Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 104

คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและทีพึงประสงค์ของนักเรี ยน

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ

กัญญานันท์ หิ นแก้ว

งานนิพนธ์นีเป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตรการศึกษามหาบัณฑิต


สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
กันยายน 2558
ลิขสิ ทธิ เป็ นของมหาวิทยาลัยบูรพา
fl il sn : : il nr : n?uE il { 1 u u'n u dr ra v n €u v n : : il fl r : a o u sr u fi n u f,'l dvr' r r : nr r
4lvqlag-!vdvdtri4
{'llJu1'{uI1J0{ niuqluuyt fiurlf]? auuutta? tfiudun?::u[uud?u14u{to{n'l:f,nu'l
ntilfidnqfl:nr:finHrruHrtiaryt'sr drrre$lnr:r?ur:nr:finur ro{rJ14rivrurdoq:nr'ld

n fl{ vfl : : il n 1 : n ?lJf}lJ.1


q- 1u

'/ oror:rlfirjfnulild'n

n€uyfl::lJn1:fl0u{1uu

il:slru

\-'
/U . ..............n::ilnr:
7""""""""
1or:.qinrf 'lvuv:r4)

nuvfinursraorfoqrifilr{iurrufiiludqrildrilurirur,ruartornr:finurnrrurdnqor:
4sae4av
n 1 : f, nu 1illr lu srcvr er dl u?s1 nl : il : 14 l: n 1 : flfl u'r lJ 0 { il 1.r 1 ?T uln 0u : v't 1

v
a-/- d 4
natunnilef,f]u1fl'ld9t:
d

(:o{drdsr:ror:ti n:.ifrsr qfnfrio{fu)


5u {i. ...4.....,duu.... d!.fl .fl .........n.s. 2s 5 8
กิตติกรรมประกาศ

งานนิพนธ์ฉบับนี สาํ เร็ จได้ดว้ ยดี เนื องจากได้รับคําปรึ กษาและแนะนําแก้ไขข้อบกพร่ อง


จาก ดร.สมุ ทร ชํานาญ ประธานคณะกรรมการควบคุ มงานนิ พนธ์ และ ดร. สุ รัตน์ ไชยชมภู
กรรมการสอบงานนิ พนธ์ ทีได้แนะนํา แก้ไข ชี แนวทางการศึ กษาที ถูกต้องเหมาะสม พร้ อมทัง
ตรวจสอบและปรั บปรุ งแก้ไขในส่ วนที บกพร่ องเป็ นอย่างดี ตลอดระยะเวลาการศึ กษาและ
การดําเนิ นการเสมอมา ผูว้ จิ ยั รู ้สึกซาบซึ งและขอขอบคุณเป็ นอย่างสู งมา ณ โอกาสนี
ขอขอบคุณในความกรุ ณาของผูท้ รงคุณวุฒิทีได้เมตตาอนุเคราะห์ตรวจสอบความเทียงตรง
ของแบบสอบถาม
ขอขอบคุณผูอ้ าํ นวยการสถานศึกษา โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
คณะครู ทีให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ แนะนําข้อมูลทีเป็ นประโยชน์ และนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ ทุ กท่านทีได้ให้ความร่ วมมื อ
ในการตอบแบบสอบถามเพื อให้การวิจยั นี เสร็ จสมบูรณ์ ผูว้ ิจยั รู ้ สึกซาบซึ งในความกรุ ณา
เป็ นอย่างยิง จึงขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งไว้ ณ โอกาสนี
ประโยชน์และคุ ณค่าใด ๆ ที พึงมีของงานนิ พนธ์ ฉบับนี ผูว้ ิจยั ขอมอบแด่ บิดา มารดา
ตลอดจนบุคคลในครอบครัว คณาจารย์ทุกท่าน และผูท้ ีส่งเสริ มสนับสนุ นด้วยดี จนทําให้สาํ เร็ จ
การศึกษาซึ งเป็ นผูม้ ีพระคุณอันหาทีเปรี ยบมิได้

กัญญานันท์ หิ นแก้ว

56990076: สาขาวิชา: การบริ หารการศึกษา; กศ.ม. (การบริ หารการศึกษา)


คําสําคัญ: คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา/ โรงเรี ยมมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
กัญญานันท์ หิ นแก้ว: คุ ณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและ
ที พึงประสงค์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึ กษาตอนปลายของโรงเรี ยมมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ จังหวัดปราจีนบุรี (ACTUAL AND EXPECTED CHARACTERISTICS OF
ADVISORY TEACHERS AS PERCIEVED BY UPPER SECONDARY STUDENTS OF
MATTHAYOMWATMAIKRONGTONG SCHOOL) คณะกรรมการควบคุมงานนิพนธ์: สมุทร
ชํานาญ, กศ.ด. 94 หน้า. ปี พ.ศ. 2558.

วัตถุ ประสงค์ของการวิจยั ครั งนี เพือศึกษาคุ ณลักษณะของครู ที ปรึ กษาทีเป็ นจริ งและ
ทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยมมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของนักเรี ยนโรงเรี ย น
มัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ จํานวน 261 คน เครื องมื อทีใช้ในการวิจยั ครั งนี
เป็ นแบบสอบถามมาตราส่ วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล คือ คะแนนเฉลีย
( X ) ความเบียงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบที (t - test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวน
ทางเดียว (One - way ANOVA)
ผลการวิจยั พบว่า
1. คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีเป็ นจริ งโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก
2. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีเป็ นจริ งตามทัศนะของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย จําแนกตามเพศและระดับชัน แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ
3. คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก
4. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย จําแนกตามเพศและระดับชันแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05
5. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีเป็ นจริ งและคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา
ตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05
5

สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย....................................................................................................................... ง
สารบัญ......................................................................................................................................... จ
สารบัญตาราง............................................................................................................................... ช
สารบัญภาพ.................................................................................................................................. ฌ
บทที
1 บทนํา .................................................................................................................................. 1
ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา.................................................................... 1
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ........................................................................................... 4
ประโยชน์ทีได้รับจากการวิจยั .................................................................................... 5
คําถามการวิจยั ............................................................................................................ 5
สมมติฐานการวิจยั ..................................................................................................... 5
ขอบเขตของการวิจยั .................................................................................................. 6
กรอบแนวคิดในการวิจยั ............................................................................................ 7
นิยามศัพท์เฉพาะ........................................................................................................ 7
2 เอกสารและงานวิจยั ทีเกียวข้อง............................................................................................ 9
สภาพทัวไปของโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์........................... 9
หลักการแนวคิดของครู ทีปรึ กษา............................................................................... 14
คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา...................................................................................... 24
ตัวแปรทีเกียวข้องกับการวิจยั .................................................................................... 31
งานวิจยั ทีเกียวข้อง..................................................................................................... 33
3 วิธีดาํ เนินการวิจยั ................................................................................................................. 40
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง........................................................................................ 40
เครื องมือทีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล..................................................................... 41
การสร้างเครื องมือในการวิจยั .................................................................................... 42
การหาคุณภาพเครื องมือทีใช้ในการวิจยั ..................................................................... 42
การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจัดกระทําข้อมูล......................................................... 43
สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล................................................................................. 43
สารบัญ (ต่ อ)

บทที หน้า
4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล.......................................................................................................... 45
สัญลักษณ์ทีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล........................................................................ 45
การเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล................................................................................ 45
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล............................................................................................... 46
5 สรุ ป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ...................................................................................... 63
สรุ ปผลการวิจยั .......................................................................................................... 64
การอภิปรายผล.......................................................................................................... 66
ข้อเสนอแนะ............................................................................................................. 73
บรรณานุกรม................................................................................................................................ 75
ภาคผนวก..................................................................................................................................... 82
ภาคผนวก ก......................................................................................................................... 83
ภาคผนวก ข......................................................................................................................... 92
ประวัติยอ่ ของผูว้ ิจยั ...................................................................................................................... 95
7

สารบัญตาราง

ตารางที หน้า
1 จํานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่าง จําแนกตามเพศ และระดับชัน.................................. 41
2 จํานวนและร้อยละสถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง............................................................... 46
3 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะทีเป็ นจริ งของ
ครู ทีปรึ กษา โดยรวม....................................................................................................... 47
4 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา
ด้านวิชาการ..................................................................................................................... 48
5 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะของครู ที ปรึ กษา
ด้านมนุษยสัมพันธ์.......................................................................................................... 49
6 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะของครู ที ปรึ กษา
ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา............................................................................................ 50
7 เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา จําแนกตามเพศ................................................ 51
8 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะของครู ที ปรึ กษา
จําแนกตามระดับชันปี ..................................................................................................... 51
9 การวิเคราะห์ความแปรปรวนเพือเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา จําแนกตาม
ระดับชันปี ...................................................................................................................... 52
10 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะที พึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา..................................................................................................................... 53
11 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะที พึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการ................................................................................................ 53
12 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะที พึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา ด้านมนุษยสัมพันธ์...................................................................................... 55
13 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะที พึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา........................................................................ 56
14 เปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา จําแนกตามเพศ........................... 57
15 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะที พึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา จําแนกตามระดับชันปี .................................................................................. 58
8

สารบัญตาราง (ต่ อ)

ตารางที หน้า
16 การวิเคราะห์ความแปรปรวนเพือเปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา จําแนกตามระดับชันปี ................................................................................. 58
17 เปรี ยบเทียบรายคู่ของคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาโดยรวม จําแนกตาม
ระดับชันปี ....................................................................................................................... 59
18 เปรี ยบเทียบรายคู่ของคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการ
จําแนกตามระดับชันปี ..................................................................................................... 60
19 เปรี ยบเทียบรายคู่ของคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านมนุษยสัมพันธ์
จําแนกตามระดับชันปี ..................................................................................................... 61
20 เปรี ยบเทียบรายคู่ของคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านการบริ การ
ให้คาํ ปรึ กษา จําแนกตามระดับชันปี ............................................................................... 61
21 เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและคุณลักษณะของ
ครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ.......................................................................................................... 62
22 ค่าอํานาจจําแนกรายข้อและค่าความเชื อมันของแบบสอบถามคุณลักษณะของ
ครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ................................................................................. 93
23 ค่าอํานาจจําแนกรายข้อและค่าความเชื อมันของแบบสอบถามคุณลักษณะทีพึงประสงค์
ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ................................................................................. 94
9

สารบัญภาพ

ภาพที หน้า
1 กรอบแนวคิดในการวิจยั .................................................................................................... 7
บทที 1
บทนํา

ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา


ประเทศของเราได้มีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ อย่างมากมายตั งแต่อดี ตมาจนถึ งปั จจุบนั
ไม่วา่ เป็ นด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการเมืองการปกครอง และทีสาํ คัญทีสุดก็คือ ด้านการศึกษา
การทีประเทศจัดการศึกษาทีเข้มแข็งถือว่าเป็ นหัวใจของประเทศชาติ เพราะประเทศชาติจะรุ่ งเรื อง
หรื อล่มสลายขึนอยูก่ บั การศึกษา (สํานักนายกรัฐมนตรี , 2542, หน้า 1) ดังพระบรมราโชวาทของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราชทีพระราชทานไว้วา่ “การศึกษาเป็ นปั จจัยใน
การสร้างและพัฒนาความรู ้ความคิดความประพฤติและคุณธรรมของบุคคล สังคมและบ้านเมืองใด
ให้การศึกษาทีดีแก่เยาวชนได้ครบถ้วนพอเหมาะกันทุก ๆ ด้าน สังคมและบ้านเมืองนันก็จะมีพลเมือง
ทีมีคุณภาพ ซึ งสามารถธํารงรักษาความเจริ ญมันคงของประเทศชาติไว้ได้และพัฒนาก้าวหน้าได้
ต่อไปตลอด” (อุม้ บุญ สิ งห์อศั วิน, 2542, หน้า 65)
การศึ กษาเป็ นเครื องมื อสําหรั บการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ครู ในฐานะเป็ นผูน้ าํ ทาง
การศึกษา มีหน้าทีในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศให้เป็ นทรัพยากรที มีคุณค่าตามทีสังคม
ต้องการและอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข ความเจริ ญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีปัจจุบนั ทําให้สังคมไทย
เปลียนแปลง มีการแข็งขันและพัฒนาตนเองอยูต่ ลอดเวลา เพือให้มีความรู ้เท่าเทียมหรื อเหนือกว่า
คนอื น การศึกษาจึ งเป็ นสิ งสําคัญในการพัฒนาตนเองเพื อให้มีศกั ยภาพสู ง ขึ น ให้สอดคล้องกับ
สภาพสังคมทีเปลียนแปลง ดังนัน การปฏิรูปการศึกษา โดยเฉพาะปฏิรูปโรงเรี ยนและสถานศึกษา
ปฏิ รูปครู และบุคลากรทางการศึกษา ปฏิ รูปหลักสู ตรและกระบวนการเรี ยนการสอน ปฏิ รูป
การบริ หารการศึ กษา เพื อให้ทรั พยากรมนุ ษย์ได้มีการพัฒนาความรู ้ ความสามารถให้ทนั กับ
การเปลียนแปลงของสังคม บุคคลทีสาํ คัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์คือ ครู ทีให้ความรู ้และอบรม
สังสอนให้ศิษย์เป็ นคนดี ครู จึงเป็ นที คาดหวังของสังคมว่า ครู ตอ้ งมี บทบาทหน้าที สาํ คัญและ
มีคุณลักษณะทีพึงประสงค์เพือเป็ นแบบอย่างและเป็ นกลไกลสําคัญในการพัฒนาประเทศและ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติให้มีความเจริ ญก้าวหน้าทัดเทียมอารยประเทศ ทังด้านคุณธรรม
ความรู ้และความสามารถต่าง ๆ จากสภาพสังคมที เปลียนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว ครู จึงมีบทบาทสําคัญ
มากยิงขึน ต้องจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพความเป็ นจริ งโดยเน้นผูเ้ รี ยน
เป็ นสําคัญ ต้องสอนให้นกั เรี ยนรู ้จกั คิดและปฏิบตั ิอย่างมีระบบและเป็ นระเบียบสามารถแก้ปัญหา
ได้ยา่ งฉลาดรอบครอบอยูใ่ นสังคมได้อย่างมีความสุ ข (ผกา สัตยธรรม, 2550, หน้า 192)
2

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 และทีแก้ไขเพิมเติม ฉบับที 2 พ.ศ. 2545


ได้บญั ญัติให้การศึกษาเป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้ เพื อความเจริ ญงอกงามของบุคคลและสังคมด้วย
การถ่ายทอดความรู ้ การฝึ กอบรม การสื บสานภูมิปัญญาวัฒนธรรม การสร้างสรรค์ความก้าวหน้าทาง
วิชาการ การสร้างองค์ความรู ้ อันเกิดจากสภาพแวดล้อมทางสังคมแห่งการเรี ยนรู ้และปั จจัยเกื อหนุน
ให้บุคคลเกิดการเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื องตลอดชีวิต การจัดการศึกษามุ่งเน้นความสําคัญทังด้านความรู ้
ความคิด ความสามารถ คุณธรรม จริ ยธรรม กระบวนการเรี ยนรู ้ และความรับผิดชอบต่อสังคม
เพือพัฒนาคนให้มีความสมดุลโดยยึดหลักผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญ ทุกคนมีความรู ้ความสามารถเรี ยนรู ้
และพัฒนาตนเองได้ ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีความสามรถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ
หน้าทีของครู ไม่ได้เป็ นผูส้ อนเท่านัน ยังมีหน้าทีพิเศษอืน ๆ ตามทีได้รับมอบหมายจาก
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา เช่น เป็ นครู แนะแนว ครู อนามัยโรงเรี ยน และทําหน้าที ครู ทีปรึ กษาดูแลนักเรี ยน
คอยชี แนะทังเรื องการเรี ยนและเรื องส่ วนตัวเพือให้นักเรี ยนมีความพร้ อมทังทางด้านร่ างกาย
สติปัญญา อารมณ์ และสังคม ดังนัน เพือช่วยให้นกั เรี ยนมีความพร้อมในด้านต่าง ๆ ทีกล่าวไปแล้ว
ข้างต้น ครู จึงต้องมีจิตสํานึกของความเป็ นครู มีความปรารถนาช่วยเหลือศิษย์ให้เป็ นคนดี ตามเป้ าหมาย
ของการศึกษา จากสภาพสังคมทีเปลียนแปลงไปอย่างรวดเร็ วและการปฏิรูปการศึกษาในปั จจุบนั
ครู จึงมี เป็ นบุ คคลสําคัญบุคคลหนึ งซึ งมี อิทธิ พลต่อเด็กโดยเด็กมักจะยึดครู เป็ นตัวแบบ ดังนัน
ครู จะต้องมีความเป็ นกันเอง ให้ความรัก ความเอาใจใส่ เมตตากรุ ณาแก่เด็ก สามารถสร้างบรรยากาศ
ในห้องเรี ยนให้น่าเรี ยน โดยใช้แรงจูงใจการเสริ มแรงที เหมาะสม มี อุปกรณ์ การสอนที ดึงดู ด
ความสนใจ นอกจากนี ครู ยงั ต้องส่ งเสริ มให้เด็กได้แสดงความสามารถ โดยการจัดกิ จกรรม
ในห้องเรี ยนได้ (ลักขณา สิ ริวฒั น์, 2543, หน้า 33)
นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายซึ งอยู่ในช่ วงอายุ 15 - 18 ปี นักจิ ตวิทยาเรี ยกว่า
เป็ นวัยรุ่ น เป็ นหัวเลี ยวหัวต่อของชี วิต เพราะเป็ นช่ วงที เปลี ยนจากเด็กมาเป็ นผูใ้ หญ่ เป็ นวัยของ
ความสับสนวุน่ วาย มีการเปลียนแปลงทางด้านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม สติปัญญา วัยรุ่ นมักจะ
แสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ทําร้ายบุคคลอืน ทะเลาะวิวาท ทําลายสิ งของ หนีโรงเรี ยน โดยการขีดเขียน
โต๊ะเรี ยน ฝาผนัง ไม่สนใจการเรี ยน และพฤติกรรมทีมีแนวโน้มทางรักร่ วมเพศ (ลักขณา สิ ริรัตน์,
2543, หน้า 116-119) พฤติกรรมเหล่านีมกั เกิดขึนในสถานศึกษา ครู จึงมีความจําเป็ นทีจะต้องศึกษา
นักเรี ยนแต่ละคนให้ถ่องแท้ เพราะความแตกต่างกันของนักเรี ยนแต่ละคนย่อมมีผลกระทบกระเทือน
ถึงการศึกษาเล่าเรี ยนของนักเรี ยน และต้องการการปฏิบตั ิจากครู แตกต่างกัน การศึกษานักเรี ยน
แต่ละคนจะช่วยให้ครู ทราบถึงปั ญหาและความต้องการของนักเรี ยน ทําให้ครู สามารถให้การช่วยเหลือ
ได้อย่างถูกต้อง ทังยังจะช่วยนักเรี ยนเกิดความเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ ยอมรับความจริ งเกียวกับ
ตนเองและรู ้จกั ปรับปรุ งตนเองให้มีความเจริ ญก้าวหน้าการศึกษา พฤติกรรมของนักเรี ยนเป็ นวิธีที
3

จะช่วยให้ครู ได้รู้จกั และเข้าใจนักเรี ยนของตนได้ตรงทีสุด ครู มีความจําเป็ นทีจะต้องศึกษาพฤติกรรม


ของนักเรี ยนทังที เกิ ดขึนแล้วในอดี ต ที กาํ ลังเกิ ดขึนในปั จจุ บนั และที อาจจะเกิ ดขึ นในอนาคต
การทีครู ทราบพฤติกรรมทีผา่ นมาของนักเรี ยนจะช่วยให้ครู สามารถคาดการณ์หรื อทํานายพฤติกรรม
ของนักเรี ยนที จะเกิ ดขึนในอนาคตได้ใกล้เคี ยงความเป็ นจริ งมากที สุด
(นิภาพรรณ์ นิ วรณ์, 2549, หน้า 3)
การให้คาํ ปรึ กษา คือ บทบาทหน้าทีและกระบวนการหนึ งทีครู ประจําชันและครู ทีปรึ กษา
จะสามารถช่วยเหลือผูเ้ รี ยนให้สามารถรู ้จกั เข้าใจยอมรับตนเอง มองเห็นปั ญหาของตัวเอง สามารถ
ตัดสิ นใจแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพด้วยตนเอง สามารถวางแผนการในอนาคตของตนเอง
ได้อย่างเหมาะสม การให้คาํ ปรึ กษาแบ่งเป็ น 2 ประเภท คื อ การให้คาํ ปรึ กษาเป็ นรายบุคคล
เป็ นกระบวนการช่วยเหลือโดยการพบปะเป็ นการส่ วนตัวระหว่างผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษากับผูร้ ับบริ การและ
การให้คาํ ปรึ กษาเป็ นกลุ่ม คือ การให้คาํ ปรึ กษามากกว่า 1 คนในแต่ละครัง แต่ไม่ควรเป็ นกลุ่มใหญ่
เกินไป เพราะถ้าหากเป็ นกลุ่มใหญ่มากเกินไปการให้คาํ ปรึ กษาอาจไม่ท ั วถึง สําหรับเทคนิคการให้
คําปรึ กษานันควรเริ มต้นทีการให้คาํ ปรึ กษา ผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษาจะต้องสร้ างสัมพันธภาพที ดีกบั ผูร้ ับ
คําปรึ กษา เพือให้มีบรรยากาศที ดี อบอุ่น และเกิ ดความเป็ นกันเอง เมื อเริ มต้นการสนทนาไปแล้ว
สิ งทีตามมาก็คือการสร้ างสายสัมพันธ์ เพราะสิ งนี จะช่ วยให้การพูดคุ ยกันดําเนิ นไปสู่ จุดหมาย
การตังคําถามกระบวนการให้คาํ ปรึ กษานันจะต้องไม่ใช้การแนะนําแต่จะใช้การตังคําถาม เพือช่วย
ให้ผรู ้ ับคําปรึ กษาเกิดความเข้าใจตนเองดีขึน เกิดความรู ้สึกกระจ่างขึน การแนะนําในการตีความหมาย
การเงียบ และการฟัง การทําให้กระจ่างแจ้ง การสะท้อนความรู ้สึก การสอบซักถาม (กรมวิชาการ,
2535, หน้า 20 - 27)
จากการปฏิบตั ิหน้าทีในตําแหน่งครู ทีปรึ กษาชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่
กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ จากการร้ องเรี ยนจากนักเรี ยนและการสังเกตครู ที ปรึ กษาท่านอื น ๆ
พบว่า นักเรี ยนทีอยูใ่ นความรับผิดชอบมาขอคําปรึ กษาและขอความช่วยเหลือน้อยมาก ทัง ๆ ทีครู
จะมีความเมตตา มีความจริ งใจ มีความเป็ นกันเอง สุ ภาพ อ่อนโยน เอาใจใส่ นกั เรี ยนอย่างเท่าเทียมกัน
มี ความยุติธรรมต่อนัก เรี ยนทุ กคน นักเรี ยนไม่ทราบหน้าที และความสําคัญของครู ที ปรึ กษา
หรื อไม่กล้ามาขอคําปรึ กษาและขอความช่วยเหลือ จากการศึกษางานวิจยั ของ นภดล เดชวากุล (2539)
ได้ศึกษาสภาพและปั ญหาในการปฏิ บตั ิงานของอาจารย์ที ปรึ กษา ในวิทยาลัยเทคนิ คของ
กรมอาชีวศึกษา พบว่า ปั ญหาและอุปสรรคทีเกิดจากตัวนักเรี ยนมิใช่บริ การอาจารย์ทีปรึ กษา สาเหตุ
มาจากความอาย กลัว และไม่เห็ นคุ ณค่าหรื อประโยชน์ของการมี อาจารย์ที ปรึ กษา ดังที อุ มา
สุ คนธมาน, สุ มน อมรวิวฒั น์ และวัชรี ย ์ ทรัพย์มี (2540, หน้า 15 - 16) พบว่า ปั ญหาในการปฏิบตั ิ
หน้าทีเกียวกับอาจารย์ทีปรึ กษานักศึกษามักจะมาพบอาจารย์ที ปรึ กษาในระยะสุ ดท้ายของปั ญหา
4

จึงทําให้ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ทนั และจากข้อมูลหลาย ๆ ด้านของโรงเรี ยน พอสรุ ปได้วา่ นักเรี ยน


ใช้บริ การครู ทีปรึ กษาน้อยอาจเนื องมาจากนักเรี ยนยังมองถึงคุณลักษณะของครู ที ปรึ กษาไม่เด่นชัด
และไม่เห็นความสําคัญในการมาขอรับคําปรึ กษา ขาดความเชื อมันในครู ทีให้คาํ ปรึ กษา คุณลักษณะ
ของครู ทีปรึ กษานันมีความสําคัญและจําเป็ นอย่างยิง เพราะครู ทีปรึ กษาทีดีมีคุณภาพสามารถทีจะ
ช่วยให้คาํ ปรึ กษาให้นกั เรี ยนรู ้จกั และเข้าใจตนเอง เห็นคุณค่าของตนเองและผูอ้ ื น และได้แนวทาง
ในการปฏิบตั ิตนทีเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมที เปลียนแปลง
อย่างรวดเร็ ว รวมทังปั ญหาทีเกียวข้องกับตัวนักเรี ยน หลังจากทีได้สัมภาษณ์ผปู ้ กครองของนักเรี ยน
บางกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มทีมีปัญหาทังทางด้านการเรี ยนและพฤติกรรมต่าง ๆ ผลการสัมภาษณ์ทาํ ให้
ได้ทราบข้อมูลต่าง ๆ ในเรื องนักเรี ยนบางคนต้องอยูบ่ า้ นคนเดียวเนื องจากผูป้ กครองไปทํางาน
ไม่มีเวลาได้พดู คุยกับเด็ก ทําให้เด็กไม่มีทีพึงทีจะปรึ กษาเมือเกิดปั ญหา เด็กต้องเผชิ ญปั ญหา
ไม่วา่ จะเป็ นปั ญหาเชิงอารมณ์ ปั ญหาด้านความต้องการ ปั ญหาด้านการปรับตัวให้เหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อมเพือให้อยูใ่ นสังคมหรื อสภาวะแวดล้อมนัน ๆ ได้
จากปั ญหาดังกล่าว ผูว้ ิจยั เห็นว่า คุณลักษณะที พึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาเป็ นสิ งสําคัญ
ในการปฏิ บตั ิ หน้าที และเพือเป็ นการลดช่ องว่างระหว่างครู ที ปรึ กษากับนักเรี ยนจึ งมี ความสนใจ
ที จะศึกษาคุ ณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ ซึ งจะนําไปสู่ การพัฒนาการจัดการเรี ยนการสอน
ให้มีประสิ ทธิ ภาพและช่วยเหลือนักเรี ยนแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้

วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
1. เพือศึกษาคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีเป็ นจริ งตามทัศนะของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
2. เพือเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีเป็ นจริ งตามทัศนะของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ จําแนกตาม เพศ
และระดับชันของนักเรี ยน
3. เพือศึกษาคุณลักษณะทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรี ยน ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
4. เพือเปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
5. เพือเปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีเป็ นจริ งและคุณลักษณะทีพึงประสงค์ตามทัศนะของ
นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
5

ประโยชน์ ทีได้ รับจากการวิจัย


1. ทําให้ทราบถึงคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
2. ผูบ้ ริ หารสามารถนําผลวิจยั ครังนี นําไปวางแผน หาแนวทางพัฒนาปรับปรุ ง
คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา
3. ครู ทีปรึ กษาสามารถนําผลวิจยั ครังนีไปปรับปรุ ง และพัฒนาตนเองในการปฏิบตั ิ
หน้าทีให้เกิดประสิ ทธิ ภาพยิงขึน

คําถามการวิจัย
1. คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีเป็ นจริ งตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ อยูใ่ นระดับใด
2. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีเป็ นจริ งตามทัศนะของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ จําแนกตาม เพศ
และระดับของนักเรี ยนแตกต่างกันหรื อไม่
3. คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ อยูใ่ นระดับใด
4. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ จําแนกตาม เพศ
และระดับของนักเรี ยนแตกต่างกันหรื อไม่
5. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีเป็ นจริ งและคุณลักษณะทีพึงประสงค์ตามทัศนะของ
นักเรี ยน ระดับมัธยมศึ กษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ
จําแนกตาม เพศ และระดับของนักเรี ยนแตกต่างกันหรื อไม่

สมมติฐานการวิจัย
1. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีเป็ นจริ งตามทัศนะของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ ฯ จําแนกตามเพศ
และระดับของนักเรี ยน แตกต่างกัน
2. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จําแนกตามเพศ
และระดับของนักเรี ยนแตกต่างกัน
6

3. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีเป็ นจริ งและคุณลักษณะทีพึงประสงค์ตาม


ทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
จําแนกตามเพศและระดับของนักเรี ยน แตกต่างกัน

ขอบเขตของการวิจัย
การวิจยั ครังนีผวู ้ จิ ยั ได้กาํ หนดขอบเขตไว้ ดังนี
1. ขอบเขตของเนือหา การวิจยั ครังนีมุ่งศึกษาถึงคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะ
ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ
ซึ งผูว้ จิ ยั ได้นาํ ผลงานของ สําเนาว์ ขจรศิลป์ (2530, หน้า 1) และผลงานของ รวีวรรณ ชิ นะตระกูล
(2535, หน้า 64-66) เกียวกับคุณลักษณะของผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษามาสังเคราะห์ เป็ น 3 ด้าน คือ ด้านวิชาการ
ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านบริ การ
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2.1 ประชากรทีใช้ในการศึกษาวิจยั ครังนี คือ นักเรี ยนในโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่
กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2558
จํานวน 810 คน
2.2 กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจยั คือ นักเรี ยนในโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชู ปถัมภ์ฯ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรี ยนที 1 ปี การศึกษา 2558 จํานวน 261 คน
ตามตารางกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ เครจซี และมอร์ แกน (Krejcie & Morgan, 1970,
pp. 607-610) กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการสุ่ มแบบแบ่งชัน (Stratified random sampling)
3. ตัวแปรทีศึกษา
3.1 ตัวแปรต้น คือ สถานภาพของนักเรี ยน ได้แก่
3.1.1 เพศจําแนกเป็ น
3.1.1.1 ชาย
3.1.1.2 หญิง
3.1.2 ระดับชันของนักเรี ยนจําแนกเป็ น
3.1.2.1 ชันมัธยมศึกษาปี ที 4
3.1.2.2 ชันมัธยมศึกษาปี ที 5
3.1.2.3 ชันมัธยมศึกษาปี ที 6
3.2 ตัวแปรตาม คือ คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา ได้แก่
3.2.1 ด้านวิชาการ
7

3.2.2 ด้านมนุษย์สัมพันธ์
3.2.3 ด้านบริ การการให้คาํ ปรึ กษา

กรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบของการวิจยั ในการศึกษาคุณลักษณะของครู ที ปรึ กษาตามทัศนะของของนักเรี ยน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ ผูว้ ิจยั ได้แบ่ง
ออกเป็ น 3 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านมนุ ษยสัมพันธ์ และด้านบริ การ โดยศึกษาและเปรี ยบเทียบ
จําแนกตาม เพศ และระดับชันของนักเรี ยน ดังภาพที 1
ตัวแปรต้ น ตัวแปรตาม

1. เพศ คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีเป็ นจริ ง


1.1 ชาย 1. ด้านวิชาการ
1.2 หญิง 2. ด้านมนุษย์สัมพันธ์
2. ระดับชันมัธยมศึกษาตอนปลาย 3. ด้านบริ การให้คาํ ปรึ กษา
2.1 มัธยมศึกษาปี ที 4
2.2 มัธยมศึกษาปี ที 5
2.3 มัธยมศึกษาปี ที 6 คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์
1. ด้านวิชาการ
2. ด้านมนุษยสัมพันธ์
3. ด้านบริ การให้คาํ ปรึ กษา

ภาพที 1 กรอบแนวคิดในการวิจยั

นิยามศัพท์ เฉพาะ
1. ครู ทีปรึ กษา หมายถึง ครู ทีได้รับการแต่งตังจากผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่
กรงทองในพระราชูปถัมภ์ ให้ปฏิบตั ิหน้าทีในตําแหน่งครู ทีปรึ กษา โดยทําหน้าทีดูแลความประพฤติ
ให้คาํ แนะนําช่วยเหลือแก้ไขปั ญหาเกี ยวกับการเรี ยนในทางสังคม เศรษฐกิจ และส่ วนตัว ซึ งจะเป็ น
แนวทางให้นกั เรี ยนได้เลือก และตัดสิ นใจอย่างมีเหตุผล ทังในปั จจุบนั และในอนาคต ในขณะที
กําลังศึกษาอยูใ่ นโรงเรี ยน
8

2. คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา หมายถึง พฤติกรรมทีครู ทีปรึ กษาแสดงออกทาง


บุคลิกภาพ ท่าที อุปนิสัย ความประพฤติ ความรู ้ ความสามารถของครู ที เป็ นจริ งและทีพึงประสงค์
ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านบริ การ
2.1 คุณลักษณะด้านวิชาการ หมายถึง คุณลักษณะเป็ นผูร้ อบรู ้ในเรื องวิชาการด้าน
หลักสู ตรการเรี ยนการสอน ระเบียบการวัดผลประเมินผล การคิดเกรด การพ้นสภาพ เข้าใจใน
ระเบียบและข้อบังคับของสถานศึกษา การศึกษาต่อคอยติดตามข่าวสาร ข้อมูลเกี ยวกับเหตุการณ์
สภาพสังคม และเศรษฐกิจทีมีการเปลียนแปลง
2.2 คุณลักษณะด้านมนุษยสัมพันธ์ หมายถึง คุณลักษณะที สามารถปรับตัวเข้ากับ
บุคคลอืนได้ มีความสุ ภาพ อ่อนโยน คุณธรรมจริ ยธรรม จริ งใจ อารมณ์ดี มีความเมตตา น่าเชื อถือ
มีเหตุผล รับฟังความคิดเห็นของผูอ้ ื น และชอบศึกษาเกียวกับพฤติกรรมของคน
2.3 คุณลักษณะด้านบริ การ หมายถึง คุณลักษณะด้านมีนําใจ มีความเมตตากรุ ณา
พร้ อมช่ วยเหลื อและให้คาํ ปรึ กษาในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าปั ญหาส่ วนตัว ปั ญหาด้านการเงิ น ปั ญหา
ทางด้านอาชีพ พร้อมเก็บไว้เป็ นความลับ
3. นักเรี ยน หมายถึง นักเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
4. ระดับทีศึกษา หมายถึง ระดับทีนกั เรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรี ยนที 1 ในปี การศึกษา 2558 จําแนกเป็ น
4.1 ระดับมัธยมศึกษาปี ที 4 หมายถึง นักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ ทีเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ในปี การศึกษา 2558
4.2 ระดับมัธยมศึกษาปี ที 5 หมายถึง นักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ ทีเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 5 ในปี การศึกษา 2558
4.3 ระดับมัธยมศึกษาปี ที 6 หมายถึง นักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ ทีเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 6 ในปี การศึกษา 2558
9

