แบบลูกพิท แบบแผ่นโลหะ
Step1) ทาให้ลูกพิทเป็นกลางก่อน เช่น ใช้มือแตะ Step1) ต้องทาให้เป็นกลางก่อนโดยใช้มือแตะที่
Step2) นาวัตถุ ที่ต้องการตรวจสอบมาวางใกล้ๆ โลหะ
แผ่นโลหะจะหุบลง
Step2) นาวัตถุ ที่ต้องการตรวจสอบมาวาง
ใกล้ๆ
- ถ้าลูกพิทอยู่นิ่งก็แสดงว่าวัตถุนนั้ เป็นกลาง - ถ้าแผ่นโลหะหุบเหมือนเดิมก็แสดงว่าวัตถุเป็นกลาง

- ถ้าลูกพิทถูกดูดเข้ามาก็แสดงว่าวัตถุนนั้ มีประจุ - ถ้าแผ่นโลหะกลางออก ก็แสดงว่าวัตถุนนั้ มี


แต่ การทดลองชุดนี้ไม่สมารถบอกได้ว่า ประจุ แต่ การทดลองชุดนี้ไม่สมารถบอกได้ว่าเป็น
เป็นประจุชนิดใด อาจเป็นบวกก็ได้ หรือ จะเป็นลบก็ได้ ประจุชนิดใด อาจเป็นบวกก็ได้ หรือ จะเป็นลบก็ได้

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


15 ไฟฟ้าสถิต

2. มีประจุชนิดใด ?

หลักการ : ประจุชนิดเดียวกันจะผลักกันแต่ประจุต่างชนิดกันจะดูดกัน

แบบลูกพิท แบบแผ่นโลหะ
Step1) ใส่ประจุที่ทราบชนิดให้ลูกพิทก่อน Step1) ใส่ประจุที่ทราบชนิดให้อิเล็กโทรสโคปก่อน
Step 2) นาวัตถุ ที่ต้องการทราบประจุมาจ่อ Step 2) นาวัตถุ ที่ต้องการทราบประจุมาจ่อใกล้ๆ
ใกล้ๆ
- ถ้าวัตถุดูดกับลูกพิท - ถ้าแผ่นโลหะหุบเข้า
แสดงว่าวัตถุมีประจุตรงข้ามกับลูกพิท แสดงว่า วัตถุมีประจุตรงข้ามกับอิเล็กโทรสโคป

- ถ้าวัตถุผลักกับลูกพิท - ถ้าแผ่นโลหะกางออก
แสดงว่าวัตถุมีประจุเมือนกับลูกพิท แสดงว่า วัตถุมีประจุเมือนกับลูกพิท

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 16

3. การตรวจสอบว่าวัตถุเป็นฉนวนหรือตัวนา?
หลักการ : ตัวนาจะยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านได้
ฉนวนจะไม่ยอมให้ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่าน
1) ใส่ประจุให้กับอิเล็กโทรสโคป (แผ่นโลหะจะกลางออก)
2) นาวัตถุมาแตะที่โลหะกลม
- ถ้าหุบแสดงว่าเป็นตัวนา เพราะประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านได้
- ถ้ายังกลางอยู่เหมือนเดิมแสดงว่า เป็นฉนวน เพราะประจุเคลื่อนที่ผ่านไม่ได้

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


17 ไฟฟ้าสถิต
ทดสอบความเข้าใจ
EX1. นาวัตถุเข้าใกล้อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิท ถ้าลูกพิทเบนเข้าหาวัตถุ จง
เติมเครื่องหมายถูก หน้าข้อความที่เป็นไปได้

..............ลูกพิทเป็นกลาง วัตถุมีประจุ
..............ลูกพิทและวัตถุมีประจุต่างชนิดกัน

EX2. เมื่อให้ประจุอิสระแก่อิจานโลหะ A ของอิเล็กโทรสโคปแบบจานโลหะ แล้วนาวัตถุ B ซึ่งมีประจุเข้าใกล้


จานโลหะ A ปรากฏว่า แผ่นโลหะของอิเล็กโทรสโคปกางออกมาขึ้น เมื่อนาวัตถุ B เข้าใกล้จาน A เข้าไปอีก
แผ่นโลหะจะยิ่งกางออกมาขึ้น แสดงว่า
1. A มีประจุบวก B มีประจุบวก
2. A มีประจุบวก B มีประจุลบ
3. A มีประจุลบ B มีประจุบวก
4. A มีประจุลบ B เป็นกลาง

EX3.ถ้าต้องการทาให้แผ่นโลหะมีประจุบวก
จงเขียนขั้นตอนและกลไกล

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 18
ทบทวนความรู้

ไฟฟ้าสถิต

ประจุไฟฟ้ าบนวัตถุ

อานาจไฟฟ้ า

การทาให้เกิดประจุ

การกระจายของประจุ

อิเล็กโทรสโคป

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


19 ไฟฟ้าสถิต

Step ความรูท้ ี่ 5 : กฎของคูลอมบ์ (Colomb’s law)

A B

C D
R

คูลอมบ์ ทาการทดลองแล้วพบความจริง 2 ข้อคือ


1) ขนาดแรงกระทาระหว่างประจุแปรผันตรงกับผลคูณของประจุทั้งสอง 1 2
1
2) ขนาดแรงกระทาระหว่างประจุแปรผกผันกับระยะห่างยกกาลังสอง

สมการ คาอธิบายตัวแปร
F = แรงกระทาระหว่างประจุ (N)
Q1,Q2 = ปริมาณประจุไฟฟ้า (C)
R = ระยะห่างระหว่างประจุ (m)
k = ค่าคงที่ของการแปรผัน
1
(k   9  109 Nm2/C2)
4 o
หมายเหตุ:
1. แรงกระทาระหว่างประจุเป็นแรงคู่ แรงกิริยาปฏิกิริยา ขนาดของ แรงที่ Q1 กระทาต่อ Q2 เท่ากับแรงที่
Q2 กระทากับ Q1 แต่ทิศที่มีทิศทางตรงข้ามกัน
2.ในการใช้สูตรไม่ต้องแทนเครื่องหมายประจุ
3.คานวณหาแรงลัพธ์โดยใช้หลักของเวกเตอร์

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 20

EXAM : 2 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

ฝึกเขียนแรงทีก่ ระทาต่อวัตถุที่โจทย์สนใจ
EX1. จงเขียนแรงที่กระทาต่อประจุ A

EX2. จงเขียนแรงที่กระทาต่อประจุ B

EX3. จงเขียนแรงที่กระทาต่อประจุ C

EX4. จงเขียนแรงที่กระทาต่อประจุ A

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


21 ไฟฟ้าสถิต

EX5. จงเขียนแรงที่กระทาต่อประจุ B

EX6. จงเขียนแรงที่กระทาต่อประจุ A

โจทย์ฝึกคานวณขัน้ พืน้ ฐาน


EX7. จุดประจุไฟฟ้า 2 จุด มีประจุ +0.2 ไมโครคูลอมบ์ และ +0.5 ไมโครคูลอมบ์ อยู่ห่างกัน 3
เซนติเมตร จะมีแรงไฟฟ้าบนประจุ +0.2 ไมโครคูลอมบ์ เท่าไร
(ตอบ 1 N)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 22

EX8. จุดประจุไฟฟ้า 2 จุด มีประจุ 1 คูลอมบ์เท่ากัน วางห่างกัน 1 เมตร จงหาแรงไฟฟ้า

NOTE. ประจุขนาด 1 C เป็นปริมาณทีม่ ากเกินจริง

โจทย์เปรียบเทียบเหตุการณ์สองเหตุการณ์
-5
EX9. ทรงกลมเหมือนกัน 2 ลูก มีประจุ+2.010 และ -1.010-5 คูลอมบ์ มีศูนย์กลางห่างกันเป็นระยะทาง
ขนาดหนึ่ง ดูดกันด้วยแรง F1 ต่อมา นาทรงกลมทั้งสองมาสัมผัสกันแล้วแยกกับไปไว้ยังตาแหน่งเดิม คราวนี้ทรง
กลมผลักกันด้วยแรง F2 จงหาค่า F1
F2

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


23 ไฟฟ้าสถิต

โจทย์ฝึกคานวณกรณีทมี่ ปี ระจุมากกว่า 2 ประจุ


-6 -6
EX10. ประจุขนาด +5  10 และ -3  10 คูลอมบ์ วางอยู่ห่างกัน 20 เซนติเมตร ถ้านาประจุ
-6
ทดสอบขนาด +1.0  10 คูลอมบ์ มาวางไว้ที่จุดกึ่งกลางระหว่างประจุทั้งสอง ขนาดและทิศทางของแรงที่
กระทาต่อประจุทดสอบ คือ

1. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้เข้าหาประจุลบ


2. 1.8 นิวตัน และมีทิศชี้เข้าหาประจุบวก
3. 7.2 นิวตัน และมีทิศชี้เข้าหาประจุลบ
4. 7.2 นิวตัน และมิทิศชี้เข้าหาประจุบวก

EX11. สามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่งมีความยาวด้านละ 30 เซนติเมตร และที่แต่ละมุมของสามเหลี่ยม


นี้มีประจุ +2 , -2 , และ +5 ไมโครคูลอมบ์วางอยู่ อยากทราบว่าขนาดของแรงไฟฟ้าประจุ +5
ไมโครคูลอมบ์มีค่ากี่นิวตัน
1. 0 นิวตัน 2. 1 นิวตัน 3. 2 นิวตัน 4. 2 นิวตัน

sin 120° =
cos 120° =

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 24

น้องลองทำ
-4
EX12. ประจุไฟฟ้า -3  10 C, +2  10-3 C และ +4  10-4C วางอยู่ที่จุด A,B, และ C ดังรูป
จงหาว่าแรงที่กระทากับประจุ +2  10-3 C มีขนาดกี่นิวตัน
1. 6  102
2. 8  102
3. 1  103
4. 1.4  103
5. 1.8  103

ถ้าวัตถุหยุดนิ่ง หรื อเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงที่ใช้………


โจทย์ทเี่ กีย่ วกับกฎของนิวตัน
ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งใช้………
-6
EX13. ลูกพิธมวล 0.72 กรัม มีประจุ 25  10 คูลอมบ์วางอยู่เหนือจุดประจุ 2 จุด ที่มีขนาดประจุเท่ากับ
Q และ ผูกติดกัน ห่างกัน 6 เซนติเมตร จะต้องใช้ประจุ Q เป็นปริมาณเท่าใด จึงจะทาให้ลูกพิธลอยนิ่งอยู่เหนือ
จุดกึ่ง กลางระหว่างประจุทั้งสองเป็นระยะทาง 4 เซนติเมตร

( ตอบ 5.0  10-11 C )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


25 ไฟฟ้าสถิต

EX14. ทรงกลมตัวนา 2 ลูกขนาดเท่ากันมีมวลลูกละ 3 10 4 ผูกอยู่กับปลายแต่ละข้างของเชือกเล็กๆ


เส้นหนึ่งยาว 40 cm เมื่อนาเอาจุดกึ่งกลางของเชือกไปแขวนไว้ แล้วใส่ประจุแก่ทรงกลมทั้งสองเท่าๆกัน
ปรากฎว่าแรงผลักระหว่างทรงกลม ทาให้ทรงกลมแยกออกจากกันเป็นระยะ 24 cm
จงหาค่าประจุของทรงกลมแต่ละลูก
( ตอบ )

20 cm 20 cm

24 cm
EX15.ทรงกลม A B มวล 0.1 กิโลกรัมเท่ากัน วางไว้บนพื้นเอียงลื่น ซึ่งเอียงทามุม 30 องศากับแนวราบ
เมื่อให้ประจุแก่ทรงกลมทั้งสองเท่ากัน ทาให้ทรงกลม B อยู่นิ่งบนพื้นเอียงห่างจากทรงกลม A 3 เมตร
จงหาประจุบนทรงกลมแต่ละลูก
(ตอบ 5 10 5 คูลอมบ์)
3m
B

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 26

EX16.ตัวนาทรงกลม A และ B มีประจุ 0.1 และ 0.2 ไมโครคูลอมบ์ ตามลาดับ วางห่างกัน 10


เซนติเมตรบนพื้นลื่นซึง่ เป็นฉนวน เมื่อปล่อยลูกกลมทั้งสองออกพร้อมกันโดยให้เคลื่อนที่อย่างอิสระ
จงหาความเร่งของทรงกลม B ซึ่งมีมวล 0.4 กรัม ขณะที่อยู่ห่างจากทรงกลม A 30 เซนติเมตร
(ตอบ 5m / s 2 )

การบ้านชุดที่ 2
1.จุดประจุ 2 ไมโครคูลอมบ์ 3 จุดประจุ วางเรียงกันเป็นแนวเส้นตรงห่างกันช่วงละ 30 เซนติเมตร จงหาขนาด
และทิศทางของแรงที่กระทาต่อจุดประจุตรงจุดกึ่งกลางเมื่อ
1.1 จุดประจุทั้งสามเป็นประจุบวก

𝑄1 = +2𝜇𝐶 𝑞 = +2𝜇𝐶 𝑄2 = +2𝜇𝐶

30 cm 30 cm
1.2 จุดประจุที่ปลายทั้งสองข้างเป็นชนิดบวก และที่จุดกึ่งกลางเป็นชนิดลบ

𝑄1 = +2𝜇𝐶 𝑞 = −2𝜇𝐶 𝑄2 = +2𝜇𝐶

30 cm 30 cm

1.3 จุดประจุที่ปลายทั้งสองข้างเป็นชนิดลบ และที่จุดกึ่งกลางเป็นชนิดบวก

𝑄1 = −2𝜇𝐶 𝑞 = +2𝜇𝐶 𝑄2 = +2𝜇𝐶

30 cm 30 cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


27 ไฟฟ้าสถิต
6
2.ที่แต่ละมุมของสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวด้านละ 0.2 เมตร มีจุดประจุขนาด 1 0 10 คูลอมบ์
จงหาขนาดของแรงกระทาต่อจุดประจุแต่ละจุดประจุ

𝑄1 = 1 0 10 6 𝐶 𝑄2 = 1 0 10 6 𝐶

𝑄4 = 1 0 10 6 𝐶 𝑄3 = 1 0 10 6 𝐶

3.สามเหลี่ยมABC มีประจุ -4 ไมโครคูลอมบ์ -32 ไมโครคู ลอมบ์


และ -13.5 ไมโครคูลอมบ์ วางทีจ่ ุด ABC ดังรูป จงหาแรงกระทา
ต่อประจุ -4 ไมโครคูลอมบ์

(ตอบ 900 นิวตัน)

4. ABCD เป็นสี่เหลี่ยมจตุรัสยาวด้านละ a เมตร ที่มุม A,B และ C มีประจุ + +2 และ −4√2


คูลอมบ์ ตามลาดับ ที่จุด E ซึ่งห่างออกไปจากจุด D เป็นระยะ a ต้องมีประจุกี่คูลอมบ์ จึงจะทาให้แรง
ไฟฟ้าลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ + เป็นศูนย์
(ตอบ + )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 28

5. เมื่อวางลูกพิทที่มีประจุไฟฟ้าเหมือนกันห่างกัน 10 เซนติเมตร ปรากฎว่ามีแรงผลักระหว่างกัน


ขนาด1 0 10 6 นิวตัน ถ้าวางลูกพิททั้งสองห่างกัน 2 เซนติเมตร จะมีแรงผลักระหว่างกันเท่าใด
(ตอบ นิวตัน)
10 cm

2 cm

6.*จุดประจุ A มีค่าประจุเป็น 4 เท่าของจุดประจุ B ซึ่งวางห่างกัน 10 เซนติเมตร จะเกิดแรงกระทาต่อกัน


3.6 นิวตันค่าของประจุทั้งสองเป็นเท่าใด
1. 10 7 4 10 7
2. 10 6 4 10 6
3. 2 10 6 4 10 6
4. 2 5 10 6 4 10 6

7*.เมื่อนาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้า 4  10-6 C เข้าไปไว้ใกล้กับแท่งไม้คอร์กสี่เหลี่ยมหนา 0.5 cm ถ้าปลาย


แท่งแก้วห่างจากไม้คอร์ก 1.0cm และเหนี่ยวนาให้เกิดประจุบนไม้คอร์ก ด้านที่อยู่ใกล้และไกล แท่งแก้วมี
ขนาด 1  10-13 C จงหาแรงที่กระทากับไม้คอร์ก
(ตอบ แรงดูดขนาด 20  10-6 N)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


29 ไฟฟ้าสถิต

8*. ลูกพิธ 2 ลูกมีมวลเท่ากัน และแต่ละลูกมีประจุไฟฟ้าเท่ากันทั้งคู่ แขวน


จากจุดเดียวกันด้วยเอ็นที่เป็นฉนวนยาว 10 เซนติเมตร ลูกพิธทั้งสองกาง
ออกทามุม 37 องศา กับแนวดิ่ง แรงระหว่างประจุไฟฟ้าที่กระทาต่อ
ลูก10พิธcmแต่ 10 cm ลูกพิธแต่ละลูกเป็นกี่เท่าของแรงโน้มถ่วงที่กระทาต่อลูกพิธนั้น
(ตอบ 3/4)

9.ตัวนาทรงกลมAและB มีขนาดเท่ากันและมีมวล 10 กรัม เท่ากัน วางซ้อนกันอยู่ในทรงกลม ซึ่งเป็นฉนวน


ที่ตั้งในแนวดิ่งดังรูป เมื่อใส่ประจุแก่ทรงกลมทั้งสองเท่ากัน ทาให้ทรงกลม B ลอยอยู่เหนือทรงกลม A
24 เซนติเมตร จงหาประจุที่ให้แก่ทรงกลม A และ B

10.นาแผ่นพีวีซีที่มีประจุเข้าใกล้ลูกพิทสองลูกที่แขวนอยู่ โดยผิวของลูกพิททั้งสองสัมผัสกัน ต่อมาแยกลูกพิททั้ง


สองออกจากกันเป็นระยะห่าง 10.0 เซนติเมตร แล้วดึงแผ่นพีวีซีออก ปรากฎว่าลูกพิททั้งสองออกแรงดึงดูด
กันด้วยแรง 2 304 10−3 นิวตัน
1. จงหาประจุบนลูกพิททั้งสอง (ตอบ )
2. จงหาจานวนอิเล็กตรอนที่เคลื่อนจากลูกพิทลูกหนึ่งไปยังลูกพิทอีกลูกหนึ่ง (ตอบ อนุภาค)

10 cm

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 30

ทบทวนความรู้

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


31 ไฟฟ้าสถิต

Step ความรู้ที่ 6 : สนามไฟฟ้า ( Electric Field)


สนามไฟฟ้า หมายถึง “บริเวณโดยรอบประจุทอี่ านาจไฟฟ้าส่งไปถึง”
ข้อตกลง : ทิศของสนามไฟฟ้าคือทิศทางของแรงที่กระทากับประจุบวก ที่อยู่ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า
การหาทิศทางของสนามไฟฟ้า ให้นาประจุบวกไปวางในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า แรงที่กระทาต่อประจุบวกไป
ในทางทิศใดทิศทางนั้นคือทิศของสนามไฟฟ้า
เส้นแรงไฟฟ้า คือ เส้นที่แสดงทิศทางของแรงที่กระทาต่อประจุบวกที่นามาทดสอบ
สนามไฟฟ้าไม่สม่าเสมอ สนามไฟฟ้าสม่าเสมอ

เส้นแรงไฟฟ้าของประจุสองจุดประจุที่อยูใ่ กล้กนั

1.ความเข้มของสนามไฟฟ้าขึน้ กับความหนาแน่นของเส้นแรงไฟฟ้า
-บริเวณที่มีความหนาแน่นของเส้นแรงไฟฟ้ามาก(เส้นแรงชิดกัน)จะมีความเข้มสนามไฟฟ้ามาก
-บริเวณที่มีความหนาแน่นของเส้นแรงไฟฟ้าน้อย(เส้นแรงห่างกัน)จะมีความเข้มสนามไฟฟ้าน้อย
2.เส้นแรงไฟฟ้าจะมีความเป็นระเบียบไม่ตัดกัน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 32

ถาม - ตอบ ทดสอบความเข้าใจ


แรงทีก่ ระทาต่อประจุทอี่ ยู่ในบริเวณทีม่ ีสนามไฟฟ้า

ประจุบวก ............
ประจุลบ ...........

1.สนามไฟฟ้ามีทิศทางอย่างไร

2.ถ้าอยากทราบทิศของสนามไฟฟ้าให้นาประจุชนิดดื
ไปทดสอบ
3.จุด A กับ B จุดใดมีความเข้มของสนามไฟฟ้า
มากกว่า และวัตถุนี้มีประจุชนิดใด

4.ถ้าแผ่น A และ B เป็นแผ่นที่มีประจุไฟฟ้า แผ่น


A และ B ควรจะมีประจุชนิดใด ตอบตามลาดับ

5.ถ้านาโปรตอนไปวางในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า
โปรตอนจะเคลื่อนที่อย่างไร
6.ถ้านาอิเล็ตรอนไปวางในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า
อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่อย่างไร
7.ถ้าเห็นเส้นสนามไฟฟ้าขนานกันแสดงว่าสนามไฟฟ้า
เป็นอย่างไร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


33 ไฟฟ้าสถิต

การหาขนาดของสนามไฟฟ้า
นิยาม : สนามไฟฟ้า ณ ตาแหน่งใดๆ มีค่าเท่ากับ แรงไฟฟ้าที่กระทาต่อประจุทดสอบ +1 คูลอมบ์ที่วางไว้ ณ
ตาแหน่งนั้น
สมการ คาอธิบายตัวแปร
E = ขนาดของสนามไฟฟ้ามีหน่วยเป็น N/C หรือ V/m
F = แรงไฟฟ้า มีหน่วยเป็น N
q = ประจุทดสอบ มีหน่วยเป็น C

หมายเหตุ:
1. ในการใช้สูตรนี้ไม่ต้องแทนเครื่องหมายประจุ
2. คานวณหาสนามไฟฟ้าลัพธ์ใช้หลักการรวมแบบเวกเตอร์

EXAM : 3 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

EX1. จุด A และจุด B อยู่ภายในเส้นสนามไฟฟ้าที่มีทิศตามลูกศรดังรูป ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

1. วางประจุ ลบลงที่ A ประจุลบจะเคลื่อนที่ไปที่ B


2. วางประจุ บวกลงที่ B ประจุบวกจะเคลื่อนที่ไปที่ A
3. สนามไฟฟ้าที่ A สูงกว่าสนามไฟฟ้าที่ B
4. สนามไฟฟ้าที่ A มีค่าเท่ากับสนามไฟฟ้าที่ B

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 34
-6 -6
EX2. เมื่อนาประจุ -2  10 คูลอมบ์ เข้าไปวางไว้ ณ จุดๆ หนึ่ง ปรากฎว่ามีแรง 8  10 นิวตัน มา
กระทาต่อประจุนี้ในทิศจากซ้ายไปขวา ค่าสนามไฟฟ้าตรงจุดนั้น
1. มีความเข้ม 4 โวลต์/เมตร ทิศจากซ้ายไปขวา
2. มีความเข้ม 4 โวลต์/เมตร ทิศจากขวาไปซ้าย
3. มีความเข้ม 0.25 โวลต์/เมตร ทิศจากซ้ายไปขวา
4. มีความเข้ม 0.25 โวลต์/เมตร ทิศจากขวาไปซ้าย

4
EX3. ทรงกลมตัวนาลูกหนึ่ง มีมวล m แขวนด้วยเชือกภายใต้สนามไฟฟ้าสม่าเสมอ 6  10 นิวตัน/ คูลอมบ์
หากทรงกลมมีประจุอยู่ 1  10-6 คูลอมบ์ ทาให้เชือกแขวนทามุม 37๐ กับแนวดิ่ง มวลของทรงกลมนี้
มีค่าเท่ากับกี่กรัม

37°

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


35 ไฟฟ้าสถิต

EX4.ฉนวนก้อนหนึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม วางบนพื้นเอียงมุม 30 องศา ดังรูป ถ้าฉนวนก้อนนี้มีประจุอยู่


ตรงจุดศูนย์กลาง 5 คูลอมบ์ และวางอยู่ในสนามไฟฟ้า E จงหาความเข้มของสนามไฟฟ้า ที่ทาให้
ฉนวนไฟฟ้านี้ไม่หล่นลง ถ้าพื้นไม่มีแรงเสียดทาน

(ตอบ 2
3
N/C )

โจทย์ไฟฟ้ากับกฎของนิวตัน
EX5.หยดน้ามันหยดหนึ่งมีมวล 3.2  10-15 kg สามารถอยู่นิ่งในอากาศ ภายในสนามไฟฟ้าซึ่งมีทิศพุ่งลงใน
แนวดิ่งขนาด 2  104 N/C แสดงว่าหยดน้ามันนี้
1. รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 10 ตัว
2. เสียอิเล็กตรอนไป10 ตัว
3. รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 20 ตัว
4. เสียอิเล็กตรอนไป10 ตัว

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 36

EX6. หมึกดามีมวล 80 กิโลกรัม ยืนอยู่ในห้องที่มีสนามไฟฟ้าสม่าเสมอขนาด 3,000 นิวตัน/คูลอมบ์ มี


ทิศทางพุ่งขึ้นสู่เพดานในแนวดิ่ง ถ้าหมึกดาต้องการลอยตัวขึ้นสู่เพดานด้วย อัตราเร่ง 5 เมตร/วินาที2 จะต้องสร้าง
ประจุไฟฟ้าขนาดเท่าใดให้กับกับหมึกดา กาหนดค่า g = 10 เมตร/วินาที2
1. ประจุขนาด 8 คูลอมบ์
10
2. ประจุขนาด 8 คูลอมบ์
20
3. ประจุขนาด 8 คูลอมบ์
30
4. ประจุขนาด 8 คูลอมบ์
60

การบ้านชุดที่ 3
1. ทรงกลมเล็กๆ มีน้าหนัก 5 10 3 นิวตัน แขวนด้วยเส้นเชือกภายใต้สนามไฟฟ้าสม่าเสมอ
4.8  105นิวตัน/ คูลอมบ์ ทาให้เชือกแขวนทามุม 30๐ กับแนวดิ่ง ประจุบนทรงกลมเป็นชนิดใด และมี
ปริมาณเท่าใด
(ตอบ + )

30°

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


37 ไฟฟ้าสถิต

2. ลูกบอลพลาสติกมวล m แขวนด้วยเชือกยาว d และอยู่ใน


บริเวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่าเสมอขนาด E ในแนวระดับดังรูป
ถ้าลูกบอลอยู่ในตาแหน่งสมดุล เส้นเชือกทามุม  กับแนวดิ่ง
จงหาขนาดของประจุไฟฟ้าบนลูกบอลพลาสติก

mg
1.
E
2. mg
tan 
E
3. mg
cot 
E
4. mg
cos 
E

3. มีประจุกระจายสม่าเสมอบนแผ่นพลาสติกขนาดใหญ่ ทาให้เม็ดโฟมมวล m มีประจุ q ที่ แขวนด้วยด้ายที่


เป็นฉนวนไฟฟ้าจากแผ่นพลาสติกกางออกทามุม กับแผ่นพลาสติก แสดงว่า โฟมอยู่ในสนามไฟฟ้าที่มีค่า
เท่าใด
1. mg sin 
q

2. mg tan 
q

3. mgq sin 
4. mgq tan 

4* สนามไฟฟ้าสม่าเสมอ ⃑ มีขนาด 1 0 104 นิวตันต่อคูลอมบ์ มีทิศลงตามแนวดิ่งกระทาต่อลูกพิท


มวล 0.02 กรัม พบว่าลูกพิทเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง 2 เมตรตอวินาที2 ลูกพิทมีประจุชนิดใดและมี
ประจุกี่คูลอมบ์