บทที 2
เอกสารและงานวิจยั ทีเกียวข้ อง

จากการศึกษาวิจยั เรื อง คุ ณลักษณะของครู ที ปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนโรงเรี ยน


มัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ ผูว้ จิ ยั ได้ศึกษาค้นคว้าและรวบรวมหนังสื อ เอกสาร ทฤษฎี
หลักการทีเกียวข้อง รวมทังรายงานให้เกิดความรู ้ ความเข้าใจ ขอเสนอรายละเอียดดังต่อไปนี
1. สภาพทัวไปของโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์
2. หลักการแนวคิดของครู ทีปรึ กษา
3. คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา
4. ตัวแปรทีเกียวข้องกับการวิจยั
5. งานวิจยั ทีเกียวข้อง

สภาพทัวไปของโรงเรียนมัธยมวัดใหม่ กรงทองในพระราชู ปถัมภ์


โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ ก่อตังเมื อวันที 14 พฤษภาคม
พ.ศ. 2498 โดยพระวิสุทธิ ธรรมาจารย์ (หลวงพ่อทรั พย์) เจ้าอาวาสวัดใหม่กรงทอง ร่ วมกับ
พระครู ศรี มหาโพธิ คณารักษ์ เจ้าคณะอําเภอศรี มหาโพธิ ร่ วมกันก่อตัง บนเนือที 15 ไร่ เปิ ดสอน
ครังแรก ม.1 - ม.3 มีนกั เรี ยน 79 คน ครู 3 คน ปี พ.ศ. 2503 ได้รับรองวิทยฐานะจากกระทรวง
ศึกษาธิ การ ปี พ.ศ. 2510 - 2515 ขยายชันเรี ยนจากระดับอนุบาล ถึงมัธยมศึกษาปี ที 3 ปี พ.ศ. 2524
ขยายชันเรี ยนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย มีการเปลี ยนแปลงผูบ้ ริ หารครังที 4 ปี พ.ศ. 2530 ปรับปรุ ง
อาคารสถานที สื ออุ ปกรณ์ ห้องประกอบการสิ งแวดล้อม ขยายพืนที เพิม 10 ไร่ ปั จจุ บนั มี
อาคารเรี ยน 5 หลัง อาคารประกอบการ 2 หลัง นักเรี ยน 4,678 คน คณะครู 183 คน เปิ ดสอน
ตังแต่ระดับปฐมวัยจนถึงการศึกษาขันพืนฐาน (ม.6) แบบสงเคราะห์ (เรี ยนฟรี )
ปรัชญาของโรงเรียน
“สุ วชิ าโน ภวํ โหติ ผูร้ ู ้ดี เป็ นผูเ้ จริ ญ”
อุดมการณ์ ของโรงเรี ยน
“จริ งใจ เสี ยสละ สามัคคี มีความรับผิดชอบงาน”
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรี ยน
“แต่งกายดี มีวนิ ยั ใฝ่ รู ้ มุ่งสู่ คุณธรรม”
10

คุณธรรมอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน
“ขยัน ซื อสัตย์ ประหยัด อดทน และกตัญ ู”
วิสัยทัศน์ โรงเรียน
“มุ่งพัฒนานักเรี ยนให้มีความเป็ นเลิศด้านวิชาการ มีคุณธรรม จริ ยธรรม รับผิดชอบ
มีระเบียบวินยั และมีพลานามัยดี รักษ์สิงแวดล้อมและสามารถดํารงชีวิตอยูใ่ นสังคมอย่างสงบสุ ข”
เป้าหมายของการพัฒนาโรงเรียน
1. ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ควบคู่คุณธรรม มีความก้าวหน้าเต็มตามศักยภาพทางร่ างกาย จิตใจ
อารมณ์ สังคมและสติปัญญา มีผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยน มีภาพลักษณ์ตามคุณลักษณ์ทีพึงประสงค์
2. ครู ผสู ้ อนมีการพัฒนาตนเอง มีความรู ้ความสามารถ มีคุณธรรม จริ ยธรรม
มีจรรยาบรรณในวิชาชีพครู ยึดมันในอุดมการณ์โรงเรี ยนและมาตรฐานวิชาชีพ เป็ นผูน้ าํ เสี ยสละ
ทุ่มเท อุทิศตนรับผิดชอบ และมีคุณภาพ
3. ระบบบริ หารการจัดการ เน้นการมีส่วนร่ วม ยึดโรงเรี ยนเป็ นฐาน โปร่ งใส
มีประสิ ทธิ ภาพ ประหยัด มีการประสานงาน เป็ นประชาธิ ปไตยตามแบบวิถีพุทธ ผูบ้ ริ หารมีภาวะ
ผูน้ าํ วิสัยทัศน์กว้างไกล มีความรู ้และความสามารถ
4. ทรัพยากรเพือการเรี ยนการสอน อาคารสถานที สิ งแวดล้อม มีมาตรฐานเน้น
เอกลักษณ์ สะอาด ร่ มรื น เป็ นระเบียบ สวยงาม มีบรรยากาศทางการศึกษา สื อ - อุปกรณ์ นวัตกรรม
และเทคโนโลยี ได้รับการพัฒนาเหมาะสมพอเพียง เอื อต่อการเรี ยนการสอนและทันสมัย
5. กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน เน้นด้านศาสนา กีฬา ดนตรี นาฏศิลป์ ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปัญญา และกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กบั ชุมชน
โครงสร้ างหลักสู ตร
โรงเรี ยนจัดการเรี ยนการสอนตามหลักสู ตรกระทรวงศึกษาธิ การหลักสู ตรการศึกษา
ขันพืนฐาน ปี พุทธศักราช 2551 มี 2 หลักสู ตร
1. หลักสู ตรปฐมวัยโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง พฤศจิกายน พ.ศ. 2546
2. หลักสู ตรโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองฯ ตามหลักสู ตรการศึกษาขันพืนฐาน
พุทธศักราช 2551 (เริ มใช้ พ.ศ. 2553)
หลักสู ตรปฐมวัย อายุ 3 - 5 ปี แบ่งเป็ น 3 ระดับ คือ อนุ บาล 1 อนุบาล 2 และอนุบาล 3
เน้นการพัฒนาการด้านร่ างกาย อารมณ์ จิ ตใจ สังคม และสติ ปัญญา ไม่จดั เป็ นรายวิชา
เน้นการบูรณาการผ่านการเล่นในแต่ละวันด้วยกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม คือ กิจกรรมเคลือนไหว
กิจกรรมเสริ มประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้งและเกมการศึกษา
ตังแต่เวลา 08.00 - 15.30 น.
11

ผลการพัฒนาในปี ทีผ่านมา
ผลสํ าเร็จของสถานศึกษา
จุดเด่ น
1. โรงเรี ยนมีความพร้อมด้านปั จจัยอาคาร สถานที บุคลากร สื อ - เทคโนโลยีในด้าน
ความสัมพันธ์ชุมชน และการพัฒนาคุ ณภาพผูเ้ รี ยนให้เป็ นไปตามมาตรฐานการศึกษาแห่ งชาติ
มาตรฐานการศึกษาขันพืนฐาน และมาตรฐานเพือการประเมินคุ ณภาพภายนอก สอดคล้องกับ
รู ปแบบการบริ หารจัดการโรงเรี ยนตามแนวทางโรงเรี ยนวิถีพุทธ
2. นักเรี ยนแต่งกายดี มีระเบียบวินยั สัมมาคารวะ มีนําใจ มีความสามารถด้านวิชาการ
ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลปะ และกี ฬา มีผลการทดสอบวิชาการกลุ่มโรงเรี ยนการกุศลของวัดใน
พระพุทธศาสนาเป็ นอันดับที 1 ทุกปี (ระดับประเทศ) สมาคมการศึกษาจังหวัดปราจีนบุรี
เป็ นอันดับที 1 ของสมาคม (ระดับจังหวัด) มีผลสัมฤทธิทางการเรี ยนนักเรี ยน ป.3 และ ม.3 สู งกว่า
ระดับเขตพืนทีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาปี ที 6 สู งกว่าระดับประเทศ สถิตินกั เรี ยนสมัครสอบ
ธรรมศึกษาเพิมสู งขึนในระยะ 5 ปี
ปี พ.ศ. 2554 สมัครสอบธรรมศึกษาตรี 337 คน สอบได้ 222 คน (ร้ อยละ 65.87)
ธรรมศึกษาโท สมัครสอบ 146 คน สอบได้ 28 คน (ร้อยละ19.17) ธรรมศึกษาเอก สมัครสอบ
68 คน สอบได้ 68 คน (ร้อยละ 100) ปี พ.ศ. 2549 สมัครสอบธรรมศึกษาตรี 652 คน สอบได้
519 คน (ร้อยละ 79.60) ธรรมศึกษาโท สมัครสอบ 818 คน สอบได้ 638 คน (ร้อยละ 77.99)
ธรรมศึกษาเอก สมัครสอบ 201 คน สอบได้ 157 คน (ร้อยละ 78.10)
3. กระทรวงวัฒนธรรมประกาศยกย่องเป็ นโรงเรี ยนส่ งเสริ มพระพุทธศาสนาดีเด่น
ประจําปี พ.ศ. 2549 เข้ารับรางวัลเสาเสมาธรรมจักรจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ
สยามบรมราชกุมารี เนื องในวันวิสาขบูชา
สํานักพระพุทธศาสนาแห่ งชาติ ประกาศให้เป็ นโรงเรี ยนวิถีพุทธดีเด่น สํานักงานเลขาธิ การ
สภาการศึกษาแห่ งชาติ กระทรวงศึกษาธิ การ ประกาศยกย่องให้เป็ นโรงเรี ยนการกุศลของวัด
ในพระพุทธศาสนาดีเด่น ปี พ.ศ. 2547
กระทรวงสาธารณาสุ ข ประกาศให้เป็ นโรงเรี ยนส่ งเสริ มสุ ขภาพดีเด่น ระดับเหรี ยญทอง
พัฒนา ปี พ.ศ. 2549
จุดควรพัฒนา
1. ด้านผูเ้ รี ยน ควรได้รับการเพิมประสิ ทธิ ภาพด้านผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนให้อยูใ่ น
ระดับใกล้เคียงกับโรงเรี ยนขนาดใหญ่ระดับจังหวัด หรื อกลุ่มสังกัด ส่ งเสริ มการรักการอ่านและ
การค้นคว้า การพัฒนาการคิดวิเคราะห์ ปลูกฝังเรื องการประหยัดควบคู่เศรษฐกิจพอเพียงและเพิม
12

สื อการเรี ยนทีทนั สมัย เช่น คอมพิวเตอร์ ประจําห้องเรี ยน โปรเจคเตอร์ และไวท์บอร์ ดทุกห้องเรี ยน


เพือสุ ขภาพอนามัยทีดีของผูเ้ รี ยน
2. ด้านครู ผสู ้ อน ควรได้รับการเพิมประสิ ทธิ ภาพด้านกระบวนการสรรหาครู ทีมีความรู ้
ความสามารถ เป็ นผูน้ าํ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ เพิ มประสิ ทธิ ภาพกระบวนการนิเทศภายใน
การแลกเปลี ยนเรี ยนรู ้ ควรได้รับการพัฒนาด้านการศึกษาดูงานทังภายในและต่างประเทศ
ตามความเหมาะสมเพือเพิมวิสัยทัศน์ ได้รับการส่ งเสริ มด้านทุนการศึกษาต่อในระดับปริ ญญาโทของ
ครู ในสาขาทีขาดแคลน การพัฒนาตนเองด้านการใช้เทคโนโลยีกบั การพัฒนาการเรี ยนการสอน
อาทิ มีกองทุนกูย้ มื ซื อโน้ตบุ๊คผ่อนรายเดือนให้แก่ครู โครงการอบรมสื อเทคโนโลยีเพือการศึกษา
โครงการเรี ยนภาษาอังกฤษและภาษาจีนของครู ได้รับการเอาใจใส่ จากผูบ้ ริ หารเรื องการปลูกฝัง
การเคารพวัฒนธรรมขององค์กร การใช้ชีวิตอย่างพอเพียงตามแนวปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง
และโรงเรี ยนวิถีพุทธ ได้รับการพัฒนาด้านขวัญและกําลังใจในการทํางานและความมั นคงของชีวิต
อาทิ มีกองทุ นวิทยฐานะสําหรั บครู กองทุ นสวัสดิ การค่ารักษาพยาบาล กองทุ นการศึกษาบุ ตร
และโบนัสในการทํางานสิ นปี
3. ด้านผูบ้ ริ หาร ควรได้รับการพัฒนาระบบการเงินของโรงเรี ยน การมีส่วนร่ วมของ
ผูป้ กครองและชุ มชนในการส่ งเสริ มการจัดการศึ กษา หาแนวทางลดค่าใช้จ่ายของโรงเรี ยนใน
ส่ วนทีไม่จาํ เป็ นเร่ งด่วน การจ่ายเงินให้เป็ นไปตามแผน ยึดหลักโปร่ งใส ประหยัด มีประสิ ทธิ ภาพ
พอเพียง เหมาะสม และการพัฒนากองทุนส่ งเสริ มขวัญและกําลังใจให้แก่บุคลากร และกองทุน
ส่ งเสริ มกิจกรรมนักเรี ยน ควรได้รับการพัฒนาด้านบุคลากรในด้านการเพิมประสิ ทธิ ภาพการทํางาน
ของบุคลากร การสรรหาบุคลากรเข้าใหม่ทีมีความรู ้ มีความสามารถ การสร้างวัฒนธรรมขององค์กร
การสร้างวิสัยทัศน์ของหัวหน้างาน การส่ งเสริ มขวัญและกําลังใจ มีกองทุนเสริ มสร้างขวัญ และ
กําลังใจ การเป็ นผูบ้ ริ หารแบบวิถีพุทธ แบบธรรมาภิบาล ผูน้ าํ การเปลียนแปลงแบบพ่อปกครองลูก
แบบครู กบั ลูกศิษย์ ยึดโรงเรี ยนเป็ นฐานและนักเรี ยนเป็ นสําคัญ
แนวทางการพัฒนาในอนาคต
ยึดหลักการพัฒนาโรงเรี ยนตามแนวทางโรงเรี ยนวิถีพุทธ กําหนดมาตรฐานโรงเรี ยน
ตามหลัก “จักร 4” เป็ นจรรยายบรรณดุจล้อรถ ซึ งนําชีวติ ไปสู่ ความก้าวหน้าด้วย
1. ปฏิรูปเทสวาสะ เบืองต้นได้อาศัยเลียงชีพในสถานทีดี มีสิงแวดล้อมเหมาะสม
2. สัปปุริสูปัสสยะ เลือกผูกไมตรี ใกล้ชิดกับอารยชนคนมีวฒั นธรรม และรู ้ดี
ปฏิบตั ิชอบ
3. อัตตสัมมาปณิ ธิ ได้เรี ยนรู ้และเห็นตัวอย่างทีดี แล้วปรับปรุ งตัวให้ชอบด้วยศีลธรรม
4. ปุพเพกตปุญญตา อาศัยพืนอุปนิสัยทีเคยอบรมไว้ พยุงจิตให้โน้มเอียงแต่สุจริ ต
และสัมมาชีพ
13

ด้านปั จจัยพืนฐาน เร่ งพัฒนาอาคารเรี ยนให้มีมาตรฐาน มั นคง แข็งแรง สวยงาม


มีเอกลักษณ์ เหมาะสม พอเพียง มีอาคารเรี ยน อาคารประกอบการด้านวิชาการ ด้านกิ จกรรม
กีฬา ดนตรี ศิลปะ นาฏศิลป์ และทีพกั ผ่อนหย่อนใจ
พัฒนาสถานที ขยายพืนทีเพิมเติม แบ่งเขตสําหรับการเรี ยนการสอน เขตพื นทีจดั
กิจกรรม เขตพืนทีบริ การ เช่น สถานทีจอดรถรับ - ส่ งนักเรี ยน เขตพืนทีส่งเสริ มเศรษฐกิจพอเพียง
อย่างเป็ นสัดส่ วน เหมาะสม พอเพียง
พัฒนาสิ งแวดล้อม เน้นสวนป่ าพุทธศาสน์หน้าโรงเรี ยน สวนสมุนไพร แหล่งเรี ยนรู ้
ภายในสถานศึกษา เน้นความสะอาด ความเป็ นระเบี ยบ ร่ มรื น สวยงาม มีบรรยากาศทางการศึกษา
ปรับปรุ งสื อ-อุปกรณ์ เทคโนโลยีทางการศึกษาให้ทนั สมัย เหมาะสม และเอือต่อการเรี ยนการสอน
และการแสวงหาความรู ้ดว้ ยตนเอง
ด้านระบบบริ หารจัดการ บริ หารงานในรู ปแบบนิติบุคคล แบบธรรมาภิบาล
เป็ นประชาธิ ปไตยภายใต้วถิ ี พุทธ มีการกระจายอํานาจการทํางาน การทํางานเป็ นระบบและเป็ นทีม
โรงเรี ยนได้รับการยอมรับและยกย่องจากหน่วยงานต่าง ๆ ทังภาครัฐ เอกชน และชุมชน ผูบ้ ริ หาร
มีภาวะผูน้ าํ เป็ นผูน้ าํ การเปลี ยนแปลงและพัฒนาโรงเรี ยนให้เป็ นโรงเรี ยนของชุมชน
ด้านครู ผสู ้ อน ได้รับการพัฒนาด้านประสิ ทธิ ภาพการทํางาน การเคารพวัฒนธรรมใน
องค์กร ได้รับการส่ งเสริ มการพัฒนาตนเองเกี ยวกับการอบรม ประชุ ม สัมมนา ศึกษาดูงาน
แลกเปลียนเรี ยนรู ้ โอกาสในการศึกษาต่อ การพัฒนาด้านขวัญและกําลังใจในการทํางาน มีกองทุน
ส่ งเสริ มและพัฒนาครู ของโรงเรี ยน
ด้านผูเ้ รี ยน เร่ งพัฒนาการเพิมประสิ ทธิ ภาพด้านวิชาการ ส่ งเสริ มความสามารถด้าน
วิชาการ การมีทกั ษะจําเป็ นตามหลักสู ตร และทักษะการทํางาน มีระบบดูแลนักเรี ยนด้านวิชาการ
พัฒนาด้านคุ ณธรรม จริ ยธรรม เน้นกิ จกรรมส่ งเสริ มด้านพระพุทธศาสนา กิ จกรรม
พัฒนาด้านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ส่ งเสริ มกิ จกรรมกีฬา ดนตรี ศิลปะ
นาฏศิลป์ ปลูกฝังเจตคติความเป็ นไทยด้วยกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมประเพณี และภูมิปัญญา
ท้องถิน
พัฒนาผูเ้ รี ยนตามแนวทางปรัชญาของโรงเรี ยน คือ สุ วชิ าโน ภวํ โหติ ผูร้ ู ้ดีเป็ นผูเ้ จริ ญ
ตามคุ ณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรี ยน และคุ ณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนด้วย
อุดมการณ์ของโรงเรี ยน
14

หลักการแนวคิดของครู ทีปรึกษา
ประวัติความเป็ นมาของครู ทีปรึ กษา ฮอพสคินส์ (Hopskins, 1929, p. 25 อ้างถึงใน
ธงชัย วงศ์เสนา, 2537, หน้า 8 - 9) กล่าวไว้วา่ ในสหรัฐอเมริ กา ระหว่างปี ค.ศ. 1640 - 1860
นักการศึกษาได้คาํ นึงถึงสภาพความเป็ นอยู่ ระเบียบวินยั และสวัสดิการทัวไปของนักศึกษาว่า
มีความสําคัญเท่ากับสภาพการเรี ยนการสอนในห้องเรี ยน จึ งได้เริ มมีการจัดบริ การนักเรี ยนนักศึกษา
โดยมีการกําหนดขอบเขตของงานบริ การนักเรี ยน นักศึกษาขึ น มีการให้คาํ ปรึ กษาในโปรแกรม
การแนะแนว และรวบรวมข้อมูลส่ วนตัวของนักเรี ยน นัก ศึกษา เพือสะดวกในการให้การติดต่อ
บริ การเกียวกับปั ญหาเล็กน้อยในด้านการศึกษา ช่วยให้นกั เรี ยน นักศึกษาสามารถตัดสิ นใจแก้ปัญหา
ด้วยตนเอง และช่วยเหลือนักศึกษาในด้านการประกอบอาชีพ งานทีครู ทีปรึ กษาได้ปฏิบตั ิกนั มาตังแต่
ปี ค.ศ. 1910 โดยเฉพาะทีมหาวิทยาลัยคาร์ ทบัท ได้มีการก่อตังกลุ่มครู ทีปรึ กษาขึน กลุ่มครู ทีปรึ กษานี
ได้ทาํ หน้าทีดูแลนักเรี ยน นักศึกษาในความรับผิดชอบของตนในการดําเนิ นชีวติ และการศึกษา
สนใจและเข้าใจในอุดมคติของนักเรี ยน นักศึกษา โดยที ครู ทีปรึ กษาและนักเรี ยน ได้มีความสัมพันธ์
กันเหมือนกับเป็ นเพือนสนิท และเป็ นทีไว้วางใจของนักเรี ยน นักศึกษาพบปะพูดคุยกันอย่าง
สมําเสมอ
สถาบันการศึกษาหลายแห่ง ได้จดั ให้มีการบริ การให้คาํ ปรึ กษากับนักศึกษาขึนอย่างเป็ น
ทางการ แต่ก็ไม่ประสบความสําเร็ จเท่าทีควร เพราะสถาบันการศึกษาส่ วนใหญ่มีครู ทางวิชาการ
แต่งานทีปรึ กษาจะต้องอาศัยทางด้านจิตวิทยา จึงไม่สามารถช่วยให้งานที ปรึ กษาเป็ นไปอย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพ ครู ทีปรึ กษาจะต้องเป็ นผูท้ ีสนใจให้ความอบอุ่นและเป็ นกันเองกับนักศึกษา นอกจากนี
จะต้องเป็ นผูม้ ีความรู ้เกียวกับรายละเอียดของหมวดวิชา และแผนการเรี ยนแต่ละสาขาวิชา จํานวน
หน่วยกิตทีนกั ศึกษาจะต้องเรี ยนให้ครบ นอกจากนี ครู ทีปรึ กษายังทําหน้าทีสอน การหาข้อมูล
นักศึกษา และการเข้าใจถึงข้อเท็จจริ งในความเป็ นอยูข่ องนักศึกษา ด้านการเงิน สุ ขภาพ นิสัยและ
ทัศนคติของนักศึกษาเป็ นอย่างดี ครู ทีปรึ กษาไม่ใช่มีหน้าทีแก้ปัญหาโดยให้คาํ ปรึ กษาเท่านัน
ต้องช่วยให้นกั ศึกษา เข้าใจถึงปั ญหา ข้อเท็จจริ ง โดยเป็ นการแลกเปลียนความคิดเห็นซึ งกันและกัน
ไม่ใช่การบอกคําตอบในการแก้ปัญหา แต่เป็ นการนําพานักศึกษาไปในทิศทางที เหมาะสม เพือให้
นักศึกษาสําเร็ จการศึกษาด้วยดี เมือสถาบันการศึกษาเห็นว่าการจัดการให้คาํ แนะนําไม่ประสบ
ความสําเร็ จ ดังนัน ในศตวรรษที 19 จึงได้เริ มเปลียนรู ปแบบจากความสัมพันธ์แบบเคร่ งครัด
ไม่เป็ นกันเองกลายมาเป็ นให้ความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด และอบอุ่นเป็ นกันเองกับนักศึกษา
มีการช่วยเหลือแนะนําด้านวิชาการขึนอย่างไม่เป็ นทางการ
ความหมายของครู ทีปรึ กษา ความหมายของครู ทีปรึ กษา ได้มีนกั วิชาการให้คาํ นิยามของ
ครู ทีปรึ กษาไว้ดงั นี คือ
15

กู๊ด (Good, 1994, p. 14) ได้ให้ความหมายไว้ว่า ครู ที ปรึ กษาคือครู ทีได้รับมอบหมาย


ให้คาํ ปรึ กษาและช่ วยเหลื อนักเรี ยน นักศึกษา ทางด้านวิชาการ ด้านวิช าชี พ และปั ญหาส่ วนตัว
ช่วยดูแลและอนุมตั ิการลงทะเบียนเรี ยนวิชาต่าง ๆ
มิลเลอร์ (Mueller, 1961, p. 210) ได้ให้ความหมายไว้วา่ ครู ทีปรึ กษามีหน้าทีช่วยเหลือ
นิสิตในการวางแผนการเรี ยน ให้บรรลุจุดมุ่งหมายของการศึกษา
พีฟวี (Peavy, 1995, p. 32) ได้ให้ความหมายไว้ว่า การให้คาํ ปรึ กษาเป็ นกระบวนการ
อธิ บายให้รายละเอียด เปิ ดเผย และคลี คลายให้เกิ ดความกระจ่างชัด ศึกษาประโยชน์และพัฒนา
ส่ วนทีจาํ เป็ น รวมทังการแปลความหมายปรากฏการณ์ทีเกิดขึนกับบุคคล จุดหมายของการให้คาํ ปรึ กษา
ได้แก่ การช่วยเหลือให้รู้จกั วางแผนเกี ยวกับอาชีพ ซึ งประกอบด้วย การเตรี ยมนักศึกษาให้มีทกั ษะ
มีความพร้อมสําหรับการประกอบอาชีพ งานของอาจารย์ที ปรึ กษา ประกอบด้วย การให้คาํ ปรึ กษา
เป็ นรายบุคคลและรายกลุ่ม ให้ความรู ้ในการจัดกิจกรรม ประสานงานกับสถาบันและสถานประกอบการ
ประเมิ นผลงาน และให้ความร่ วมมื อในการวางแผนการเรี ยน ช่ วยในการตีความหมายของ
ประสบการณ์ และให้ขอ้ มูลย้อนกลับแก่นกั ศึกษา เพื อให้เกิดการพัฒนาตามศักยภาพ
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (2543, หน้า 3) ให้ความหมายของอาจารย์ทีปรึ กษา หมายถึง
อาจารย์ประจําในคณะหรื อวิทยาเขต ซึ งคณบดีหรื อผูอ้ าํ นวยการแต่งตัง และมอบหมายให้ทาํ หน้าที
แนะนําปรึ กษาด้านการศึกษา ตักเตือน และดูแลความประพฤติ ตลอดจนรับผิดชอบในการลงทะเบียน
รายวิชาต่าง ๆ และติดตามผลการศึกษาของนักเรี ยนนักศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย (2552, หน้า 1) ให้ความหมายของ อาจารย์ทีปรึ กษา คือ บุคคลที
สถาบันอุดมศึกษา แต่งตังขึนเพือให้คาํ แนะนําช่วยเหลือนักศึกษาในด้านต่าง ๆ เช่น ทางด้านวิชาการ
ด้านกิ จกรรม ด้านการพัฒนาบุคลิ กภาพ การปรับตัวเข้ากับสังคม การวางแผนและการเตรี ยมตัว
เพืออาชีพ
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์ (2552, หน้า 5) ให้ความหมายของ อาจารย์ทีปรึ กษา คือ อาจารย์ที
ได้รับคําสังแต่งตังให้ทาํ หน้าทีเป็ นทีปรึ กษา ดูแล และรับผิดชอบนักศึกษาทีได้รับมอบหมาย เพือให้
การช่วยเหลือและสนับสนุนให้นกั ศึกษาประสบความสําเร็ จในการศึกษา
สําเนาว์ ขจรศิลป์ (2543, หน้า 3) ให้ความหมายของการปรึ กษาว่า เป็ นกระบวนการ
ช่ วยเหลื อให้นกั ศึกษาเข้าใจตนเอง สภาพแวดล้อมและปั ญหาที เผชิ ญอยูส่ ามารถใช้ความเข้าใจ
ดังกล่าวมาแก้ปัญหาหรื อตัดสิ นใจเลื อกเป้ าหมายในการดําเนิ นชี วิตที เหมาะสมกับตนเองและ
การปรับตัวทีดีในอนาคต
จากความหมายของครู ทีปรึ กษาและการให้คาํ ปรึ กษาที นกั วิชาการได้กล่าวไว้ สรุ ปได้ว่า
ครู ทีปรึ กษาและการให้คาํ ปรึ กษา คือ บุคคลทีได้รับมอบหมายจากผูบ้ ริ หารสถานศึกษา เพือคอยให้
16

ความช่วยเหลื อ นักเรี ยน นักศึกษา และเป็ นผูอ้ ยูใ่ กล้ชิด นักเรี ยน นักศึกษา เป็ นที พึงทางใจ
คอยให้ความช่วยเหลือ
บทบาทหน้ าทีของครู ทีปรึกษา
บรู ม และเชลสนิ ค (Broom & Seiznick, 1969, p. 35) กล่าวว่า บทบาทเป็ นแบบแผน
พฤติกรรมทีสัมพันธ์กบั สภาพสังคม การให้คาํ ปรึ กษา เป็ นหน้าที ทีสาํ คัญอันหนึงของสถานศึกษา
ทีควรจะได้รับการเอาใจใส่ จากบุคลากรทุกฝ่ าย เพื อช่วยให้นกั ศึกษาได้ตระหนักถึงประโยชน์สูงสุ ด
ของการจัดการศึกษา ทีนกั ศึกษาพึงจะได้รับ ซึ งนอกเหนือจากความรู ้ทางวิชาการแล้ว ยังหมายรวมถึง
การได้รับความช่วยเหลือให้มีความเข้าใจตนเอง และสังคมได้ดีขึ น (Habley, 1981, p. 46 อ้างถึงใน
ธันยพร บุษปฤกษ์, 2543, หน้า 23) อาจารย์ทีปรึ กษาจึงมีความสําคัญต่อสถาบันการศึกษา
เครเมอร์ และกาเดอร์ (Kramer & Garder, 1983, p. 26) ให้ทศั นะว่า อาจารย์ที ปรึ กษา
ควรสร้างบรรยากาศทีทาํ ให้นกั ศึกษาได้มีส่วนร่ วมในกิจกรรมทีเกียวกับประสบการณ์ดา้ นการเรี ยนรู ้
ให้ปฏิ บตั ิต่อนักศึกษาเสมือนนักศึกษาเป็ นผูร้ ่ วมงาน กระบวนการให้คาํ ปรึ กษา มิใช่เป็ นผูร้ อรับ
การแนะนําเพียงอย่างเดียว ควรทําประดุจเป็ นผูจ้ ดั การในสถาบัน โดยประสานงานด้านบริ การตามที
นักศึกษาต้องการ
วิลเลียมสัน (Williamson, 1961, p. 190) เห็นว่า อาจารย์ทีปรึ กษาต้องรู ้เทคนิคการถ่ายทอด
หรื อแปลความหมายเรื องทีเกี ยวกับนักศึกษา โดยใช้การสังเกตและคํานึ งถึ งความสนใจ ฐานะ
การเงิน สุ ขภาพ นิสัย ทัศนคติของนักศึกษาด้วย
เดรสเซล (Dressel, 1974, p. 57) ยังได้กล่าวถึงบทบาทของอาจารย์ทีปรึ กษาไว้วา่ อาจารย์
ทีปรึ กษาจะต้องให้ความสนใจนักเรี ยนในความรับผิดชอบ มีความรู ้ ความสามารถในการให้คาํ ปรึ กษา
ด้านวิชาการ และสามารถให้คาํ ปรึ กษาเกี ยวกับการเลือกวิชาเรี ยน การจัดโปรแกรมการเรี ยนให้แก่
นักเรี ยนได้เป็ นอย่างดี ทังต้องเป็ นผูม้ ีความสามารถในการให้คาํ ปรึ กษาในด้านอื น ๆ ซึ งนอกเหนือ
จากด้านวิชาการ เป็ นต้นว่า ด้านปั ญหาส่ วนตัวให้แก่นกั เรี ยนได้ดว้ ย
แฮริ งตัน (Harrington, 1974, pp. 223 - 235) กล่าวถึ งบทบาทและหน้าที ของอาจารย์
ทีปรึ กษา ซึ งเป็ นทังผูแ้ นะแนวและเป็ นทังอาจารย์ ดังนี
1. บทบาทในฐานะทีเป็ นครู เมือนักศึกษาเข้ามาศึกษาในสถาบันการศึกษา มักจะ
มีปัญหาด้านวิชาการ และการปรับตัว อาจารย์มกั จะช่ วยนักเรี ยนแก้ปัญหาต่าง ๆ ในชั นเรี ยน
อยูเ่ ป็ นประจํา
2. บทบาทในฐานะผูแ้ นะแนว การแนะแนวในระดับอุดมศึกษา ส่ วนใหญ่จะเป็ น
การให้คาํ ปรึ กษาทางวิชาการ และความคับข้องใจต่าง ๆ ของนักเรี ยน
17