𝐸⃑

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 38

5*.อนุภาคเล็ก ๆ มีมวล m มีประจุ q ลอยนิ่งอยู่ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ E ในทิศขึ้นดังรูป


และบริเวณนี้มีค่าสนามโน้มถ่วงของโลกเท่ากับ g ถ้าเรากลับทิศสนามไฟฟ้าให้ตรงข้ามกับทิศเดิม อนุภาคจะเคลื่อนที่
ด้วยความเร่งเท่าไร อนุภาคนี้มีประจุชนิดใด
(ตอบ 2g , เป็นประจุบวก)

E E

ตอนแรก ตอนหลัง

6*.แผ่นตัวนาขนานกันห่างกัน 10 เซนติเมตร มีความต่างศักย์ 30 โวลต์ ทาให้เกิดสนามไฟฟ้าสม่าเสมอมีทิศลง


ตามแนวดิ่ง เมื่อนาลูกพิทมวล 0.60 กรัม และมีประจุ 20 10 6 คูลอมบ์ มาแขวนด้วยด้ายเบาที่ยาว 5
เซนติเมตร โดยปลายหนึ่งผูกติดอยู่กับแผ่นโลหะแผ่นบน
6.1. แรงดึงในเส้นด้ายมีค่าเท่าใด
6.2. ถ้าเส้นด้ายขาด ลูกพิทจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเท่าใด

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


39 ไฟฟ้าสถิต

การหาสนามไฟฟ้าทีเ่ กิดจากจุดประจุ

สมการ คาอธิบายตัวแปร
E = ขนาดของสนามไฟฟ้ามีหน่วยเป็น N/C หรือ V/m
Q = ประจุไฟฟ้าที่ส่งสนามมาที่บริเวณนั้น มีหน่วยเป็น C
R = ระยะห่างระหว่างจุดประจุถึงจุดที่เราสนใจ มีหน่วยเป็น m

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 40

EXAM : 4 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

โจทย์ฝึกคานวณหาสนามไฟฟ้า
EX1.จุด A Bและ C อยู่บนแนวเส้นตรงเดียวกัน ห่างกันช่วงละ 10 เซนติเมตร วางจุดประจุ -4 ไมโครคูลอมบ์
5 ไมโครคูลอมบ์ ทีจ่ ุด A และ C ตามลาดับจงหาสนามไฟฟ้าที่จุด B
(ตอบ )
A B C

𝑄𝐴 = −4𝜇𝐶 10 cm 10 cm 𝑄𝐶 = 5𝜇𝐶

โจทย์เปรียบเทียบสนามไฟฟ้าเนือ่ งจากจุดประจุ ทีต่ าแหน่งต่างกันสองตาแหน่ง


EX2. จุด A และจุด B อยู่ห่างจากจุดประจุ Q เป็นระยะ 20 เซนติเมตร และ 50 เซนติเมตรตามลาดับถ้า
จุดA สนามไฟฟ้ามีค่าเท่ากับ 5 โวลต์/เมตร และมีทิศชี้เข้าหาประจุแล้ว สนามไฟฟ้าที่จุด B มีค่า
1. 0.1  และมีทิศชี้ออกจากประจุ
m
2. 0.8  และมีทิศชี้เข้าหาประจุ
m
3. 1.0  และมีทิศชี้เข้าหาประจุ
m
4. 2.0  และมีทิศชี้ออกจากประจุ
m

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


41 ไฟฟ้าสถิต

โจทย์ฝึกคานวณหาสนามไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ มากกว่า 1 จุดประจุ


EX3. ประจุ -1 คูลอมบ์ อยู่ที่ A และจุด B ซึ่งอยู่ห่างกัน 5 เมตร ที่จุด C ซึ่งอยู่ห่างจากทั้งจุด A และจุด B
เป็นระยะทาง 5 เมตร จะมีขนาดของสนามไฟฟ้าเท่าไร

kE
1. 3 N/C
25
k
2. 3 E N/C
2 25
2k E
3. N/C
25
k
4. E N/C
25

EX4. จากรูปถ้า ABP เป็นสามเหลี่ยมด้านเท่ามีแต่ละด้านยาว 0.1 เมตร ถ้านาจุดประจุ 1.0 ไมโครคู ลอมบ์
วางไว้ที่จุด A และนาจุดประจุ –1.0 ไมโครคูลอมบ์ วางไว้ที่จุด B สนาม ไฟฟ้าที่จุด P เนื่องจากจุด
ประจุทั้งสองมีค่าเท่าใด
5
1. 3  9.0  10 นิวตันต่อเมตร มีทิศพุ่งออกจากจุด P ไปทางขวา
2. 9.0  105 นิวตันต่อเมตร มีทิศพุ่งออกจากจุด P ไปทางขวา
3. 9.0  105 นิวตันต่อเมตร มีทิศพุ่งออกจากจุด P ไปทางซ้าย
5
4. 3  9.0  10 นิวตันต่อเมตร มีทิศพุ่งออกจากจุด P ไปทางซ้าย

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 42

การบ้านชุดที่ 4

1.ตัวนา A มีประจุ +4Q และตัวนา B มีประจุ -Q วางใกล้กัน จะเกิดแรงกระทาระหว่าง A กับ B อย่างไร


1. A ดูด B มากกว่า B ดูด A
2. A ดูด B น้อยกว่า B ดูด A
3. A ดูด B เท่ากับ B ดูด A
4. A ผลัก B เท่ากับ B ผลัก A

2.จุด B ห่างจากจุดประจุเป็นระยะ 2.0 เซนติเมตร มีขนาดของสนามไฟฟ้า 1 0 105 นิวตันต่อคูลอมบ์


จุด A อยู่ห่างจากจุดประจุ 1.0 เซนติเมตร จงหาขนาดของสนามไฟฟ้าที่จุด A
A B (ตอบ )

1 cm
2 cm

3.ในรูปที่แสดงประจุ Q มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ ระยะทาง a มีหน่วยเป็นเมตร ให้ K คือค่าคงที่ของกฎของคูลอมบ์


จงหาสนามไฟฟ้าที่จุด P มีค่าเท่าไร
(ตอบ )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


43 ไฟฟ้าสถิต

Step ความรู้ที่ 7 : จุดสะเทิน (Neutral point)


จุดสะเทิน คือ จุดในสนามไฟฟ้าที่มีความเข้มของสนามไฟฟ้าลัพธ์เป็นศูนย์
 ถ้าหากนาประจุไฟฟ้าไปวางที่จุดสะเทิน จะไม่มีแรงไฟฟ้ากระทากับประจุ
 จุดสะเทินจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีประจุต้นเหตุตั้งแต่ 2 ประจุขึ้นไปส่งสนามไฟฟ้ามาที่จุดนั้นแล้วหักล้างกัน
หมดไป
𝐸1 แทน สนามไฟฟ้าที่เกิดจากประจุ 𝑄1
𝐸2 แทน สนามไฟฟ้าที่เกิดจากประจุ 𝑄2

ข้อสังเกต : ตาแหน่งของจุดสะเทินที่เกิดจากจุดประจุต้นเหตุ 2 จุดประจุ แบ่งเป็นสองกรณี คือ


1.ถ้าเป็นประจุเหมือนกัน จุดสะเทินจะ.................................... โดยจะอยูใ่ กล้กบั ประจุที่มคี ่าน้อยกว่า
2.ถ้าเป็นประจุต่างกัน จุดสะเทินจะ........................................โดยจะอยู่ใกล้กบั ประจุทมี่ ีคา่ น้อยกว่า

คาถาม : -2 10-6 คูลอมบ์ กับประจุ +1 10-6 คูลอมบ์ ใครมีค่ามากกว่ากัน?


คาตอบ : -2 10-6 คูลอมบ์ (เราไม่สนใจเครื่องหมาย เครื่องหมายบอกถึงชนิดของประจุเท่านั้นไม่ได้บอก
ว่ามากกว่าน้อยกว่า )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 44

EXAM : 5 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

โจทย์ฝึกหาตาแหน่งของจุดสะเทิน
EX1. จุดประจุขนาด +1 ไมโครลอมบ์ และ +4 ไมโครคูลอมบ์ อยู่ห่างกัน 6 cm ตาแหน่งที่สนามไฟฟ้า
หักล้างกันเป็นศูนย์จะอยู่ห่างจากประจุ +1 ไมโครคูลอมบ์ กี่เซนติเมตร
(ตอบ 2 cm)

𝑸𝟏 =+1 𝝁𝑪 𝑸𝟐 =+4 𝝁𝑪

6 cm

-8
EX2. จุดประจุ +410 C และ -910-8 C วางห่างกัน 0.5 m ดังรูป จุด P เป็นจุดที่สนามไฟฟ้าเป็น
ศูนย์ ระยะ X มีค่ากี่เมตร

1. 0.2
2. 0.4
3. 0.8
4. 1.0

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


45 ไฟฟ้าสถิต

ทบทวนความรู้

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 46

โจทย์เกีย่ วกับจุดสะเทินทีเ่ กิดจากประจุมากกว่า 2 ประจุ


EX3. ประจุ Q1 Q2 และ Q3 วางไว้ที่มุม 3 มุมของสี่เหลี่ยมจตุรัสที่มีความยาวด้านละ a ดังในรูป ถ้า
Q1 = Q3 = +Q ประจุ Q2จะต้องเป็นประจุชนิดใด และมีขนาดเท่าใดจึงจะทาให้สนามไฟฟ้า
ที่จุด P ซึ่งอยู่ที่มุมที่ว่างอยู่มีค่าเป็นศูนย์

EX4. ประจุ 4 ตัวประกอบด้วย q1, q2, q3 และ q4 วางอยู่ที่มุมสี่เหลี่ยม


จัตุรัสซึ่งมีความยาวด้านละ  ดังรูป ถ้าประจุทั้งสี่มีขนาดของ ประจุเท่ากันคือ
q ในกรณีใดบ้างต่อไปนี้ที่ทาให้สนามไฟฟ้า ณ จุดกึ่งกลางของสี่เหลี่ยม
จัตุรัสมีค่าเป็นศูนย์

ก. q1=q2=q3=q4=+q ข. q1=q2=q3=q4=-q
ค. q1=q4=+q, q2=q3=-q ง. q1=q2=+q, q3=q4=-q
คาตอบที่ถูกต้องคือข้อใด

1. ก. 2. ก และ ข. 3. ก, ข และ ค. 4. ก, ข, ค และ ง.

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


47 ไฟฟ้าสถิต

การบ้านชุดที่ 5

1.จุดประจุ 2 จุดประจุวางห่างกัน 0.5 เมตร จุดประจุหนึ่งมีค่า +4 10 8 คูลอมบ์ หากสนามไฟฟ้าเป็น


ศูนย์ อยู่ระหว่างประจุทั้งสองและห่างจากจุดประจุ +4 10 8 คูลอมบ์ เท่ากับ 0.2 เมตร ค่าของอีกประจุ
เป็นเท่าใด
1. −4 10 8 C
2. +4 10 8 C
3.−9 10 8 C
4. +9 10 8 C

2. ตาแหน่งA,B และC เรียงลาดับอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันระยะ AB = ระยะ BC = R เมตร A


และ B มีประจุอยู่QA และ QB ตามลาดับ พบว่าที่จุด C มีสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ ประจุ QA และ
QB มีค่าตามข้อใด
1. 4Q และ -Q
2. 2Q และ -Q
3. Q และ -4Q
4. -2Q และ Q

3.จุดประจุ 2 ไมโครคูลอบ์ และ 8 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างกัน 30 เซนติเมตร จงหาตาแหน่งซึ่งเมื่อวาง ประจุ


ใดๆ แล้วแรงลัพธ์เนื่องจากจุดประจุที่กาหนดให้เป็นศูนย์
(ตอบ ห่างจาก A 10 เซนติเมตร)
5.A B

𝑄𝐴 = 2𝜇𝐶 30 cm 𝑄𝐵 = 8𝜇𝐶

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 48

Step ความรูท้ ี่ 8 : สนามไฟฟ้าของตัวนาทรงกลมที่มปี ระจุ

ตั้งแต่ผิวทรงกลมเป็นต้นไปใช้สมการ
r

R
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของสนามไฟฟ้า(E)กับระยะห่างจากจุดศูนย์กลางทรงกลมตัวนา(R)

สนามไฟฟ้าภายในตัวนาทรงกลม สนามไฟฟ้าภายนอกตัวนาทรงกลม

R = ระยะที่วัดจากจุดศูนย์กลางถึงจุดที่เราสนใจ
- ถ้าโจทย์ถามหาสนามไฟฟ้าภายในตัวนาทรงกลมตอบไปเลยว่า 0
- ถ้าโจทย์ถามหา สนามไฟฟ้าสูงสุด แทน R ด้วยรัศมีทรง
กลม เพราะสนามไฟฟ้าสูงสุดอยู่ที่ผิวทรงกลม

NOTE. เหตุผลว่าทาไมจึงต้องวัด R ที่จุดศูนย์กลางทรงกลม ?? หรือ ทาไม Eภายใน= 0 ??


จะได้เรียนกันในระดับ มหาวิทยาลัย ในหัวข้อ “กฎของเกาส์ ” ครับ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


49 ไฟฟ้าสถิต

ควำมรู้เพิ่มเติม !!

Figure 16.23 คนที่นั่งอยู่ในกรงขังของฟาราเดย์ พบว่า ไม่เป็นอันตรายใดๆ เลย แม้จะโดนกระแส


ไฟฟ้าแรงสูงผ่าลงตรงกลาง เมื่อไม่มีแรงสุทธิภายในตัวนา ก็ย่อมจะต้องไม่มีเส้นแรง หรือแนวเส้นของ
สนามไฟฟ้าด้วยเช่นกัน จึงสามารถพิสูจน์ให้เห็นได้ว่าภายในตัวนานั้นไม่มีสนามไฟฟ้าอยู่เลยหรือสนามไฟฟ้า
เป็นศูนย์ ไมเคิล ฟาราเดย์ เคยพิสูจน์ ปรากฎการณ์นี้ด้วยตนเอง โดยเข้าไปนั่งในห้อง ที่รอบๆห้องหุ้มด้วย
แผ่นโลหะดีบุกบาง ๆ ซึ่งภายหลังเรียกว่า “กรงขังของฟาราเดย์ “ท่านได้ถืออิเล็กโตรสโคปไว้ในมือ ผู้ร่วมงาน
ทดลองใส่ประจุไฟฟ้าเข้าไปในแผ่นดีบุก ปรากฎว่า อิเล็กโตรสโคป ไม่สามารถวัดประจุไฟฟ้าใดๆได้เลย

EXAM : 6 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

โจทย์ทฤษฎี
EX1. สนามไฟฟ้า ณ ตาแหน่งติดกับผิวตัวนาด้านนอกจะมิทิศทางใด
1. ตั้งฉากกับผิว
2. สัมผัสผิว
3. ขึ้นกับรูปร่างของผิว
4. ทามุมกับผิวน้อยกว่า 45๐

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 50

โจทย์ปพู นื้ ฐานการคานวณ


EX2.
ตัวนาทรงกลม รัศมี 5 เซนติเมตร มีประจุ 25 ไมโครคู
ลอมบ์ จงหา สนามไฟฟ้ าที่ตาแหน่ง A B และ C

หา EA=? หา EB=? หา EC = ?

น้องลองทำ
EX3. ทรงกลมโลหะรัศมี 5 มิลลิเมตร สามารถปรับประจุในอากาศได้ปริมาณสูงสุดเท่าใด ถ้าอากาศแตก
ตัวป็นไอออนเมื่อสนามไฟฟ้าในอากาศมีขนาดสูงถึง 3 x 106 โวลต์/เมตร
1. 8.3 x 106 C
2. 1.7 x 10-3 C
3. 1.7 x 10-6 C
4. 8.3 x 10-9 C

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


51 ไฟฟ้าสถิต

EX4. ประจุ + กระจายอยู่อย่างสม่าเสมอบนผิวของตัวนาทรงกลม รัศมี R สมมติมีแรงภายนอกกระทาบน


ประจุ +q เพื่อให้ประจุ +q เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงในแนวแกน x ด้วยความเร็วคงที่ ผ่านจุดศูนย์กลางทรงกลม ถ้า
กาหนดให้ทิศของแรงไปทางขวาเป็นบวก และไปทางซ้ายเป็นลบ กราฟระหว่างแรงภายนอกกับระยะ x จะเป็นไป
ตามข้อใด

+𝑄
𝐹นอก 𝑅
r
𝑥
+𝑞

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 52
การบ้านชุดที่ 6
1. ตาแหน่งซึ่งห่างจากศูนย์กลางของตัวนาทรงกลมรัศมี 5.0 เซนติเมตร ที่มีประจุไฟฟ้าเป็นระยะ 70.0
เซนติเมตร มีสนามไฟฟ้าเท่ากับ 3,500 นิวตันต่อคูลอมบ์ และสนามมีทิศเข้าหาศูนย์กลางของทรงกลม

1.1 ประจุบนผิวทรงกลมเป็นประจุชนิดใด
1.2 ถ้านาประจุ 10 6 คูลอมบ์ ไปวางที่ตาแหน่งห่างจากศูนย์กลางของทรงกลมเป็นระยะ 30.0 เซนติเมตร
แรงที่กระทาต่อประจุนี้เป็นเท่าไร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


53 ไฟฟ้าสถิต

Step ความรู้ที่ 9 : ศักย์ไฟฟ้า ( Electric potential )


นิยาม : ศักย์ ไฟฟ้าที่ตาแหน่งใดๆ คืองานในการนาประจุ +1 หน่วย จากระยะอนันต์มายังตาแหน่งนั้น

สมการ คาอธิบายตัวแปร
V = ศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็น J/C หรือ V (Volt )
R = ระยะที่วัดจากจุดประจุถึงจุดที่เราสนใจ

การใช้สตู ร :
1) การคานวณต้องคิดเครือ่ งหมายประจุ
2) ศักย์ไฟฟ้าเป็นปริมาณสเกลาร์ ในการหาศักย์ไฟฟ้าลัพธ์นั้นให้นาตัวเลขมาบวกลบกันได้เลย
3) ประจุบวกจะเคลื่อนที่จากศักย์ไฟฟ้าสูงไปต่า
4) ประจุลบจะเคลื่อนที่จากศักย์ต่าไปสูง
5) คาว่าทีร่ ะยะอนันต์หมายความว่าเป็นระยะที่ไกลมาก ( มาก) ประจุไฟฟ้าส่งอานาจไปไม่ถึงที่จุด
นี้ ถือว่าศักย์ไฟฟ้ามีค่ามีคา่ เป็นศูนย์ V  0

EXAM : 7 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้
โจทย์ปูพื้นฐาน
EX1. จุดที่ห่างเป็นระยะ 3 เมตรและ 9 เมตร จากจุดประจุไฟฟ้า +1 ไมโครคูลอมบ์
1. แต่ละจุดจะมีศักย์ไฟฟ้าเท่าไร
2. ถ้านาประจุไฟฟ้าไปวางไว้ประจุบวกจะเคลื่อนที่ไปทางใดประจุลบจะเคลื่อนที่ทางใด

𝑄 = +1𝜇𝐶

3m
9m

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 54

EX2. จุดที่ห่างเป็นระยะ 3 เมตรและ 9 เมตร จากจุดประจุไฟฟ้า -1 ไมโครคูลอมบ์


1. แต่ละจุดจะมีศักย์ไฟฟ้าเท่าไร
2. ถ้านาประจุไฟฟ้าไปวางไว้ประจุบวกจะเคลื่อนที่ไปทางใดประจุลบจะเคลื่อนที่ปางใด

𝑄 = −1𝜇𝐶

3m
9m

ข้อสังเกต :

โจทย์คานวณหาศักย์ไฟฟ้าทีเ่ กิดจากจุดประจุมากกว่า 1 จุด


EX3. จากรูปถ้า ABP เป็นสามเหลี่ยมด้านเท่ามีแต่ละด้านยาว 0.1 เมตร ถ้านาจุดประจุ 1.0 ไมโครคู ลอมบ์
วางไว้ที่จุด A และนาจุดประจุ –1.0 ไมโครคูลอมบ์ วางไว้ที่จุด B ศักย์ ไฟฟ้าที่จุด P เนื่องจากจุดประจุทั้งสอง
มีค่าเท่าใด

1. 0V 2. 5 V 3. 10 V 4. ค่าสูงมากเป็นอนันต์

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


55 ไฟฟ้าสถิต

EX4. ประจุ Q วางที่ตาแหน่ง A , B , C และ D ของวงกลมที่มีรัศมี R ดังรูป


ศักย์ไฟฟ้าที่จุดศูนย์กลางวงกลมนี้ เป็นตามข้อใด

1. 0
Q
2.
oR
Q
3.
 o R
Q
4.
4 o R

โจทยย์หาตาแหน่งทีศ่ กั ย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์
EX5. จุดประจุ +4μ และ −1μ ห่างกัน 1 m จงหา X ที่ทาให้จุด P มีศักย์ไฟฟ้าเป็นย์ศูนย์
(ตอบ 0.8m)
𝑄1 = +4 10 6 𝐶 𝑃 𝑄2 = −1 10 6 𝐶

𝑋
1m

-7 -7
EX6. จากรูปที่กาหนดให้ ที่ตาแหน่ง A,B และ C มีประจุ 5  10 , -2  10 คูลอมบ์
และ 1.5  10-7 คูลอมบ์ ตามลาดับ จงหาว่าระยะห่าง Bd ทาให้ศักย์ไฟฟ้าที่ตาแหน่ง d เป็นศูนย์
(ตอบ 0.1 m)

ข้อสังเกต : สาหรับจุดประจุ 2 จุด ตาแหน่งที่จะทาให้ศักย์ไฟฟ้า


เป็นศูนย์คือตาแหน่งที่อยู่ระหว่างประจุทั้งสอง อยู่ใกล้ประจุค่าน้อย
และที่สาคัญประจุทั้งสองต้องเป็นคนละชนิดกัน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 56

โจทย์ความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ E
EX7. จุด A ห่างจากประจุเป็นระยะ R มีศักย์ไฟฟ้า 600 Vและมีความเข้มของสนามไฟฟ้า 200 N/C และมี
ทิศพุ่งเข้าหาจุดประจุ
7.1. จงหา R (ตอบ 3 m)
7.2. จงหาประจุไฟฟ้ามีค่าเท่าไร และเป็นประจุชนิดใด (ตอบ − )

𝑄 𝐸 = 200 N C
A
𝑉 = 600 V

EX8.ประจุ + และ – อยู่ห่างกันเป็นระยะ x ถ้าลากเส้นแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับระยะนี้ จุดต่างๆ บนเส้น


ตั้งฉาก จะมีผลอย่างไร
1. ศักย์ไฟฟ้าและความเข้มสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์
2. ศักย์ไฟฟ้าและความเข้มสนามไฟฟ้าไม่เป็นศูนย์
3. ศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์แต่ความเข้มสนามไฟฟ้าไม่เป็นศูนย์
4. ศักย์ไฟฟ้าไม่เป็นศูนย์แต่ความเข้มสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ X

การบ้านชุดที่ 7
-6 -6
1. จุดประจุ -6  10 คูลอมบ์ และ 10  10 คูลอมบ์ วางอยู่ห่างกัน 4 เซนติเมตร ในตาแหน่ง A
และ B ดังรูปที่จุด C เป็นจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากับ 0 และ AC ตั้งฉากกับ AB AC มีค่าเป็นกี่
เซนติเมตร (ตอบ 3 m)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


57 ไฟฟ้าสถิต

ทบทวนความรู้

แรงระหว่างประจุ

สนามไฟฟ้ า

จุดสะเทิน

สนามไฟฟ้ าของตัวนาทรงกลม

ศักย์ไฟฟ้ า

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 58

Step ความรู้ที่ 10 : ศักย์ไฟฟ้าเนือ่ งจากตัวนาทรงกลมมีประจุ

rr

R
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างศักย์ไฟฟ้า(V) กับระยะห่างจากจุดศูนย์กลางทรงกลมตัวนา(R)

ศักย์ไฟฟ้าภายในตัวนาทรงกลม ศักย์ไฟฟ้าภายในตัวนาทรงกลม

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


59 ไฟฟ้าสถิต

EXAM : 8 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

โจทย์ปพู นื้ ฐานการคานวณ


EX1. ตัวนาทรงกลมรัศมี 90 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้าที่ระยะห่าง 45
เซนติเมตร จากจุดศูนย์กลางของทรงกลมจะมีค่ากี่โวลต์
1. 0
2. 1.0  104
3. 2.0  104
4. 4.4  104

5
EX2. ศักย์ไฟฟ้าของตัวนาทรงกลมรัศมี 60 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 3 10 โวลต์ ประจุไฟฟ้าในข้อใดที่
ตัวนาทรงกลมนี้สามารถเก็บได้
1. 12  C
2. 18  C
3. 20  C
4. 24  C

โจทย์ทฤษฎี
EX3. เมื่อให้ประจุไฟฟ้าจานวนเท่ากันกับตัวนาทรงกลมขนาดต่างกัน ตัวนาทรงกลมขนาดเล็กจะมี
ศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าตัวนาทรงกลมที่มีขนาดใหญ่กว่า

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 60

EX4. ศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ ภายในทรงกลมตัวนาที่มีประจุกระจายอย่างสม่าเสมอที่ผิว จะมีค่าเป็น


ไปตามข้อใด
1. เท่ากันทุกจุดและไม่เป็นศูนย์
2. เท่ากับศูนย์
3. เป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะทางจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมถึงจุดนั้น
4. เป็นสัดส่วนผกผันกับระยะทางจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมถึงจุดนั้น

โจทย์เชือ่ มความสัมพันธ์ระหว่าง V กับ E


EX5. ทรงกลมโลหะกลวงมีรัศมี 20 เซนติเมตร ทาให้มีศักย์ไฟฟ้า 10,000 โวลต์ สนามไฟฟ้าภายนอกทรง
กลมบริเวณใกล้ผิวจะมีค่าเท่าใดในหน่วยโวลต์ต่อเซนติเมตร
(ตอบ 500 V/cm)

20 cm

EX6. ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุกระจายอย่างสม่าเสมอบนผิวตัวนา ถ้ากราฟแสดง


ความสัมพันธ์ระหว่างสนามไฟฟ้า (E) กับระยะจากจุดศูนย์กลางของทรงกลม(r) มีค่าดังรูป ศักย์ไฟฟ้า
ที่ r = 5 เซนติเมตรจะมีค่าเท่าใด

1. 0 V
2. 5.0105 V
3. 1.0106 V
4. 5.0107 V

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


61 ไฟฟ้าสถิต

ความต่างศักย์การบ้
ไฟฟ้าา(Electric
นชุดที่ 8 potential)

1. ทรงกลมตัวนารัศมี 4.5 เซนติเมตร มีประจุไฟฟ้า 10 C จงหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดศูนย์กลางทรงกลม


(ตอบ )

4.5 cm

2. A และ B เป็นตัวนาทรงกลม รัศมีของ B เป็น 2 เท่าของ A ถ้าให้ประจุแก่ตัวนาทั้งสองเท่าๆกัน


ศักย์ไฟฟ้าบน A จะเป็นกี่เท่าของ B
1. 1 2. 1 3. 2 4. 4
4 2
3.จุดประจุ 3 จุดประจุ วางอยู่ที่มุมของสามเหลี่ยมด้านเท่ายาวด้านละ 4 เซนติเมตร ทาให้จุดที่เส้นมัธยฐาน
ทั้งสามตัดกันมีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์หากจุดประจุสองจุดประจุมีค่า 5 ไมโครคูลอมบ์ และ 3 ไมโครคูลอมบ์
จงหาค่าจุดประจุจุดที่ 3 (ตอบ  8 ไมโครคูลอมบ์)