3. บทบาทในฐานะเป็ นอาจารย์ผหู ้ นึ งในบรรดาอาจารย์ทงั หมด อาจารย์ทีปรึ กษา


อาจได้รับ ข้อมูลต่าง ๆ เกี ยวกับพฤติ กรรมของนักเรี ยนในความรั บผิดชอบของอาจารย์ท่านอื น
และในขณะเดียวกัน ตนเองก็เป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูลของนักเรี ยนแก่อาจารย์ที ปรึ กษาท่านอืนด้วย
4. บทบาทในฐานะผูบ้ ริ หาร ผูบ้ ริ หารทีทาํ หน้าทีเป็ นอาจารย์ทีปรึ กษาด้วยนัน นอกจาก
จะทําหน้าที ดา้ นการบริ หารแล้ว ยังเป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูลต่าง ๆ พร้ อมกับเสนอข้อคิดเห็ นเกี ยวกับ
การบริ การให้คาํ ปรึ กษา ซึ งจะส่ งผลต่อการบริ หารให้ดาํ เนินไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
สมลักษณ์ พรหมมีเนตร และฉันทนา จันทร์ บรรจง (2545, หน้า 7) ได้กล่าวถึงบทบาท
ของอาจารย์ทีปรึ กษาด้านการช่วยเหลือ โดยมีแนวทางการปฏิบตั ิ ดังนี
1. ช่วยเหลือประสานงานระหว่างโรงเรี ยนและนักเรี ยน ให้ความต้องการของกันและกัน
2. ช่วยเหลือประสานงานให้โรงเรี ยนจัดบริ การต่าง ๆ ได้อย่างสอดคล้องกับ
ความต้องการของนักเรี ยน
3. ช่วยเหลือประสานงานกับครู อาจารย์อืน ๆ ในการแก้ปัญหาและพัฒนานักเรี ยน
4. ช่วยเหลือร่ วมมือ และประสานงานกับผูป้ กครองในการแก้ปัญหาและพัฒนานักเรี ยน
5. ช่วยเหลือและประสานงาน ให้หน่วยงานทังภายในและภายนอกโรงเรี ยนรับทราบ
ความต้องการให้บริ การตามความต้องการนักเรี ยน
6. ช่วยเหลือและประสานงานให้หน่วยงานทังภายในและภายนอกโรงเรี ยน
ในการช่วยเหลือ รวมทังการแก้ปัญหาแก่นกั เรี ยน
นันทนา วงษ์อินทร์ (2544, หน้า 1 - 5) กล่าวถึงบทบาทและหน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษา
ในการช่วยเหลือนักศึกษา สรุ ปได้เป็ น 4 ด้าน คือ
1. ด้านวิชาการ
เป้ าหมายของนักศึกษา ทีเข้าศึกษาในสถาบันการศึกษาก็คือ การสําเร็ จการศึกษา ภารกิจ
ของอาจารย์ทีปรึ กษา เพือให้นกั ศึกษาบรรลุเป้ าหมายนันก็คือ การให้ความช่วยเหลือด้านวิชาการ
ดังต่อไปนี
1.1 ให้คาํ ปรึ กษาในเรื องการเลือกวิชาเรี ยน และการลงทะเบียนเรี ยน อาจารย์ทีปรึ กษา
มีหน้าทีรับผิดชอบในการอธิ บายลักษณะของโครงสร้างหลักสู ตร แนะนําวิธีการเขียนใบลงทะเบียน
เรี ยนในแต่ละภาคเรี ยนให้ถูกต้อง เพือป้ องกันปั ญหาการลงทะเบียนเรี ยนไม่ครบตามโครงสร้างของ
หลักสู ตร ในการนี อาจารย์ที ปรึ กษาต้องมี ความรู ้ ในเรื องของหลักสู ตร และระเบียบวิธีการ
ลงทะเบียนเรี ยน
1.2 ติดตามผลการเรี ยนของนักศึกษา โดยเฉพาะผูท้ ี ได้เกรด F หรื อ ติด I ว่านักศึกษา
ได้ติดต่อกับอาจารย์ผสู ้ อนเพือขอสอบซ่ อม หรื อทําผลการเรี ยนให้สมบูรณ์แล้วหรื อยัง การวัดผล
18

ในระบบหน่ วยกิ ต อาจารย์ที ปรึ กษาต้องอธิ บายให้นกั ศึ กษาเข้าใจว่าทุ กวิชานั นมีความหมาย


เท่ากันหมด จะต่างกันทีจาํ นวนหน่วยกิต ดังนัน ต้องให้ความเอาใจใส่ ในการเรี ยนทุกวิชา และคํานึง
อยูเ่ สมอว่า การวัดผลย่อยในแต่ละวิชา จะมีอยูต่ ลอดภาคเรี ยน มิใช่ให้ความสําคัญเฉพาะการสอบ
ปลายภาคเท่านัน ในการนี อาจารย์ทีปรึ กษาต้องมีความรู ้ในเรื องของระเบียบวิธีการวัดผลด้วย
1.3 แนะนําวิธีการเรี ยนทีดี ซึ งจะเริ มตังแต่วธิ ี การฟังอาจารย์สอนในชันเรี ยน
การทํารายงาน และงานอื นทีอาจารย์มอบหมาย การค้นคว้านอกเวลาเรี ยน การทบทวนบทเรี ยน
การทําโน้ตย่อแต่ละวิชา การปรึ กษาอาจารย์ผสู ้ อนในบางเรื องทีไม่เข้าใจ การจัดตารางเวลาให้กบั
ตัวเองการเตรี ยมตัวสอบ ตลอดจนวิธีปฏิบตั ิตนในการเข้าสอบ และการทําข้อสอบ
1.4 ส่ งเสริ มให้นกั ศึกษามีทศั นคติทีดีต่อการเรี ยน เป็ นการกระตุน้ ให้นกั ศึกษา
เห็นความสําคัญของการเรี ยนว่าเป็ นพืนฐานของอนาคต เป็ นส่ วนทีสาํ คัญทีสุดต่อชีวิตของนักศึกษา
ในวันนี
2. ด้านการวางแผนชีวิต และการทํางาน
เมือนักศึกษาสําเร็ จการศึกษา โดยปกติแล้วจะมุ่งเน้นในการประกอบอาชีพ ดังนั น ขณะที
อาจารย์ทีปรึ กษาอยูใ่ นสถานศึกษา บทบาทหน้าที อีกประการหนึงของอาจารย์ทีปรึ กษาก็คือ การช่วย
นักศึกษาในการเตรี ยมวางแผนของชีวิต ว่าจะมุ่ง ไปในทิศทางใด ซึ งอาจทําได้ตามแนวทางต่อไปนี
2.1 ช่วยให้นกั ศึกษารู ้ถึงความถนัด ความสามารถและความสนใจของตนเองว่ามี
แนวโน้มไปในด้านใด ในเรื องนีอาจพิจารณาได้จาก วิชาเรี ยนทีนกั ศึกษาชอบ ผลการเรี ยน ผลงาน
ของนักศึกษา หรื ออาจใช้แบบทดสอบความถนัด และความสนใจ แบบสํา รวจและการพูดคุ ยกับ
นักศึกษา
2.2 ช่วยให้นกั ศึกษาได้สาํ รวจความพร้อมในด้านต่าง ๆของตน เช่น ความต้องการ
ของพ่อแม่ ทุนทรัพย์ สุ ขภาพ ช่องทางการทํางาน กิจการที ครอบครัวมีอยู่ และสิ งสนับสนุนอืน ๆ
2.3 ให้ขอ้ มูลเกียวกับแนวโน้มความต้องการของตลาดแรงงาน โอกาส และวิธีการ
เข้าสู่ งาน แก่นกั ศึกษา และข้อมูลเกี ยวกับคุณสมบัติทีพึงประสงค์ของบุคคลทีจะเข้าสู่ งาน
2.4 ให้ความรู ้และฝึ กลักษณะนิสัย ให้แก่นกั ศึกษาในด้านการปฏิบตั ิตน เพื อให้
ประสบความสําเร็ จในการดํารงชีวติ และความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ
3. ด้านการปรับตัวและพัฒนาบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพเป็ นองค์ประกอบทีสาํ คัญประการหนึ ง ทีจะทําให้บุคคลประสบความสําเร็ จ
ในการดํารงชีวติ อยูใ่ นสังคม นักศึกษาหรื อเยาวชนวัยรุ่ นส่ วนมากจะมีความกังวลใจในเรื องบุคลิกภาพ
ของตนเอง เพราะเป็ นช่ วงของวัยหัวเลี ยวหัวต่อของชี วิต ดังนันหน้าทีของอาจารย์ที ปรึ กษา
ในการช่วยเหลือนักศึกษาในด้านนี ก็คือ
19

3.1 ให้คาํ ชีแจง สังสอน อบรม แนะนํา ตักเตือน เกี ยวกับแนวทางในการประพฤติ


ปฏิบตั ิตนให้เป็ นทีพึงปรารถนาของสังคม ในการนี ควรเป็ นไปในรู ปแบบของการโน้มน้าวจิตใจ
เพือให้นกั ศึกษาเห็นด้วย เกิดศรัทธา ต้องการปรับปรุ งตนเอง พัฒนาบุคลิกภาพของตนให้เหมาะสม
และเป็ นทีพึงปรารถนาของสังคม ไม่ใช่เป็ นการข่มขู่ ดุวา่ ตักเตือน ประชดประชัน จะทําให้นกั ศึกษา
เกิดปฏิกิริยาต่อต้าน และประพฤติตนไปในทางตรงข้าม ซึ งเป็ นลักษณะชองเด็กวัยนี
3.2 ส่ งเสริ มให้นกั ศึกษาได้เข้าร่ วมกิจกรรมทีจะเกิดประโยชน์ในด้านการพัฒนา
ความสามารถของเขา ฝึ กการสร้ างมนุ ษยสัมพันธ์ การทํางานร่ วมกับผูอ้ ื น และฝึ กการปรั บตัว
ในการอยู่ร่วมกับผูอ้ ื น กิ จกรรมที จะทําให้นกั ศึ กษาเข้าร่ วมนี ตอ้ งเป็ นกิ จกรรมที สอดคล้องกับ
ความสนใจ และความต้องการของนักศึกษาตามวัยของเขา มิใช่เป็ นความต้องการของครู อาจารย์
หรื อสถาบัน มิฉะนันจะทําให้กิจกรรมทีจดั ขึนไม่บรรลุตามเป้ าหมายทีแท้จริ ง
3.3 ให้คาํ ปรึ กษาเพือช่วยนักศึกษาในการจัดการกับปั ญหาทีเกิดขึนกับเขา ทังในด้าน
ส่ วนตัวและสังคม เพราะปั ญหาที เกิ ดขึนกับนักศึกษา ทุกปั ญหานันมีผลกระทบต่อการเรี ยน
การปรับตัวและพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาทังสิ น อาจารย์ทีปรึ กษามีบทบาทหน้าที ในการให้
ความเอาใจใส่ ในทุกข์สุขของนักเรี ยน และคอยให้คาํ ปรึ กษา ซึ งในการนี อาจารย์ทีปรึ กษาควรมี
ความรู ้และทักษะในเรื องของการให้คาํ ปรึ กษา (Counseling) ขันพืนฐาน เพือจะทําให้การให้คาํ ปรึ กษา
และการช่วยเหลือนันมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึน
4. ด้านการประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ที เกียวข้องกับนักศึกษา อาจารย์ทีปรึ กษานัน
เป็ นบุคคลสําคัญในการประสานระหว่างตัวนักศึกษากับหน่ วยงานต่าง ๆ ในสถาบันที ศึกษาอยู่
ซึ งอาจารย์ทีปรึ กษาอาจทําได้ ดังนี
4.1 เป็ นผูป้ ระสานข้อมูลต่าง ๆ จากสถาบัน มายังนักศึกษา เช่น ประสานกับ
ฝ่ ายปกครองในการนําเรื องกฎระเบียบต่าง ๆ มาชี แจงให้ทราบ ทําความเข้าใจและปฏิบตั ิตาม
4.2 เป็ นผูป้ ระสานกับหน่วยงานต่าง ๆ ทังในและนอกสถาบัน เพือเป็ นการทํา
ความเข้าใจและนําประโยชน์มาสู่ นกั ศึกษาทีอยูใ่ นความดูแล
4.3 ทําการติดต่อกับผูป้ กครองเป็ นระยะ ๆ เพือให้ทราบถึงพฤติกรรมบุตรหลาน
ของเขาขณะอยูใ่ นสถานศึกษา เป็ นตัวแทนของสถาบันในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบ้าน
และสถาบันการศึกษา หากอาจารย์ที ปรึ กษาสามารถสร้ างความสัมพันธ์อนั ดี ได้ก็จะเป็ นแนวทาง
การร่ วมมือกับพัฒนานักศึกษาต่อไป
จากบทบาทหน้าทีของครู ทีปรึ กษาทีกล่าวมาแล้ว สามารถสรุ ปเป็ นหน้าทีของครู ทีปรึ กษา
ได้ดงั นี ครู ทีปรึ กษามีหน้าทีให้คาํ แนะนําให้ความช่วยเหลือนักเรี ยนในเรื องต่าง ๆ ให้ความรู ้เกียวกับ
ด้านการศึกษาและการประกอบวิชาชีพ รับผิดชอบนักเรี ยนและให้ความช่วยเหลืออย่างเต็มความสามารถ
20

มีหน้าทีอบรมสังสอนเรื องความประพฤติกิริยามารยาท สร้างความสัมพันธ์ที ดีกบั นักเรี ยนและผูอ้ ืน


ทีเกียวข้อง
จรรยาบรรณของครู ทีปรึ กษา อาชีพครู เป็ นอาชีพทีมีเกียรติและศักดิศรี เพราะเป็ นอาชี พ
ทีให้บริ การแก่สังคมโดยวิธีการแห่งปั ญญาเป็ นผูน้ าํ ความรู ้ไปอบรมสั งสอนศิษย์ให้เป็ นพลเมืองดี
ของชาติ กระทรวงศึกษาธิ การมีเป้ าหมายในการพัฒนาผูป้ ระกอบอาชีพครู อยูเ่ สมอเพือให้ครู - อาจารย์
มีความรู ้ขนั สู ง ทันกับความเจริ ญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และขณะเดียวกันยังคํานึงถึงคุ ณภาพใน
วิชาชี พครู ดว้ ย โดยมีจรรยาบรรณของอาชี พครู เป็ นแนวปฏิ บตั ิ เพื อมิให้เกิ ดความเสื อมเสี ยต่อ
วิชาชีพครู คือ
1. จรรยาบรรณครู หมายถึง ข้อกําหนดเกียวกับความประพฤติหรื อการปฏิบตั ิตนของ
ผูป้ ระกอบวิชาชีพครู เพือรักษาหรื อส่ งเสริ มเกียรติคุณ ชื อเสี ยงและฐานะของความเป็ นครู ไทย ได้มี
บัญญัติเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และกฎหมายรองรับเป็ นครั งแรก เมือ พ.ศ. 2506 โดยอาศัยอํานาจบังคับ
ของพระราชบัญญัติครู พ.ศ. 2488 ทีกาํ หนดให้คุรุสภาเป็ นสถาบันผูอ้ อกระเบียบข้อบังคับได้ เรี ยกว่า
ระเบียบประเพณี ของครู ว่าด้วยจรรยาบรรณครู 10 ข้อ และระเบียบว่าด้วยวินยั ครู 10 ข้อ จนกระทัง
ปี พ.ศ. 2539 คุรุสภาได้ปรับปรุ งข้อบังคับเกี ยวกับจรรยาบรรณของครู ขึนใหม่ โดยตัดข้อความทีมี
ลักษณะเป็ นวินยั ออกไปเหลือเพียงบทบัญญัติที มีลกั ษณะเป็ นจริ ยธรรมหรื อจรรยาบรรณ เรี ยกว่า
ระเบียบคุรุสภาว่าด้วย จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2556 มีทงั หมด 5 ด้าน 9 ข้อ ดังนี
1.1 จรรยาบรรณต่อตนเอง ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องมีวินยั ในตนเอง
พัฒนาตนเองด้านวิชาชี พ บุคลิ กภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทนั ต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิ จ
สังคม และการเมืองอยูเ่ สมอ
1.2 จรรยาบรรณต่อวิชาชี พ ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรัก ศรัทธา ซื อสัตย์
สุ จริ ต รับผิดชอบต่อวิชาชีพและเป็ นสมาชิกที ดีขององค์กรวิชาชีพ
1.3 จรรยาบรรณต่อผูร้ ับบริ การ ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องรักเมตตา
เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่ งเสริ ม ให้กาํ ลังใจแก่ศิษย์ และผูร้ ับบริ การ ตามบทบาทหน้าทีโดยเสมอหน้า
1.4 ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องส่ งเสริ มให้เกิดการเรี ยนรู ้ ทักษะ และนิสัยที
ถูกต้องดีงามแก่ศิษย์ และผูร้ ับบริ การ ตามบทบาทหน้าที อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริ สุทธิ ใจ
1.5 ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องประพฤติป ฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างทีดี
ทังทางกาย วาจา และจิตใจ
1.6 ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องไม่กระทําตนเป็ นปฏิปักษ์ต่อความเจริ ญทาง
กาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์
21

1.7 ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องให้บริ การด้วยความจริ งใจและเสมอภาค


โดยไม่เรี ยกรับหรื อยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาํ แหน่งหน้าที โดยมิชอบ
1.8 จรรยาบรรณต่อผูร้ ่ วมประกอบวิชาชีพ ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา
พึงช่วยเหลือเกือกูลซึ งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมันในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคี
ในหมู่คณะ
1.9 จรรยาบรรณต่อสังคม ผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบตั ิตน
เป็ นผูน้ าํ ในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ งแวดล้อม
รักษาผลประโยชน์ของส่ วนรวม และยึดมันในการปกครองระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์
ทรงเป็ นประมุข
2. คุณธรรมของครู หมายถึง คุณสมบัติทีเป็ นความดี ความถูกต้องเหมาะสม ซึ งมีอยู่
ภายในจิตใจของผูเ้ ป็ นครู และเป็ นแรงผลักดันให้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพครู กระทําหน้าที ของครู ได้
อย่างสมบูรณ์ คุณธรรมของครู จาํ แนกได้ ดังนี
2.1 มีความรู ้เพียงพอและถูกต้องในระดับที สอน
2.2 รับฟังความคิดเห็นและเคารพเหตุผลของผูอ้ ืน
2.3 พิจารณาคุณค่าของนักเรี ยนแต่ละคนด้วยเหตุผล
2.4 ตัดสิ นหรื อลงโทษนักเรี ยนอย่างมีเหตุผล
2.5 ยืดหยุน่ ต่อปั ญหาต่าง ๆ และหาทางแก้ไขด้วยสันติวธิ ี
2.6 มีความคิดริ เริ ม
2.7 นําวิธีการใหม่ ๆ มาใช้ปรับปรุ งการทํางานของตน
2.8 มีความยุติธรรมไม่ลาํ เอียง
2.9 มีอารมณ์ม ันคงและสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ตลอดเวลา
2.10 ไม่คิดแสวงหาผลประโยชน์ทางวัตถุเกินความจําเป็ น
2.11 ซื อสัตย์สุจริ ตและจริ งใจ
2.12 ภูมิใจในความสําเร็ จของตนเอง
2.13 ให้เกียรติแก่เพือนร่ วมอาชีพและบุคคลทัวไป
2.14 ไม่ดูหมินศาสนาอืน
2.15 มีความกรุ ณาและสนใจเด็กเป็ นรายบุคคล
2.16 รักษาความลับของศิษย์
2.17 เอือเฟื อเผือแผ่ช่วยเหลือนักเรี ยนตามสมควร
2.18 เสี ยสละเพือประโยชน์ของสังคม
22

2.19 ไม่อาฆาตพยาบาทศิษย์
2.20 ให้ความไว้วางใจแก่ผรู ้ ่ วมงาน
คุ ณธรรมของครู ทงั 20 ประการนี ผูเ้ ป็ นครู จะต้องรู ้ จกั หยิบยกมาใช้เพื อเป็ นมรรคผล
นําไปสู่ ความสําเร็ จแห่ งอาชีพ และทีสาํ คัญจะต้องนํามาใช้ควบคู่กนั ไปกับจริ ยธรรมของครู บนพืนฐาน
แห่งอุดมคติและวิญญาณของครู
3. คุณลักษณะของครู ดี ครู คือ แบบอย่างทีดีของศิษย์ เป็ นผูส้ ร้างสมาชิกใหม่ของสังคม
ให้เป็ นทรัพยากรมนุ ษย์ทีมีคุณภาพแก่สังคม ธรรมชาติของอาชีพครู เป็ นอาชีพที ตอ้ งเกียวข้องสัมผัส
กับบุคคลอืนอยู่เสมอ ฉะนัน ครู จึงต้องเป็ นผูใ้ ฝ่ รู ้ ใฝ่ เรี ยน และใฝ่ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื อง
ทังทางด้านวิชาชี พ บุคลิ กภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทนั กับการเปลี ยนแปลงและความก้าวหน้าทาง
วิชาการ ตลอดจนเทคโนโลยีต่าง ๆ
คุณลักษณะของครู ดีตามแนวพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที 9
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดํารัสถึ งคุ ณสมบัติของผูเ้ ป็ นครู ว่า “ครู ทีแท้นนั เป็ น
ผูท้ าํ แต่ความดี คือต้องหมันขยันและอุตสาหะพากเพียร ต้องเอือเฟื อเผือแผ่ และเสี ยสละ ต้องหนักแน่น
อดกลันและอดทน ต้องรักษาวินยั สํารวมระวังความประพฤติปฏิ บตั ิของตนให้อยู่ในระเบียบ
แบบแผนทีดีงาม ต้องปลี กใจจากความสะดวกสบายและความสนุ กสนานรื นเริ งที ไม่สมควรแก่
เกียรติภูมิของตน ต้องตังใจให้ม ันคงแน่วแน่ ต้องซื อสัตย์ รักษาความจริ ง ต้องเมตตาหวังดี ต้องวางใจ
เป็ นกลาง ไม่ปล่อยไปตามอํานาจ อคติ ต้องอบรมปั ญญาให้เพิมพูน สมบูรณ์ขึน ทังด้านวิทยาการ
และความฉลาดรอบรู ้ ในเหตุผล” จากกระแสพระราชดํารัสที พระราชทานแก่ครู อาวุโสประจําปี
พ.ศ. 2522 เมือวันที 28 ตุลาคม พุทธศักราช 2523 ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต
ก็สรุ ปคุณสมบัติของครู ได้ 9 ข้อ คือ
1. ครู ตอ้ งมีความอุตสาหะ ขยันหมันเพียร
2. ครู ตอ้ งมีความเอือเฟื อเผือแผ่
3. ครู ตอ้ งมีความหนักแน่น อดทน อดกลัน
4. ครู ตอ้ งมีความประพฤติ ปฏิบตั ิตน ในระเบียบแบบแผน และวินยั
5. ครู ตอ้ งมีความตังใจมันคงแน่วแน่
6. ครู ตอ้ งมีความซื อสัตย์จริ งใจ
7. ครู ตอ้ งมีเมตตา หวังดี
8. ครู ตอ้ งมีความเป็ นกลาง
9. ครู ตอ้ งมีการอบรมเพิมพูนปั ญญาวิชาความรู ้ มีเหตุผล
23

คุณลักษณะของครู ดีตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครู พ.ศ. 2537 มี 11 ข้อ ดังนี


1. ครู ตอ้ งปฏิบตั ิกิจกรรมทางวิชาการเกี ยวกับการพัฒนาวิชาชีพครู อยูเ่ สมอ
2. ครู ตอ้ งตัดสิ นใจปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ โดยคํานึงถึงผลทีจะเกิดกับผูเ้ รี ยน
3. ครู ตอ้ งมุ่งมันพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เต็มตามศักยภาพ
4. ครู ตอ้ งพัฒนาแผนการสอนให้สามารถปฏิบตั ิได้เกิดผลจริ ง
5. ครู ตอ้ งพัฒนาสื อการสอนให้มีประสิ ทธิ ภาพอยูเ่ สมอ
6. ครู ตอ้ งจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนโดยเน้นผลถาวรให้เกิดแก่ผเู ้ รี ยน
7. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยนได้อย่างมีระบบ
8. ปฏิบตั ิตนเป็ นแบบอย่างทีดีแก่ผเู ้ รี ยน
9. ร่ วมมือกับผูอ้ ืนในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์
10. ร่ วมมือกับผูอ้ ืนอย่างสร้างสรรค์ในชุมชน
11. แสวงหาและใช้ขอ้ มูลข่าวสารในการพัฒนา
สําเนาว์ ขจรศิลป์ (2530, หน้า 12) ได้มีความคิดเห็นในเรื องจรรยาบรรณของอาจารย์
ทีปรึ กษาไว้ ดังนี
1. อาจารย์ทีปรึ กษาต้องคํานึ งถึงสวัสดิภาพของนิสิต - นักศึกษา โดยไม่กระทําการใด ๆ
ทีจะก่อให้เกิดผลเสี ยหายแก่นิสิต นักศึกษาอย่างไม่เป็ นธรรม
2. อาจารย์รูทีปรึ กษาต้องรักษาข้อมูลต่าง ๆ เกี ยวกับเรื องส่ วนตัวของนิสิต นักศึกษา
ให้เป็ นความลับ
3. อาจารย์ทีปรึ กษาต้องพยายามช่วยเหลือนิสิต นักศึกษาจนสุ ดความสามารถ
4. อาจารย์ทีปรึ กษาไม่ควรวิพากษ์วจิ ารณ์บุคคล หรื อสถาบันให้นิสิต นักศึกษาฟัง
ในทางทีก่อให้เกิดความเสื อมเสี ยแก่บุคคลหรื อสถาบันนัน ๆ
5. อาจารย์ทีปรึ กษาต้องเป็ นทีมีความประพฤติเหมาะสมตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครู
วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา (2533, หน้า 4 - 5) ได้กล่าวถึงจรรยาบรรณของครู ทีปรึ กษา
ไว้ดงั นี
1. รักษาความลับของศิษย์อย่างเคร่ งครัด
2. พิทกั ษ์และปกป้ องผลประโยชน์ของศิษย์
3. อุทิศเวลาเพืองานครู ทีปรึ กษา
4. ให้ความช่วยเหลือจนเต็มความสามารถ
จากการศึกษาจรรยาบรรณของครู ทีปรึ กษาสรุ ปได้วา่ ครู ทีปรึ กษาเป็ นบุคคลแรกทีนกั เรี ยน
นักศึกษา นึ กถึ งและขอความช่ วยเหลื อ ดังนั น ครู ทีปรึ กษาจึงต้องกระทําตัวเป็ นแบบอย่างที ดี
สร้างความเชื อถือศรัทธาเลือมใสให้เกิดขึน โดยอาศัยหลักจรรยาบรรณในการปฏิบตั ิงาน
24

คุณลักษณะของครู ทีปรึกษา
คุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษา มีความสัมพันธ์กบั การให้บริ การของอาจารย์ที ปรึ กษา
เป็ นอย่างมาก เพราะเมือกําหนดให้อาจารย์ทีปรึ กษาเป็ นอย่างไร ก็จะต้องจัดหาอาจารย์ที ปรึ กษา
ทีมีคุณลักษณะที เหมาะสมได้ตามนัน และจากบทบาทและความรับผิดชอบของอาจารย์ที ปรึ กษา
ส่ งผลให้อาจารย์ทีปรึ กษาควรเป็ นบุคคลทีมีคุณลักษณะทีดี และเหมาะสม เพือช่วยให้ปฏิบตั ิหน้าที
ดําเนิ นไปด้วยดี และมีประสิ ทธิ ภาพ เพราะการติดต่อของนักเรี ยนมักจะคํานึ งถึ งคุณลักษณะของ
อาจารย์ทีปรึ กษาเป็ นสําคัญ (ประมวล หมันดี, 2542, หน้า 20)
มูลเลอร์ (Mueller, 1961, pp. 233 - 235) ได้กล่าวถึง หน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษาไว้ ดังนี
1. จะต้องสนใจนักศึกษาในความรับผิดชอบ
2. ต้องเป็ นผูท้ ีมีความสามารถ แนะนําการเลือกวิชาเรี ยนของนักศึกษา
3. ต้องมีความรู ้ ความสามารถเพียงพอที จะช่วยในสิ งทีนกั ศึกษาต้องการ
4. ให้คาํ ปรึ กษาทางวิชาการได้เป็ นอย่างดี
5. ควรได้ศึกษาโปรแกรมการเรี ยนของนักศึกษาในความรับผิดชอบ เพราะนักศึกษา
ต้องการคําแนะนําทีดีเกียวกับการเรี ยนของเขาเอง
สําเนาว์ ขจรศิลป์ (2530, หน้า 1) ได้กล่าวไว้วา่ ลักษณะอาจารย์ที ปรึ กษาทีดีไว้เป็ น
แนวทางให้อาจารย์ทีปรึ กษา ปฏิบตั ิและพัฒนาตนเอง ดังนี
1. มีมนุษยสัมพันธ์ทีดี
2. มีความรับผิดชอบทีดี
3. ใจกว้างและรับฟังความคิดเห็นของนิสิต นักศึกษา
4. มีความรู ้ทนั ด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
5. มีความจริ งใจและเห็นอกเห็นใจผูอ้ ื น
6. มีเหตุผลและมีความสามารถในการแก้ปัญหา
7. มีความเมตตากรุ ณา
8. ไวต่อการรับรู ้และเข้าใจสิ งต่าง ๆ ได้เร็ ว
9. มีหลักจิตวิทยาในการให้คาํ ปรึ กษาและมีจรรยาบรรณ
10. มีความประพฤติเหมาะสมและเป็ นแบบอย่างที ดี
11. รู ้บทบาทหน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษาเป็ นอย่างดี
12. มีประสบการณ์ในหน้าทีงานของอาจารย์ทีปรึ กษา
บรรยาย ทิมธรรม (2551) กล่าวถึง คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามทัศนะ
ของนักศึกษา ศูนย์บริ การการศึกษานอกโรงเรี ยนอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี ประกอบด้วย
25

3 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านมนุษย์สัมพันธ์ และด้านบริ การ ผลการวิจยั พบว่า ด้านมนุ ษย์สัมพันธ์
เป็ นคุ ณลักษณะของครู ที ปรึ กษาทีพึงประสงค์มากที สุด รองลงมาได้แก่ ด้านวิชาการ
และด้านการบริ การ ตามลําดับ
สมควร ทองฮ้า (2545) ศึกษาคุ ณลักษณะของอาจารย์ที ปรึ กษาที พึงประสงค์ตาม
ความคิ ดเห็ นของนักเรี ยนระดับชัน ปวช. ในโรงเรี ยนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) พบว่า
คุณลักษณะอาจารย์ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
ด้านวิชาการ ด้านมนุษย์สัมพันธ์ และด้านบริ การ มีคุณลักษณะตามความต้องการของนักเรี ยน ทําให้
นักเรี ยนมีความพึงพอใจต่อการปฏิบตั ิหน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษา ทีส่งผลให้นกั เรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้
และมีความสุ ขในการเรี ยนอยูใ่ นระดับมาก เมื อพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า
1. คุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามความคิดเห็นของนักเรี ยนโรงเรี ยน
เทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) มีค่าเฉลียอยูใ่ นระดับมาก ทัง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านวิชาการมีค่าเฉลีย
มากทีสุด รองลงมา ได้แก่ ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านบริ การมีค่าเฉลี ยน้อยทีสุด
2. คุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามความคิดเห็นของนักเรี ยนโรงเรี ยน
เทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) ระหว่างเพศชายกับเพศหญิง โดยรวมพบว่าไม่แตกต่างกัน และ
เมือพิจารณาคุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์จาํ แนกเป็ นรายด้าน พบว่า ด้านวิชาการ
และด้านมนุษย์สัมพันธ์ เพศชายกับเพศหญิงมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่ วนด้านบริ การแตกต่างกัน
3. คุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามความคิดเห็นของนักเรี ยน โรงเรี ยน
เทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) ระหว่างนักเรี ยนผลการเรี ยน 0 - 2.00 กับนักเรี ยนระดับ
ผลการเรี ยน 2.01 ขึ นไป พบว่า แตกต่างกันทัง 3 ด้าน คื อ ด้านวิชาการ ด้านมนุ ษยสัมพันธ์
และด้านการบริ การ
4. คุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามความคิดเห็นของนักเรี ยนโรงเรี ยน
เทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) ระหว่างชันปี ที 1 ปี ที 2 ปี ที 3 พบว่า แตกต่างกันทัง 3 ด้าน คือ
ด้านวิชาการ ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านวิชาการ
ดังนัน คุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษา จึงมีความสําคัญในการปฏิบตั ิหน้าที เป็ นอย่างยิง
การให้คาํ ปรึ กษาจะไร้ ผล ถ้าผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษาขาดสมรรถภาพ ดังนั น อาจารย์ทีปรึ กษาจึ งควรมี
คุณลักษณะทีสาํ คัญ ดังนี (Mueller, 1961, pp. 233 - 235; สําเนาว์ ขจรศิลป์ , ม.ป.ป., หน้า 1; บรรยาย
ทิมธรรม, 2551; สมควร ทองฮ้า, 2545) และผลงานของ รวีวรรณ ชินะตระกูล (2535, หน้า 64-66)
คุณลักษณะทางด้านวิชาการ ครู เป็ นผูถ้ ่ายทอดความรู ้ทางวิชาการแก่เด็ก จึงจําเป็ นต้อง
เป็ นผูม้ ีความรู ้ ความสามารถ โดยเฉพาะอย่างยิ งในยุคกระแสแห่ งคุ ณภาพ คนยุคใหม่ตอ้ งเรี ยนรู ้
และแก้ไขปั ญหา เพือให้สามารถดําเนิ นชี วิตอยู่ในสังคมได้ และอาจกล่าวได้ว่า เป็ นการเรี ยนรู ้
26

ตลอดชีวิต ตังแต่เกิดจนตาย ระบบการศึกษาจําเป็ นต้องหลากหลาย เพื อตอบสนองความต้องการ