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 62

นิยาม : ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ งานในการเคลื่อนประจุ +1 คูลอมบ์จากตาแหน่งหนึ่งไปสู่อีกตาแหน่งหนึ่ง

สมการ คาอธิบายตัวแปร
V1,2 = ความต่างศักย์ระหว่าง
ตาแหน่งที่1กับ 2
V1 = ความต่างศักย์ ณ ตาแหน่งที่ 1
V2 = ความต่างศักย์ ณ ตาแหน่งที่ 2

เส้นสมศักย์ (Equipotentail line)


เส้นสมศักย์ คือ เส้นที่ลากผ่านจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
หมายเหตุ : เส้นสมศักย์จะตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าเสมอ

โจทย์ปพู นื้ ฐาน


พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
63 ไฟฟ้าสถิต

EXAM : 9 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้
EX1. จุดที่ห่างเป็นระยะ 3 เมตรและ 9 เมตร จากจุดประจุไฟฟ้า +5 ไมโครคูลอมบ์ จงหาความต่าง
ศักย์ระหว่างจุดทั้งสอง

โจทย์ทฤษฎี
EX2. เมื่อเกิดฟ้าผ่าลงบนพื้นดินจะเกิดการกระจายของความต่างศักย์ โดยมีค่าสูงสุดที่ตาแหน่งฟ้าผ่าและค่อยๆ
ลดลงตามระยะห่างจากจุดที่ฟ้าผ่า ถ้าเกิดเหตุการณ์ฟ้าผ่าลงบนต้นไม้พร้อมมีเด็กและควายยืนหันหน้าเข้าหาต้นไม้
ดังรูป เหตุการณ์ใดในข้อต่อไปนี้มีโอกาสเกิดมากที่สุด

1. เด็กและควายตาย
2. เด็กตาย ควายไม่ตาย
3. เด็กไม่ตาย ควายตาย
4. เด็กและควายไม่ตาย

Step ความรู้ที่ 11 : งานในการเคลือ่ นประจุ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 64

- การใช้สูตรต้องคิดเครื่องหมายของ q กับ Vด้วย


- งานในการเคลื่อนประจุจะไม่ขึ้นกับเส้นทางการเคลื่อนที่ แต่จะขึ้นอยู่กับตาแหน่งเริ่มต้นและ
ตาแหน่งสุดท้ายของการเคลื่อนที่เท่านั้น
- ถ้าได้งานเป็นบวก(+)หมายความว่า ประจุได้รับงาน(ประจุเคลื่อนที่ไปเองไม่ได้ เราต้องพามันไป)
-ถ้าได้งานเป็นลบ(-) หมายความว่า ประจุเสียงาน หรือ ประจุเคลื่อนที่ไปได้เอง

EXAM : 10 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
65 ไฟฟ้าสถิต

step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้
โจทย์ปพู นื้ ฐาน
EX1. จุด A มีศักย์ไฟฟ้า 10 V จุด B มีศักย์ไฟฟ้า 20 V ถ้าเราเคลื่อนประจุขนาด1 ไมโครคูลอมบ์
จากจุดB ไปยัง จุด A จะต้องใช้งานในการเคลื่อนประจุเท่ากับกี่จูล

𝑉𝐴 = 10 V 𝑉𝐵 = 20 V

EX2. จุด A ห่างจากจุดประจุ+5 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 3 เมตรและจุดBอยู่ห่างจากจุดประจุ 9 เมตร


ถ้าเคลื่อนประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ จากจุดAไปยังจุด B จะต้องใช้งานในการเคลื่อนประจุเท่ากับกี่จูล

EX3. จุดAห่างจากห่างจากจุดประจุ-5 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 3 เมตรและจุดBอยู่ห่างออกไป 9 เมตร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 66

ถ้าเคลื่อนประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ จากจุด B ไปยังจุด Aจะต้องใช้งานในการเคลื่อนประจุ

ข้อสังเกต: ถ้าวางประจุไว้ในบริเวณที่มีความต่างศักย์
ประจุ + เคลื่อนที่จาก...............................................
ประจุ – เคลื่อนที่จาก................................................
ถ้า งาน(W)เป็น + หมายความว่า.........................................
งาน(W)เป็น – หมายความว่า.............................................

EX4. จุด A มีศักย์ไฟฟ้าVA = -2.0 โวลต์ และจุด B มีศักย์ไฟฟ้า VB = 6.0 โวลต์ ถ้าต้องการเคลื่อน
ประจุ -2.0  10-6 คูลอมบ์ จากจุด A ไปจุดB จะต้องใช้งานในการเคลื่อนที่ประจุเท่ากับกี่จูล
1. –4.0  10-6
2. 8.0  10-6 𝑉𝐴 = −2 0 V 𝑉𝐵 = 6 0 V
3. 1.6  10-5
4. -1.6  10-5

โจทย์ทเี่ ราต้องคานวณหา V แต่ละตาแหน่งออกมาก่อน


พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
67 ไฟฟ้าสถิต
-9
EX 5.โลหะทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุ 10 คูลอมบ์ จากรูป จงหางานในการนาโปรตอน 1 ตัว
เคลื่อนที่จากจุด B มายังจุด A ดังรูป
1. 2.9  10-18 J
2. 4.3  10-18 J
3. 7.2  10-18 J
4. 30  10-18 J

-6 -6 -6
EX6. ที่จุด A และ B วางประจุ 3  10 และ 1  10 คูลอมบ์ตามลาดับ หากนาประจุ -2  10 คูลอมบ์
จากนอนันต์ มาวาง ณ จุด P จะต้องใช้งาน
1. 0.168 จูล
2. –0.160 จูล
3. –0.180 จูล
4. –0.200 จูล

EX7. จุดประจุ + Q สี่ประจุ อยู่ที่มุมทั้งสี่ของสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้านยาว a จงหาค่าของงานที่ต้องทาให้การนา


พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 68

ประจุ +q จากอนันต์มาไว้ที่จุดศูนย์กลางรูปจัตุรัสนี้
1. 0
2qQ
2.
4 o a
3. qQ
 o a
2qQ
4.
 o a

โจทย์ทตี่ อ้ งใช้ความรูเ้ รือ่ งเส้นสมศักย์


EX8.จงหางานในการนาอิเล็กตรอน 1 ตัว จากจุด A ไป C ไป D
กาหนดให้ VB=10 V VC=14V และ VD=16V

การบ้านชุดที่ 9

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


69 ไฟฟ้าสถิต
-6
1. A และ B เป็นจุดที่อยู่ห่างจากประจุ 4  10 C เป็นระยะทาง 2 และ 12 เมตร ตามลาดับ
ถ้าต้องการเลื่อนประจุ 4 คูลอมบ์ จาก B ไป A ต้องใช้งานหน่วยกิโลจูลเป็นจานวนเท่าใด
1. 8.75
2. 15
3. 35
4. 60

-4
2. ประจุไฟฟ้า +10 คูลอมบ์ วางที่มุมยอด A ของสามเหลี่ยมหน้าจั่วซึ่งมีด้าน AB = AC = 50
เซนติเมตร และ BC = 60 เซนติเมตร ถ้าต้องการเคลื่อนประจุไฟฟ้า +70 ไมโครคูลอมบ์ จาก
จุด B ไปยังจุด C จะต้องใช้พลังงานกี่จูล
1. 15.0
2. 12.6
3. 10.5
4. 0

3. จุดประจุ A ขนาด 15 ไมโครคูลอมบ์ อยู่บนแกน Y ณ ตาแหน่ง y = -3.0 เมตร ในขณะที่จุด


ประจุ B ขนาด –4 ไมโครคูลอมบ์ อยู่บนแกน x ณ ตาแหน่ง X = 2.0 เมตร จงหาว่าจะต้อง
ใช้งานเท่าใดในการย้ายประจุ +2 ไมโครคูลอมบ์ จากระยะอนันต์มาไว้ยังจุดกาเนิดพิกัดฉากนี้
(ตอบ 54 mJ)

ทบทวนความรู้
พูดคุยแรงระหว่
ซักถามเพิ
ม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
างประจุ
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 70

สนามไฟฟ้ า

ศักย์ไฟฟ้ า

เส้นสมศักย์

ความต่างศักย์

งานในการเคลื่นประจุ

Step ความรู้ที่ 12 : พลังงานศักย์

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


71 ไฟฟ้าสถิต

ประจุ q เมื่อนาไปวางไว้ใกล้ประจุ Q จะถูกแรงกระทาเมื่อปล่อยประจุq มันก็จะวิ่งเร็วขึ้นเรื่อยๆ ( E k )


เพิ่มขึ้น แสดงว่าตอนเริ่มต้นมีพลังงานศักย์ไฟฟ้าสะสมอยู่ในวัตถุ

สมการพลังงานศักย์ 1. พลังงานศักย์ไฟฟ้าเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น J เวลาแทนค่า


ประจุจะต้องใส่เครื่องหมาย ของประจุเข้าไปด้วย
2. พลังงานศักย์ไฟฟ้า ถ้าเป็นลบ(-) แสดงว่ามีการดูดัน ถ้าเป็นบวก(+)
แสดงว่ามีการผลักกัน

การคานวณหางานเมือ่ รูพ้ ลังงานศักย์


ให้ใช้สมการงาน&พลังงานในการแก้โจทย์

EXAM : 11 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้
โจทย์ปพู นื้ ฐาน
EX1. จุด A มีศักย์ไฟฟ้าVA = -2.0 โวลต์ และจุด B มีศักย์ไฟฟ้า VB = 6.0 โวลต์
1.1 ถ้าจุดประจุ -2.0  10-6 คูลอมบ์ อยู่ที่จุด A จงหาพลังงานศักย์ไฟฟ้า

𝑉𝐴 = −2 0 V 𝑉𝐵 = 6 0 V

1.2 ถ้าประจุดประจุ -2.0  10-6 คูลอมบ์ อยู่ที่จุด A จงหาพลังงานศักย์ไฟฟ้า

𝑉𝐴 = −2 0 V 𝑉𝐵 = 6 0 V

1.3 จงหางานในการเคลื่อนประจุจากจุด A ไปยังจุด B โดยใช้สมการงาน&พลังงาน

𝑉𝐴ม = 𝑉𝐵 = 6 0 V
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติ >>−2 0V
facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 72

EX2. จงหางานในการนาจุดประจุ จากระยะอนันต์มาวางที่จุด A

𝑄 𝒂 𝑄 วิธีที่ 1 ใช้สมการ 𝑊1→2 = 𝑞 𝑉2 − 𝑉2

𝒂 𝐴 𝒂

𝑄 𝒂 𝑄

𝑄 𝒂 𝑄 วิธที ี่ 2 : ใช้สมการงาน &พลังงาน

𝒂 𝐴 𝒂

𝑄 𝒂 𝑄

EX3. จงหางานในการนาจุดประจุจานวนสี่จุดประจุ แต่ละจุดประจุมีขนาด +Q จากระยะอนันต์ มาไว้ที่ยอด

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


73 ไฟฟ้าสถิต

1
ของพีระมิดที่มีด้านยาวด้านละเท่ากับ a ( k   9  109 )
4 o
วิธีที่ 1 ใช้สมการ 1→2 = 2 − 2
6kQ
1.
a
4kQ
2.
a

6kQ2
3.
a
4kQ2
4.
a

วิธที ี่ 2 : ใช้สมการงาน &พลังงาน


การหางานในการเคลื่อนประจุแต่ละจุมาไว้ยงั ตาแหน่งที่ตอ้ งการ จะแตกต่างจากการหางานในการนาประจุ q ประจุเดียว
 ประจุ q ประจุเดียว คิดพลังงานศักย์เฉพาะที่เกิดบนประจุน้ นั
 การหางานในการเคลื่อนประจุ Q แต่ละประจุมาวางยังตาแหน่งที่ตอ้ งการ จะคิดพลังงานศักย์ของทั้งระบบ

อย่ากลัวที่จะเรียนรู้วิธีการแก้โจทย์ที่หลากหลาย
เพราะน้องจะได้มุมมองที่กว้างขึ้น คมขึ้น
ส่วนในห้องสอบน้องจะเลือกใช้วิธีไหนหรือนึกวิธี
ไหนได้ก่อน ก็ตามสะดวกเลยครับ...

น้องลองทำ
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 74

EX4. ในรูปที่แสดงประจุ Q มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ ระยะทางa มีหน่วย เป็นเมตร ให้ k คือ ค่าคงที่ของกฎของคู


ลอมบ์ จงหางานที่ต้องทาในการนาประจุทั้งสามจากระยะอนันต์มาวางไว้ที่ตาแหน่งที่แสดงมีค่าเท่าไร

การบ้านชุดที่ 10
1. ในการนาประจุ +5 10 4 คูลอมบ์ จากระยะอนันต์มายังจุด A ซึ่งในสนามไฟฟ้าต้องทางาน
5 0 10 2 จูล ที่จุด A มีศักย์ไฟฟ้าเป็นเท่าใด

𝑉𝐴 𝑉∞ = 0

2.จงหางานที่ทาในการนาจุดประจุ + 3 จุดประจุจากระยะอนันต์มาวางที่จุด A B และ C ของสามเหลี่ยม


ด้านเท่า ABC ซึ่งแต่ละด้านยาว A
C

B
A

การเร่งประจุดว้ ยความต่างศักย์
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
75 ไฟฟ้าสถิต

ให้ใช้สมการงาน&พลังงานในการแก้โจทย์

EXAM : 12 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

EX1. จะต้องให้ความต่างศักย์ไฟฟ้ากี่โวลต์เพื่อจะทาให้เกิดสนามไฟฟ้าที่สามารถเร่งอิเล็กตรอนจากหยุดนิ่งให้
มีความเร็ว 0.4  107 เมตร/วินาที
(ตอบ 45.5 โวลต์)

(1) (2)

EX2. อนุภาคมีประจุ 8 0 10 9
C มีมวล 4 0 10 12
เดิมอยู่นิ่ง ถ้าใช้ความต่างศักย์ 2.5 โวลต์
อนุภาคนั้นจะถูกเร่งจนมีอัตราเร็วกี่เมตรต่อวินาที
(ตอบ 100 m/s)

(1) (2)

การบ้านชุดที่ 11

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 76

1. อนุภาคมีประจุไฟฟ้า 1 0 10 5 คูลอมบ์ เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่งในบริวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ 50


โวลต์ต่อเมตร เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 1 เมตร ในแนวเดียวกับสนามไฟฟ้า อนุภาคนี้มีพลังงานจลน์
เท่าใด

𝐸 = 50 𝑉 𝑚

1m

2.อนุภาคหนึ่งมีประจุ 5 ไมโครคูลอมบ์ เริ่มเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ในบริเวณที่มีสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ 100


โวลต์/เมตร เมื่ออนุภาคนี้เคลื่อนที่ในทิศเดียวกับสนามไฟฟ้า ไกลเท่าไรจึงจะมีพลังงานจลน์เป็น 4 10 4 จูล
( ตอบ 0.8 m )
𝐸 = 100 𝑉 𝑚

S=?

3.อิเล็กตรอนตัวหนึ่งมีความเร็วต้น 103 เมตรต่อวินาที เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงเข้าหาอนุภาคที่มีประจุเท่ากับ


อิเล็กตรอนที่อยู่นิ่งและห่างออกไป 2 เมตร อิเล็กตรอนตัวแรกจะเคลื่อนที่เข้าใกล้อิเล็กตรอนตัวที่หยุดนิ่งได้มากที่สุด
เท่าใด
(ตอบ )

2m

การหางานเมือ่ ทราบค่าสนามไฟฟ้า( E)
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
77 ไฟฟ้าสถิต

สมการหางานเมื่อทราบสนามไฟฟ้า

ถ้า มีทิศเดียวกับสนามไฟฟ้าเป็น +
ถ้ามีทิศตรงข้ามกับสนามไฟฟ้า -

EXAM : 13 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

EX 1.
ถ้า เป็นสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ มีขนาด 12 โวลต์ /เมตร จงหา
งานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ประจุ่ทดสอบ 3.0 10-6 คูลอมบ์จาก
A ไปตาม A B C จนถึง C ดังรูป
-6
1. –1.8 10 จูล
2. +1.8 10-6 จูล
3. –5.4 10-6 จูล
4. +5.4 10-6 จูล

EX2. จงหางานของแรงภายนอกในการเลื่อนประจุ +4 ไมโครคูลอมบ์ จากตาแหน่ง C ไป B และจาก B ไป


A ภายใต้สนามไฟฟ้าสม่าเสมอขนาด 1104 โวลต์/เมตร ดังรูป
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 78

1. 410-3 J 2. 6 10-3 J
3. - 410-3 J 4. -6 10-3 J

5 cm
A B
120° 10 cm

EX3. สนามไฟฟ้า 12 โวลต์ต่อเมตร คงที่มีทิศในแนวระนาบดังรูป งานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ประจุทดสอบ


2 ไมโครคูลอมบ์ จาก A ไป B ไป C มีค่าเท่าใด
(ตอบ )
A

√3𝑚

60° 60°
B C

การบ้านชุดที่ 12

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


79 ไฟฟ้าสถิต

Step ความรู้ที่ 13 : ความต่างศักย์ไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าของแแผ่น


1. จากรูป ⃑ คือสนามไฟฟ้าสม่าเสมอมีขนาด 4 104 โวลต์ต่อเมตร มีทิศดังรูป AB และ BC เท่ากับ 10
และ 5 เซนติเมตร ตามลาดับ จงหางานที่ทาในการเลื่อนประจุ +10 6
คูลอมบ์ จาก A ไป C
(ตอบ − )

A
10 cm

60°

B 5 cm C

2. แผ่นตัวนาขนานมีขนาดใหญ่และมีประจุกระจายอยู่อย่างสม่าเสมอดังรูปประจุ –Q ที่จุด A มีแรงไฟฟ้า


กระทาเท่ากับ 2.5 นิวตันถ้าต้องการเคลื่อน ประจุนี้จาก A ไปไว้ที่ C ตามเส้นทาง ABC
จะต้องทางานเท่าไร (ตอบ 1 J)
C

0.3
m
A 0.4 B
m

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 80

สมการ คาอธิบายตัวแปร
V = ผลต่างระหว่างแผ่นโลหะ(V)
E = ขนาดของสนามไฟฟ้า(N/CหรือV/m)
d = ระยะห่างระหว่างแผ่น (m)

หมายเหตุ: V นิยมเขียนแทนด้วย V

EXAM : 14 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้
โจทย์หาสนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นตัวนาคูข่ นานเมือ่ ทราบระยะห่างระหว่างแผ่น และทราบค่าความต่างศักย์
EX1. แผ่นตัวนาคู่ขนานขนาดเท่ากันวางห่างกัน 3 มิลลิเมตร ถ้าต่อแผ่นคู่ขนานนี้เข้ากับแบตเตอรี่ 9 โวลต์
สนามไฟฟ้าระหว่างแผ่นตัวนาคู่ขนานจะมีค่าเท่าใด
1. 0.027 V.m
2. 27 V.m
3. 3 V/m
4. 3,000 V/m

โจทย์หาศักย์ไฟฟ้า เมื่อทราบ E และ d


พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
81 ไฟฟ้าสถิต

EX2. จากรูปสนามไฟฟ้าสม่าเสมอขนาด 100 V/m ที่จุด B มีศักย์ไฟฟ้า 10 V


จงหาศัย์ไฟฟ้าที่จุด A ,Cและ D

โจทย์ทฤษฎี

EX3. รูปที่กาหนดให้ เป็นบริเวณที่มีสนามไฟฟ้า E สม่าเสมอ
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
a. สนามไฟฟ้าที่จุด A, B, C ,มีขนาดเท่ากัน
b.ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด A และ C มีค่ามากกว่าความต่าง
ศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด B และC
c. แรงที่กระทาต่อประจุ +q, +q และ –q ที่จุด A,B,และ C
ตามลาดับ มีขนาดเท่ากัน
ข้อถูกต้องคือ
1. ข้อ a,b และ c
2. ข้อ b และc
3. ข้อ a และc
4. a เท่านั้น

โจทย์ทเี่ กีย่ งกับกฎของนิวตัน


พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 82
-12
EX4.มวล 6.4  10 กรัมมีประจุไฟฟ้า –3.2  10-19 คูลอมบ์ ลอยนิ่งอยู่ได้ระหว่างแผ่นโลหะ
ขนานซึ่งวางห่างกัน 1.0 เซนติเมตร แผ่นโลหะขนานอยู่ในแนวระดับ ถ้าแผ่นล่างมีศักย์ไฟฟ้า
เป็นศูนย์แผ่นบนจะมีศักย์ไฟฟ้าเท่าใด
1. –1,000 V
2. +50 V
3. +1,000 V 𝑑 = 1 0 cm
4. +2,000 V

𝑽ล่าง = 𝟎

EX5.แผ่นโลหะขนาน 2 แผ่นวางห่างกัน มีประจุตรงข้ามกัน ถ้าปล่อยอิเล็กตรอน จะวิ่งด้วยความเร่ง ถ้า


อิเล็กตรอนมีประจุ แผ่นโลหะทั้งสองจะมีความต่างศักย์เท่าไร
1.

2.

3.

4.

EX6. ประจุลบ q มวล m หลุดจากแผ่นลบแล้ววิ่งเข้าหาแผ่นบวกซึ่งห่างไปเป็นระยะ d ถ้าระหว่างโลหะทั้งสอง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


83 ไฟฟ้าสถิต

มีสนามไฟฟ้า E จงหาความเร็วขณะประจุพุ่งชนแผ่นบวก
1.
2.
2
3. √

4. √
2

EX7.ลูกพิธมวล m กิโลกรัม มีประจุไฟฟ้า +q คูลอมบ์ เคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ E นิวตัน/คูลอมบ์


ซึ่งตั้งฉากกับผิวโลก ปรากฏว่าลูกพิธลอยขึ้นโดยขนานกับสนามไฟฟ้าจากจุด A ไปสู่จุด B ด้วยความเร่ง
a เมตร/วินาที2 ถ้าจุด B อยู่สูงกว่าจุด A เป็นระยะ d เมตร ความโน้มถ่วงของโลกคือ g เมตร/วินาที2
ความต่าง ศักย์ ระหว่างจุด B กับจุด A มีค่าเท่าไร และสนามไฟฟ้า E นี้มีทิศพุ่งเข้าหรือออกจากผิวโลก
1. md ( g  a), พุ่งเข้า
q
2. md
( g  a), พุง่ ออก B
q
3. md
( g  a), พุ่งเข้า
q
4. md
( g  a), พุ่งออก
q
A

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 84
การบ้านชุดที่ 13

1. แผ่นโลหะ 2 แผ่น A และB มีขนาดของพื้นที่เท่ากันทั้งสองแผ่น วางขนานกันโดยมีระยะห่างจากกัน


2 เซนติเมตร ถ้าต่อแผ่นโลหะ A เข้าขั้วบวก และแผ่นโลหะB เข้าขั้วลบ แบตเตอรี่ซึ่งมี ความต่างศักย์
ระหว่างขั้ว 12 โวลต์ ดังรูปจงหาขนาดของสนามไฟฟ้าที่เกิดขึ้นระหว่างแผ่นโลหะทั้งสอง

2. แขวนทรงกลมมวล m ที่มีประจุไฟฟ้า +q ด้วยเชือกเบาไว้ระหว่าง


แผ่นตัวนาขนานขนาดใหญ่ที่วางในแนวตั้งและอยู่ห่างกัน d ถ้าต้องการ
ให้แนวเชือกที่แขวนทรงกลมเบนทามุม 30 องศากับแนวดิ่ง จะต้องให้
ความต่างศักระหว่างแผ่นตัวนาขนานขนาดเท่าใด

mgd 3 mgd
1. 2.
q q 3
gd 3 gd
3. 4.
mg mg 3

3. ในสนามไฟฟ้าสม่าเสมอ ดังรูป ถ้าเลื่อนประจุไฟฟ้า +10 ไมโครคูลอมบ์ จากระยะอนันต์มาที่จุด A และ B


ต้องทางาน 100 จูล และ 60 จูล ตามลาดับ ถ้าจุด และจุด B อยู่ห่างกัน 1 เมตร
3.1. จงหา V (ตอบ )
3.2. จงหาขนาดของสนามไฟฟ้าในหน่วยโวลต์ต่อเมตร ( ตอบ )

4*.อิเล็กตรอนตัวหนึ่งมีประจุ  1.6 1019 ไมโครคูลอมบ์ และมีมวล 9 1031 กิโลกรัม ถูกยิงเข้าไปใน

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


85 ไฟฟ้าสถิต

สนามไฟฟ้าสม่าเสมอ ด้วยความเร็ว 4106 เมตร/วินาที ในทิศตามสนามไฟฟ้า แล้วเริ่มย้อนกลับ เมื่อ


ไปได้ ไกล 4.5 เซนติเมตร
16
4.1.จงหาความเร่งของอิเล็กตรอน ( ตอบ  1014 m / s 2 )
9
4.2.จงหาขนาดของสนามไฟฟ้า ( ตอบ 1 000 N C)

𝐸⃑

4.5 cm

ทบทวนความรู้
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 86

Step ความรู้ที่ 14 : ตัวเก็บประจุ และความจุไฟฟ้า


พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
87 ไฟฟ้าสถิต

ตัวเก็บประจุ (Capacitor) หมายถึงตัวนาที่สามารถเก็บสะสมประจุได้


ความจุไฟฟ้า( หรื อ ) หมายถึง ความสามารถของตัวเก็บประจุในการรับประจุเข้า
มาเก็บไว้ เช่น ถ้าตัวเก็บประจุตัวใดมีค่าความจุไฟฟ้ามากแสดงว่าตัวเก็บประจุตัวนั้นมีความสามารถในการเก็บ
ประจุไฟฟ้าได้มาก
สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุคอื

Note. ค่าความจุไฟฟ้าของแผ่นตัวนา
คู่ขนานจะมีค่าแปรผันตรงตามพื้นที่ของแผ่น
ตัวนา𝐶𝛼𝐴

สู ตร

การอัดประจุ
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 88

การคลายประจุ
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
89 ไฟฟ้าสถิต

ค่าความจุไฟฟ้าของตัวนาทรงกลม

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 90

EXAM : 14 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

EX1. โลหะทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตรมีความจุไฟฟ้าเท่าใด ในหน่วย pF (picofarad)


1. 11
2. 22
3. 90
4. 100

EX2. แผ่นโลหะขนานห่างกัน 10 เซนติเมตร ใช้ทาเป็นตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุ 90 พิโคฟารัด ถ้าสนามไฟฟ้า


ระหว่างแผ่นโลหะมีค่า 300 นิวตัน/คูลอมบ์ อยากทราบว่าตัวเก็บประจุนี้มีจานวนกี่คูคอมบ์
1. 3.0  10-4
2. 2.7  10-6
3. 2.7  10-9
4. 3.0  10-11

การต่อตัวเก็บประจุ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


91 ไฟฟ้าสถิต

1) แบบอนุกรม ( เท่ากัน) 2) แบบขนาน ( เท่ากัน )

1) ประจุไฟฟ้าที่เก็บบนตัวเก็บประจุทุกตัวเท่ากัน
1) ความต่างศักย์ที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุทุกตัว
เท่ากัน

2) ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมเท่ากับผลรวมของความ
ต่าง ศักย์ไฟฟ้าย่อย
2) ประจุทั้งหมดมีค่าเท่ากับประจุย่อยๆ รวมกัน

3) ค่าความจุไฟฟ้ารวม
3) ค่าความจุไฟฟ้ารวม

ต่อ C อนุกรมกัน 2 ตัวสูตรลัดคือ

ต่อ C ที่มีค่าเท่ากันตัวเท่ากัน n มีสูตรลัดคือ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 92
EXAM : 15 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?
step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้
โจทย์ปพู นื้ ฐานการคานวณเกีย่ วกับการต่อตัวเก็บประจุ
EX1.
𝐶1 = 3 𝜇𝐹 𝐶2 = 6 𝜇𝐹 𝐶3 = 9 𝜇𝐹

EX2.
𝐶1 = 3 𝜇𝐹 𝐶2 = 6 𝜇𝐹 𝐶3 = 9 𝜇𝐹

EX3. 𝐶1 = 6 𝜇𝐹 𝐶3 = 6 𝜇𝐹
𝐶2 = 6 𝜇𝐹

𝐶1 = 1𝜇𝐹
EX4.