ของคนในทุกกลุ่ม ทุกระดับ ทุกท้องถิ น ทุกสังคม ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และเกิ ดประสิ ทธิ ผล
ซึ ง บวร ทองยัง (2543, หน้า 45) ได้กล่าวไว้วา่ บทบาทและหน้าทีความรับผิดชอบของครู ทีสอดคล้อง
กับกระแสคุณภาพนันจะต้องมีลกั ษณะ ดังนี
1. ศึกษาค้นคว้าหาความรู ้ให้เพิมพูน มีความสนใจใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน สามารถตอบสนอง
ความต้องการทีหลากหลายของผูเ้ รี ยนได้
2. จัดกิจกรรมและสภาพแวดล้อมในการเรี ยนการสอนที สอดคล้องกับภาพชีวติ จริ ง
รวมทังสามารถวัดและประเมินผลการเรี ยนตามสภาพจริ งได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
3. ทําการสอน และพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความรู ้ความสามารถ มีทกั ษะ และเป็ นคนดี
ทังทางด้านพฤติกรรมและจิตใจ จนผูเ้ รี ยนสามารถพึ งพาตนเองได้
4. ปลูกฝังคุณธรรม จริ ยธรรม และเสริ มสร้างค่านิยมที เหมาะสมให้กบั ผูเ้ รี ยน
และประชาชน รวมทังเป็ นแบบอย่างทีดีในการทํานุบาํ รุ ง รักษาศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม
ประเพณี ส่ งเสริ มการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย อันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข
5. ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั รวบรวมข้อมูลเนื อหาสาระ เทคนิ ควิธีการและกระบวนการต่าง ๆ
ทีจะช่วยทําให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ดว้ ยตัวผูเ้ รี ยนเองอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
6. เป็ นผูน้ าํ ในการพัฒนาชุมชนในด้านต่าง ๆ โดยใช้กระบวนการทางการศึกษา
เป็ นกลไกสร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนท้องถิ น จนชุมชนท้องถินนันพึงพาตนเองได้
7. พัฒนาและนําแหล่งวิทยาการต่าง ๆ ที มีอยูใ่ นชุมชนท้องถิน ทังทีเป็ นบุคคลและ
องค์กรสถาบัน และสภาพธรรมชาติ มากําหนดเป็ นเครื อข่ายการเรี ย นรู ้ และพัฒนาผูเ้ รี ยนได้อย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพ
นันทนา วงษ์อินทร์ (2545, หน้า 1 - 5) กล่าวถึงบทบาทและหน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษา
ด้านวิชาการว่าเป้ าหมายของนักศึกษาทีเข้ามาศึกษาในสถาบันการศึกษาก็คือ การสําเร็ จการศึกษา
ภารกิ จของอาจารย์ทีปรึ กษา เพือช่ วยให้นกั ศึกษาบรรลุ เป้ าหมาย นันก็คือ การให้ความช่ วยเหลื อ
ด้านวิชาการ ดังต่อไปนี
1. ให้คาํ ปรึ กษาในเรื องการเลือกวิชาเรี ยน และการลงทะเบียนเรี ยน อาจารย์ที ปรึ กษา
มีหน้าทีรับผิดชอบในการอธิ บายลักษณะของโครงสร้างหลักสู ตร แนะนําวิธีการเขียนใบลงทะเบียน
เรี ยนในแต่ละภาคเรี ยนให้ถูกต้อง เพือป้ องกันปั ญหาการลงทะเบียนเรี ยนไม่ครบตามโครงสร้างของ
หลักสู ตร ในการนี อาจารย์ทีปรึ กษา ต้องมีความรู ้ ในเรื องของหลักสู ตรและระเบียบวิธีการ
ลงทะเบียนเรี ยน
27

2. ติดตามผลการเรี ยนของนักศึกษา โดยเฉพาะผูท้ ี ได้เกรด F หรื อติด I ว่านักศึกษาได้


ติดต่อกับผูส้ อนเพือขอสอบซ่ อม หรื อทําผลการเรี ยนให้สมบูรณ์ แล้วหรื อยัง การวัดผลในระบบ
หน่ วยกิ ต อาจารย์ทีปรึ กษาต้องอธิ บายให้นกั ศึกษาเข้าใจว่า ทุกวิชานั นมีความสําคัญเท่ากันหมด
จะต่างกันทีจาํ นวนหน่วยกิต ดังนัน ต้องให้ความเอาใจใส่ ในการเรี ยนทุกวิชา และคํานึ งอยูเ่ สมอว่า
การวัดผลย่อยในแต่ละวิชา จะมีอยู่ตลอดภาคเรี ยน มิใช่ ให้ความสําคัญเฉพาะการสอบปลายภาค
เท่านัน ในการนีอาจารย์ทีปรึ กษาต้องมีความรู ้ในเรื องของระเบียบวิธีการวัดผลด้วย
3. แนะนําวิธีการเรี ยนทีดี ซึ งจะเริ มตังแต่วธิ ี การฟังอาจารย์สอนในชันเรี ยน การทํา
รายงาน และงานอื นทีอาจารย์มอบหมาย การค้นคว้านอกเวลาเรี ยน การทบทวนบทเรี ยน การทํา
โน้ตย่อแต่ละวิชา การปรึ กษาอาจารย์ผสู ้ อนในบางเรื องทีไม่เข้าใจ การจัดตารางเวลาให้กบั ตนเอง
การเตรี ยมตัวสอบ ตลอดจนวิธีปฏิบตั ิตนในการเข้าสอบ และการทําข้อสอบ
4. ส่ งเสริ มให้นกั ศึกษามีทศั นคติทีดีต่อการเรี ยน เป็ นการกระตุน้ ให้นกั ศึกษาเห็น
ความสําคัญของการเรี ยนว่าเป็ นพืนฐานของอนาคต เป็ นส่ วนทีสาํ คัญทีสุดต่อชีวติ ของนักศึกษาใน
วันนี
5. ให้คาํ ปรึ กษาเพือช่วยนักศึกษาในการจัดการกับปั ญหาทีเกิดขึนกับเขา ทังในด้าน
ส่ วนตัวและสังคม เพราะปั ญหาที เกิ ดขึ นกับนักศึกษาทุ กปั ญหานัน มีผลกระทบต่อการเรี ยน
การปรับตัว และพัฒนาบุคลิกภาพของนักศึกษาทังสิ น อาจารย์ทีปรึ กษามีบทบาทหน้าทีในการให้
ความเอาใจใส่ ในทุกข์สุขของนักเรี ยน และคอยให้คาํ ปรึ กษา ซึ งในการนี อาจารย์ทีปรึ กษาควรมี
ความรู ้และทักษะในเรื องของการให้คาํ ปรึ กษา (Counseling) ขันพืนฐาน เพือจะทําให้การให้คาํ ปรึ กษา
และการช่วยเหลือนันมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึน
เทือน ทองแก้ว (2537, หน้า 30) ได้กล่าวไว้วา่ ครู ทีดี มีคุณลักษณะ ดังนี
1. มีความรู ้ท ัวไปในเรื องทีจะสอน
2. สอน อบรมหรื อถ่ายทอดความรู ้ได้ดี
3. เป็ นแบบอย่างทีดี
4. มีบุคลิกลักษณะทางกายภาพ คุณธรรมจรรยามารยาทดี
5. มุ่งมันพัฒนาใฝ่ หาความรู ้
สําเนาว์ ขจรศิลป์ (2530, หน้า 3) ได้กล่าวไว้วา่ ระบบอาจารย์ทีปรึ กษาวิชาการระดับ
ปริ ญญาตรี ในมหาวิทยาลัย กําหนดไว้ดงั นี
1. ให้การศึกษาแนะนํานิสิต นักศึกษา เกียวกับหลักสู ตรการเลือกวิชาเรี ยน
2. ให้คาํ แนะนํานิสิต นักศึกษา เกี ยวกับการลงทะเบียนวิชาเรี ยน
3. ควบคุมการลงทะเบียนของนิสิต นักศึกษา ให้เป็ นไปตามระเบียบข้อบังคับ
28

4. ให้คาํ ปรึ กษาแก่นิสิต นักศึกษา เพือเลือกวิชา เอก โท ติดตามผล


5. แนะนํานิสิต นักศึกษาเกียวกับวิธีการเรี ยนการค้นคว้า
6. ทักท้วงการลงทะเบียนบางรายวิชา เมื อเห็นว่ายังไม่เหมาะสม
7. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนํา ตักเตือน เมื อผลการเรี ยนของนิสิต นักศึกษาไม่ดี
8. ให้คาํ แนะนําและช่วยเหลือ เพือแก้ไขอุปสรรคและปั ญหาต่าง ๆ
9. ให้ความรู ้ความเข้าใจเกียวกับการคิดค่าระดับเกรดเฉลี ยของคะแนน
10. ให้คาํ ปรึ กษาเกียวกับการศึกษาต่อในระดับทีสูงขึน
จากคู่มือในอาจารย์ที ปรึ กษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื อ (2543,
หน้า 33) ได้กาํ หนดขอบข่ายของการให้คาํ ปรึ กษาทางด้านวิชาการ ดังนี
1. ระบบและระเบียบเกียวกับการศึกษา อาจารย์ทีปรึ กษาต้องมีความรู ้ ความเข้าใจใน
การจัดการศึกษาของวิทยาลัยให้ชดั เจนถูกต้อง
2. หลักสู ตรและโปรแกรมการศึกษาอาจารย์ทีปรึ กษาต้องมีความรู ้ และความเข้าใจใน
หลักสู ตร และโปรแกรมการศึกษาของวิทยาลัย
3. ให้ความเห็นชอบในการลงทะเบียนเรี ยน ตามช่วงเวลางานทีกาํ หนด การลงทะเบียน
ช้ากว่าทีกาํ หนดไม่ควรทํา
4. การตรวจสอบการลงทะเบียน อาจารย์ทีปรึ กษาต้องสนใจเป็ นพิเศษ สําหรับนักศึกษา
ทีถูกภาคทัณฑ์ จะต้องช่วยวางแผนการเรี ยน และแก้ไขสภาพภาคทัณฑ์ให้ดีขึน โดยการให้คาํ แนะนํา
วิธีการเรี ยน
5. วางแผนแก้ไขนักศึกษาที พน้ สภาพ ถ้านักศึกษาต้องพ้นสภาพจากนักศึกษาจริ ง
ต้องแนะนําในเรื องการลงทะเบียนใหม่ การแก้ไขวิชาที ได้แต้มน้อย หรื อการสอบเข้าใหม่ เป็ นต้น
6. การพิจารณาการร้องขอลงทะเบียนเรี ยนหน่วยกิต อาจารย์ที ปรึ กษาควรวางแผน
ช่วยเหลือนักศึกษาล่วงหน้า เพือป้ องกันการลงทะเบียนเกินกว่าทีกาํ หนด
7. การตรวจสอบหลักสู ตรก่อนสําเร็ จการศึกษา อาจารย์ที ปรึ กษาควรตรวจสอบผล
การลงทะเบียนของนักศึกษาตลอดหลักสู ตร โดยต้องทําการตรวจสอบก่อนสิ นปี หากมีบางรายวิชา
ยังมิได้ลงทะเบียนเรี ยน จะแก้ไขได้ทนั
8. จัดทําแฟ้ มประวัตินกั ศึกษาในแง่วชิ าการและส่ วนตัว แฟ้ มประจําตัว ควรมีเอกสาร
และรายละเอียดประกอบ เช่ น ประวัติโดยย่อ หลักฐานการลงทะเบียน ผลการเรี ยน หลักฐาน
การให้คาํ ปรึ กษาพิเศษ
จากการศึกษาคุ ณลักษณะที ดีของครู วิชาการและขอบข่ายการให้คาํ ปรึ กษาวิชาการ
สรุ ปคุณลักษณะครู ทีปรึ กษาด้านวิชาการ ควรมีความรู ้ และความเข้าใจในหลักสู ตรการจัดการเรี ยน
29

การสอน หมันศึกษาหาความรู ้เพิมเติม มีความรู ้ความสามารถพิเศษเหนื อจากสาขาที สอน สามารถ


ให้คาํ แนะนําได้ มีความรู ้อย่างกว้างขวางในสิ งใหม่ ๆ ทันสมัยในวิชาชีพสาขาต่าง ๆ มีวธิ ี การใหม่ ๆ
ช่วยในเรื องการเรี ยน การสอน ซ่อมเสริ มให้มีผลการเรี ยนดีขึน และติดตามผลการเรี ยนของนักเรี ยน
พร้อมทังให้คาํ แนะนํา แก้ไขได้
ด้านมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์ในการทํางาน เป็ นการพบปะติดต่อ ประสานงานกับ
บุคคลอืน เป็ นแรงจูงใจทีก่อให้เกิดการทํางานในกลุ่มได้ร่วมกันทํางานอย่างได้ผล และมีประสิ ทธิ ภาพ
โดยสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ และความพึงพอใจในสังคม จะเห็นได้วา่ มนุษยสัมพันธ์เป็ น
การทํางานร่ วมกัน ก่อให้เกิดความร่ วมมือกันและกัน มีการประสานงานกัน และมีความคิดริ เริ มทีดี
เพือให้บงั เกิดผลตามเป้ าหมาย หน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษานอกจากให้คาํ แนะนําแล้ว ต้องเก็บรวบรวม
ข้อมูลนักเรี ยน ต้องอาศัยความร่ วมมื อกับบุ คคลหลายฝ่ าย ดังนันอาจารย์ทีปรึ กษาจึงต้องมี
มนุษยสัมพันธ์ทีดี ดังนี
มยุรี ชัยสวัสดิ (2538, หน้า 79 - 81) ได้กล่าวไว้วา่ คุณลักษณะด้านมนุษยสัมพันธ์ที ดีกบั
เพือนร่ วมงาน จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี
1. รู ้จกั ยกย่องเพือนด้วยกัน
2. ทักทายติดต่อกัน มีความจริ งใจต่อเพือน
3. ไม่นินทาเพือน
4. รู ้จกั ชมเชยเพือนในสิ งทีสมควร
5. เป็ นคนสุ ภาพ
6. ให้ความร่ วมมือในกิจกรรมของเพือนด้วยความเต็มใจเสมอ
7. ให้เพือนได้ทราบในสิ งทีตอ้ งรับผิดชอบหรื อเกียวข้อง
8. รู ้จกั รับฟังความคิดเห็นของเพือนบ้าง
9. หลีกเลียงการทําตัวเหนือผูอ้ ืน
10. ทําตนให้เสมอต้นเสมอปลาย
11. เป็ นผูท้ ีใจกว้างเอือเฟื อเผือแผ่เพือนฝูง
12. รู ้จกั พบปะสังสรรค์บา้ งตามโอกาสอันควร
13. รู ้จกั เห็นอกเห็นใจ และช่วยเหลือเพือนในยามทุกข์ร้อน
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (2543, หน้า 33) ได้กล่าวไว้วา่ หน้าที
ของอาจารย์ทีปรึ กษาด้านมนุ ษยสัมพันธ์ ไว้ดงั นี
1. อาจารย์ทีปรึ กษาควรทราบข้อมูลพืนฐานของนักเรี ยน ได้แก่ ประวัติส่วนตัวและ
การศึ กษา วิชาที ชอบเรี ยน วิชาที ไม่ชอบเรี ยน ทักษะการเขี ยน การฟั ง การแสดงความคิ ดเห็ น
30

การแบ่งเวลาเรี ยน การเข้าร่ วมกิจกรรม ปั ญหาการเรี ยนในด้านสุ ขภาพ ความบกพร่ องทางร่ างกาย


การเจ็บป่ วยทีร้ายแรง สภาพครอบครัว
2. การพูดคุยเพือให้ได้ขอ้ มูลพืนฐานของนักศึกษา
2.1 เป็ นทีพึงทางใจ ระบายทุกข์ คอยปลอบโยน ชี ช่องทางให้เมือมีปัญหา
2.2 การประสานงานต่าง ๆ การกําหนดเวลานัดหมาย สําหรับพบปะพูดคุย
จากคุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษาทีกล่าวมา พอสรุ ปเป็ นคุณลักษณะด้านมนุษยสัมพันธ์
ได้ดงั นี
1. มีบุคลิกภาพดี
2. มีความสุ ภาพ
3. มีความเป็ นกันเอง
4. วางตัวได้เหมาะสม
5. อารมณ์ดี ร่ าเริ ง แจ่มใส
6. รู ้จกั ยกย่อง ชมเชย
7. เห็นอกเห็นใจผูอ้ ืน
8. สามารถควบคุมอารมณ์ได้ดี
9. มีความยุติธรรม มีเหตุผล
10. ทํางานร่ วมกับผูอ้ ืนได้ดี
11. ให้ความร่ วมมือช่วยเหลือเป็ นอย่างดี
12. มีไหวพริ บปฏิภาณดี
จากการศึกษาคุ ณลักษณะด้านมนุ ษยสัมพันธ์ และขอบข่ายของครู ที ปรึ กษาทีดีนัน
สามารถสรุ ปได้วา่ คุณลักษณะด้านมนุษยสัมพันธ์ของครู ที ปรึ กษาทีดีนนั ครู เป็ นผูม้ ีจิตใจโอบอ้อม
อารี ย ์ อารมณ์ร่าเริ งแจ่มใส สุ ภาพเรี ยบร้อย ช่วยเหลือและให้อภัย เป็ นแบบอย่างที ดี มีความเสมอต้น
เสมอปลายในการประพฤติตน เต็มใจ ยินดีทีจะช่วยเหลือนักศึกษาด้วยความจริ งใจ และนักศึกษา
มีความพึงพอใจ มีความสุ ข เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวติ เมื อได้รับคําปรึ กษา
ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา การให้คาํ แนะนําทางด้านวิชาการเพียงอย่างเดี ยว
ไม่เป็ นการเพียงพอ เพราะนักเรี ยนต้องมี การปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้ อมทีเปลี ยนแปลง
อาจทําให้นกั เรี ยนพบกับปั ญหาได้ มี ผกู้ ล่าวถึ งคุ ณลักษณะของอาจารย์ที ปรึ กษาด้านการบริ การ
ให้คาํ ปรึ กษา ไว้ดงั นี
ประมวล หมันดี (2542, หน้า 20) ได้สรุ ปการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั ศึกษาไว้ ดังนี
1. มีความรู ้ความเข้าใจในระเบียบการช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ มีนําใจ เสี ยสละ
ชอบช่วยเหลือผูอ้ ืน
31

2. มีทกั ษะในการถาม การฟัง การพูด


3. รักษาความลับได้ดี
4. สนใจ ความเคลือนไหวของข่าวสารและการหาข้อมูลต่าง ๆ
สําเนาว์ ขจรศิลป์ (ม.ป.ป., หน้า 4) ได้แนะนําการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั ศึกษาด้านการบริ การ
และพัฒนานักศึกษาไว้ ดังนี
1. ปั ญหาส่ วนตัว ได้แก่ สุ ขภาพอนามัย อาจจะเป็ นทางกายหรื อทางจิตใจ
2. ปั ญหาทางสังคม ได้แก่ การปรับตัวในสังคม
3. ปั ญหาทางการเงิน ได้แก่ การขาดแคลนทุนทรัพย์ที จะศึกษาเล่าเรี ยน
4. ปั ญหาทางด้านอาชีพ ได้แก่ การให้ความรู ้ความเข้าใจและทัศนคติทีถูกต้อง
จากคุณลักษณะของผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษาและงานอาจารย์ที ปรึ กษา พอทีจะสรุ ปได้ ดังนี
1. มีความรู ้ ความเข้าใจในอาชีพและการศึกษาต่อ
2. มีความรู ้และความเข้าใจในระเบียบการช่วยเหลือ
3. มีนาํ ใจ เสี ยสละ ช่วยเหลือผูอ้ ืน
4. มีทกั ษะในการถาม การฟัง การพูด
5. รักษาความลับได้ดี
6. สนใจความเคลือนไหวของข่าวสารได้ดี
จากการศึกษาคุณลักษณะด้านการบริ การ และขอบข่ายของครู ที ปรึ กษาทีดีนนั สามารถ
สรุ ปได้วา่ คุณลักษณะด้านการบริ การของอาจารย์ทีปรึ กษาทีดีนนั ครู เป็ นผูช้ ่วยแก้ปัญหาได้ทุก ๆ ด้าน
มีทกั ษะความรู ้ความสามารถ เข้าใจในระเบียบและหลักการการช่วยเหลือนักศึกษาและเป็ นผูท้ ี สนใจ
ข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบนั

ตัวแปรทีเกียวข้ องกับการวิจัย
จากการศึกษาค้นคว้า พบว่า องค์ประกอบสําคัญทีควรนํามาศึกษา ได้แก่ เพศ และระดับชัน
โดยมีรายละเอียด ดังนี
เพศ เพศของนักศึ กษาเป็ นอี กตัวแปรที สาํ คัญ ซึ งมี อิทธิ พลต่อความคิดเห็ นเกี ยวกับ
คุณลักษณะอาจารย์ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ เพราะเพศมีความแตกต่างกันในด้านฐานะทางวัฒนธรรม
และสังคมต่างกัน ทางสรี ระร่ างกายก็แตกต่างกัน ซึ ง สมศักดิ ตังกลชาญ (2543, หน้า 40 - 41)
กล่ าวว่า ความแตกต่างในด้านความสามารถ ด้านการทํางานระหว่างเพศ จะลดน้อยลงก็ตาม
แต่ความแตกต่างระหว่างเพศยังเป็ นตัวแปรทีส่งผลต่อจิตลักษณะและพฤติกรรม ทังนี เพราะตังแต่เกิด
เพศหญิงกับเพศชายต่างมีสังคมทีแตกต่างกัน เช่น การแต่งกาย ของเล่น หรื อการละเล่น โดยเฉพาะ
32

อย่างยิง ลักษณะพฤติกรรมในการอบรมสังสอน ซึ งมีผลไปถึงบทบาทของสังคม รวมถึงข้อสรุ ปที วา่


เพศชายมีคุณลักษณะความเป็ นผูน้ าํ ที เข้มแข็ง อดทน ว่องไว ส่ วนเพศหญิ งจะมีความอ่อนโยน
นุ่มนวล ละเอียดและรอบคอบกว่าเพศชาย ส่ วน กันยา สุ วรรณแสง (2536, หน้า 75 - 77) กล่าวว่า
เพศมีการตอบสนองทางสังคมที แตกต่างกัน เพศหญิงจะมีความสุ ภาพ เก็บตัว มีความสามารถใน
การควบคุ มจริ ตกิ ริยาได้ดีกว่าเพศชาย นิ สัยใจคอ การแสดงความคิ ดเห็ น การควบคุ มอารมณ์
และอืน ๆ ก็มีความแตกต่างกันและจากการศึกษาของ แดเนียล (Daniel, 1986, p. 66 - A) ซึ งได้ศึกษา
ความสัมพันธ์ของตัวแปรเพศและการศึกษา ความรู ้สึกพึงพอใจในการทํางาน พบว่า ปั จจัยต่าง ๆ
ทีเกียวข้องกับองค์การ เช่น ตําแหน่งงาน อํานาจการตัดสิ นใจ การมีส่วนร่ วมตัดสิ นใจ จะมีผลกระทบ
ต่อความรู ้สึกพึงพอใจของชายมากกว่าหญิง
ดังนันจึงสรุ ปได้วา่ เพศเป็ นตัวแปรทีทาํ ให้คุณลักษณะอาจารย์ทีปรึ กษาตามความคิดเห็น
ของนักศึกษาแตกต่างกัน ทังนี เนื องจากธรรมชาติ ของนักศึกษาชาย และนักศึกษาหญิงในวัยรุ่ น
มีความสนใจในเรื องทีต่างกัน คือในขณะทีเพศหญิง ซึ งกําลังเจริ ญเติบโต มีการเปลี ยนแปลงทาง
ร่ างกายอย่างรวดเร็ ว ทําให้นกั เรี ยนหญิงมีความวิตกกังวลมากกว่า ต้องการอาจารย์ทีปรึ กษาทีสามารถ
ให้คาํ ปรึ กษาได้ทุกเรื อง นอกเหนื อจากเรื องการสอน ต่างจากเพศชาย ซึ งมีการเปลี ยนแปลงทาง
ร่ างกายช้ากว่า (พรพิมล เจียมนาคริ นทร์ , 2540, หน้า 42) จึงยังไม่วิตกกังวลเกี ยวกับร่ างกายของ
ตนเองมากนัก จึงมีความต้องการอาจารย์ทีปรึ กษาในเรื องการสอนมากกว่าเรื องอืน จึงเป็ นเหตุให้
ตัวแปรเพศ มีความต้องการอาจารย์ทีปรึ กษาแตกต่างกัน
ระดับชัน ระดับชัน หมายถึ ง การศึกษาระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 มัธยมศึกษาปี ที 5
และมัธยมศึกษาปี ที 6 สมควร ทองฮ้า (2545, หน้า 58) ได้ศึกษาคุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษา
ทีพึงประสงค์ตามความคิ ดเห็ นของนักเรี ยนโรงเรี ยนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) ชลบุรี
พบว่า ระดับชันชันปี ที 1 ชันปี ที 2 และชันปี ที 3 แตกต่างกันทัง 3 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านมนุษย
สัมพันธ์และด้านบริ การ และโคสลอฟฟ์ (Kozloss, 1985, pp. 69 - 75) ได้ศึกษาการให้ความช่วยเหลือ
ให้คาํ ปรึ กษาทางวิชาการ ว่าจะใช้ทรัพยากรทางการให้คาํ ปรึ กษาอย่างไร จึงจะทําให้เกิดประสิ ทธิ ภาพ
และก่อประโยชน์ได้มากทีสุดแก่นกั ศึกษา ณ มหาวิทยาลัยนอร์ ทเทิร์นโคโลราโด ในปี ค.ศ. 1982
ทัง 4 ชันปี โดยการแจกแบบสอบถามแก่นกั ศึกษาเพียงพอในการให้คาํ ปรึ กษาแต่เรื องความเหมาะสม
ทักษะการใช้ขอ้ มูลและคุณสมบัติทงั หลายของอาจารย์ทีปรึ กษาอยูใ่ นระดับไม่ดี แสดงว่า ปั จจัยทีมีอยู่
ไม่เพียงพอต่อการให้คาํ ปรึ กษาแก่ทุกคน
ดังนัน จึงสรุ ปได้ว่า ระดับชันปี เป็ นตัวแปรที ทาํ ให้คุณลักษณะของอาจารย์ที ปรึ กษา
ตามความคิดเห็นของนักศึกษาแตกต่างกัน ทังนี เนื องจากนักศึกษาระดับชันปี ที 1 เป็ นนักศึกษาที
เปลียนจากระดับมัธยมศึกษา เข้าสู่ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเป็ นปี แรก ซึ งมีการเรี ยนการสอน
33

แตกต่างกัน โดยในระดับชันมัธยมศึกษาจะมีครู ผสู ้ อนเป็ นรายวิชา ทําให้นกั ศึกษาต้องมีการปรับตัว


มากกว่าชันอืน ๆ และในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชันปี ที 2 นักศึกษาสามารถปรับตัวได้แล้วใน
เรื องการเรี ยน การปฏิบตั ิตน ต่างกับนักศึกษาระดับชันปี ที 3 ทีตอ้ งเตรี ยมตัวศึกษาในระดับทีสูงขึน
ตามความสามารถและความสนใจต่อไป
ด้วยเหตุนี สามารถสรุ ปได้วา่ ระดับชันมีความสําคัญทีมีผลต่อทัศนคติ และความคิดเห็น
ที แตกต่างกันในการที จะศึกษาพฤติ กรรมของครู ที ปรึ กษา เพราะคุ ณลักษณะของครู ที ปรึ กษา
ทังระดับมัธยมศึกษาปี ที 4 มัธยมศึกษาปี ที 5 และมัธยมศึกษาปี ที 6 ดังนัน ตัวแปรระดับชันจึงเป็ น
ตัวแปรทีน่าสนใจและนํามาศึกษาในครั งนี

งานวิจัยทีเกียวข้ อง
งานวิจัยในประเทศ
นภดล เดชวากุล (2539) ได้ศึกษาสภาพปั ญหาในการปฏิ บตั ิงานของครู ที ปรึ กษาใน
วิทยาลัยเทคนิ ค สังกัดกรมอาชี วศึกษา ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑลที เปิ ดทําการสอน
ระดับ ปวช. จํานวน 9 แห่ ง ผลการวิจยั พบว่า นักเรี ยนมีความคิดเห็ นว่า นักเรี ยนไปใช้บริ การ
ปรึ กษาในด้านต่าง ๆ จากครู ทีปรึ กษาในระดับปานกลางค่อนข้างน้อย โดยครู ที ปรึ กษาเป็ นกลุ่มย่อย
กลุ่มละ 3 - 5 คน และเป็ นรายบุคคล ซึ งนักเรี ยนมีความเห็นว่าต้องการใช้บริ การจากครู ที ปรึ กษา
เกี ยวกับการให้ความรู ้ ความเข้าใจในเรื องหลักสู ตรและแผนการเรี ยนแนวทางปฏิ บตั ิ ตนใน
การแก้ปัญหาทางการเรี ยน คําแนะนําในการเตรี ยมตัวเพื อประกอบอาชีพและวางแผนการศึกษาต่อ
ในระดับทีสูงขึ นในระดับมาก สําหรับปั ญหาและอุปสรรคในการให้คาํ ปรึ กษา พบว่ามีปัญหา
และอุปสรรคทีเกิดขึนทีจากตัวครู และนักเรี ยนทีเกิดจากตัวครู ได้แก่ ครู ไม่รู้จกั นักเรี ยนได้ท ัวถึง
มีภาระงานมาก รับผิดชอบนักเรี ยนมากเกินไป ขาดข้อมูลและรายละเอียดในเรื องต่าง ๆ ทีจาํ เป็ นต่อ
แนะนํานักเรี ยน ไม่ได้จบการศึกษาสาขาเดี ยวกับนักเรี ยนที อยู่ในความรับผิดชอบ และปั ญหาที
เกิดขึนจากตัวนักเรี ยน ได้แก่ การทีนกั เรี ยนไม่ค่อยไปใช้บริ การ เพราะอาย กลัวครู ที ปรึ กษาจะเก็บ
ความลับไม่ได้ ชอบปรึ กษาเพือหรื อแก้ไขปั ญหาด้วยตนเองมากกว่าปรึ กษาครู ทีปรึ กษา และไม่เห็น
คุ ณค่าหรื อประโยชน์ของการมีครู ที ปรึ กษา รวมทังปั ญหาการจัดการ กําหนดเวลาที แน่ นอนใน
การให้และรับบริ การการปรึ กษา จึงทําให้นกั เรี ยนและครู ที ปรึ กษาไม่ค่อยได้พบกัน
ลออ ชุติกร (2538, หน้า 87) ได้ทาํ การวิจยั เรื องบทบาทของอาจารย์ทีปรึ กษาในวิทยาลัย
ในกรุ งเทพมหานคร สรุ ปผลการวิจยั ดังนี
1. อาจารย์ทีปรึ กษาควรมีคุณลักษณะทีเหมาะสม อายุระหว่าง 30 - 34 ปี วุฒิการศึกษา
ระดับปริ ญญาตรี มีประสบการณ์สอนในวิทยาลัยเกินกว่า 3 ปี วางตัวให้เหมาะสมกับกาลเทศะ
34

มี ใจกว้าง รับฟั งความคิ ดเห็ นของนักเรี ยน มี อารมณ์ ม ั นคงหนักแน่ น และมีความสามารถ


ในด้านมนุษยสัมพันธ์
2. อาจารย์ทีปรึ กษาได้ปฏิบตั ิหน้าทีในด้านการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ
และการอบรมดูแลความประพฤติของนักเรี ยน ในระดับปานกลางค่อนข้างน้อย ในด้านการร่ วมมือ
ประสานงาน
3. อาจารย์ทีปรึ กษาควรปฏิบตั ิมากกว่างานอืน คือ การให้ความรู ้ ความเข้าใจแก่นกั ศึกษา
ในเรื องหลักสู ตรและแผนการเรี ยน การเปลียนถอน - เพิมรายวิชาเรี ยน หรื อการพักการเรี ยนและ
ให้คาํ แนะนําช่วยเหลือนักศึกษาทีเรี ยนอ่อนให้ปรับปรุ งการเรี ยนให้ดีขึน
4. การดําเนิ นการจัดการให้คาํ ปรึ กษา การพิจารณา คัดเลือกอาจารย์ที ปรึ กษาในภาควิชา
ต่าง ๆ เป็ นผูค้ ดั เลื อกในแต่ละรายวิชา เสนอฝ่ ายวิชาการพิจารณาเตรี ยมการก่อนที จะให้อาจารย์
ทีปรึ กษาปฏิบตั ิหน้าที
5. ปั ญหาและอุปสรรคในการปฏิบตั ิงานของอาจารย์ทีปรึ กษา คือการทีนกั ศึกษาส่ วนมาก
ไม่เห็นคุณค่าและความสําคัญของชัวโมงโฮมรู ม อาจารย์ทีปรึ กษามีงานด้านการสอนและงานพิเศษ
อืน ๆ มากทําให้ไม่ มีเวลาพอให้คาํ ปรึ กษาแนะนําแก่นกั ศึกษาได้พอเพียง และอาจารย์ที ปรึ กษา
ไม่สามารถรู ้จกั นักศึกษาได้ท ัวถึง เพราะไม่ได้สอนนักศึกษาทีอยูใ่ นความรับผิดชอบ
การศึกษาสภาพการให้คาํ ปรึ กษาของครู ที ปรึ กษา ตามความเป็ นจริ งและความต้องการ
ของนักศึกษาภาคปกติ และบุ ค ลากรประจําการ ในสหวิทยาลัยครู อีสานใต้ พบว่า นักศึกษา
มีความต้องการคําปรึ กษาสู งกว่าการให้คาํ ปรึ กษาทีแท้จริ งในเรื องระเบียบต่าง ๆ ของทางวิทยาลัย
(ธงชัย วงศ์เสนา, 2537, หน้า 10 อ้างถึงใน วิไลลักษณ์ นิยมจิตร์ , 2543, หน้า 18)
ปั ญจพร จันทรวงศ์ (2535) ศึกษาคุณลักษณะของครู แนะแนวตามความคาดหวังของ
ผูบ้ ริ หาร และครู โรงเรี ยนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานประถมศึกษา จังหวัดพิจิตร จากกลุ่มตัวอย่าง
ที เป็ นผูบ้ ริ หารจํานวน 647 คน และครู สายการสอนจํานวน 312 คน พบว่า คุ ณลักษณะ
ด้านมนุ ษยสัมพันธ์ ด้านบุคลิ กภาพ ด้านคุ ณธรรมและความประพฤติ ด้านความเป็ นผูน้ าํ
และด้านความเป็ นประชาธิ ปไตย ผูบ้ ริ หารและครู มีความคาดหวังอยูใ่ นระดับมากทุกด้าน
สุ ภาณี อินทรอักษร (2542, หน้า 42 - 45) ได้ทาํ การศึกษาเรื อง การวิเคราะห์องค์ประกอบ
คุ ณลักษณะของอาจารย์ที ปรึ กษานักเรี ยนในระดับชันมัธยมศึ กษาตอนปลาย ผลการวิจยั พบว่า
คุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษานักเรี ยนในระดับชันมัธยมศึกษาตอนปลาย ในทัศนะของอาจารย์
ได้องค์ประกอบทังหมด 8 องค์ประกอบ คือ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านความรู ้ ด้านความรับผิดชอบ
ด้านการมีวิสัยทัศน์ ด้านการเสี ยสละ ด้านความเป็ นผูน้ าํ และด้านการตัดสิ นใจ คุ ณลักษณะของ
อาจารย์ทีปรึ กษานักเรี ยนในระดับชันมัธยมศึกษาตอนปลาย ที วิเคราะห์ได้ในทัศนะของอาจารย์
35