𝐶2 = 0 5𝜇𝐹 𝐶1 = 3 𝜇𝐹 𝐶2 = 6 𝜇𝐹 𝐶3 = 9 𝜇𝐹

𝐶3 = 0 5𝜇𝐹

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


93 ไฟฟ้าสถิต

โจทย์ปพู นื้ ฐานสาคัญสาหรับการต่อแบบอนุกรม


EX5. จากวงจรจงหา
5.1 ค่าความจุไฟฟ้ารวม
5.2 ประจุไฟฟ้าที่ตัวเก็บประจุตัวที่1
5.3 ค่าความต่างศักย์ที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุแต่ละตัว

EX6. ตัวเก็บประจุสองตัว 1 ไมโครฟารัด และ 3 ไมโครฟารัด ต่ออยู่กับความต่างศักย์ 12 โวลต์


ดังรูป จงคานวณหาประจุที่อยู่ในตัวเก็บประจุ 1 ไมโครฟารัด
1. 12 ไมโครคูลอมบ์
2. 9 ไมโครคูลอมบ์
3. 4 ไมโครคูลอมบ์
4. 3 ไมโครคูลอมบ์

EX7. วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยตัวเก็บประจุสามตัว ต่ออยู่กับความต่างศักย์ 12 โวลต์ ดังรูป

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 94

จงคานวณหาขนาดของความต่างศักย์ที่คร่อมตัวเก็บประจุ 3 ไมโครฟารัด และ 6 ไมโครฟารัด ตามลาดับ


1. 12 V และ 12 V
2. 6 V และ 6 V
3. 4 V และ 8 V
4. 8 V และ 4 V

โจทย์ต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน
EX8. หลังสับสวิตช์ SW ลงแล้ว ความต่างศักย์ระหว่าง A กับ B มีค่าเท่าใด

1
1.
3
1
2.
2
2
3.
3
4.

-6
EX9. จากวงจรในรูป ค่าประจุ C=5x10 F จงหาจานวนประจุที่ตัวเก็บประจุแต่ละตัวในหน่วยไมโครคูลอมบ์

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


95 ไฟฟ้าสถิต

1. 125
2. 250
3. 500
4. 1000

โจทย์เกีย่ วกับการชาร์จประจุให้กบั ตัวเก็บประจุหลังชาร์จเสร็จนาตัวเก็บประจุไปต่อขนานกับตัวเก็บประจุอกี ตัวหนึ่ง


EX10. จากรูปวงจรไฟฟ้าประกอบด้วยตัวเก็บประจุ C1= 6ไมโครฟารัด C2=3 ไมโครฟารัด และแบคเตอรี
แรงเคลื่อนไฟฟ้า 12 โวลต์ ถ้าสับสวิทซ์ S1รอจนประจุเต็ม C1 แล้วยกสวิทซ์ S1ขึ้น จากนั้นสับสวิทซ์ S2
รอจนสมดุล ประจุไฟฟ้าในตัวเก็บประจุ C2 จะเป็นเท่าใดในหน่วยไมโครคูลอมบ์

EX11. ต่อตัวเก็บประจุ 1,000 เข้ากับแบตเตอรรี่ 12 V เมื่ออัดประจุจนเต็มก็ปลดออก จากนั้นจึงนาตัว


เก็บประจุตัวนั้นออกไปต่อขนานกับตัวเก็บประจุ 2,000 อีกตัวหนึ่ง ความต่างศักย์ระหว่างขั้วของ

พูดคุย ซักถามเพิ𝐶
ม่ เติ
ม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
1 = 1 000 𝛍F 𝐶1 = 1 000 𝛍F
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 96

ตัวเก็บประจุตัวเดิมจะเป็นเท่าใด
1. 12 V
2. 8V
3. 6V
4. 4V

EX12.จากรูป ถ้าสับสวิทซ์ทั้งสองไปทางด้านจุด C ในที่สุดความต่างศักย์ระหว่างจุด C กับจุด D จะเป็นกี่โวลต์


(ตอบ 26V)

การบ้านชุดที่ 14

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


97 ไฟฟ้าสถิต

1. ตัวเก็บประจุ 3 ตัว มีความจุดังนี้ C1 = 3ไมโครฟารัด C2 = 3ไมโครฟารัด และ C3 = 6 ไมโครฟารัด


ต่อกันอยู่ดังในรูปความจุรวมจะเท่ากับกี่ไมโครฟารัด

2. จากรูป จงหาค่าความจุรวม และประจุไฟฟ้าบนตัวเก็บประจุทั้งสอง

1. 7pF, 0.05 pC
2. 1.4pF, 196 pC
3. 7 pF, 980 pC
4. 1.4pF, 1,960 pC
3.* ในการทดลองสร้างตัวเก็บประจุแผ่นโลหะขนานด้วยแผ่นอะลูมิเนียมฟอยล์และพลาสติกวางซ้อนๆ กัน เมื่อใช้
แผ่นอลูมิเนียม 2 แผ่นให้ความจุ 300 พิโคฟารัด ถ้าใช้แผ่นอลูมิเนียม 5 แผ่นและต่อวงจรไฟฟ้าดังรูป ความ
จุระหว่าง AB เป็นกี่พิโคฟารัด

4. จากวงจรตัวเก็บประจุมีความจุดังรูป เมื่อขั้ว A และ C มีความต่างศักย์ 30 V

𝐶1 = 4 𝜇𝐹 𝐶3 = 3 𝜇𝐹
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิ สกิ ส์

A B C
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 98

𝐶2 = 2 𝜇𝐹

1. จงหาค่าความจุไฟฟ้ารวมในวงจร
2. จงหาประจุไฟฟ้าที่ตัวเก็บประจุ 3
3. จงหาค่าความต่างศักย์ระหว่าง BC
4. จงหาค่าความต่างศักย์ระหว่าง AB
5. จงหาประจุไฟฟ้า 1 , 2 ,
5. จากรูป จงหาประจุไฟฟ้าในตัวเก็บประจุ C1
1. 2.00  10-13 C
2. 8.00  10-13 C
3. 1 .15  10-10 C
4. 4.80  10-10 C

EX6*. วงจรกระแสตรงประกอบด้วยตัวเก็บประจุ A และ B มีความจุ C และ 4C ตามลาดับ ต่ออนุกรมกัน


และ ต่อกับความต่างศักย์ V จงหาศักย์ไฟฟ้าตกคร่อมตัวเก็บประจุ A
1
1. V
4
3
2. V
4
1
3. V
5
4
4. V
5

EX7*.จากวงจรตามรูปขณะยังไม่สับสวิทซ์ Sมีประจุไฟฟ้าสะสมอยู่ในตัวเก็บประจุ C1 เท่ากับ 40 ไมโครคูลอมบ์


ส่วนตัวเก็บประจุตัวอื่นๆ ไม่มีประจุสะสมอยู่ หลังจากสับสวิทซ์ S ศักย์ไฟฟ้าที่คร่อม C1 เป็นเท่าไร
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
99 ไฟฟ้าสถิต

พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ

1. 5.5 V
2. 21.3 V
3. 2.3 V
4. 5.0 V

8. ตัวเก็บประจุขนาด 50 ไมโครฟารัดอันหนึ่งต่อกับแบตเตอรี่ 16 โวลต์ เมื่ออัดประจุจนเต็มก็นามาต่อ


ขนานกับตัวเก็บประจุขนาด 30ไมโครฟารัดซึ่งแต่เดิมไม่มีประจุอยู่เลย จงหาความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุ
30 ไมโครฟารัด
𝐶1 = 50 𝛍F 𝐶1 = 50 𝛍F

𝑉 = 16 V 𝐶2 = 30 𝛍F

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 100

เมื่อต่อความต่างศักย์เข้ากับปลายทั้งสองของตัวเก็บประจุดังรูป จากการทดลองพบว่าตอนแรกตัว
เก็บประจุยังไม่มีประจุ เมื่อตัวเก็บประจุมีประจุเพิ่มขึ้นจากศูนย์ถึง Q ความต่างศักย์ที่ปลายทั้งสองจะ
มีค่าเพิ่มขึ้นจากศูนย์จนกระทั่งมีค่าเท่ากับความต่างศักย์ของแหลงจ่าย(V) ก็จะหยุดถ่ายเทดังกราฟ

พลังงานที่สะสมในตัวเก็บประจุ(เขียนแทนด้วย ) = งานที่เคลื่อนประจุเข้าไปเก็บในตัวเก็บประจุ( )
=
1
= เฉลี่ย =
2

𝑄
แทน 𝑉 =
1 𝐶
จา !! 𝑈 = 𝑄𝑉
2

แทน 𝑄 = 𝐶𝑉

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


101 ไฟฟ้าสถิต

EXAM : 16 Step1.จับประเด็นให้ได้ว่าโจทย์เขาให้อะไรมา? แล้วเขาถามอะไรเรา?


step 2. วาดรูป
step 3. โจทย์ถามอะไรตั้งสมการนั้นก่อน ตัวแปรใดยังไม่รู้ให้ติดไว้

EX1. ตัวนาไฟฟ้าทรงกลมรัศมี 4.5 เซนติเมตร มีประจุไฟฟ้บนตัวนาทรงกลม 5 ไมโครคูลอมบ์ จงหาพลังงาน


สะสมในตัวนาทรงกลม

EX2. ตัวเก็บประจุ (C) มีประจุที่แผ่นบวกและลบ +q0 และ –q0 ตามลาดับ หลังปิดสวิทซ์ S ให้มีกระแสใน
วงจรดังรูป จะเกิดความร้อนใน R เท่าไร
1. 0
2. q0/ C
3. 2 (q02/C)
4. 1
(q02/C)
2

EX3. จากรูป เมื่อก่อนปิดวงจรตัวเก็บประจุทั้งสามยังไม่มีประจุไฟฟ้าอยู่ภายในเลย เมื่อปิดวงจรและเมื่อเวลาผ่านไป


นานพอสมควร พลังงานไฟฟ้าที่สะสมอยู่ในตัวเก็บประจุ C1 มีค่าเท่าใด

EX4. จากรูปวงจรไฟฟ้า A และ B ประกอบด้วยตัวเก็บประจุ C สองตัว (ขนาดเท่ากัน)ตัวต้านทาน R สอง


ตัว (ขนาดเท่ากัน) และแหล่งกาเนิดไฟฟ้าความต่างศักย์ V แบบเดียวกัน พลังงานไฟฟ้าที่สะสมในตัวเก็บ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 102

ประจุของรูป A จะเป็นกี่เท่าของพลังงานไฟฟ้าที่สะสมในตัวประจุของรูป B
1. 1/4 เท่า 2. 1/2 เท่า 3. 2 เท่า 4. 4 เท่า

การบ้านชุดที่ 15

1. คาปาซิเตอร์ C1, C2 และ C3 ต่ออยู่ในวงจรดังรูป กาหนดให้ C1 = 1 F, C2 = 0.5 F และ C3 =


1.5F จงคานวณหาพลังงานสะสมบน C3 เมื่อปิดสวิตช์ทิ้งไว้เป็นเวลานาน

25 5
1. 2.
3 3
75 1
2. 3.
3 3

2.ตัวเก็บประจุ C1, C2 และ C3 มีขนาดความจุ 2, 4 และ 3


ไมโครฟารัด ตามลาดับ และไม่มีประจุอยู่ภายใน
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
103 ไฟฟ้าสถิต

ถ้านามาต่อกับแบตเตอรีขนาด 6 โวลต์ และทิ้งไว้จนไม่มีกระแสไหลในวงจร พบว่าประจุรวมบนตัวเก็บประจุทั้งสาม


มีค่า 12 ไมโครคูลอมบ์ พลังงานไฟฟ้าที่สะสมอยู่ในตัวเก็บประจุ C2 จะมีขนาดเท่าใดในหน่วยไมโครจูล
1. 8
2. 12
3. 24
4.32

โจทย์ฝึกเพิ่มเติม : ไฟฟ้าสถิต
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 104

1.ลูกพิทลูกหนึ่งเสียอิเล็กตรอนไป 1 0 104 ตัว ลูกพิทนี้มีประจุไฟฟ้าเท่าใด


(ตอบ C)

2.เมื่อนาแท่งพีวีซีที่ถูกับผ้าสักหลาดแล้วไปวางใกล้ๆ กับลูกพิธที่เป็นกลางทางไฟฟ้า จะสังเกต


เห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นดังนี้
1. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง
2. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวีซี
3. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกห่างจากแท่งพีวีซี
4. งง

3.ถ้าต้องการให้อิเล็กโทรสโคปมีประจุลบ ควรมีขั้นตอนอย่างไร
ก. นาวัตถุที่มีประจุบวกเข้าใกล้อิเล็กโทรสโคป
ข. ต่อสายดินกับอิเล็กโทรสโคป
ค. นาวัตถุที่มีประจุลบเข้าใกล้อิเล็กโทรสโคป
ง. นาวัตถุที่มีประจุออก
จ. ดึงสายดินออก
1. ข, ค , ง , จ
2. ข,ค, จ , ง
3. ก, ค, ง,จ
4. ก, ข , จ ,ง

4. ในการทาให้วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบหรือเป็นบวก มีสภาพไฟฟ้าเป็นกลางนั้น จะต้องต่อสาย


ดินกับพื้นโลกทั้งนี้เพราะข้อใด
1. โลกมีความต้านทานต่า
2. โลกมีความจุไฟฟ้ามาก
3. โลกมีสนามไฟฟ้าต่า
4. โลกมีศักย์ไฟฟ้าเป็นกลาง