และทัศนะของนักเรี ยน พบว่า มีองค์ประกอบที เหมือนกัน 4 องค์ประกอบ คือ ด้านความรับผิดชอบ


ด้านการเสี ยสละ ด้านการตัดสิ นใจ ด้านความใจกว้าง ส่ วนองค์ประกอบที ต่างกันนัน ในทัศนะของ
อาจารย์ มีองค์ประกอบด้านความเชื อมันในตนเอง ด้านความมีเหตุผล ด้านอุทิศตนเพื อประโยชน์
ส่ วนรวม และด้านความน่าเชื อถือ ส่ วนในทัศนะของนักเรี ยน จะมีองค์ประกอบด้านมนุ ษยสัมพันธ์
ด้านความรู ้ ด้านการมีวิสัยทัศน์ ด้านความเป็ นผูน้ าํ
วิสูตร จําเนียร (2543, หน้า 61 - 72) ได้ทาํ การศึกษาเรื องการปฏิบตั ิของอาจารย์ทีปรึ กษา
เกี ยวกับบทบาทในการให้คาํ ปรึ กษาแก่ นกั ศึกษา ในสถาบันราชภัฏธนบุ รี ผลการวิจยั พบว่า
การปฏิ บตั ิตนของอาจารย์ที ปรึ กษาเกี ยวกับบทบาทในการให้คาํ ปรึ กษา ในสถาบันราชภัฏธนบุรี
อยูใ่ นระดับมาก 3 ด้าน คือ ด้านการศึกษา ด้านการพัฒนานักศึกษา และด้านวิชาชีพ เมื อเปรี ยบเทียบ
แล้วพบว่า อาจารย์ทีปรึ กษาทีมี อายุ เพศ วุฒิการศึกษา และโปรแกรมวิชาแตกต่างกัน มีการปฏิบตั ิ
เกียวกับบทบาทให้คาํ ปรึ กษาแตกต่างกัน ส่ วนอาจารย์ทีปรึ กษาทีมีประสบการณ์ในการให้คาํ ปรึ กษา
และความรู ้ ด้านกิ จการนักศึกษาแตกต่างกัน มี การปฏิ บตั ิ เกี ยวกับบทบาทในการให้คาํ ปรึ กษา
ไม่แตกต่างกัน
อิสสรหัช โชติกเสถียร (2543, หน้า 85 - 86) ได้ศึกษาบทบาทของอาจารย์ทีปรึ กษาตาม
ทัศนะของอาจารย์ทีปรึ กษาและนักศึกษา ของสถาบันราชภัฏสวนสุ นนั ทา กลุ่มตัวอย่างเป็ นอาจารย์
ทีปรึ กษาและนักศึกษา จํานวน 551 คน เครื องมือทีใช้เป็ นแบบสอบถามมาตราส่ วนประมาณค่า
ผลการวิจยั พบว่า อาจารย์ทีปรึ กษามีทศั นะต่อบทบาทของอาจารย์ที ปรึ กษา โดยรวมและรายด้าน
อยู่ในระดับมากทัง 4 ด้าน คื อ ด้านการแนะนําและการให้คาํ ปรึ กษา ด้านการพัฒนานักศึกษา
ด้านการมีปฏิสัมพันธ์กบั นักศึกษา และด้านการให้ความช่วยเหลือและการประสานงานกับนักศึกษา
นักศึกษามีทศั นะต่อบทบาทของอาจารย์ทีปรึ กษา โดยรวมและรายด้านอยูใ่ นระดับมากทัง 4 ด้าน
อาจารย์ทีปรึ กษาทีสังกัดในคณะต่างกัน มีทศั นะต่อบทบาทของอาจารย์ทีปรึ กษาโดยรวมและรายด้าน
ไม่ต่างกัน นักศึกษาอยู่ในคณะ และชันปี ทีแตกต่างกัน มีทศั นะต่อบทบาทของอาจารย์ที ปรึ กษา
โดยรวมต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิ ติที ระดับ .05 และพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า นักศึกษา
ในคณะต่างกัน มีทศั นะต่อบทบาทของอาจารย์ที ปรึ กษาในด้านการแนะนํา และการให้คาํ ปรึ กษา
และด้านการให้ความช่วยเหลือและการประสานงานกับนักศึกษาไม่แตกต่างกัน อาจารย์ทีปรึ กษา
มีปัญหาในการปฏิบตั ิหน้าที โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ส่ วนนักศึกษามีปัญหาในการเข้ารับการปรึ กษา
โดยรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง
สุ จิตรา ชินอาภรณ์ (2546, หน้า 88 - 92) ได้ศึกษาบทบาทของอาจารย์ทีปรึ กษาในการทํา
หน้าทีแนะแนวตามทัศนะของนักเรี ยนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และทัศนะของอาจารย์ทีปรึ กษา
โรงเรี ยนพาณิ ชยการราชดําเนินธนบุรี ผลการวิจยั พบว่า นักศึกษา นักเรี ยนมีทศั นะต่อบทบาทของ
36

อาจารย์ทีปรึ กษาในการทําหน้าที แนะแนวตามที ปฏิ บตั ิ จริ งในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง


เมือแยกเป็ นรายด้าน พบว่า บริ การสํารวจข้อมูลเป็ นรายบุคคล บริ การสารสนเทศ บริ การให้คาํ ปรึ กษา
บริ การจัดวางตัวบุคคลอยูใ่ นระดับปานกลาง และบริ การติดตามผลอยูใ่ นระดับมาก นักเรี ยนมีทศั นะ
ต่อบทบาทของอาจารย์ที ปรึ กษาตามที นักเรี ยนคาดหวังต้องการให้ปฏิ บตั ิในภาพรวมในระดับ
ปานกลาง เมือแยกเป็ นรายด้าน พบว่า บริ การสํารวจข้อมูลเป็ นรายบุคคล บริ การสารสนเทศ บริ การ
ให้คาํ ปรึ กษา บริ การจัดวางตัวบุคคล และบริ การติดตามผลอยูใ่ นระดับมาก อาจารย์ทีปรึ กษามีทศั นะ
ต่อบทบาทของอาจารย์ที ปรึ กษาในการทําหน้าที แนะแนวตามที ปฏิ บตั ิ จริ งและตามที คาดหวัง
ในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง เมื อแยกเป็ นรายด้านพบว่า บริ การสํารวจข้อมูลเป็ นรายบุคคล
บริ การสารสนเทศ บริ การให้คาํ ปรึ กษา บริ การจัดวางตัวบุคคล และบริ การติดตามผลอยูใ่ นระดับมาก
งานวิจัยต่ างประเทศ
โคสลอฟฟ์ (Kozloss, 1985, pp. 69 - 75) ได้ศึกษาการให้ความช่วยเหลือให้คาํ ปรึ กษาทาง
วิชาการว่าจะใช้ทรัพยากรทางการให้คาํ ปรึ กษาอย่างไร จึงจะทําให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและก่อประโยชน์
ได้มากทีสุดแก่นกั ศึกษา ซึ งการวิเคราะห์ได้ใช้นกั ศึกษาเป็ นศูนย์กลาง แล้วถามนักศึกษาว่าต้องการ
อะไรจากการให้บริ การด้านการปรึ กษา พวกเขาชอบระบบบริ การช่วยเหลือแบบใด แล้วประเมิน
ความต้องการพร้อมทังศึกษาความคิดเห็นเรื องกระบวนการให้คาํ ปรึ กษาของนักศึกษา ณ มหาวิทยาลัย
ของนอร์ ทเทิร์นโคโลราโด ในปี ค.ศ. 1982 ทัง 4 ชันปี โดยการแจกแจงแบบสอบถามแก่นกั ศึกษา
เพียงพอในการให้คาํ ปรึ กษาแต่เรื องความเหมาะสม ทักษะการให้ขอ้ มูลและคุณสมบัติท งั หลายของ
อาจารย์ทีปรึ กษาอยูใ่ นระดับไม่ดี แสดงว่าปั จจัยที มีอยูไ่ ม่เพียงพอต่อการให้คาํ ปรึ กษาแก่ทุกคน
ฟริ งค์ (Frink, 1984, p. 397 - A) ได้ศึกษาทัศนะของนักศึกษาในเรื องประสิ ทธิ ผลของ
ระบบการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั ศึกษาระดับปริ ญญาตรี แบบศูนย์กลางในระดับอุดมศึกษาในปี พ.ศ. 2526
โดยมีวตั ถุประสงค์เพือจะศึกษาทัศนะของนักศึกษาที มีต่อประสิ ทธิ ผลของหน้าทีพืนฐาน 5 ประการ
ของอาจารย์ทีปรึ กษา อันได้แก่ การเตรี ยมข้อมูลทีเทียงตรงให้แก้นกั ศึกษา การจัดวางแผนระยะสัน
การช่วยนักศึกษาให้เข้าใจเป้ าประสงค์ของสถาบันการช่วยเหลือพัฒนา และการวางแผนระยะยาว
โดยแจกแบบสอบถามแก่นกั ศึกษา ชันปี ที 1 - 4 โดยการสุ่ มจํานวนชันปี ละ 30 คน รวม 120 คน
ผลการวิจยั พบว่ากลุ่มทีอายุ 40 - 49 ปี และมากกว่านัน และนักศึกษาหญิงในกลุ่มอายุ 20 - 39 ปี
มีการติดต่อกับอาจารย์ทีปรึ กษาถีทีสุด และประชากรทัง 4 กลุ่ม พึงพอใจต่อระบบการให้คาํ ปรึ กษา
แบบศูนย์กลางในระดับอุดมศึกษาเช่นกัน
ทีก และไกรท์ (Teague & Grites, 1980, pp. 40 - 44) ได้ศึกษาเกี ยวกับข้อตกลงของ
อาจารย์กบั การให้คาํ ปรึ กษาทางวิชาการ โดยเห็ นว่าการให้คาํ ปรึ กษาทางวิชาการควรเป็ นหน้าที
และความรั บผิดชอบอย่างหนึ งของอาจารย์ ซึ งผลการศึกษาพบว่า หน้าทีดงั กล่ าวจะถู กละเลย
37

ในข้อตกลงหรื อสัญญาและการจะมอบหมายหน้า ทีการเป็ นอาจารย์ทีปรึ กษาทางวิชาการให้แก่


อาจารย์อาจต้องเพิมค่าตอบแทนให้กบั อาจารย์ นอกจากนัน อาจารย์จะไม่สามารถทําหน้าทีอาจารย์
ที ปรึ กษาทางวิชาการได้ดี ถ้าไม่ได้รับการสนับสนุ นและการยอมรั บ ผูบ้ ริ หารจําเป็ นต้องทํา
ความตกลงกับอาจารย์ให้รับหน้าที และรั บผิดชอบในการเป็ นอาจารย์ที ปรึ กษาทางวิชาการ
และอาจจําเป็ นต้องมีงบประมาณสนับสนุ นหรื อลดภาระงานสอนของอาจารย์ที ทาํ หน้าทีเป็ น
อาจารย์ทีปรึ กษาลง
เดรสเซล (Dressel, 1974, p. 57) ได้กล่าวถึงบทบาทหน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษาไว้ ดังนี
1. อาจารย์ทีปรึ กษาจะต้องสนใจนักศึกษาทีอยูใ่ นความรับผิดชอบ อาจารย์ทีปรึ กษา
จะต้องเป็ นผูท้ ีมีความสามารถในการแนะนําการเลือกวิชาเรี ยนของนักศึกษาได้เป็ นอย่างดี
2. อาจารย์ทีปรึ กษาจะต้องมีความรู ้มีความสามารถเพียงพอที จะช่วยเหลือนักศึกษา
ในสิ งทีนกั ศึกษาต้องการ
3. อาจารย์ทีปรึ กษาสามารถให้คาํ ปรึ กษาทางวิชาการเป็ นอย่างดี
4. อาจารย์ทีปรึ กษาควรศึกษาโปรแกรมการเรี ยนของนักศึกษาที อยูใ่ นความรับผิดชอบ
เป็ นอย่างดี เพือจะสามารถแนะนํานักศึกษา
แฮริ งตัน (Harrington, 1974, p. 41) กล่าวว่า อาจารย์ทีปรึ กษาเป็ นผูท้ ีมีบทบาทและหน้าที
สําคัญ คือ
1. บทบาทในฐานะทีเป็ นครู ซึ งจะเป็ นผูใ้ ห้ความช่วยเหลือแก่นกั ศึกษาในด้านวิชาการ
และการปรับตัว
2. บทบาทในฐานะผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษา ซึ งส่ วนใหญ่มกั จะเป็ นการให้คาํ ปรึ กษาทางด้าน
วิชาการและปั ญหาส่ วนตัวเป็ นต้นว่าความคับข้องใจ
3. บทบาทในฐานะเป็ นอาจารย์ผทู ้ าํ หน้าที สอนเช่นเดียวกับอาจารย์คนอืน ๆ ซึ งย่อมจะ
เป็ นผูใ้ ห้ความรู ้ และรวบรวมข้อมูลของนักศึกษา ในความรับผิดชอบของตนและเป็ นแหล่งความรู ้
ให้แก่นกั ศึกษาและอาจารย์อืน
4. บทบาทในฐานะทีเป็ นผูบ้ ริ หาร อาจารย์ทีปรึ กษาซึ งทําหน้าทีเป็ นผูบ้ ริ หารด้วยย่อมจะ
เป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูลต่าง ๆ และเสนอข้อคิดเห็นทีจะช่วยให้การบริ หารดําเนินไปด้วยดี
สมิตท์ และสตรอง (Schmidt & Strong, 1970, pp. 115 - 118) ได้ทาํ การศึกษาคุณลักษณะ
ของอาจารย์ทีปรึ กษาทีเชี ยวชาญ และไม่เชี ยวชาญ พบว่า อาจารย์ทีปรึ กษาที มีความเชี ยวชาญ
มีคุณลักษณะ ดังนี คือ มีความยืดหยุน่ มีความเป็ นมิตร สนใจนักเรี ยน เชื อมันในตนเอง ไม่ทะนงตน
คล่องแคล่ว มีชีวิตชี วา มีความสามารถในการให้ขอ้ เสนอแนะที เป็ นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหา
ส่ วนอาจารย์ทีปรึ กษาทีไม่เชี ยวชาญจะมีคุณลักษณะ เครี ยด เงอะงะ ไม่มีความเชื อมันในตนเอง
38

นอกจากนียงั มีผลงานวิจยั ของ ดิสไตน์ (Dickstein, 1976, p. 45) ซึ งได้ศึกษาเกียวกับ


ลักษณะของผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษาทีนกั เรี ยนในระดับมัธยมศึกษาต้องการ พบผลบางประการที น่าสนใจ
สําหรับการวิจยั ครังนี ผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษาควรมีคุณลักษณะ ดังนี
1. เป็ นผูท้ ีอยูใ่ นวัยหนุ่มสาว
2. เป็ นผูท้ ีร่วมกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรของนักเรี ยน
3. เป็ นผูท้ ีร่วมกิจกรรมของชุ มชน
4. เป็ นผูท้ ีมรครอบครัวแล้ว
5. เป็ นผูท้ ีนกั ศึกษาสามารถเข้าพบได้ตลอดเวลา
6. ใช้วธิ ี ให้คาํ ปรึ กษามากกว่าแนะนํา
7. มีลกั ษณะเปิ ดเผย
8. ใจดี มีเมตตา มีความเป็ นมิตร และยอมรับนักเรี ยน
สติ คเคิล (Stickle, 1980, pp. 262 - 265) ได้ศึกษาหน้าที ของอาจารย์ทีปรึ กษาทีเป็ น
ทียอมรับในหมู่นกั การศึกษาทังหลาย ผลการศึกษาพบว่า หน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษามี 5 ประการ คือ
1. ให้ความช่วยเหลือนักศึกษา ให้สาํ เร็ จการศึกษาจากหลัก สู ตรตามความสนใจและ
ความต้องการของนักศึกษา
2. ให้ขอ้ มูลแก่นกั ศึกษาในเรื องของวิชาการ กฎหมาย
3. ให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั ศึกษาในเรื องเกียวกับวิชาการ
4. ช่วยพัฒนานักศึกษา โดยการเรี ยนรู ้และทําความเข้าใจนักศึกษา โดยคํานึงถึง
ความต้องการ เป้ าหมาย ความหวัง และช่วยแก้ไขปั ญหาส่ วนตัวด้วย
5. สนับสนุนให้นกั ศึกษาวางแผนทางด้านวิชาการในระยะยาว
จากเอกสารและงานวิจยั ข้างต้น สรุ ปได้วา่ บทบาทของครู ทีปรึ กษาทางวิชาการทังด้าน
วิชาการ และด้านส่ วนตัวของนักศึกษา รวมถึงด้านที เกียวข้องกับวิชาชีพมีความสําคัญต่อทัศนะของ
ครู ทีปรึ กษาและนักศึกษาด้วย นอกจากนันแล้ว ประสบการณ์หรื อจํานวนปี ในการให้บริ การของครู
ทีปรึ กษาจะมีความสัมพันธ์กบั ทัศนะในเรื องการให้คาํ ปรึ กษา ส่ วนอุปสรรค ทีมีต่อการให้คาํ ปรึ กษา
โดยส่ วนรวมคือ การทีครู ทีปรึ กษาขาดข้อมูลและทักษะในการให้คาํ ปรึ กษา ตลอดจนการมีจาํ นวน
นักศึกษาในความรั บผิดชอบค่อนข้างมาก รวมทังครู ทีปรึ กษามี ภาระงานสอนและอื น ๆ มาก
ซึ งแนวทางในการแก้ไขปั ญหาดังกล่าวได้มุ่งไปที การพิจารณาให้ค่าตอบแทน และลดภาระงานสอน
ของครู ทีปรึ กษา เพือทีจะปฏิบตั ิหน้าทีได้อย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึน ดังนัน เพือให้งาน
ครู ทีปรึ กษามีประสิ ทธิ ภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ จึงควรที จะมีรูปแบบการบริ หารงานทีชดั เจน
โดยการปรับปรุ งการจัดรู ปงาน (Reorganization) ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับหน่วยงานต่อไป
39

นอกจากนี ครู ทีปรึ กษาจะต้องมี คุณลักษณะของครู ที ปรึ กษาทีสาํ คัญทัง 3 ด้าน คื อ


ด้านวิชาการ ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านบริ การ ซึ งมีความสําคัญต่อการปฏิบตั ิงานของครู ทีปรึ กษา
ผูว้ จิ ยั จึงได้นาํ มาเป็ นองค์ประกอบในการวิจยั ครั งนี
40

บทที 3
วิธีดาํ เนินการวิจยั

การดําเนิ นการวิจยั ครังนี เป็ นการวิจยั เชิงสํารวจ (Survey research) เพือศึกษาคุณลักษณะ


ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่
กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ ผูว้ จิ ยั ได้ดาํ เนินการตามขันตอน ดังต่อไปนี
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครื องมือทีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3. การสร้างเครื องมือทีใช้ในการวิจยั
4. การหาคุณภาพเครื องมือทีใช้ในการวิจยั
5. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการจัดกระทําข้อมูล
6. สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล

ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
1. ประชากร ประชากรทีใช้ในการวิจยั ครังนี คือ นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ทัง 3 ระดับ คือมัธยมศึกษาปี ที 4 มัธยมศึกษาปี ที 5 และมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่
กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ ปี การศึกษา 2558 จํานวน 810 คน
2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการวิจยั ครังนี คือ นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลายทัง 3 ระดับ คือ มัธยมศึกษาปี ที 4 มัธยมศึกษาปี ที 5 และมัธยมศึกษาปี ที 6 โรงเรี ยน
มัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ ปี การศึกษา 2558 จํานวน 261 คน ตามตารางกําหนด
ขนาดกลุ่มตัวอย่างของ เครจซี และมอร์ แกน (Krejcie & Morgan, 1970, pp. 607 - 610) กลุ่มตัวอย่าง
ได้มาโดยการสุ่ มแบบแบ่งชัน (Stratified random sampling) โดยแบ่งชันตามระดับ และเพศ
ดังตารางที 1
41

ตารางที 1 จํานวนประชากรและกลุ่มตัวอย่าง จําแนกตามเพศ และระดับชัน

ประชากร กลุ่มตัวอย่ าง
ระดับ รวม ระดับ รวม
ชาย หญิง ชาย หญิง
ม. 4 110 230 340 ม. 4 35 74 109
ม. 5 114 126 240 ม. 5 37 41 78
ม. 6 102 128 230 ม. 6 33 41 74
รวม 326 484 810 รวม 105 156 261

เครืองมือทีใช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูล


เครื องมือทีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจยั ครังนี เป็ นเครื องมือทีผวู ้ ิจยั สร้างขึนเอง
โดยยึดหลักตามแนวความคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั ทีเกียวข้อง ซึ งผูว้ จิ ยั ได้ยดึ เป็ นแนวทางในการ
สร้างแบบสอบถาม โดยแบ่งออกเป็ น 2 ตอน ดังนี
ตอนที 1 เป็ นแบบสอบถามเกียวกับข้อมูลทัวไปของผูต้ อบแบบสอบถามมีลกั ษณะ
เป็ นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) ได้แก่ เพศ และระดับชันทีเรี ยน จํานวน 2 ข้อ
ตอนที 2 เป็ นแบบสอบถามคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนคติของนักเรี ยนและ
คุณลักษณะทีพึงประสงค์ตามทัศนะคติของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จํานวน 42 ข้อ ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านวิชาการจํานวน
13 ข้อ ด้านมนุษยสัมพันธ์ จํานวน 15 ข้อ และด้านบริ การจํานวน 14 ข้อ ลักษณะแบบสอบถาม
เป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating scale) แบ่งออกเป็ น 5 ระดับ ดังนี
5 หมายถึง คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทัศนะของนักเรี ยนในระดับมากที สุด
4 หมายถึง คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนในระดับมาก
3 หมายถึง คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนในระดับปานกลาง
2 หมายถึง คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนในระดับน้อย
1 หมายถึง คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนในระดับน้อยที สุด
42

การสร้ างเครืองมือทีใช้ ในการวิจัย


การสร้างเครื องมือทีใช้ในเก็บรวบรวมข้อมูลครังนี ผูว้ ิจยั ได้สร้างขึนเอง โดยมีลาํ ดับ
การสร้าง ดังนี
1. ศึกษาแนวคิดทฤษฎี เอกสาร และงานวิจยั ทีเกียวข้องกับเรื องทีทาํ การวิจยั เพือกําหนด
กรอบแนวคิดในการสร้างแบบสอบถาม
2. กําหนดขอบเขตของการศึกษาครังนี โดยแบ่งคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนคติ
ของนักเรี ยน 3 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านบริ การ
3. รวบรวมแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารงานวิจยั รวมทังศึกษาคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา
ของนักเรี ยนที มีผูศ้ ึ กษาวิจยั ไว้แล้วนํามาบูรณาการสร้ างแบบสอบถามโดยให้ครอบคลุ มเนื อหา
ทัง 3 ด้าน

การหาคุณภาพเครืองมือทีใช้ ในการวิจัย
การหาคุณภาพเครื องมือทีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครังนี ได้แยกออกเป็ น
การหาความเทียงตรง การทดสอบค่าอํานาจจําแนก และความเชื อมัน ดังนี
1. ความเทียงตรง (Validity) การหาความเทียงตรงของแบบสอบถามนี ผูว้ จิ ยั ได้นาํ
แบบสอบถามทีสร้างขึนดําเนิ นการ ดังนี
1.1 เสนอแบบสอบถามทีสร้างขึนต่อประธานและคณะกรรมการควบคุมการทําวิจยั
ตรวจแก้ไขเพือความถูกต้อง
1.2 นําเสนอแบบสอบถามทีผา่ นการแก้ไขปรับปรุ งแล้ว ให้ผทู ้ รงคุณวุฒิพิจารณา
ตรวจสอบความเทียงตรงและความถูกต้องของเนื อหา โดยผูท้ รงคุณวุฒิ
1.2.1 ดร.สถาพร พฤฑฒิกุล อาจารย์ประจําศูนย์นวัตกรรมการบริ หารและ
ผูน้ าํ ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา
1.2.2 ดร.ธนวิน ทองแพง อาจารย์ประจําศูนย์นวัตกรรมการบริ หารและ
ผูน้ าํ ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา
1.2.3 นายอุดม ชํานิ ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ
1.3 นําแบบสอบถามมาปรับปรุ งแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผูท้ รงคุณวุฒิ
แล้วนําเสนอต่อประธานและคณะกรรมการควบคุมงานนิ พนธ์ เพือพิจารณาปรับปรุ งเป็ นครังสุ ดท้าย
43

2. การหาค่าอํานาจจําแนก (Discrimination) และความเชื อมัน (Reliability)


การหาค่าอํานาจจําแนก และความเชื อมันของแบบสอบถาม ผูว้ จิ ยั ได้ดาํ เนินการ ดังนี
2.1 นําแบบสอบถามทีปรับปรุ งแล้ว ไปทดลองใช้ (Try - out) กับนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ จํานวน 30 คน
ที ไม่ใช่ กลุ่มตัวอย่าง แล้วนํามาวิเคราะห์ เพื อหาค่าอํานาจจําแนกรายข้อ โดยใช้สถิ ติวิเคราะห์
ค่าสัมประสิ ทธิ สหสัมพันธ์แบบเพียร์ สัน ระหว่างคะแนนรายข้อปรากฏว่ามี ค่าอํานาจจําแนก
ระหว่าง .24 - .64
2.2 นําแบบสอบถามทีมีขอ้ คําถามมีค่าอํานาจจําแนก หาค่าความเชื อมัน (Reliability)
โดยวิธีหาค่าสัมประสิ ทธิ อลั ฟา (Alpha coefficient) ของ ครอนบาค (Cronbach, 1990, pp. 202 - 204)
โดยวิธีโปรแกรมสําเร็ จรู ป ปรากฏว่ามีค่าความเชื อมัน .92
2.3 นําแบบสอบถามทีปรับปรุ งแล้ว เสนอกรรมการทีปรึ กษา ก่อนนําไปเก็บข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้ อมูลและการจัดกระทําข้ อมูล


การเก็บรวบรวมข้อมูลสําหรับการวิจยั ครังนี ผูว้ จิ ยั ได้ดาํ เนินการตามขันตอน ดังนี
1. ขอหนังสื อจากศูนย์นวัตกรรมการบริ หารและผูน้ าํ ทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา ถึ งผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ เพื อขอ
ความร่ วมมือในการจัดเก็บข้อมูล
2. ผูว้ จิ ยั ดําเนินการแจกและเก็บแบบสอบถามด้วยตนเอง ผลการเก็บข้อมูลผูว้ จิ ยั ได้รับ
แบบสอบถามคืนมาเป็ นฉบับทีสมบูรณ์ จํานวน 261 ฉบับ คิดเป็ นร้อยละ 100
3. นําข้อมูลไปวิเคราะห์ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สําเร็ จรู ป แล้วนําเสนอในรู ป
ตาราง และแปลผลโดยการบรรยายตามลําดับต่อไป

สถิติทีใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล


ผูว้ จิ ยั ได้ดาํ เนินการวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้โปรแกรมสําเร็ จรู ปโดยเลือกเฉพาะวิธีวเิ คราะห์
ข้อมูลทีสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย และสมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า ดังนี
1. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกียวกับสถานภาพของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ ทีเป็ นกลุ่มตัวอย่าง สถิติทีใช้คือ ความถี และร้อยละ (Percentage)
2. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกียวกับคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน
โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ สถิ ติที ใช้ คื อ คะแนนเฉลี ย (Mean)
และค่าเบียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ในการแปลความหมายของค่าเฉลียของการวิเคราะห์
ข้อมูล ได้วเิ คราะห์ความหมายของค่าเฉลี ย ดังนี
44

4.50 - 5.00 หมายความว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาอยูใ่ นระดับมากทีสุด


3.50 - 4.49 หมายความว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาอยูใ่ นระดับมาก
2.50 - 3.49 หมายความว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาอยูใ่ นระดับปานกลาง
1.50 - 2.49 หมายความว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาอยูใ่ นระดับน้อย
1.00 - 1.49 หมายความว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาอยูใ่ นระดับน้อยทีสุด
3. การเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จําแนกตามเพศ ใช้การทดสอบค่าที (t - test)
4. การเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จําแนกตามระดับชัน ใช้การวิเคราะห์ ค่าแปรปรวนทางเดียว
(One - way analysis of variance) เมือพบความแตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ ทําการทดสอบความแตกต่าง
รายคู่โดยใช้วธิ ี การของ เชฟเฟ่ (Sheffe’ test)
5. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่
กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ โดยใช้สถิติทดสอบค่าที (t - test)
45

บทที 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

การศึกษาค้นคว้าครั งนี ผูว้ ิจยั ได้เสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยเริ มจากการกําหนด


สัญลักษณ์ทีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลและลําดับขันตอนนําเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ดังต่อไปนี

สั ญลักษณ์ ทีใช้ ในการวิเคราะห์ ข้อมูล


n แทน จํานวนกลุ่มตัวอย่าง
X แทน ค่าเฉลีย
SD แทน ความเบียงเบนมาตรฐาน
F แทน ค่าสถิติแจกแจง F
df แทน ชันของความเป็ นอิสระ
SS แทน ผลรวมของคะแนนเบียงเบนกําลังสอง
MS แทน ค่าความแปรปรวน
t แทน ค่าสถิติแจกแจง t
p แทน ค่าความน่าจะเป็ น
* แทน ค่าความแตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที ระดับ .05

การเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
การเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลครังนี ผูว้ จิ ยั ได้ดาํ เนิ นการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
โดยแบ่งออกเป็ น 6 ตอน ดังนี
ตอนที 1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี ยวกับสถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง สถิ ติทีใช้คือ ความถี
และร้อยละ แล้วนําเสนอในรู ปตารางและแปรผลโดยการบรรยาย
ตอนที 2 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกียวกับคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน
โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ สถิติทีใช้คือ ค่าเฉลีย (Mean) และความเบียงเบน
มาตรฐาน (Standard deviation) แล้วนําเสนอในรู ปตาราง และแปลผลโดยการบรรยาย
ตอนที 3 การทดสอบสมมติฐานเปรี ยบเทียบนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ ทีมีเพศแตกต่างกัน มีความคิดเห็นเกียวกับคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาแตกต่างกัน
ใช้การทดสอบค่าที (t - test) แล้วนําเสนอในรู ปตาราง และแปลผล โดยการบรรยาย และจําแนก
ตามระดับชัน สถิ ติทีใช้ คื อ ค่าความแปรปรวนทางเดี ยว (One - way analysis of variance)
46

และถ้าพบว่า มีความแตกต่างกันจึงทําการเปรี ยบเทียบความแตกต่างเป็ นรายคู่ โดยทดสอบตามวิธี


ของ Scheffe’ test
ตอนที 4 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกียวกับคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะ
ของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ สถิติที ใช้คือ ค่าเฉลีย (Mean) และ
ความเบียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) แล้วนําเสนอ ในรู ปตาราง และแปรผลโดยการบรรยาย
ตอนที 5 การทดสอบสมมติฐานเปรี ยบเทียบนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ ทีมีเพศแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี ยวกับคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษาแตกต่างกัน ใช้การทดสอบค่าที (t - test) แล้วนําเสนอในรู ปตาราง และแปลผล
โดยการบรรยายและจําแนกตามระดับชัน สถิติทีใช้ คือ ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One - way
analysis of variance) และถ้าพบว่า มีความแตกต่างกันจึงทําการเปรี ยบเทียบความแตกต่างเป็ นรายคู่
โดยทดสอบตามวิธีของ Scheffe’ test
ตอนที 6 การเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนโรงเรี ยน
มัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ และคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะ
ของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ ใช้การทดสอบค่าที (Paired samples
t - test) แล้วนําเสนอในรู ปตารางและแปลผลโดยการบรรยาย

ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
จากการศึกษาคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่
กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯและคุณลักษณะที พึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน
โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ ครั งนี ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเสนอในรู ปตาราง
และคําบรรยาย ดังนี

ตอนที 1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกียวกับสถานภาพของกลุ่มตัวอย่าง

ตารางที 2 จํานวนและร้ อยละสถานภาพของกลุ่มตัวอย่ าง

สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม จํานวน ร้ อยละ


1. เพศ
1.1 เพศชาย 105 40.23
1.2 เพศหญิง 154 59.77
รวม 261 100.00
47

ตารางที 2 (ต่อ)

สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม จํานวน ร้ อยละ


2. ระดับชัน
2.1 มัธยมศึกษาปี ที 4 109 41.76
2.2 มัธยมศึกษาปี ที 5 78 29.87
2.3 มัธยมศึกษาปี ที 6 74 28.35
รวม 261 100.00

จากตารางที 2 พบว่า กลุ่มตัวอย่างทีศึกษาส่ วนใหญ่เป็ นเพศชาย มีจาํ นวน 105 คน


คิดเป็ นร้อยละ 40.23 และเพศหญิงจํานวน คน คิดเป็ นร้อยละ 59.77
กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่ศึกษาอยูใ่ นชันมัธยมศึกษาปี ที 4 มีจาํ นวน 109 คน คิดเป็ นร้อยละ
41.76 รองลงมา คือ ชันมัธยมศึกษาปี ที 5 มีจาํ นวน 78 คน คิดเป็ นร้อยละ 32 เท่ากัน