5.ทรงกลมตัวนาเล็กๆ รัศมี Rและ r มีประจุ -q และ +3q ตามลาดับถ้านามาวางห่างกันเป็นระยะ d ทรง

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


105 ไฟฟ้าสถิต

กลมทั้งสองจะเคลื่อนที่เข้าหากันจน แตะกัน จากนั้นก็แยกทรงกลมทั้งสองให้อยู่ห่างกันเป็นระยะdเหมือนเดิม ทีนี้


พบว่าทรงกลมทั้งสองเคลื่อนออกห่างจากกัน จงหาอัตราส่วนของแรงไฟฟ้าในกรณีแรกกับในกรณีที่สอง
R  r 2 2R  r 
2

1. 2.
4 Rr 4 Rr

3R  r  5R  r 
2 2

3. 4.
4 Rr 4 Rr

6. สี่เหลี่ยมจัตุรัส ABCD มีด้านยาวด้านละ 10 เซนติเมตร ที่มุมทั้งสี่มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์


-1 ไมโครคูลอมบ์ 1 โครคูลอมบ์ -1 ไมโครคูลอมบ์ และตามลาดับ
6.1.จงหาแรงกระทาที่จุด A (ตอบ 0.82 นิวตัน)
6.2 ถ้านาประจุ 2 ไมโคคูลอมบ์มาวางที่จุดตัดของเส้นทแยงมุม จงหาแรงที่กระทาต่อประจุนี้
(ตอบ 0 นิวตัน)
A B
𝑄𝐴 = 1𝜇𝐶 𝑄B = −1𝜇𝐶

𝑄D = −1𝜇𝐶 𝑄B = 1𝜇𝐶
D C

7.ลูกพิทเล็กๆ 2 ลูก A B มีมวลเท่ากัน ลูกพิท A มีประจุ 0.5 ไมโครคูลอมบ์ ถูกแขวนด้วยเส้นด้ายเล็กๆ


ลูกพิท B มีประจุ 2 เท่าของA สามารถลอยนิ่งๆ ในอากาศใต้ลูกพิท A ได้ โดยมีระยะห่าง 10 เซนติเมตรจาก
ลูกพิท A
7.1.จงหามวลของลูกพิททั้งสอง
( ตอบ 4.5 10 2 kg )

7.2.จงหาแรงตึงในเส้นด้าย

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 106

(ตอบ 0.9 N )

8.ทรงกลม A และทรงกลม B มีมวล m เท่ากัน ที่ A มีประจุ +q ที่ B ประจุ –q ทรงกลม A ยึดกับเชือก
ยาว เมตร B ยึดติดกับผนัง เมื่อสมดุล A และ B อยู่ในแนวเดียวกัน ค่า มีค่าตามข้อใด
กาหนดให้ k คือค่าคงตัวทางไฟฟ้าสถิต และ g คือค่าความเร่งเนื่องจากสนามโน้มถ่วงของโลก
1.
2.
3.
4.

9.ตัวนา A และ B มีมวลและประจุเท่ากัน คือ m และ +q เมื่อวาง B อยู่กับพื้นและวาง A เหนือ B ปรากฎ


ว่า A ลอยสูงจาก B เป็นระยะ r ดังรูป จงหาว่า q มีค่าเท่าใด

1. √ 2 2
A
2. √ 2

3.
2
4.
B

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


107 ไฟฟ้าสถิต

10.จุดประจุ 2 จุดประจุ อยู่ห่างกัน 0.5 เมตร จุดประจุหนึ่งมีค่า 4 ไมโครคูลอมบ์ หากสนามไฟฟ้าเป็นศูนย์


อยู่ระหว่างประจุทั้งสองและอยู่ห่างจากจุดประจุ 4 ไมโครคูลอมบ์ เท่ากับ 0.2 เมตร ค่าของอีกประจุหนึ่งมีกี่คู
ลอมและเป็นประจุชนิดใด
( ตอบ 9C )
0.2 m
A B

𝑄𝐴 = 4𝜇𝐶 0.5 m 𝑄𝐵 =? ?

11.ตามรูปแสดงลักษณะของเส้นแรงไฟฟ้าที่บริเวณหนึ่ง ถ้าขนาดของสนามไฟฟ้าที่จุด A เท่ากับ 60 นิวตัน


ต่อคูลอมบ์ ขนาดของสนามไฟฟ้าที่จุด B คือ (ตอบ 30 N/ C)

12. ตาแหน่งซึ่งห่างจากศูนย์กลางของตัวนาทรงกลมรัศมี 5.0 เซนติเมตร ที่มีประจุไฟฟ้าเป็นระยะ 70.0


เซนติเมตร มีสนามไฟฟ้าเท่ากับ 3,600 นิวตันต่อคูลอมบ์ และสนามมีทิสเข้าหาศูนย์กลางของทรงกลม

E=3,600 N/C

12.1 ประจุบนผิวทรงกลมเป็นประจุชนิดใด
12.2 ถ้านาประจุ 10 6 คูลอมบ์ ไปวางที่ตาแหน่งห่างจากศูนย์กลางของทรงกลมเป็นระยะ 30.0
เซนติเมตร แรงที่กระทาต่อประจุนี้เป็นเท่าไร

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 108

12.3 ศักย์ไฟฟ้าที่อยู่ที่ตาแหน่งซึ่งห่างจากศูนย์กลางของทรงกลม 20.0 เซนติเมตร มีค่าเท่าใด

6
12.4 ถ้านาประจุ +2 10 คูลอมบ์ มาวางไว้ในข้อ 12.3 พลังงานศักย์ของประจุนี้เป็นเท่าใด

6
12.5 ถ้านาประจุ +2 10 คูลอมบ์ มาวางไว้ในข้อ 3 พลังงานศักย์ของประจุนี้เป็นเท่าใด

13.ในรูปที่แสดงประจุ Q มีหน่วยเป็นคูลอมบ์ ระยะทาง a มีหน่วยเป็นเมตร ให้ K คือค่าคงที่ของกฎของคูลอมบ์


จงหา
15.1 สนามไฟฟ้าที่จุด P มีค่าเท่าไร
(ตอบ )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


109 ไฟฟ้าสถิต

13.2 ศักย์ไฟฟ้าที่จุด P มีค่าเท่าไร


(ตอบ )

14.ทรงกลมตัวนารัศมี 10 เซนติเมตร มีศักย์ไฟฟ้าสูงสุดเท่ากับ 18 105 โวลต์ จงหา

10 cm

14.1 ประจุไฟฟ้าของทรงกลมตัวนา

14.2 สนามไฟฟ้าที่อยู่ห่างจากศูนย์กลางของทรงกลม 4 เซนติเมตรมีค่าเท่าใด

14.3 สนามไฟฟ้ามีค่าสูงสุดกี่โวลต์ต่อเมตร

14.4 งานในการเคลื่อนประจุ −20 ไมโครคูลอมบ์ จากระยะอนันต์มาที่ศูนย์กลางของทรงกลมมีค่าเท่าใด

15. แผ่นโลหะขนานกัน 2 เซนติเมตร ใช้ทาเป็นตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุ 50 พิโกฟารัด ถ้าสนามไฟฟา


ระหว่างแผ่นโลหะมีค่า 600 นิวตัน/คูลอมบ์ อยากทราบว่าตัวเก็บประจุนี้มีประจุเท่าใด
(ตอบ 6 1010 คูลอมบ์ )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 110

16.ตัวเก็บประจุ C ต่อกับเครื่องจ่ายกระแสไฟฟ้าดังรูป ถ้าเครื่องนี้ให้กระแสคงที่ I เท่ากับ 0.2 มิลลิแอมป์


ในช่วงเวลา 0.5 วินาที พบว่าความต่างศักย์บนตัวเก็บประจุเพิ่มขึ้น จาก 0 V เป็น 10 V ตัวเก็บประจุมี
ความจุเท่าไร
( แนะนา = )
1. 1000  F
2. 100  F
3. 10  F
4. 1  F

17.ต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
𝐶1 = 2 μ 𝐶2 = 4 μ

𝑉 = 90 V

17.1 จงหาประจุไฟฟ้าทั้งหมด

17.2 จงหาพลังงานทั้งหมดที่สะสมในตัวเก็บประจุ

18. ต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน
𝐶1 = 2 μ

𝐶2 = 4 μ

𝑉 = 90 𝑉

18.1 จงหาประจุไฟฟ้าทั้งหมด

18.2 จงหาพลังงานทั้งหมดที่สะสมในตัวเก็บประจุ

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


111 ไฟฟ้าสถิต

19. จากรูป จงหา


19.1 ประจุไฟฟ้าบนตัวเก็บประจุแต่ละตัว

𝐶1 = 6 μ

30 V 𝐶3 = 8 μ

𝐶2 = 12 μ

19.2 ความต่างศักย์บนตัวเก็บประจุแต่ละตัว

𝐶1 = 6 μ

30 V 𝐶3 = 8 μ

𝐶2 = 12 μ

19.3 พลังงานสะสมบนตัวเก็บประจุแต่ละตัว

20. ตัวเก็บประจุ 50 มีความต่างศักย์คร่อมตัวเก็บ 200 V จะมีพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุกี่จูล


(ตอบ 1 J)

21. ตัวนาไฟฟ้าทรงกลมรัศมี 2 เซนติเมตร มีประจุไฟฟ้าบนตัวนาทรงกลม 5 ไมโครคูลอมบ์ จงหาพลังงาน


สะสมในในการเพิ่มประจุให้กับตัวนาทรงกลมอย่างช้าๆ จนกระทั่งทรงกลมมีประจุ 15 ไมโครคูลอมบ์

(ตอบ 45 J )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 112

22.แผ่นตัวนาคู่ขนานคู่หนึ่งมีขนาดยาว l มีระยะห่าง d ก่อให้เกิดสนามไฟฟ้าที่มีความเข้มสม่าเสมอ โดยมี


ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นเป็น V ถ้าสนามไฟฟ้าที่ทาให้ลาอิเล็กตรอนซึ่งเคลื่อนที่เข้าสู่กลางแผ่นคู่ขนานเบน
ไปถึงของล่างพอดีดังรูป กาหนดให้อิเล็กตรอนมีมวล m และมีประจุไฟฟ้า e ความเร็วต้นของอิเล็กตรอนจะ
เป็นเท่าไร
l eV
(ตอบ )
d m

23.แผ่นโลหะโค้งขนานกันวางอยู่ในระนาบระดับดังรูป มีศูนย์กลางร่วมกันที่จุด O ที่จุดห่างจากจุดศูนย์กลางรัศมี 2


เมตร(ตามแนวเส้นประ) มีสนามไฟฟ้าขนาด 1 นิวตันต่อคูลอมบ์ มีทิศชี้เข้าหา O อนุภาคที่มีประจุ 1ไมโครคู
ลอมบ์ ต้องวิ่งด้วยพลังงานจลน์ท่าใด จึงเคลื่อนที่ตามแนวเส้นประ (ตอบในหน่วยไมโครจูล)

(ตอบ 𝛍 )

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์


113 ไฟฟ้าสถิต

สรุปสูตรและหลักการสาคัญ
การกระจายของประจุ ฉนวน ใส่ประจุที่ตาแหน่งใดประจุก็จะอยู่ที่ตาแหน่งนั้น
วัตถุเป็นตัวนา ประจุจะกระจายอยู่ที่ผิวนอก
การถ่ายเทประจุของตัวนาทรงกลม  Q 
Q
 r 
r

 
แรงไฟฟ้า F 
kQ1Q2
R2

สนามไฟฟ้า ทิศของ E พุ่งออกจากประจุบวก พุ่งเข้าหาประจุลบ


F
สูตร E
q
kQ
สนามไฟฟ้าของจุดประจุ E
R2
สนามไฟฟ้าของของตัวนาทรงกลม
ภายในทรงกลม E  0
kQ
ภายนอกทรงกลม E 
R2
(สนามไฟฟ้าสูงสุดที่ผิวทรงกลม R แทนด้วยรัศมีทรงกลม)

จุดสะเทิน คือจุดที่สนามไฟฟ้าหักล้างกันเป็นศูนย์
ศักย์ไฟฟ้า kQ
ศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุ V 
R
ศักย์ไฟฟ้าของตัวนาทรงกลม
ภายในทรงกลม = ที่ผิว =
รัศมีทรงกลม

kQ
ภายนอกทรงกลม V 
R
ความต่างศักย์ V12  V1  V2
ความสัมพันธ์ระว่างความต่างศักย์กับ V  Ed
สนามไฟฟ้า
พลังานศักย์ไฟฟ้า EP 
kQq
 qV
R
งานในการเคลื่อนประจุไฟฟ้าจากจุดหนึ่งไป W12  q(V2  V1)
หางานในการเคลือ่ นประจุเมื่อทราบพลังงานศักย์
ยังอีกจุดหนึ่ง
E 1  W   E2
หางานเมือ่ ทราบสนามไฟฟ้า(E)กับระยะ(d)
W  qE  d
พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์
คลายปม ฟิสก
ิ ส์ 114

การเร่งประจุไฟฟ้า E 1  W   E2
ค่าความจุไฟฟ้า C
Q
V
ค่าความจุของตัวนาทรงกลม C
R
k

การต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม Q  Q  Q
1. 1 2
เทคนิค คือ ให้หาQ ก่อนทุกครั้งที่เจอ 2. V  V  V 1 2
การต่อแบบอนุกรม 1 1 1
3.  
 C C1 C2
C1  C2
ถ้ามี 2 ตัว  C 
C1  C2
C
ต่อ C เหมือนกัน ตัว  C 
n

การต่อตัวเก็บประจุแบบต่อขนาน V  V  V
1. 1 2

2.  Q  Q  Q 1 2

3.  C  C  C 1 2

พลังงานที่สะสมในตัวเก็บประจุ U 
1 1
QV  CV 2 
1 Q2
2 2 2 C

พูดคุย ซักถามเพิม่ เติม >> facebook คลายปมฟิสกิ ส์

You might also like