ตอนที 2 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกียวกับคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของ


นักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ

ตารางที 3 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะทีเป็ นจริงของครู ทีปรึกษา


โดยรวม

n = 261
คุณลักษณะทีเป็ นจริ งของครู ทีปรึ กษา ระดับ ลําดับที
(X) SD
1. ด้านวิชาการ 3.85 .56 มาก 1
2. ด้านมนุษยสัมพันธ์ 3.80 .67 มาก 3
3. ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา 3.82 .66 มาก 2
รวม 3.82 .59 มาก

จากตารางที 3 พบว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาโดยรวม อยูใ่ นระดับมาก เมือพิจารณา


เป็ นรายด้านพบว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการมีคะแนนเฉลี ยมากทีสุด รองลงมาคือ
ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา และด้านมนุษยสัมพันธ์ มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด
48

ตารางที 4 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะของครู ทีปรึกษา


ด้ านวิชาการ

n = 261
ด้านวิชาการ ระดับ ลําดับที
( X ) SD
1. มีความเข้าใจในเรื องระเบียบและวิธีการให้คาํ ปรึ กษา 3.71 1.02 มาก 12
เป็ นอย่างดี
2. สามารถแนะนําเกียวกับโครงสร้างของหลักสู ตร 3.82 .89 มาก 9
ตลอดจนวิธีการปฏิบตั ิตนของนักศึกษาระหว่างเรี ย น
3. เอาใจใส่ ติดตาม ดูแลการเรี ยนของนักเรี ยนอย่างใกล้ชิด 3.48 1.16 ปานกลาง 13
4. หมันศึกษาหาความรู ้อยูเ่ ป็ นประจํา 3.84 .90 มาก 8
5. มีเทคนิคในการกระตุน้ นักเรี ยนให้มีนิสัยรักการอ่าน 3.88 .95 มาก 6
ค้นคว้าหาความรู ้เพิมเติม
6. ให้คาํ แนะนําเกียวกับวิธีการเรี ยนและการศึกษาค้นคว้า 3.89 .98 มาก 5
ด้วยตนเอง
7. ใช้เทคนิคใหม่ ๆ แนะนํานักเรี ยนให้เกิดการเรี ยนรู ้ทีดี 3.81 .95 มาก 10
8. ติดตาม ช่วยเหลือให้คาํ ปรึ กษาเกียวกับกิจกรรมที 3.74 .80 มาก 11
นักเรี ยนสนใจ
9. เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการวิเคราะห์เนื อหา 3.98 .99 มาก 3
ของบทเรี ยน
10. วางแผนช่วยเหลือนักเรี ยนทีไม่ผา่ นเกณฑ์การวัดผลและ 3.97 .87 มาก 4
ประเมินผล
11. สนใจตรวจสอบการจบหลักสู ตรของนักเรี ยน 3.87 .84 มาก 7
12. ส่ งเสริ มนักเรี ยนทีเรี ยนดีให้ดียิงขึน 4.04 1.04 มาก 2
13. มีความรอบรู ้ทนั สถานการณ์ปัจจุบนั 4.05 .86 มาก 1
รวม 3.85 .56 มาก

จากตารางที 4 พบว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก


เมือพิจารณาเป็ นรายข้อโดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลี ยจากมากไปน้อย พบว่า มีความรอบรู ้
ทันสถานการณ์ปัจจุบนั มีคะแนนเฉลียมากทีสุด รองลงมาคือ ส่ งเสริ มนักเรี ยนทีเรี ยนดีให้ดียิงขึน
ส่ วนเอาใจใส่ ติดตาม ดูแลการเรี ยนของนักเรี ยนอย่างใกล้ชิดมีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด
49

ตารางที 5 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะของครู ทีปรึกษา


ด้ านมนุษยสั มพันธ์

n= 261
ด้านมนุษยสัมพันธ์ ระดับ ลําดับที
(X) SD
1. วางตัวเป็ นกันเองกับนักเรี ยน 3.95 1.07 มาก 3
2. เข้าใจจิตวิทยาของวัยรุ่ นเป็ นอย่างดี 3.62 1.10 มาก 14
3. คอยช่วยเหลือและสร้างขวัญกําลังใจให้นกั เรี ยน 3.76 1.06 มาก 10
4. สนใจ สอบถามต่อทุกข์ สุ ข ของนักเรี ยน 3.51 1.03 มาก 15
5. ยกย่อง ชมเชย และให้เกียรติผอู ้ ืน 3.79 1.01 มาก 9
6. มีวธิ ี การทีดีในการว่ากล่าวตักเตือน 3.85 1.06 มาก 6
7. ยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรี ยน 3.83 1.00 มาก 7
8. รู ้จกั ควบคุมอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมทุกสถานการณ์ 3.71 1.12 มาก 11
9. มีวจิ ารณญาณในการพิจารณาข้อเท็จจริ ง 3.64 1.02 มาก 13
10. มีความสุ ภาพ ร่ าเริ งแจ่มใสเป็ นแบบอย่างทีดีแก่นกั เรี ยน 3.68 1.14 มาก 12
11. สามารถสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ นในหมู่คณะ 3.89 1.08 มาก 5
12. ให้อภัยและเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรับปรุ งตนเอง 3.94 .96 มาก 4
13. เป็ นผูป้ ระสานงานทีดี 4.05 .89 มาก 1
14. มีความยุติธรรม 3.82 .99 มาก 8
15. มีความสามารถ แก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าได้ดี 3.97 1.65 มาก 2
รวม 3.80 .67 มาก

จากตารางที 5 พบว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา ด้านมนุ ษยสัมพันธ์ โดยรวมอยูใ่ น


ระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายข้อโดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลี ยจากมากไปน้อย พบว่า เป็ นผูป้ ระสานงาน
ทีดี มีคะแนนเฉลียมากทีสุด รองลงมาคือ มีความสามารถแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าได้ดี และวางตัว
เป็ นกันเองกับนักเรี ยน ส่ วนเข้าใจจิตวิทยาของวัยรุ่ นเป็ นอย่างดี และสนใจสอบถามต่อทุกข์ สุ ข
ของนักเรี ยน มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด
50

ตารางที 6 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะของครู ทีปรึกษา


ด้ านการบริการให้ คําปรึกษา

n = 261
ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา ระดับ ลําดับที
( X ) SD
1. มีความรู ้ความสามารถในการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน 4.08 .88 มาก 1
2. พึงพอใจต่อการให้คาํ แนะนําปรึ กษา 3.86 .98 มาก 6
3. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําเกี ยวกับการวางแผนใช้จ่าย 3.86 1.03 มาก 7
ในเรื องการศึกษา
4. สนใจติดตามเกียวกับงานทีนกั เรี ยนได้รับมอบหมาย 3.83 1.14 มาก 8
5. เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรึ กษาหารื อได้ทุกโอกาส 3.75 1.11 มาก 10
ตามความเหมาะสม
6. ให้ข่าวสารข้อมูลทีเป็ นประโยชน์ต่อนักเรี ยนเกี ยวกับ 3.90 .91 มาก 5
การศึกษาและการประกอบอาชีพ
7. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําช่วยเหลือเกี ยวกับการปรับปรุ ง 3.96 1.04 มาก 2
พฤติกรรมของนักเรี ยน
8. สนใจติดตามป้ องกันเรื องยาเสพติดอย่างใกล้ชิด 3.82 1.01 มาก 9
9. ให้คาํ แนะนําช่วยเหลือปั ญหาด้านสุ ขภาพอนามัย 3.91 1.13 มาก 4
10. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําการทํางานนอกเวลาเพือให้มี 3.45 1.14 ปานกลาง 14
รายได้พิเศษ
11. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําเกี ยวกับหลักสู ตรการเลือก 3.74 1.02 มาก 11
วิชาเรี ยน
12. ให้คาํ ปรึ กษานักเรี ยนให้ดาํ เนินชี วติ ตามหลักเศรษฐกิจ 3.96 1.10 มาก 3
พอเพียง
13. แนะแนวเกียวกับการศึกษาต่อในระดับทีสูงขึน 3.71 1.02 มาก 12
14. อุทิศเวลาอย่างเต็มทีต่อการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน 3.59 1.23 มาก 13
รวม 3.82 .66 มาก

จากตารางที 6 พบว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา โดยรวม
อยูใ่ นระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายข้อโดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลี ยจากมากไปน้อย พบว่า มีความรู ้
51

ความสามารถในการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน มี คะแนนเฉลียมากทีสุด รองลงมาคือ ให้คาํ ปรึ กษา


แนะนําช่วยเหลือเกียวกับการปรับปรุ งพฤติกรรมของนักเรี ยน ส่ วนให้คาํ ปรึ กษาแนะนําการทํางาน
นอกเวลาเพือให้มีรายได้พิเศษ มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด

ตอนที 3 เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา ตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยน


มัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จําแนกตามเพศ และระดับชัน

ตารางที 7 เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา จําแนกตามเพศ

ชาย หญิง
คุณลักษณะของอาจารย์ ทีปรึ กษา
n = 105 n = 156 t p
ทีเป็ นจริง
(X) SD (X) SD
1. ด้านวิชาการ 3.85 .59 3.85 .52 .07 .93
2. ด้านมนุษยสัมพันธ์ 3.82 .69 3.78 .66 .50 .61
3. ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา 3.78 .69 3.86 .64 -.92 .35
รวม 3.82 .61 3.83 .57 -.12 .90

จากตารางที 7 พบว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา จําแนกตามเพศ โดยรวม และรายด้าน


แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ

ตารางที 8 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะของครู ที ปรึ กษา


จําแนก ตามระดับชันปี

ม.4 ม.5 ม.6


คุณลักษณะของอาจารย์ ทีปรึ กษา
n = 105 n = 78 n = 74
ทีเป็ นจริง
(X) SD ( X ) SD ( X ) SD
1. ด้านวิชาการ 3.85 .54 3.88 .57 3.82 .55
2. ด้านมนุษยสัมพันธ์ 3.89 .65 3.83 .68 3.75 .68
3. ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา 3.77 .64 3.89 .65 3.78 .69
รวม 3.81 .56 3.87 .60 3.78 .59
52

จากตารางที 8 พบว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา จําแนกตามระดับชันปี โดยรวม


โดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลี ยจากมากไปน้อย พบว่า ระดับชันปี ที 5 มีคะแนนเฉลียมากทีสุด
รองลงมาคือ ระดับชันปี ที 4 ส่ วนระดับชันปี ที 6 มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด

ตารางที 9 การวิเคราะห์ความแปรปรวนเพือเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา จําแนกตาม


ระดับชันปี

แหล่ งความแปรปรวน df SS MS F p
ด้านวิชาการ
ระหว่างกลุ่ม 2 .13 .06 .22 .80
ภายในกลุ่ม 247 77.28 .31
รวม 249 77.41
ด้านมนุษยสัมพันธ์
ระหว่างกลุ่ม 2 .29 .14 .32 .72
ภายในกลุ่ม 247 111.99 .45
รวม 249 112.28
ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา
ระหว่างกลุ่ม 2 .72
ภายในกลุ่ม 247 108.53 .36
รวม 249 109.26 .43 .82 .44
โดยภาพรวม
ระหว่างกลุ่ม 2 .31 .15 .44 .63
ภายในกลุ่ม 247 84.93 .34
รวม 1249 85.24

จากตารางที 9 พบว่า ผลการเปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีเป็ นจริ งของครู ทีปรึ กษา


จําแนกตามระดับชันปี โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ
53

ตอนที 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกียวกับคุณลักษณะทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรี ยน


โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ

ตารางที 10 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะทีพงึ ประสงค์ ของ


ครู ทีปรึกษา

n = 261
คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ระดับ ลําดับที
(X) SD
1. ด้านวิชาการ 4.07 .86 มาก 2
2. ด้านมนุษยสัมพันธ์ 4.09 .73 มาก 1
3. ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา 4.04 .78 มาก 3
รวม 4.07 .73 มาก

จากตารางที 10 พบว่า คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก


เมือพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านมนุษยสัมพันธ์
มีคะแนนเฉลียมากทีสุด รองลงมาคือ ด้านวิชาการ และด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา มีคะแนนเฉลีย
น้อยทีสุด

ตารางที 11 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะทีพงึ ประสงค์ ของ


ครู ทีปรึกษา ด้ านวิชาการ

n = 261
ด้านวิชาการ ระดับ ลําดับที
( X ) SD
1. มีความเข้าใจในเรื องระเบียบและวิธีการให้คาํ ปรึ กษา 4.08 1.15 มาก 8
เป็ นอย่างดี
2. สามารถแนะนํา เกียวกับโครงสร้างของหลักสู ตร 4.02 1.19 มาก 10
ตลอดจนวิธีการปฏิบตั ิตนของนักศึกษาระหว่างเรี ยน
3. เอาใจใส่ ติดตาม ดูแลการเรี ยนของนักเรี ยนอย่างใกล้ชิด 4.00 1.14 มาก 11
4. หมันศึกษาหาความรู ้อยูเ่ ป็ นประจํา 4.11 1.00 มาก 4
54

ตารางที 11 (ต่อ)

n = 261
ด้านวิชาการ ระดับ ลําดับที
( X ) SD
5. มีเทคนิคในการกระตุน้ นักเรี ยนให้มีนิสัยรั กการอ่าน 3.97 1.20 มาก 12
ค้นคว้าหาความรู ้เพิมเติม
6. ให้คาํ แนะนําเกียวกับวิธีการเรี ยนและการศึกษาค้นคว้า 4.09 1.26 มาก 7
ด้วยตนเอง
7. ใช้เทคนิคใหม่ ๆ แนะนํานักเรี ยนให้เกิดการเรี ยนรู ้ทีดี 4.10 1.14 มาก 6
8. ติดตาม ช่วยเหลือให้คาํ ปรึ กษาเกียวกับกิจกรรมที 4.20 1.03 มาก 1
นักเรี ยนสนใจ
9. เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการวิเคราะห์เนือหา 3.93 1.19 มาก 13
ของบทเรี ยน
10. วางแผนช่วยเหลือนักเรี ยนทีไม่ผา่ นเกณฑ์การวัดผลและ 4.04 1.06 มาก 9
ประเมินผล
11. สนใจตรวจสอบการจบหลักสู ตรของนักเรี ยน 4.10 1.08 มาก 5
12. ส่ งเสริ มนักเรี ยนทีเรี ยนดีให้ดียิงขึน 4.14 1.06 มาก 2
13. มีความรอบรู ้ทนั สถานการณ์ปัจจุบนั 4.12 1.03 มาก 3
รวม 4.07 .86 มาก

จากตารางที 11 พบว่า คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการโดยรวม


อยูใ่ นระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายข้อโดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลี ยจากมากไปน้อย พบว่า ติดตาม
ช่วยเหลือให้คาํ ปรึ กษาเกียวกับกิจกรรมทีนกั เรี ยนสนใจมีคะแนนเฉลียมากทีสุด รองลงมาคือ
ส่ งเสริ มนักเรี ยนทีเรี ยนดีให้ดียิงขึน ส่ วนเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการวิเคราะห์เนื อหา
ของบทเรี ยนมีคะแนนเฉลี ยน้อยทีสุด
55

ตารางที 12 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะทีพงึ ประสงค์ ของ


ครู ทีปรึกษา ด้ านมนุษยสั มพันธ์

n= 261
ด้านมนุษยสัมพันธ์ ระดับ ลําดับที
(X) SD
1. วางตัวเป็ นกันเองกับนักเรี ยน 4.14 1.11 มาก 5
2. เข้าใจจิตวิทยาของวัยรุ่ นเป็ นอย่างดี 4.04 1.11 มาก 10
3. คอยช่วยเหลือและสร้างขวัญกําลังใจให้นกั เรี ยน 4.12 1.02 มาก 7
4. สนใจ สอบถามต่อทุกข์ สุ ข ของนักเรี ยน 4.05 1.03 มาก 8
5. ยกย่อง ชมเชย และให้เกียรติผอู ้ ืน 4.20 .93 มาก 3
6. มีวธิ ี การทีดีในการว่ากล่าวตักเตือน 4.22 .93 มาก 2
7. ยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรี ยน 3.93 1.14 มาก 15
8. รู ้จกั ควบคุมอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมทุกสถานการณ์ 4.00 1.16 มาก 12
9. มีวจิ ารณญาณในการพิจารณาข้อเท็จจริ ง 3.94 1.15 มาก 14
10. มีความสุ ภาพ ร่ าเริ งแจ่มใสเป็ นแบบอย่างทีดีแก่นกั เรี ยน 4.04 1.12 มาก 11
11. สามารถสร้างความสามัคคีให้เกิดขึ นในหมู่คณะ 4.18 .98 มาก 4
12. ให้อภัยและเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรับปรุ งตนเอง 4.28 .99 มาก 1
13. เป็ นผูป้ ระสานงานทีดี 4.13 .93 มาก 6
14. มีความยุติธรรม 4.04 .99 มาก 9
15. มีความสามารถ แก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าได้ดี 3.98 1.23 มาก 13
รวม 4.09 .73 มาก

จากตารางที 12 พบว่า คุณลักษณะทีเป็ นจริ งของครู ทีปรึ กษา ด้านมนุษยสัมพันธ์โดยรวม


อยูใ่ นระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายข้อโดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลี ยจากมากไปน้อย พบว่า ให้อภัย
และเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรับปรุ งตนเอง มี คะแนนเฉลียมากทีสุด รองลงมาคือ มีวธิ ี การทีดี
ในการว่ากล่าวตักเตือนส่ วนมีวจิ ารณญาณในการพิจารณาข้อเท็จจริ ง และยอมรับฟังความคิดเห็น
ของนักเรี ยนมีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด
56

ตารางที 13 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะทีพงึ ประสงค์ ของ


ครู ทีปรึกษา ด้ านการบริการให้ คําปรึกษา

n = 261
ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา ระดับ ลําดับที
( X ) SD
1. มีความรู ้ความสามารถในการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน 4.04 1.13 มาก 8
2. พึงพอใจต่อการให้คาํ แนะนําปรึ กษา 3.88 1.21 มาก 13
3. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําเกี ยวกับการวางแผนใช้จ่ายในเรื อง 3.98 1.13 มาก 10
การศึกษา
4. สนใจติดตามเกียวกับงานทีนกั เรี ยนได้รับมอบหมาย 3.80 1.31 มาก 14
5. เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรึ กษาหารื อได้ทุกโอกาส 4.10 1.00 มาก 5
ตามความเหมาะสม
6. ให้ข่าวสารข้อมูลทีเป็ นประโยชน์ต่อ นักเรี ยนเกี ยวกับ 4.16 .93 มาก 3
การศึกษาและการประกอบอาชีพ
7. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําช่วยเหลือเกี ยวกับการปรับปรุ ง 4.00 1.04 มาก 9
พฤติกรรมของนักเรี ยน
8. สนใจติดตามป้ องกันเรื องยาเสพติดอย่างใกล้ชิด 4.07 1.15 มาก 6
9. ให้คาํ แนะนําช่วยเหลือปั ญหาด้านสุ ขภาพอนามัย 4.20 1.04 มาก 1
10. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําการทํางานนอกเวลา เพือให้มีรายได้ 3.97 1.14 มาก 11
พิเศษ
11. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําเกี ยวกับหลักสู ตรการเลือกวิชาเรี ยน 3.95 1.11 มาก 12
12. ให้คาํ ปรึ กษานักเรี ยนให้ดาํ เนินชี วติ ตามหลักเศรษฐกิจ 4.14 1.11 มาก 4
พอเพียง
13. แนะแนวเกียวกับการศึกษาต่อในระดับทีสูงขึน 4.19 1.05 มาก 2
14. อุทิศเวลาอย่างเต็มที ต่อการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน 4.06 1.23 มาก 7
รวม 4.04 .78 มาก

จากตารางที 13 พบว่า คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านการบริ การให้


คําปรึ กษา โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายข้อโดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลี ยจาก
มากไปน้อย พบว่า มีให้คาํ แนะนําช่ วยเหลื อปั ญหาด้านสุ ขภาพอนามัย มีคะแนนเฉลี ยมากทีสุด
57

รองลงมา คือ แนะแนวเกียวกับการศึกษาต่อในระดับทีสูงขึน และให้ข่าวสารข้อมูลทีเป็ นประโยชน์


ต่อนักเรี ยนเกียวกับการศึกษาและการประกอบอาชีพส่ วนสนใจติดตามเกียวกับงานทีนกั เรี ยนได้รับ
มอบหมาย มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด

ตอนที 5 เปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ตามทัศนะของนักเรี ยน


โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จําแนกตามเพศ และระดับชัน

ตารางที 14 เปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา จําแนกตามเพศ

ชาย หญิง
คุณลักษณะทีพงึ ประสงค์ ของ
n = 105 n = 154 t p
ครู ทีปรึกษา
(X) SD (X) SD
1. ด้านวิชาการ 3.97 .86 4.17 .84 -1.79 .07
2. ด้านมนุษยสัมพันธ์ 3.97 .71 4.17 .73 -2.44* .01
3. ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา 3.91 .76 4.20 .77 -2.58* .01
รวม 3.95 .71 4.16 .74 -.12 .90
* p < .05

จากตารางที 14 พบว่า คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา จําแนกตามเพศโดยรวม


และวิชาการ แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ ยกเว้น คุณลักษณะด้านมนุษยสัมพันธ์และ
ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที ระดับ .05
58

ตารางที 15 คะแนนเฉลีย ความเบียงเบนมาตรฐาน และระดับคุณลักษณะที พึงประสงค์ของ


ครู ทีปรึ กษา จําแนกตามระดับชันปี

ม.4 ม.5 ม.6


คุณลักษณะทีพงึ ประสงค์ ของครู ทีปรึกษา n = 109 n = 78 n = 74
( X ) SD ( X ) SD ( X ) SD
1. ด้านวิชาการ 3.90 .72 4.28 1.07 4.04 .69
2. ด้านมนุษยสัมพันธ์ 3.95 .72 4.22 .75 4.08 .70
3. ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา 3.87 .78 4.22 .73 4.03 .78
รวม 3.91 .70 4.24 .78 4.05 .68

จากตารางที 15 พบว่า คุณลักษณะของทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา จําแนกตามระดับชัน


โดยรวม โดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลี ยจากมากไปน้อย พบว่า ระดับชันปี ที 5 มีคะแนนเฉลียมากทีสุด
รองลงมาคือ ระดับชันปี ที 6 ส่ วนระดับชันปี ที 4 มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด

ตารางที 16 การวิเคราะห์ความแปรปรวนเพือเปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของ


ครู ทีปรึ กษา จําแนกตามระดับชันปี

แหล่ งความแปรปรวน df SS MS F p
ด้านวิชาการ
ระหว่างกลุ่ม 2 6.42 3.21 4.49* .01
ภายในกลุ่ม 247 176.73 .71
รวม 249 183.15
ด้านมนุษยสัมพันธ์
ระหว่างกลุ่ม 2 3.10 1.55 2.94* .05
ภายในกลุ่ม 247 130.27 .52
รวม 249 133.37
59

ตารางที 16 (ต่อ)

แหล่ งความแปรปรวน df SS MS F p
ด้านให้คาํ ปรึ กษา
ระหว่างกลุ่ม 2 5.19 2.59 4.41* .01
ภายในกลุ่ม 247 145.17 .58
รวม 249 150.36
โดยภาพรวม
ระหว่างกลุ่ม 2 4.71 2.35 4.49* .01
ภายในกลุ่ม 247 129.49 .52
รวม 249 134.20
* p < .05

จากตารางที 16 พบว่า ผลการเปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา


จําแนกตามระดับชันปี โดยภาพรวม และรายด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที ระดับ .05
เพือแสดงให้เห็นความแตกต่างของคุณลักษณะที พึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ตามทัศนะ
ของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ ที มีระดับชันปี แตกต่างกัน จึงนําผล
การเปรี ยบเทียบมาทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี ยเป็ นรายคู่ ด้วยวิธีการทดสอบของ
Scheffe’ test ปรากฏผลดังตารางที 17

ตารางที 17 เปรี ยบเทียบรายคู่ของคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาโดยรวม จําแนกตาม


ระดับชันปี

คะแนนเฉลีย ม.4 ม.6 ม.5


ระดับชั นปี
(X ) 3.91 4.05 4.24
ม.4 3.91 .13 .33*
ม.6 4.05 .19
ม.5 4.24
* p < .05
60

จากตารางที 17 พบว่า นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 5 กับมัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะ


ต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาในภาพรวม จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกันอย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติ ทีระดับ .05 ยกเว้นนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษาปี ที 5
และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา ในภาพรวม จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ
โดยชันมัธยมศึกษาปี ที 5 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 มีความคิดเห็นสู งกว่าชันมัธยมศึกษาปี ที 4

ตารางที 18 เปรี ยบเทียบรายคู่ของคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการ


จําแนกตามระดับชันปี

คะแนนเฉลีย ม.4 ม.6 ม.5


ระดับชั นปี
(X ) 3.90 4.04 4.28
ม.4 3.90 .14 .38*
ม.6 4.04 .24
ม.5 4.28
* p < .05

จากตารางที 18 พบว่า นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 5 กับมัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะ


ต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการ จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกันอย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ยกเว้นนักเรี ยนระดับชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษาปี ที 5
และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับ ชันมัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการ จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ
โดยชันมัธยมศึกษาปี ที 5 และ ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 มีความคิดเห็นสู งกว่าชันมัธยมศึกษาปี ที 4
61

ตารางที 19 เปรี ยบเทียบรายคู่ของคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านมนุษยสัมพันธ์


จําแนกตามระดับชันปี

คะแนนเฉลีย ม.4 ม.6 ม.5


ระดับชั นปี
(X ) 3.95 4.08 4.22
ม.4 3.95 .12 .27*
ม.6 4.08 .14
ม.5 4.22
* p < .05

จากตารางที 19 พบว่า นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 5 กับมัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะ


ต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านมนุษยสัมพันธ์ จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกัน
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ยกเว้นนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษา
ปี ที 5 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับ ชันมัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการ จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ
โดยชันมัธยมศึกษาปี ที 5 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 มีความคิดเห็นสู งกว่าชันมัธยมศึกษาปี ที 4

ตารางที 20 เปรี ยบเทียบรายคู่ของคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านการบริ การ


ให้คาํ ปรึ กษา จําแนกตามระดับชันปี

คะแนนเฉลีย ม.4 ม.6 ม.5


ระดับชั นปี
(X ) 3.87 4.03 4.22
ม.4 3.87 .15 .34*
ม.6 4.03 .19
ม.5 4.22
* p < .05

จากตารางที 20 พบว่า นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 5 กับ มัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะ


ต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษาจําแนกตามระดับชันปี
แตกต่างกัน อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ยกเว้น นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับ
62

ชันมัธยมศึกษาปี ที 5 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะต่อคุณลักษณะ


ทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษาจําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกัน
อย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ โดยชันมัธยมศึกษาปี ที 5 และ ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 มีความคิดเห็น
สู งกว่าชันมัธยมศึกษาปี ที 4

ตอนที 6 การเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและ


คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองใน
พระราชูปถัมภ์ฯ

ตารางที 21 เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและคุณลักษณะของ


ครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ

คุณลักษณะ คุณลักษณะ
ตามทัศนะ ทีพงึ ประสงค์
คุณลักษณะของครู ทีปรึกษา t p
n = 261 n = 261
(X) SD (X) SD
1. ด้านวิชาการ 3.85 .55 4.07 .85 -4.95* .00
2. ด้านมนุษยสัมพันธ์ 3.80 .67 4.08 .73 -6.44* .00
3. ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา 3.81 .77 4.03 .77 -4.92* .00
รวม 3.82 .58 4.06 .73 -6.16* .00
* p < .05

จากตารางที 21 พบว่า คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาและทีพึงประสงค์ตามทัศนะของ


นักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติทีระดับ .05
63

บทที 5
สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

การศึกษาเรื อง คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและคุณลักษณะของ


ครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามทัศนะคติของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
มีวตั ถุประสงค์เพือศึกษาคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่
กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ ศึกษาเปรี ยบเทียบคุ ณลักษณะของครู ที ปรึ กษาและทีพึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา โดยจําแนกตามเพศ และระดับชันปี และศึกษาเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ที ปรึ กษา
ตามทัศนะของนักเรี ยนและที พึงประสงค์ของครู ที ปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ กลุ่มตัวอย่างที ใช้ในการวิจยั คือ นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย ของโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ จากการสุ่ มแบบแบ่งชัน
(Stratified random sampling) โดยกําหนดระดับชันปี และเพศ ได้จาํ นวน 261 คน ตัวแปรทีใช้ใน
การวิจยั ได้แก่ คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ
ด้านวิชาการ ด้านมนุษยสัมพันธ์ และด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา เครื องมือทีใช้ในการศึกษาครังนี
เป็ นแบบสอบถามทีผวู ้ ิจยั สร้ างขึ น เป็ นแบบสอบถามคุ ณลักษณะของครู ที ปรึ กษาตามทัศนะของ
นักเรี ยนและทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชู ปถัมภ์ฯ ประกอบด้วย 3 ด้าน คื อ ด้านวิชาการ ด้านมนุ ษยสัมพันธ์ และด้านบริ การ
ให้คาํ ปรึ กษา ลักษณะแบบสอบถามเป็ นแบบมาตราส่ วนประมาณค่า (Rating scale) จํานวน 42 ข้อ
ได้ค่าความเชื อมันของแบบสอบถาม เท่ากับ .90 สถิติทีใช้คือ ความถี และร้ อยละ ข้อมูลเกี ยวกับ
คุณลักษณะอาจารย์ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและที พึงประสงค์ สถิ ติทีใช้คือ คะแนนเฉลี ย
(Mean) และค่าเบี ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของอาจารย์
ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและทีพึงประสงค์ จําแนกตามระดับชัน ใช้การวิเคราะห์ค่าแปรปรวน
ทางเดียว (One - way analysis of variance) เมือพบความแตกต่างอย่างมีนยั สําคัญ ทําการทดสอบ
ความแตกต่างรายคู่โดยใช้วธิ ีการของ เชฟเฟ่ (Scheffe’ test) และเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของอาจารย์
ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและที พึงประสงค์ ใช้สถิติทดสอบค่าที (t - test)
64

สรุปผลการวิจัย
จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลของการศึกษาค้นคว้าเกี ยวกับคุณลักษณะตามทัศนะของนักเรี ยน
และที พึงประสงค์ของครู ที ปรึ กษา ตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ สามารถสรุ ปผลการวิจยั ได้ ดังนี
1. คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชูปถัมภ์ฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก เรี ยงตามลําดับคุณลักษณะของครู ที ปรึ กษาตามคะแนน
เฉลี ยจากมากไปน้อย คื อ ด้านวิชาการ มี คะแนนเฉลี ยมากทีสุด รองลงมาคื อ ด้านการบริ การให้
คําปรึ กษา และด้านมนุษยสัมพันธ์ มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด เมือพิจารณาเป็ นรายด้าน พบว่า
1.1 ด้านวิชาการในภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก เมื อพิจารณาเป็ นรายข้อโดยเรี ยงลําดับ
คะแนนเฉลียจากมากไปน้อย พบว่า มีความรอบรู ้ทนั สถานการณ์ปัจจุบนั มีคะแนนเฉลียมากทีสุด
รองลงมาคือ ส่ งเสริ มนักเรี ยนทีเรี ยนดีให้ดียิงขึน ส่ วนเอาใจใส่ ติดตาม ดูแลการเรี ยนของนักเรี ยน
อย่างใกล้ชิด มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด
1.2 ด้านมนุษยสัมพันธ์ในภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายข้อ
โดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลียจากมากไปน้อย พบว่า เป็ นผูป้ ระสานงานทีดี มีคะแนนเฉลี ยมากทีสุด
รองลงมาคื อ มีความสามารถ แก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าได้ดี และวางตัวเป็ นกันเองกับนักเรี ยน
ส่ วนเข้าใจจิตวิทยาของวัยรุ่ นเป็ นอย่างดี และสนใจ สอบถามต่อทุกข์ สุ ข ของนักเรี ยนมีคะแนน
เฉลียน้อยทีสุด
1.3 ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายข้อ
โดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลี ยจากมากไปน้อย พบว่า มีความรู ้ ความสามารถในการให้คาํ ปรึ กษาแก่
นักเรี ยน มีคะแนนเฉลียมากทีสุด รองลงมา คือ ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําช่วยเหลือเกี ยวกับการปรับปรุ ง
พฤติกรรมของนักเรี ยนส่ วนให้คาํ ปรึ กษาแนะนําการทํางานนอกเวลาเพื อให้มีรายได้พิเศษ มีคะแนน
เฉลียน้อยทีสุด
2. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา ตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จําแนกตามเพศ และระดับชันปี พบว่า
2.1 คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน จําแนกตามเพศ โดยรวมและ
รายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ
2.2 คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน จําแนกตามระดับชันปี
โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ
3. คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก เรี ยงตามลําดับคุณลักษณะที พึงประสงค์
65

ของครู ทีปรึ กษา ตามคะแนนเฉลี ยจากมากไปน้อย คือ ด้านมนุษยสัมพันธ์ มีคะแนนเฉลี ยมากทีสุด


รองลงมาคือ ด้านวิชาการและด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุดเมือพิจารณา
เป็ นรายด้าน พบว่า
3.1 ด้านวิชาการในภาพรวม อยูใ่ นระดับมาก เมื อพิจารณาเป็ นรายข้อโดยเรี ยงลําดับ
คะแนนเฉลียจากมากไปน้อย พบว่า ติดตาม ช่วยเหลือให้คาํ ปรึ กษาเกียวกับกิจกรรมทีนกั เรี ยนสนใจ
มีคะแนนเฉลียมากทีสุด รองลงมาคือ ส่ งเสริ มนักเรี ยนทีเรี ยนดีให้ดียิงขึน ส่ วนเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยน
มีส่วนร่ วม ในการวิเคราะห์เนื อหาของบทเรี ยนมีคะแนนเฉลี ยน้อยทีสุด
3.2 ด้านมนุษยสัมพันธ์โดยรวม อยูใ่ นระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายข้อ
โดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลียจากมากไปน้อย พบว่า ให้อภัยและเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรับปรุ งตนเอง
มีคะแนนเฉลียมากทีสุด รองลงมาคือ มีวธิ ี การทีดีในการว่ากล่าวตักเตือน ส่ วนมีวจิ ารณญาณใน
การพิจารณาข้อเท็จจริ งและยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรี ยนมีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด
3.3 ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก เมือพิจารณาเป็ นรายข้อ
โดยเรี ยงลําดับคะแนนเฉลี ยจากมากไปน้อย พบว่า ให้คาํ แนะนําช่วยเหลือปั ญหาด้านสุ ขภาพอนามัย
มีคะแนนเฉลียมากทีสุดรองลงมา คือ แนะแนวเกียวกับการศึกษาต่อในระดับทีสูงขึนและให้ข่าวสาร
ข้อมูลทีเป็ นประโยชน์ต่อ นักเรี ยนเกียวกับการศึกษาและการประกอบอาชีพส่ วนสนใจติดตาม
เกียวกับงานทีนกั เรี ยนได้รับมอบหมายมีคะแนนเฉลี ยน้อยทีสุด
4. เปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ตามทัศนะของนักเรี ยน
โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จําแนกตามเพศและระดับชันปี พบว่า
4.1 คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา จําแนกตามเพศ โดยรวมและ
ด้านวิชาการ แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ ยกเว้น คุณลักษณะด้านมนุษยสัมพันธ์และ
ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที ระดับ .05
4.2 คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา จําแนกตามระดับชันโดยรวม
และรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที ระดับ .05 และเมือเปรี ยบเทียบเป็ นรายคู่ พบว่า
4.2.1 โดยรวม พบว่า นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 5 กับมัธยมศึกษาปี ที 6
มีทศั นะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ในภาพรวมจําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกัน
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ยกเว้น นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษา
ปี ที 4 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา ในภาพรวม จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ
โดยชันมัธยมศึกษาปี ที 5 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 มีความคิดเห็นสู งกว่าชันมัธยมศึกษาปี ที 4
66

4.2.2 ด้านวิชาการ พบว่า นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 5 กับมัธยมศึกษาปี ที 4


มีทศั นะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการ จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกัน
อย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ยกเว้น นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษา
ปี ที 5 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการ จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิ ติ
โดยชันมัธยมศึกษาปี ที 5 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 มีความคิดเห็นสู งกว่าชันมัธยมศึกษาปี ที 4
4.2.3 ด้านมนุษยสัมพันธ์ พบว่า นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 5 กับ
ชันมัธยมศึ กษาปี ที 4 มี ทศั นะต่อคุ ณลักษณะที พึงประสงค์ของครู ที ปรึ กษา ด้านมนุ ษยสัมพันธ์
จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกันอย่างมี นยั สําคัญทางสถิ ติที ระดับ .05 ยกเว้น นักเรี ยนระดับ
ชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษาปี ที 5 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษาปี ที 4
มีทศั นะต่อคุ ณลักษณะที พึงประสงค์ของครู ที ปรึ กษา ด้านมนุ ษยสัมพันธ์ จําแนกตามระดับชันปี
แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิ ติ โดยชันมัธยมศึกษาปี ที 5 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6
มีความคิดเห็นสู งกว่าชันมัธยมศึกษาปี ที 4
4.2.4 ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา พบว่า นักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 5 กับ
มัธยมศึกษาปี ที 4 มีทศั นะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา
จําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกัน อย่างมี นัยสําคัญทางสถิ ติที ระดับ .05 ยกเว้น นักเรี ยนระดับ
ชัน มัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษาปี ที 5 และชันมัธยมศึกษาปี ที 6 กับชันมัธยมศึกษาปี ที 4
มี ทศั นะต่อคุ ณลักษณะที พึงประสงค์ของครู ที ปรึ กษา ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา จํา แนกตาม
ระดับชันปี แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิ ติ โดยชั นมัธยมศึกษาปี ที 5 และชันมัธยมศึกษา
ปี ที 6 มีความคิดเห็นสู งกว่าชันมัธยมศึกษาปี ที 4

การอภิปรายผล
จากการศึกษาเกียวกับคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและทีพึงประสงค์
ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ฯ ผูว้ ิจยั
ขอกล่าวถึงประเด็นสําคัญจากการค้นพบในการศึกษาตามกรอบแนวคิดและสมมติฐานของการศึกษา
ค้นคว้า ดังนี
1. คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทอง
ในพระราชู ปถัมภ์ฯ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทังคุ ณลักษณะด้านวิชาการ คุ ณลักษณะด้าน
มนุ ษยสัมพันธ์ และคุ ณลักษณะด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา ซึ งคุ ณลักษณะของครู ที ปรึ กษา
ด้านวิชาการ มีคะแนนเฉลี ยมากทีสุด เมือพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า มีความรอบรู ้ทนั สถานการณ์
67

ปั จจุบนั มีคะแนนเฉลี ยมากทีสุด รองลงมาคือ ส่ งเสริ มนักเรี ยนที เรี ยนดีให้ดียิงขึน ส่ วนเอาใจใส่
ติดตาม ดูแลนักเรี ยนอย่างใกล้ชิด มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด รองลงมาคือ ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา
หากพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า มีความรู ้ความสามารถในการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน มีคะแนนเฉลีย
มากทีสุด รองลงมาคือ ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําช่วยเหลือเกี ยวกับการปรับปรุ งพฤติกรรมของนักเรี ยน
ส่ วนให้คาํ ปรึ กษาแนะนําการทํางานนอกเวลาเพื อให้มีรายได้พิเศษ มี คะแนนเฉลี ยน้อยทีสุด
ลําดับสุ ดท้าย คื อ ด้านมนุ ษยสัมพันธ์ หากพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า เป็ นผูป้ ระสานงานที ดี
มีคะแนนเฉลียมากทีสุด รองลงมาคือ มีความสามารถ แก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าได้ดี และวางตัวเป็ น
กันเองกับนักเรี ยน ส่ วนเข้าใจจิตวิทยาของวัยรุ่ นเป็ นอย่างดี และสนใจ สอบถามต่อทุกข์ สุ ขของ
นักเรี ยนมีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด และเมือพิจารณาเป็ นรายด้าน มีประเด็นค้นพบ ทีผวู ้ จิ ยั ขอนําเสนอ
ดังนี
1.1 คุณลักษณะด้านวิชาการโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก เนื องจากด้านวิชาการถือเป็ น
หัวใจสําคัญที สุดของระบบการศึกษา ดังนัน การส่ งเสริ มให้ครู เพิมพูนความรู ้ และประสบการณ์
เพือให้สามารถนํามาปรับใช้และสามารถเข้าถึงและเข้าใจในหน้าทีของตนเองได้ดี ทังนีแสดงให้เห็น
ว่าคุ ณลักษณะของครู ที ปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน ด้านวิชาการ ครู ที ปรึ กษามีความรอบรู ้ ทนั
สถานการณ์ปัจจุบนั ส่ งเสริ มนักเรี ยนที เรี ยนดีให้ดียิงขึนและดูแลนักเรี ยนอย่างใกล้ชิด ซึ งสอดคล้อง
กับงานวิจยั ของ สติคเคิล (Stickle, 1980) ได้ศึกษาหน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษา ทีเป็ นทียอมรับในหมู่
นักการศึกษาทังหลาย ผลการศึกษาพบว่า หน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษามีดงั นี คือ ให้ความช่วยเหลือ
นักศึกษาให้สาํ เร็ จการศึกษาจากหลักสู ตร ตามความสนใจและความต้องการของนักศึกษา ให้ขอ้ มูล
แก่ นกั ศึกษา ในเรื องของวิชาการ กฎหมาย ให้คาํ ปรึ กษาแก่ นักศึกษาในเรื องเกียวกับวิชาการ
ช่วยพัฒนานักศึกษา โดยการเรี ยนรู ้และทําความเข้าใจนักศึกษา โดยคํานึงถึงความต้องการ เป้ าหมาย
ความหวังและช่วยแก้ไขปั ญหาส่ วนตัวด้วย และสนับสนุนให้นกั ศึกษาวางแผนทางด้านวิชาการใน
ระยะยาว ทังยังสอดคล้องกับ นภดล เดชวากุล (2539) ได้ศึกษาสภาพปั ญหาในการปฏิบตั ิงานของ
อาจารย์ทีปรึ กษาในวิทยาลัยเทคนิค สังกัดกรมอาชีวศึกษาในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล
ทีเปิ ดทําการสอนระดับ ปวช. จํานวน 9 แห่ง ผลการวิจยั พบว่า นักเรี ยนมีความคิดเห็นว่า นักเรี ยน
ไปใช้บริ การปรึ กษาในด้า นต่าง ๆ จากอาจารย์ที ปรึ กษาเกี ยวกับการให้ความรู ้ ความเข้าใจในเรื อง
หลักสู ตรและแผนการเรี ยน แนวทางปฏิ บตั ิ ตนในการแก้ปัญหาทางการเรี ยน คําแนะนําใน
การเตรี ยมตัวเพือประกอบอาชีพ และวางแผนการศึกษาต่อในระดับที สูงขึนในระดับมาก
1.2 คุณลักษณะด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษาโดยรวมอยูใ่ นระดับมาก เนืองจาก
กระบวนการทางการศึกษาทีช่วยให้ นักเรี ยนรู ้จกั และเข้าใจตนเองและสิ งแวดล้อม สามารถนําตนเอง
แก้ไขปั ญหาได้ดว้ ยตนเองและพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ ทังนี แสดงให้เห็นว่าคุณลักษณะของ
68

ครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ ก ษา ครู ทีปรึ กษามีความรู ้ ความสามารถ
ในการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําช่วยเหลือเกี ยวกับการปรับปรุ งพฤติกรรมของ
นักเรี ยนและให้คาํ ปรึ กษาแนะนําการทํางานนอกเวลาเพื อให้มีรายได้พิเศษ ทังนี ซึ งสอดคล้องกับ
เดรสเซล (Dressel, 1974) ได้กล่าวถึงบทบาทหน้าทีของอาจารย์ทีปรึ กษาไว้ ดังนี อาจารย์ทีปรึ กษา
จะต้องสนใจนักศึกษาทีอยูใ่ นความรับผิดชอบ อาจารย์ทีปรึ กษาจะต้องเป็ นผูท้ ีมีความสามารถแนะนํา
การเลื อกวิชาเรี ยนของนักศึกษาได้เป็ นอย่างดี อาจารย์ที ปรึ กษาจะต้องมี ความรู ้ มีความสามารถ
เพียงพอทีจะช่วยเหลือนักศึกษาในสิ งทีนกั ศึกษาต้องการ อาจารย์ทีปรึ กษาสามารถให้คาํ ปรึ กษาทาง
วิชาการเป็ นอย่างดี อาจารย์ทีปรึ กษาควรศึกษาโปรแกรมการเรี ยนของนักศึกษาทีอยูใ่ นความรับผิดชอบ
เป็ นอย่างดีเพือจะสามารถแนะนํานักศึกษา
1.3 คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน ด้านมนุษยสัมพันธ์ โดยรวม
อยู่ในระดับมาก เนื องจากคุณลักษณะด้านมนุ ษยสัมพันธ์ของครู ที ปรึ กษาทีดีนนั ครู เป็ นผูม้ ีจิตใจ
โอบอ้อมอารี ย ์ อารมณ์ร่าเริ งแจ่มใส สุ ภาพเรี ยบร้อย ช่วยเหลือและให้อภัย เป็ นแบบอย่างที ดี ยินดี
ทีจะช่ วยเหลื อนักเรี ยนด้วยความจริ งใจ เป็ นคุ ณลักษณะของครู ที นกั เรี ยนเมือได้รับแล้วทําให้เกิ ด
ความพึงพอใจไว้วางใจ เกิ ดการพัฒนาคุ ณภาพชี วิต เมื อได้รับคําปรึ กษา ทังนี แสดงให้เห็ นว่า
คุ ณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน ด้านมนุ ษยสัมพันธ์ เป็ นผูป้ ระสานงานที ดี
มีความสามารถ แก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าได้ดี และ วางตัวเป็ นกันเองกับนักเรี ยนและสนใจ สอบถาม
ต่อทุ กข์ สุ ข ของนักเรี ยน ซึ งสอดคล้องกับ สุ ภาณี อิ นทรอักษร (2542) ศึกษาเรื องการวิเคราะห์
องค์ประกอบคุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษานักเรี ยนในระดับชันมัธยมศึกษาตอนปลายในทัศนะ
ของนักเรี ยนจะมีองค์ประกอบด้านมนุ ษยสัมพันธ์ ด้านความรู ้ ด้า นการมีวิสัยทัศน์ ด้านความเป็ น
ผูน้ าํ และองค์ประกอบที เหมื อนกันในทัศนะของอาจารย์และนักเรี ยนมี 4 องค์ประกอบ คื อ
ด้านความรับผิดชอบ ด้านการเสี ยสละ ด้านการตัดสิ นใจ ด้านความใจกว้าง ซึ งสอดคล้องกับงานวิจยั
ของ ชมิตท์ และสตรอง (Schmidt & Strong, 1970) ได้ทาํ การศึกษา คุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษา
ที เชี ยวชาญ และไม่เชี ยวชาญ พบว่า อาจารย์ที ปรึ กษาทีมีความเชี ยวชาญมี คุณลักษณะ ดังนี คื อ
มี ความยืดหยุ่น มีความเป็ นมิ ตร สนใจนักเรี ยน เชื อมันตนเอง ไม่ทะนงตน มี ความสามารถใน
การให้ขอ้ เสนอแนะที เป็ นประโยชน์ต่อการแก้ปัญหา ส่ วนอาจารย์ทีปรึ กษาทีไม่เชี ยวชาญจะมี
คุณลักษณะ เครี ยด เงอะงะ ไม่มีความเชื อมันในตนเอง
2. การเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา ตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จําแนกตามเพศ และระดับชัน ปรากฏผล ดังนี
2.1 นักเรี ยนทีมีเพศแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกียวกับคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา
แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิติ เนื องจากวัยรุ่ นในช่วงอายุในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
69

เริ มเป็ นช่ วงที มีความคิดทีจะแสดงออกมาอย่างอิสระจากกลุ่มมากขึ นและยึดความคิดของตนเอง


น้อยลง แสดงให้เห็นว่าทังนักเรี ยนชายและนักเรี ยนหญิงมีความคิดเห็นตรงกันเกี ยวกับคุณลักษณะ
ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน ซึ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ สมควร ทองฮ้า (2545)
ซึ งศึกษาคุ ณลักษณะของอาจารย์ที ปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามความคิ ดเห็ นของนักเรี ยนโรงเรี ยน
เทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค) ระหว่างเพศชายกับเพศหญิง โดยรวม พบว่า ไม่แตกต่างกัน
และเมือพิจารณาคุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์จาํ แนกเป็ นรายด้าน พบว่า ด้านวิชาการ
และด้านมนุษย์สัมพันธ์ เพศชายกับเพศหญิงมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน ส่ วนด้านบริ การแตกต่างกัน
2.2 นักเรี ยนทีมีระดับชันแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี ยวกับคุณลักษณะของ
ครู ทีปรึ กษาแตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิ ติ เนื องจากอาจเป็ นเพราะว่า นักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาปี ที 4, 5 และปี ที 6 มีช่วงอายุทีไม่แตกต่างกันมากนัก จึงทําให้มีทศั นะต่อคุ ณลักษณะ
ของครู ทีปรึ กษาไม่แตกต่างกัน แสดงให้เห็ นว่า นักเรี ยนระดับมัธยมศึ กษาปี ที 4 นักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาปี ที 5 นักเรี ยนระดับมัธยมศึ กษาปี ที 6 มีความคิ ดเห็ นตรงกันเกี ยวกับคุ ณลักษณะที
เป็ นจริ งของครู ทีปรึ กษา ซึ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ บรรยาย ทิมธรรม (2551) ศึกษาคุณลักษณะ
ครู ทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ตามทัศนะของนักศึกษาศูนย์บริ การการศึกษานอกโรงเรี ยนอําเภอบางละมุง
จังหวัดชลบุรี ระหว่างระดับชันประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า
ไม่มีความแตกต่างกันซึ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ ปั ทมา สาธุ (2553) คุณลักษณะทีพึงประสงค์
ของครู ทีปรึ กษาตามความคิดเห็นของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสํานักงานเขตพื นที
การศึกษาระยอง เขต 2 พบว่า คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาตามความคิดเห็นของนักเรี ยน
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสํานักงานเขตพื นทีการศึกษาระยอง เขต 2 จําแนกตาม ระดับชัน
ไม่แตกต่างกัน
3. คุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ โดยรวมอยูใ่ นระดับมาก ทังคุณลักษณะด้านวิชาการ คุณลักษณะ
ด้านมนุ ษยสัมพันธ์ และคุ ณลักษณะด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา ซึ งคุ ณลักษณะครู ที ปรึ กษา
ทีพึงประสงค์ ด้านมนุษยสัมพันธ์ มีคะแนนเฉลี ยมากทีสุด เมือพิจารณารายข้อ พบว่า ให้อภัย และ
เปิ ดโอกาสให้นักเรี ยนปรั บปรุ งตนเองมีคะแนนเฉลี ยมากทีสุด รองลงมาคื อ มี วิธีการที ดีใน
การว่ากล่าวตักเตือน ส่ วนมีวิจารณญาณในการพิจารณาข้อเท็จจริ งและยอมรับฟังความคิดเห็นของ
นักเรี ยน มีคะแนนเฉลียน้อยทีสุด รองลงมาคือ ด้านวิชาการ หากพิจารณาเป็ นรายข้อ พบว่า ติดตาม
ช่ วยเหลื อให้คาํ ปรึ กษาเกี ยวกับกิ จกรรมที นักเรี ยนสนใจมี คะแนนเฉลี ยมากทีสุด รองลงมาคื อ
ส่ งเสริ มนักเรี ยนทีเรี ยนดีให้ดียิงขึนส่ วนเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วม ในการวิเคราะห์เนือหา
ของบทเรี ยนมีคะแนนเฉลี ยน้อยทีสุด ลําดับสุ ดท้ายคือ ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา หากพิจารณา
70

เป็ นรายข้อ พบว่า ให้คาํ แนะนําช่ วยเหลื อปั ญหาด้านสุ ขภาพอนามัย มีคะแนนเฉลี ยมากทีสุด
รองลงมาคือ แนะแนวเกียวกับการศึกษาต่อ ในระดับทีสูงขึน และให้ข่าวสารข้อมูลทีเป็ นประโยชน์
ต่อนักเรี ยนเกียวกับการศึกษาและการประกอบอาชีพ ส่ วนสนใจติดตามเกี ยวกับงานทีนกั เรี ยนได้รับ
มอบหมายมีคะแนนเฉลียน้อยทีสุดและเมือพิจารณาเป็ นรายด้าน มีประเด็นค้นพบ ทีผวู ้ จิ ยั ขอนําเสนอ
ดังนี
3.1 คุณลักษณะทีปรึ กษาทีพงึ ประสงค์ของครู ทีปรึ กษาด้านมนุษยสัมพันธ์ในภาพรวม
อยูใ่ นระดับมาก แสดงให้เห็นคุณลักษณะที ปรึ กษาทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาด้านมนุษยสัมพันธ์
เนื องจากนักเรี ยนต้องการในเรื องให้อภัยและเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรั บปรุ งตนเองมี วิธีการที ดี
ในการว่ากล่าวตักเตื อน และยอมรั บฟั งความคิ ดเห็ นของนักเรี ยน ซึ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ
ดิ สไตน์ (Dickstein, 1976) ซึ งได้ศึกษาเกี ยวกับลักษณะของผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษาที นักเรี ยนในระดับ
มัธยมศึกษาต้องการ พบว่า งานบางประการทีน่าสนใจสําหรับการวิจยั ครังนี ผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษาควรมี
คุณลักษณะดังนี เป็ นผูท้ ีอยูใ่ นวัยหนุ่มสาว เป็ นผูท้ ีร่วมกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรของนักเรี ยน เป็ นผูท้ ี
ร่ วมกิ จกรรมของชุ มชน เป็ นผูท้ ี มีครอบครั วแล้ว เป็ นผูท้ ี นักศึกษาสามารถเข้าพบได้ตลอดเวลา
ใช้วธิ ี ให้คาํ ปรึ กษามากกว่าแนะนํา มีลกั ษณะเปิ ดเผย และใจดี มีเมตตา มีความเป็ นมิตร และยอมรับ
นักเรี ยน
3.2 คุณลักษณะด้านวิชาการ ในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก แสดงให้เห็นว่าคุณลักษณะ
ของอาจารย์ทีปรึ กษาทีปรึ กษาทีพึงประสงค์ ด้านวิชาการ เนื องจากนักเรี ยนต้องการในเรื องติดตาม
ช่ วยเหลื อให้คาํ ปรึ กษาเกี ยวกับกิ จกรรมที นกั เรี ยนสนใจและส่ งเสริ มนักเรี ยนที เรี ยนดี ให้ดียิงขึน
ซึ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ อเซรอด (Axelrod, 1973, pp. 150 - 151) ได้กล่าวถึงหน้าทีและภารกิจ
ความรั บผิดชอบของอาจารย์ที ปรึ กษาว่า งานอันดับแรกที จะต้องช่ วยเหลื อนักศึ กษา คื อ การให้
คําปรึ กษาทางวิชาการ ได้แก่ การเลือกสายวิชาเรี ยน และการลงทะเบียนเรี ยน อาจารย์ที ปรึ กษาจะต้อง
อธิ บายลักษณะของหลักสู ตร ลักษณะของรายวิชา แนะนําวิธีการกรอกบัตรลงทะเบียน การเพิ ม
การถอนทะเบียนเรี ยนในรายวิชาต่าง ๆ เมื อนักศึกษาเรี ยนไปได้ระยะหนึ ง นักศึกษาและอาจารย์
ที ปรึ กษาจะต้องพบปะกัน และแลกเปลี ยนความคิ ดเห็ นเกี ยวกับวิชาการเรี ยนในแต่ละรายวิชา
เพือปรับให้เหมาะสมกับความสามารถและความถนัด อาจารย์ที ปรึ กษาจะต้องรู ้และเข้าใจเกี ยวกับ
ระเบียบการเพิมถอนรายวิชา วิธีการเรี ยนและวิธีการแก้ปัญหาการเรี ยน อาจารย์ที ปรึ กษาจะต้อง
แนะนํานักศึ กษาเกี ยวกับวิชาการเรี ยนที ถูกต้องและเพือให้ประสบความสําเร็ จ รวมทังสามารถ
แนะนําแก้ปัญหาเกียวกับการเรี ยน เพือให้นกั ศึกษาสําเร็ จการศึกษาด้วยดี
3.3 คุณลักษณะด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษาในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก แสดงให้เห็น
ว่าคุ ณลักษณะที พึงประสงค์ของครู ที ปรึ กษา ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา นักเรี ยนต้องการให้มี
71

การให้คาํ แนะนําช่ วยเหลื อปั ญหาด้านสุ ขภาพอนามัย การให้คาํ แนะนําทางด้านวิชาการเพียง


อย่างเดียวไม่เป็ นการเพียงพอ เพราะนักเรี ยนต้องมีการปรับตัว ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที เปลียนแปลง
อาจทําให้นกั เรี ยนพบกับปั ญหาได้ ครู ทีปรึ กษาแนะแนวเกี ยวกับการศึกษาต่อในระดับทีสูงขึน และ
สนใจติดตามเกียวกับงานทีนกั เรี ยนได้รับมอบหมาย ซึ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ นภดล เดชวากุล
(2539) ซึ งได้ศึกษาสภาพปั ญหาในการปฏิ บตั ิงานของอาจารย์ที ปรึ กษาในวิทยาลัยเทคนิ ค สังกัด
กรมอาชีวศึกษา ในเขตกรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล พบว่า ปั ญหาและอุปสรรคในการให้คาํ ปรึ กษา
อุปสรรคทีเกิ ดขึนทีเกิ ดจากตัวครู และนักเรี ยนที เกิ ดจากตัวครู ได้แก่ ครู ไม่รู้จกั นักเรี ยนได้ท ั วถึง
มีภาระงานมาก รับผิดชอบนักเรี ยนมากเกินไป ขาดข้อมูลและรายละเอียดในเรื องต่าง ๆ ทีจะแนะนํา
นักเรี ยน ไม่ได้จบการศึกษาสาขาเดียวกับนักเรี ยนที อยูใ่ นความรับผิดชอบ และปั ญหาที เกิดขึนจาก
ตัวนักเรี ยน ได้แก่ การทีนกั เรี ยนไม่ค่อยไปใช้บริ การ เพราะอาย กลัวอาจารย์ที ปรึ กษาเก็บความลับ
ไม่ได้ ชอบปรึ กษาเพือนหรื อแก้ไขปั ญหาด้วยตนเองมากกว่าปรึ กษาอาจารย์ที ปรึ กษา และไม่เห็น
คุ ณค่าหรื อประโยชน์ของการมีอาจารย์ที ปรึ กษา รวมทังปั ญหาการจัดการ กําหนดเวลาที แน่ นอน
ในการให้และรับบริ การการปรึ กษา จึงทําให้นกั เรี ยนและอาจารย์ที ปรึ กษาไม่ค่อยได้พบกัน
4. การเปรี ยบเทียบคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา ตามความคิดของนักเรี ยน
โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯจําแนกตามเพศ และระดับ ชัน ปรากฏผลดังนี
4.1 นักเรี ยนทีมีเพศแตกต่างกันมีความคิดเห็นเกี ยวกับคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการ แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิ ติ ยกเว้นคุ ณลักษณะด้าน
มนุษยสัมพันธ์ และด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที ระดับ .05
แสดงให้เห็ นว่า นักเรี ยนชายและนักเรี ยนหญิ งมี ความคิดเห็ นแตกต่างกันเกี ยวกับคุ ณลักษณะ
ครู ทีปรึ กษา เนื องจากเพศมีความต่างกันในด้านฐานะทางวัฒนธรรมและสังคมต่างกัน ทางสรี ระ
ร่ างกายก็แตกต่างกัน ด้านความสามารถ ด้านการทํางานระหว่างเพศ ซึ งใกล้เคียงกับงานวิจยั ของ
สมศักดิ ตังกลชาญ (2543, หน้า 40 - 41) กล่าวว่า ความแตกต่างในด้านความสามารถ ด้านการทํางาน
ระหว่างเพศจะลดน้อยลงก็ตาม แต่ความแตกต่างระหว่างเพศ ยังเป็ นตัวแปรที ส่งผลต่อจิตลักษณะ
และพฤติกรรม ทังนี เพราะตังแต่เกิด เพศหญิงกับเพศชายต่างมีสังคมที แตกต่างกัน เช่น การแต่งกาย
ของเล่น หรื อการละเล่น โดยเฉพาะอย่างยิง ลักษณะพฤติกรรมในการอบรมสังสอน ซึ งมีผลไปถึง
บทบาทของสังคม รวมถึงข้อสรุ ปทีวา่ เพศชายมีคุณลักษณะความเป็ นผูน้ าํ ที เข้มแข็ง อดทน ว่องไว
ส่ วนเพศหญิงจะมีความอ่อนโยน นุ่มนวล ละเอียดและรอบคอบกว่าเพศชาย ทังยังมีความใกล้เคียง
กับงานวิจยั ของ กันยา สุ วรรณแสง (2536, หน้า 75 - 77) กล่าวว่า เพศมีการตอบสนองทางสังคมที
แตกต่างกัน เพศหญิ งจะมี ความสุ ภาพ เก็บตัว มี ความสามารถในการควบคุ มจริ ตกิ ริยาได้ดีกว่า
เพศชาย นิสัยใจคอ การแสดงความคิดเห็น การควบคุมอารมณ์และอื น ๆ ก็มีความแตกต่างกัน
72

4.2 นักเรี ยนทีมีระดับชันปี แตกต่างกันมีทศั นะเกี ยวกับคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของ


ครู ทีปรึ กษาแตกต่างกันอย่างมี นยั สําคัญทางสถิ ติที ระดับ .05 และเมื อเปรี ยบเที ยบรายคู่ พบว่า
นักเรี ยนระดับ ม. 6 กับ ม. 5 และ ม. 6 กับ ม. 4 มีทศั นะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา
โดยรวมจําแนกตามระดับชันปี แตกต่างกันอย่างไม่มีนยั สําคัญทางสถิ ติ ยกเว้น นักเรี ยนระดับชัน
ม. 5 กับ ม. 4 มีทศั นะต่อคุณลักษณะทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา โดยรวมจําแนกตามระดับชันปี
แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติทีระดับ .05 โดยนักเรี ยนระดับชัน ม. 5 และ ม. 6 มีทศั นะสู งกว่า
ม. 4 ทังนี เนื องจากนักเรี ยนในระดับชัน ม. 4 เป็ นช่วงในการปรับเปลียนระดับชันจากมัธยมศึกษา
ตอนต้นเป็ นมัธยมศึกษาตอนปลาย จึงต้องมีการเตรี ยมตัวในการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จึงต้องมีการหาข้อมูลและเลือกแผนการเรี ยนทังแผนวิชาวิทย์ - คณิ ต หรื อ แผนวิชาศิลป์ - คํานวณ
ไปจนถึงคณะทีใฝ่ ฝันในการเรี ยนมหาวิทยาลัยต่อไป รวมทังการวางแผนในการปรับเปลียนพฤติกรรม
ในการเรี ยนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายซึ งมีการเรี ยนการสอนทีแตกต่างจากระดับชันมัธยมศึกษา
ตอนต้นมาก ทังด้านวิชาที เฉพาะมากขึ นและกิ จกรรมที มีเพิมมากขึน ซึ งใกล้เคียงกับงานวิจยั ของ
ฟริ งค์ (Frink, 1984, p. 397 - A) ได้ศึกษาทัศนะของนักศึกษาในเรื องของประสิ ทธิ ผลของระบบ
การให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั ศึกษา ระดับปริ ญญาตรี แบบศูนย์กลางในระดับอุดมศึกษา ในปี พ.ศ. 2526
โดยมีวตั ถุประสงค์เพือจะศึกษาทัศนะของนักศึกษาทีมีต่อประสิ ทธิ ผลของหน้าทีพืนฐาน 5 ประการ
ของอาจารย์ทีปรึ กษา อันได้แก่ การเตรี ยมข้อมูลทีเทียงตรงให้แก่นกั ศึกษา การจัดวางแผนระยะสั น
การช่วยนักศึกษาให้เข้าใจเป้ าประสงค์ของสถาบันการช่วยเหลือพัฒนา และการวางแผนระยะยาว
โดยแจกแบบสอบถามแก่นกั ศึกษาชันปี ที 1 - 4 โดยการสุ่ มจํานวนชันปี ละ 30 คน รวม 120 คน
ผลการวิจยั พบว่า กลุ่มทีอายุ 40 - 49 ปี และมากกว่านัน และนักศึกษาเพศหญิงในกลุ่มอายุ 20 - 39 ปี
มีการติดต่อกับอาจารย์ทีปรึ กษาถีทีสุดและประชากรทัง 4 กลุ่ม พึงพอใจต่อระบบการให้คาํ ปรึ กษา
แบบศูนย์กลางในระดับอุดมศึกษาเช่ นกัน
5. การเปรี ยบเทียบคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนและที พึงประสงค์
ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ พบว่า
แตกต่างกันอย่างมีนยั สําคัญทางสถิ ติที ระดับ .05 ทังนี เนื องจากคุ ณลักษณะของครู ที ปรึ กษาตาม
ทัศนะของนักเรี ยน เรี ยงลําดับจากมากไปน้อย ให้ความสําคัญด้านวิชาการ ด้านการบริ การ
ให้คาํ ปรึ กษา และด้านมนุ ษยสัมพันธ์ ตามลําดับ ซึ งแตกต่างจากคุ ณลักษณะที พึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษา เรี ยงลําดับจากมากไปน้อย ให้ความสําคัญด้านมนุ ษยสัมพันธ์ ด้านวิชาการ
และด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา ตามลําดับ ซึ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ สุ ภาณี อินทรอักษร (2542,
หน้า 42 - 45) ได้ทาํ การศึกษาเรื อง การวิเคราะห์ องค์ประกอบคุ ณลักษณะของอาจารย์ที ปรึ กษา
นักเรี ยนในระดับชันมัธยมศึกษาตอนต้น ผลการวิจยั พบว่า คุณลักษณะของอาจารย์ทีปรึ กษานักเรี ยน
73

ในระดับชันมัธยมศึกษาตอนต้น ในทัศนะของอาจารย์ ได้องค์ประกอบทังหมด 8 องค์ประกอบ คือ


ด้านมนุ ษยสัมพันธ์ ด้านความรู ้ ด้านความรั บผิดชอบ ด้านการมี วิสัยทัศน์ ด้านการเสี ยสละ
ด้านความเป็ นผูน้ าํ และด้านการตัดสิ นใจ คุ ณลักษณะของอาจารย์ที ปรึ กษานักเรี ยนในระดับชัน
มัธยมศึกษาตอนต้น ทีวิเคราะห์ได้ในทัศนะของอาจารย์ และทัศนะของนักเรี ยน พบว่า มีองค์ประกอบ
ที เหมื อนกัน 4 องค์ประกอบ คื อ ด้านความรับผิดชอบ ด้านการเสี ยสละ ด้านการตัดสิ นใจ
ด้านความใจกว้าง ส่ วนองค์ประกอบที ต่างกันนัน ในทัศนะของอาจารย์ มี องค์ประกอบด้าน
ความเชื อมันในตนเอง ด้านความมี เหตุ ผล ด้านอุ ทิศตนเพื อประโยชน์ส่วนรวม และด้าน
ความน่ าเชื อถื อ ส่ วนในทัศนะของนักเรี ยนจะมี องค์ประกอบด้านมนุ ษยสัมพันธ์ ด้านความรู ้
ด้านการมีวสิ ัยทัศน์ ด้านความเป็ นผูน้ าํ ทังยังมีความใกล้เคียงกับงานวิจยั ของ สุ จิตรา ชินอาภรณ์
(2546) ได้ศึกษาบทบาทของอาจารย์ทีปรึ กษาในการทําหน้าทีแนะแนวตามทัศนะของนักเรี ยนระดับ
ประกาศนี ยบัตรวิชาชี พ และทัศนะของอาจารย์ที ปรึ กษา โรงเรี ยนพาณิ ชยการราชดําเนิ นธนบุ รี
ผลการวิจยั พบว่า นักศึกษา นักเรี ยนมีทศั นะต่อบทบาทของอาจารย์ทีปรึ กษาในการทําหน้าทีแนะแนว
ตามทีปฏิบตั ิจริ ง ในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง เมื อแยกเป็ นรายด้าน พบว่า บริ การสํารวจข้อมูล
เป็ นรายบุคคล บริ การสารสนเทศ บริ การให้คาํ ปรึ กษา บริ การจัดวางตัวบุคคล อยูใ่ นระดับปานกลาง
และบริ การติดตามผลอยูใ่ นระดับมาก นักเรี ยนมีทศั นะต่อบทบาทของอาจารย์ทีปรึ กษาตามทีนกั เรี ยน
คาดหวังต้องการให้ปฏิบตั ิ ในภาพรวมในระดับปานกลาง เมือแยกเป็ นรายด้าน พบว่า บริ การสํารวจ
ข้อมูลเป็ นรายบุคคล บริ การสารสนเทศ บริ การให้คาํ ปรึ กษา บริ การจัดวางตัวบุคคลและบริ การ
ติดตามผลอยูใ่ นระดับมาก อาจารย์ทีปรึ กษามีทศั นะต่อบทบาทของอาจารย์ทีปรึ กษาในการทําหน้าที
แนะแนวตามทีปฏิบตั ิจริ งและตามทีคาดหวัง ในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง เมื อแยกเป็ นรายด้าน
พบว่า บริ การสํารวจข้อมูลเป็ นรายบุคคล บริ การสารสนเทศ บริ การให้คาํ ปรึ กษา บริ การจัดวางตัว
บุคคล และบริ การติดตามผลอยูใ่ นระดับมาก

ข้ อเสนอแนะ
ข้ อเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช้
จากผลการวิจยั พบว่า ทัศนะเกี ยวกับคุ ณลักษณะที เป็ นจริ งและที พึงประสงค์ของ
ครู ทีปรึ กษามีระดับความคิดเห็นในระดับมาก จากข้อค้นพบดังกล่าวผูว้ จิ ยั มีขอ้ เสนอแนะ ดังต่อไปนี
1. คุณลักษณะครู ทีปรึ กษา ด้านวิชาการ ครู ทีปรึ กษาจะต้องเอาใจใส่ ติดตาม ดูแล
การเรี ยนของนักเรี ยนอย่างใกล้ชิด อาจารย์ทีปรึ กษาต้องเป็ นผูศ้ ึกษาหาความรู ้อยูเ่ ป็ นประจํา เอาใจใส่
ติดตาม ดูแลการเรี ยนของนักเรี ยนอย่างใกล้ชิด วางแผนช่วยเหลือนักเรี ยนที ไม่ผา่ นเกณฑ์การวัดผล
และประเมินผล ต้องแนะนําเกียวกับโครงสร้างของหลักสู ตร ตลอดจนวิธีการปฏิบตั ิตนของนักเรี ยน
74

ระหว่างเรี ยน มีการใช้เทคนิ คใหม่ ๆ แนะนํานักเรี ยนให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ ที ดี รวมถึ งคอยติ ดตาม
ช่ วยเหลื อให้คาํ ปรึ กษาเกี ยวกับกิ จกรรมที นักเรี ยนสนใจ ให้คาํ แนะนําเกี ยวกับวิธีการเรี ยนและ
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เพือเป็ นการส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนมีความสมบูรณ์ ท ังทางด้านร่ างกาย
จิตใจ และสติปัญญา และสิ งทีสาํ คัญทีสุดยิงไปกว่านันก็คือ “คุณธรรม”
2. คุณลักษณะอาจารย์ทีปรึ กษา ด้านมนุษยสัมพันธ์ อาจารย์ทีปรึ กษาจะต้องสนใจ
สอบถามต่อทุกข์ สุ ขของนักเรี ยน มีความอดทนอดกลันต่อปั ญหาทีเผชิ ญอยู่ ยกย่อง ชมเชยและ
ให้เกียรตินกั เรี ยน และคอยช่วยเหลือและสร้างขวัญกําลังใจให้นกั เรี ยน นอกจากนี อาจารย์ทีปรึ กษา
ยังต้องมีวธิ ี การทีดีในการว่ากล่าวตักเตือน มีปฏิภาณไหวพริ บ แก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้า สามารถสร้าง
ความสามัคคีให้เกิดขึนในชันเรี ยน มีความเข้าใจจิตวิทยาของวัยรุ่ น มีความสุ ภาพอ่อนโยนและทีสาํ คัญ
ทีสุดคือ อาจารย์ทีปรึ กษาควรควบคุมอารมณ์อย่างเหมาะสมทุกสถานการณ์ เพือให้การดําเนินงาน
พัฒนานักเรี ยนประสบความสําเร็ จ นักเรี ยนเป็ นคนดี มีความสามารถและมีความสุ ขในการดํารงชี วติ
3. คุณลักษณะอาจารย์ทีปรึ กษา ด้านการบริ การให้คาํ ปรึ กษา อาจารย์ทีปรึ กษาควรหา
ข้อมูลและให้คาํ ปรึ กษา แนะนําการทํางานนอกเวลา เพื อให้นกั เรี ยนมีรายได้พิเศษ รวมถึงการอุทิศ
เวลาอย่างเต็มทีต่อการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน และคอยแนะนําช่วยเหลือปั ญหาด้านสุ ขภาพ อนามัย
ให้คาํ ปรึ กษานักเรี ยนให้ดาํ เนิ นชี วิตตามหลักเศรษฐกิ จพอเพียง ช่ วยเหลื อเกี ยวกับการปรั บปรุ ง
พฤติกรรมของนักเรี ยน และควรร่ วมกันกับนักเรี ยนในการวางแผนค่าใช้จ่ายในเรื องการศึกษาเพือให้
นักเรี ยนสามารถอยูร่ ่ วมกับบุคคลอืนในสถานศึกษาได้อย่างมีความสุ ขและมีกาํ ลังใจในการศึกษาต่อ
ในระดับทีสูงขึน
ข้ อเสนอแนะในการวิจัยครั งต่ อไป
1. ควรศึกษาแนวทางการพัฒนาคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษา เพือเสริ มสร้างให้ครู
มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามความต้องการของนักเรี ยนและผูป้ กครอง
2. ควรศึกษาปั จจัยทีส่งผลต่อพฤติกรรมการให้คาํ ทีปรึ กษาของครู ทีปรึ กษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น
3. ควรศึกษาสาเหตุของทัศนะนักเรี ยนทีแตกต่างกันระหว่างชันของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น
4. ควรศึกษาบทบาทหน้าทีของครู ทีปรึ กษาตามความคิดเห็นของผูบ้ ริ หาร คณาจารย์
และนักเรี ยน
75

บรรณานุกรม

กนกวรรณ วัฒนะชัย. (2544). ความคิ ดเห็นของนักศึกษาสาขาบริ หารธุรกิ จต่ อคุณลักษณะ


ที พึงประสงค์ ของอาจารย์ ในโรงเรี ยนเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค). วิทยานิพนธ์
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาเพือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์,
บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
กรมวิชาการ. (2535). การพัฒนาคุณธรรมจริ ยธรรม. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา.
กรมอาชีวศึกษา. (2520). การกําหนดหน้ าที อาจารย์ . กรุ งเทพฯ: กรมอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิ การ.
กรมอาชีวศึกษา. (2529). ระเบียบกรมอาชี วศึกษาว่ าด้ วยการบริ หารสถานศึกษา. กรุ งเทพฯ:
กระทรวงศึกษาธิ การ.
กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา. (2538). แนะแนวเพือพัฒนาคุณภาพการศึกษา. กรุ งเทพฯ: กรมวิชาการ
กระทรวงศึกษาธิ การ.
กันยา สุ วรรณแสง. (2536). จิ ตวิทยาทัวไป. กรุ งเทพฯ: อักษรวิทยา.
โกสิ นทร์ รังสยาพันธ์. (2530). ปรั ชญาและคุณธรรมสําหรั บครู . กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
คมเพชร ฉัตรศุภกุล. (2547). การให้ คาํ ปรึ กษา. กรุ งเทพฯ: พัฒนาคุณภาพวิชาการ.
จงสกุล วุฒิสรรพ์. (2527). คุณลักษณะของผู้ให้ คาํ ปรึ กษาตามความคาดหวังของนักเรี ยน
มัธยมศึกษา ปี ที 3 และผู้ปกครอง สั งกัดโรงเรี ยนรั ฐบาล จังหวัดเชี ยงใหม่ . วิทยานิพนธ์
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว, บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .
จํานง อาศิริวจั น์. (2530). การศึกษาความคิ ดเห็นของนักเรี ยน ครู ผู้บริ หารโรงเรี ยนและผู้ปกครอง
ที มีต่อจริ ยธรรมที คาดหวังกับจริ ยธรรมที ปฏิ บัติของครู โรงเรี ยนมัธยมศึกษา
เขตการศึกษา 9 ปี การศึกษา 2529. ปริ ญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชา
บริ หารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ มหาสารคาม.
เจริ ญผล สุ วรรณโชติ. (2516). หน้ าที สาํ คัญของอาจารย์ . พิษณุ โลก: วิทยาลัยครู พิบูลสงคราม
พิษณุ โลก.
ช่อลัดดา ขวัญเมือง. (2524). การศึกษาบทบาทของอาจารย์ ทีปรึ กษาในวิทยาลัยครู ภาคเหนือ.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว,
บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .
76

ชัชวาล หังสพฤกษ์. (2535). ความคิ ดเห็นของผู้บริ หารอาจารย์ ทีปรึ กษาเกียวกับบทบาทของ


อาจารย์ ทีปรึ กษากิจกรรมนักศึกษา คุณลักษณะครู ทีปรึ กษากิจกรรมนักเรี ยนมหาวิทยาลัย
กรุ งเทพฯ. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หาร
อาชีวศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง .
ทศวร มณี ศรี ขาํ , สายชนม์ สัจจานิตย์ และนิ มนวล อุตระ. (2527). การศึกษาบทบาทของอาจารย์
ที ปรึ กษาในมหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เทือน ทองแก้ว. (2537). รายงานการวิจัยสภาพให้ คาํ ปรึ กษาของอาจารย์ ทีปรึ กษาตามความเป็ นจริ ง
และความต้ องการของนักศึกษา ภาคปกติ และนักศึกษาบุคลากรภาคประจําการ
ในสหวิทยาอี สานใต้ . กรุ งเทพฯ: กรมการฝึ กหัดครู กระทรวงศึกษาธิ การ.
ธงชัย วงศ์เสนา. (2537). ครู ทีปรึ กษาในประเทศสหรั ฐอเมริ กา. กรุ งเทพฯ: เอเชียนิช.
ธันยพร บุษปฤกษ์. (2543). พฤติกรรมเชิ งจริ ยธรรมของเยาวชนในสั งคมไทย: กรณี ศึกษานักศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครเหนื อ. สารนิ พนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาวิชาไทยศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
นภดล เดชวากุล. (2539). การศึกษาสภาพและปั ญหาในการปฏิ บัติงานของอาจารย์ ที ปรึ กษา
ในวิทยาลัยเทคนิค สั งกัดกรมอาชี วศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรอุตสาหกรรม
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารอาชีวะและเทคนิคศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย,
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
นันทนา วงษ์อินทร์ . (2545). การพัฒนาระบบอาจารย์ ทีปรึ กษา: เอกสารการบรรยาย เรื อง บทบาท
และหน้ าที อาจารย์ ทีปรึ กษา. ม.ป.ท.
นันทิการ แย้มสรวจ. (ม.ป.ป.). ทฤษฎีและเทคนิคการให้ คาํ ปรึ กษา. กรุ งเทพฯ: ภาควิชาจิตวิทยา
และการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นิภาพรรณ์ นิวรณ์. (2549). ลักษณะครู ทีปรึ กษาตามความต้ องการของนักเรี ยนชั นมัธยมศึกษา
ตอนต้ น กลุ่มบ่ อทอง 1 สั งกัดสํานักงานเขตพื นที การศึกษาชลบุรี เขต 2. งานนิพนธ์
การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ , มหาวิทยาลัย
บูรพา.
บรรยาย ทิมธรรม. (2551). คุณลักษณะครู ทีปรึ กษาที พึงประสงค์ ตามทัศนะของนักศึกษา
ศูนย์ บริ การการศึกษานอกโรงเรี ยนอําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี . งานนิพนธ์การศึกษา
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ , มหาวิทยาลัยบูรพา.
บวร ทองยัง. (2543). จรรยาบรรณครู ของครู สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดจันทบุรี
โดยการรั บรู้ ของเพื อนครู และกรรมการโรงเรี ยน. วิทยานิ พนธ์การศึกษามหาบัณฑิต,
สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
77

ประคอง กรรณสู ต. (2528). สถิติเพือการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (ฉบับปรั บปรุ งแก้ ไข). กรุ งเทพฯ:
ศูนย์หนังสื อ ดร.ศรี สง่า.
ประมวล หมันดี. (2542). คุณลักษณะของอาจารย์ ทีปรึ กษาที พึงประสงค์ ตามความคิ ดเห็นของ
นักเรี ยนในวิทยาลัยอาชี วศึกษา ภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรอุตสาหกรรม
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารอาชีวศึกษา, คณะครุ ศาสตร์ , สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
ประสาร ทิพย์ธารา. (2520). ความรู้ เบื องต้ นเรื องการแนะแนว. กรุ งเทพฯ: ประเสริ ฐการพิมพ์.
ประสาร ทิพย์ธารา. (2522). การแนะแนวเบื องต้ น. กรุ งเทพฯ: พิทกั ษ์อกั ษร.
ปั ญจพร จันทรวงศ์. (2535). คุณลักษณะของครู แนะแนวตามความคาดหวังของผู้บริ หารและ
ครู ในโรงเรี ยนประถมศึกษา จังหวัดพิจิตร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชา
จิตวิทยาการแนะแนว, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ปั ทมา สาธุ . (2553). คุณลักษณะที พึงประสงค์ ของครู ทีปรึ กษาตามความคิ ดเห็นของนักเรี ยนระดับ
ชันมัธยมศึกษาตอนต้ น สั งกัดสํานักงานเขตพื นที การศึกษาระยอง เขต 2. งานนิพนธ์
การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์ , มหาวิทยาลัย
บูรพา.
ผกา สัตยธรรม. (2550). คุณธรรมครู . กรุ งเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พรพิมล เจียมนาคริ นทร์ . (2540). พัฒนาการวัยรุ่ น. กรุ งเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี.
พิเชษ ศรี วรกุล และสมศักดิ ภู่วภิ าดาวรรธน์. (2522). จิ ตวิทยาการแนะแนว. กรุ งเทพฯ: จงเจริ ญ.
มนต์ชยั เทียนทอง. (2527). การศึกษาความคิ ดเห็นของอาจารย์ ทีปรึ กษาและนักศึกษาเกี ยวกับ
บทบาทหน้ าที ปั ญหา และการดําเนินงานของอาจารย์ ทีปรึ กษาในสถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้ าพระนครเหนื อ. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต, สาขาวิชา
การบริ หารอาชี วะและเทคนิ คศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนื อ.
มยุรี ชัยสวัสดิ. (2538). คุณลักษณะของผู้สาํ เร็ จอาชี วศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชี พชั นสู ง
(ปวส.) ประเภทวิชาบริ หารธุ รกิจ ตามความต้ องการของผู้บริ หารและครู - อาจารย์
วิทยาลัยอาชี วศึกษาและสถานประกอบการ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ. วิทยานิพนธ์
ครุ ศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารอาชีวศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง .
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . (2527). รายงานผลการสั มมนาหั วหน้ าภาควิชา เรื อง บทบาทของ
อาจารย์ ในการให้ ความร่ วมมือกับวิทยาลัย. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์สาํ นักส่ งเสริ มและ
การฝึ กอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .
78

มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. (2552). คู่มืออาจารย์ ทีปรึ กษา. เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.


รวีวรรณ ชิ นะตระกูล. (2535). หลักการแนะแนว. กรุ งเทพฯ: ภาพพิมพ์.
รัชนี งะสมัน. (2533). การศึ กษาคุณลักษณะของครู ทีพึงประสงค์ ตามทัศนของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา จังหวัดสตูล . ปริ ญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต,
สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ สงขลา.
รุ่ งทิวา จักร์ กร. (2526). วิธีการสอนทัวไป. กรุ งเทพฯ: รุ่ งเรื องการพิมพ์.
ลออ ชุติกร. (2538). บทบาทของอาจารย์ ทีปรึ กษาในวิทยาลัยครู ในกรุ งเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์
ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ลักขณา สิ ริวฒั น์. (2543). การสร้ างแบบฝึ กการเขียนเชิ งสร้ างสรรค์ โดยใช้ แบบร้ อยกรองร่ วมสมัย
ในการเรี ยนการสอนวิชาภาษาไทยระดับชั นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์
ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ลัดดา เสนาวงษ์. (ม.ป.ป.). ความเป็ นครู . ม.ป.ท.
วรรณี เสี ยงแจ้ว. (2524). บทบาทผูบ้ ริ หารโรงเรี ยนกับงานวิชาการ. ใน เอกสารประกอบการอบรม
นักบริ หารศึกษา รุ่ นที 2 (หน้า 8 - 9). กรุ งเทพฯ: สํานักการศึกษากรุ งเทพมหานคร.
วัชรี ทรัพย์มี. (2523). การแนะแนวในโรงเรี ยน บุคลิกภาพของครู แนะแนวที พึงประสงค์จาก
การลําดับของนักเรี ยน. รายงานวิจัย, 7(136), 7 - 9.
วัชรี บูรณสิ งห์. (2526). ลักษณะครู ทีดี. ม.ป.ท.
วัลลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา. (2533). จรรยาบรรณในอาชี พ. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
วิจิตร อาวะกุล. (2527). เทคนิคมนุษยสั มพันธ์ . กรุ งเทพฯ: อิทธิ พลการพิมพ์.
วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์. (2552). คู่มืออาจารย์ ทีปรึ กษา. บุรีรัมย์: งานดูแลช่วยเหลือนักศึกษา
กลุ่มงานบริ การและกิจการนักศึกษา วิทยาลัยชุมชนบุรีรัมย์.
วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย. (2553). เอกสารประกอบคําสอนจริ ยธรรมและจรรยาบรรณครู .
หนองคาย: คณะครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรม วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย.
วิไลลักษณ์ นิยมจิตร์ . (2543). รู ปแบบการบริ หารงานอาจารย์ ทีปรึ กษาในวิทยาลัยพยาบาล
บรมราชชนนี เขตภาคกลาง สั งกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุ ข .
ปริ ญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาจิตวิทยาการแนะแนว, บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร.
79

วิสูตร จําเนียร. (2543). การปฏิ บัติของอาจารย์ ทีปรึ กษาเกี ยวกับบทบาทในการให้ คาํ ปรึ กษา
แก่ นักศึกษาในสถาบันราชภัฏธนบุรี. ปริ ญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชา
การบริ หารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ศศิประภา งามขํา. (2540). คุณลักษณะที พึงประสงค์ ของครู อาจารย์ วิทยาลัยสารพัดช่ าง
กลุ่มภาคกลาง. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หาร
อาชีวศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. (2543). คู่มืออาจารย์ ทีปรึ กษา. กรุ งเทพฯ:
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. (2543). คู่มืออาจารย์ ทีปรึ กษา. ปทุมธานี: คณะศึกษาศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.
สมควร ทองฮ้า. (2545). คุณลักษณะที ปรึ กษาที พึงประสงค์ ตามความคิ ดเห็นของนักเรี ยนโรงเรี ยน
เทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี .เทค.) ชลบุรี. งานนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชา
หลักสู ตรและการสอน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สมลักษณ์ พรหมมีเนตร และฉันทนา จันทร์ บรรจง. (2545). รายงานการวิจัย เรื อง การกําหนด
คุณสมบัติและบทบาทหน้ าที ของครู ทีปรึ กษานักเรี ยน และการสร้ างรู ปแบบ
การบริ หารงานที ปรึ กษานักเรี ยนระดับการศึกษาขันพื นฐาน. พิษณุ โลก:
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สมศักดิ ตังกลชาญ. (2543). ความสั มพันธ์ ระหว่ างคุณลักษณะผู้นาํ ด้ านวิชาชี พของหั วหน้ าฝ่ าย
การเจ้ าหน้ าที กับผลการปฏิ บัติงานของฝ่ ายการเจ้ าหน้ าที สาํ นักงาน. วิทยานิพนธ์
การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย
บูรพา.
สํานักงานสภาราชภัฏ. (2539). คู่มืออาจารย์ ทีปรึ กษาสถาบันราชภัฏ. กรุ งเทพฯ:
สํานักงานสภาราชภัฏ.
สํานักนายกรัฐมนตรี . (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ ไขเพิมเติ ม
(ฉบับที 2) พ.ศ. 2545. กรุ งเทพฯ: พริ กหวานกราฟฟิ ค.
สําเนาว์ ขจรศิลป์ . (2530). การศึกษาระบบอาจารย์ ทีปรึ กษาด้ านวิชาการระดับปริ ญญาตรี
ในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ .
กรุ งเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สําเนาว์ ขจรศิลป์ . (2543). ระบบอาจารย์ ทีปรึ กษา. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ชวนพิมพ์.
สําเนาว์ ขจรศิลป์ . (ม.ป.ป.). การแนะแนวอาชี พในสถาบันอุดมศึกษา. กรุ งเทพฯ:
80

กองบริ การการศึกษา ทบวงมหาวิทยาลัย.


สุ จิตรา ชินอาภรณ์. (2546). การศึกษาบทบาทของอาจารย์ ทีปรึ กษาในการทําหน้ าที แนะแนว
ตามทัศนะของนักเรี ยนระดับประกาศนียบัตรวิชาชี พ และทัศนะของอาจารย์ ที ปรึ กษา
โรงเรี ยนพาณิ ชยการราชดําเนินธนบุรี. ปริ ญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชา
การบริ หารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร.
สุ ภาณี อินทรอักษร. (2542). การวิเคราะห์ องค์ ประกอบคุณลักษณะของอาจารย์ ที ปรึ กษานักเรี ยน
ในระดับชันมัธยมศึกษาตอนต้ น. ปริ ญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชา
การบริ หารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิตร.
สุ ระชัย แย้มทิม. (2543). การปฏิ บัติงานของอาจารย์ ทีปรึ กษาในสถานศึกษาสั งกัดกรมอาชี วศึกษา
จังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริ หารอาชี วศึกษา,
บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง .
อัญชลี เศรษฐเสถียร. (2526). การศึกษาบทบาทและปั ญหาของอาจารย์ ทีปรึ กษา มหาวิทยาลัย
เชี ยงใหม่ . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน,
บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อิสสรหัช โชติกเสถียร. (2543). การศึกษาบทบาทของอาจารย์ ทีปรึ กษาตามทัศนะของอาจารย์
ที ปรึ กษาและนักศึกษาสถาบันราชภัฏสวนสุ นันทา. ปริ ญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต,
สาขาวิชาการอุดมศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ ประสานมิ ตร.
อุมา สุ คนธมาน, สุ มน อมรวิวฒั น์ และวัชรี ย ์ ทรัพย์มี. (2540). คู่มืออาจารย์ ทีปรึ กษานิ สิตระดับ
ปริ ญญาตรี . กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.
อุม้ บุญ สิ งห์อศั วิน. (2542). คู่มือการใช้ วีดีทัศน์ เสริ มการเรี ยนการสอนภาาษาอังกฤษ
ชุด Funny story. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
Axelrod, J. (1973). The university teacher as artist. San Francisco: Jossey - Bass.
Broom, L., & Seiznick, P. (1969). Sociology (4th ed.). New York: Harper and Row.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (3rd ed.). New York: Harper & Collins.
Daniel, L. M. (1986). Organization, general and educational influences on work satisfaction in
comprehensive human services agency. Dissertation Abstracts International, 47(7),
661 - A.
Dickstein, F. (1976). Organizational behavior (6th ed.). New York: McGraw - Hill.
Dowing, L. N. (1989). Guidance and counseling service. New York: McGraw - Hill.
81

Dressel, F. B. (1974). The faculty of advisor. In Improving college and university teaching
(p. 57). New York: Free Press.
Frink, J. O. (1984). Student perceptions of the effectiveness of centralized undergraduate advising
system at the college. Dissertation Abstracts International, 45(2), 397 - A.
Good, C. V. (1994). Dictionary of education. New York: McGraw - Hill.
Harrington, T. F. (1974). Student personal work in urban colleges. New York: Intex.
Kozloss, J. (1985). Delivering academic advising: Who, what and how. NACADA Journal, 5(2),
69 - 75.
Kramer, H. C., & Garder, R. E. (1983). Advising by faculty. n.p.
Krejcic, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities.
Educational and Psychological Measurement, 30(3), 608.
Mueller, H. K. (1961). Student personal work in higher education. n.p.
Patterson, C. H. (1973). Theories of counseling and psychotherapy. New York: Harper & Row.
Peavy, V. (1995). An orientation to constructivist career counseling north star research
Document. n.p.
Schmidt, R. M., & Strong, I. W. (1970). Counseling service in school (3rd ed.). New York:
McGraw - Hill.
Stickle, F. (1980). Faculty and student perceptions of the faculty advising effectiveness.
Journal of College Student Personel, 21(1), 3.
Teague, G. V., & Grites, T. J. (1980). Faculty contracts and academic advising.
Journal of College Student Personnel, 21(1), 40 - 44.
Williamson, E. G. (1961). Student personnel services in college and universities. New York:
McGraw - Hill.
82

ภาคผนวก
83

ภาคผนวก ก
แบบสอบถามเพือการวิจยั
84

แบบสอบถามเพือการวิจัย
เรือง คุณลักษณะของครู ทีปรึกษาตามทัศนะของนักเรียนและทีพงึ ประสงค์ ของนักเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนมัธยมวัดใหม่ กรงทองในพระราชู ปถัมภ์ ฯ

******************************

คําชี แจง
แบบสอบถามฉบับนี แบ่งออกเป็ น 2 ตอน ดังนี
ตอนที 1 เป็ นแบบสอบถามเกี ยวกับสถานภาพและข้อมูลของผูต้ อบแบบสอบถาม
จํานวน 2 ข้อ
ตอนที 2 เป็ นแบบสอบถามเกียวกับเรื อง คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของ
นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จํานวน
42 ข้อ แบ่งออกเป็ น 3 ด้าน คือ ด้านวิชาการ จํานวน 13 ข้อ ด้านมนุษยสัมพันธ์ จํานวน 15 ข้อ
และด้านบริ การ จํานวน 14 ข้อ
ในการตอบแบบสอบถามทัง 2 ตอน โปรดตอบให้ครบทุกข้อและตรงกับความเป็ นจริ ง
ของนักเรี ยน ข้อมูลทีถูกต้องและตรงกับความจริ งจะทําให้การวิจยั ครั งนี เป็ นประโยชน์ต่อนักเรี ยน
และต่อการให้คาํ แนะนําปรึ กษาของครู ที ปรึ กษา

ตอนที 1 สถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม


คําชี แจง โปรดทําเครื องหมาย  ลงใน ( ) หน้าข้อความทีตรงกับความเป็ นจริ งของนักเรี ยน
1. เพศ
( ) ชาย
( ) หญิง
2. ผูต้ อบเป็ นนักเรี ยนระดับใด
( ) มัธยมศึกษาปี ที 4
( ) มัธยมศึกษาปี ที 5
( ) มัธยมศึกษาปี ที 6
85

ตอนที 2 คุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของ


โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
คําชี แจง ให้นกั เรี ยนอ่านข้อความแต่ละข้ออย่างละเอียด แล้วไตร่ ตรองดูวา่ นักเรี ยนพบพฤติกรรม
ของครู ทีปรึ กษาในสภาพการทํางานจริ งและคุณลักษณะของครู ที ปรึ กษา แล้วทําเครื องหมาย 
ลงในช่องทีตรงกับระดับความคิดเห็นของนักเรี ยนเพียงช่องเดียวเท่านันโดยกําหนดคะแนนกับ
ระดับปฏิบตั ิสาํ หรับคุณลักษณะของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน ดังนี
5 คะแนน หมายถึง ระดับปฏิบตั ิมากทีสุด/ ต้องการมากทีสุด
4 คะแนน หมายถึง ระดับปฏิบตั ิมาก/ ต้องการมาก
3 คะแนน หมายถึง ระดับปฏิบตั ิปานกลาง/ ต้องการปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง ระดับปฏิบตั ินอ้ ย/ ต้องการน้อย
1 คะแนน หมายถึง ระดับปฏิบตั ินอ้ ยทีสุด/ ต้องการน้อยทีสุด

คุณลักษณะของครู ทีปรึกษา
คุณลักษณะครู ทีปรึกษา
5 4 3 2 1
ด้ านวิชาการ
1. มีความเข้าใจในเรื องระเบียบและวิธีการให้คาํ ปรึ กษาเป็ นอย่างดี
2. สามารถแนะนําเกียวกับโครงสร้างของหลักสู ตร ตลอดจนวิธีการ
ปฏิบตั ิตนของนักเรี ยนระหว่างเรี ยน
3. เอาใจใส่ ติดตาม ดูแลการเรี ยนของนักเรี ยนอย่างใกล้ชิด
4. หมันศึกษาหาความรู ้อยูเ่ ป็ นประจํา
5. ให้คาํ แนะนําเกียวกับวิธีการเรี ยน และการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
6. มีเทคนิคในการกระตุน้ นักเรี ยนให้มีนิสัยรักการอ่านค้นคว้า
หาความรู ้เพิมเติม
7. ติดตามช่วยเหลือให้คาํ ปรึ กษาเกียวกับกิจกรรมทีนกั เรี ยนสนใจ
8. ใช้เทคนิคใหม่ ๆ แนะนํานักเรี ยนให้เกิดการพัฒนาการเรี ยนรู ้ที ดี
9. เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการวิเคราะห์เนื อหาของ
บทเรี ยน
10. วางแผนช่วยเหลือนักเรี ยนทีไม่ผา่ นเกณฑ์การวัดผลและ
ประเมินผล
11. ส่ งเสริ มให้นกั เรี ยนทีเรี ยนดีให้พฒั นาดียิงขึน
86

คุณลักษณะของครู ทีปรึกษา
คุณลักษณะครู ทีปรึกษา
5 4 3 2 1
12. สนใจตรวจสอบการจบหลักสู ตรของนักเรี ยน
13. มีความรอบรู ้ทนั สถานการณ์ปัจจุบนั
ด้ านมนุษยสั มพันธ์
14. วางตัวเป็ นกันเองกับนักเรี ยน
15. เข้าใจจิตวิทยาของวัยรุ่ นเป็ นอย่างดี
16. ยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรี ยน
17. สนใจ สอบถามต่อทุกข์ สุ ขของนักเรี ยน
18. ยกย่อง ชมเชย และให้เกียรติผอู ้ ื น
19. มีวธิ ี การทีดีในการว่ากล่าวตักเตือน
20. คอยช่วยเหลือและสร้างขวัญกําลังใจให้นกั เรี ยน
21. มีวจิ ารณญาณในการพิจารณาข้อเท็จจริ ง
22. รู ้จกั ควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมทุกสถานการณ์
23. มีความสุ ภาพ ร่ าเริ งแจ่มใสเป็ นแบบอย่างที ดีแก่นกั เรี ยน
24. สร้างความสามัคคีให้เกิดขึนในหมู่คณะ
25. เป็ นผูป้ ระสานงานทีดี
26. ให้อภัยและเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรับปรุ งตน
27. มีความสามารถ แก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าได้ดี
28. มีความยุติธรรม
ด้ านการบริการ
29. มีความรู ้ ความสามารถในการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน
30. พึงพอใจต่อการให้คาํ แนะนําปรึ กษา
31. สนใจติดตามเกียวกับงานทีนกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
32. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําเกี ยวกับการวางแผนใช้จ่ายเงินในเรื อง
การศึกษา
33. เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรึ กษาหารื อได้ทุกโอกาสตามความ
เหมาะสม
87

คุณลักษณะของครู ทีปรึกษา
คุณลักษณะครู ทีปรึกษา
5 4 3 2 1
34. ให้ข่าวสารข้อมูลทีเป็ นประโยชน์ต่อ นักเรี ยนเกียวกับการศึกษา
และการประกอบอาชีพ
35. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําช่วยเหลือเกี ยวกับการปรับปรุ งพฤติกรรม
ของนักเรี ยน
36. สนใจติดตามป้ องกันเรื องยาเสพติดอย่างใกล้ชิด
37. ให้คาํ แนะนําช่วยเหลือปั ญหาด้านสุ ขภาพอนามัย
38. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําเกี ยวกับหลักสู ตร การเลือกวิชาเรี ยน
39. ให้คาํ ปรึ กษานักเรี ยนให้ดาํ เนินชี วติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ให้คาํ ปรึ กษา
40. แนะนําการทํางานนอกเวลา เพือให้มีรายได้พิเศษ
41. แนะแนวเกียวกับการศึกษาต่อในระดับทีสูงขึน
42. อุทิศเวลาอย่างเต็มทีต่อการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน

ขอบคุณทีให้ความร่ วมมือตอบแบบสอบถาม
88

แบบสอบถามเพือการวิจัย
เรือง คุณลักษณะของครู ทีปรึกษาตามทัศนะของนักเรียนและพึงประสงค์ตามทัศนะ
ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนมัธยมวัดใหม่ กรงทอง
ในพระราชู ปถัมภ์ ฯ

******************************

คําชี แจง
แบบสอบถามฉบับนี แบ่งออกเป็ น 2 ตอน ดังนี
ตอนที 1 เป็ นแบบสอบถามเกี ยวกับสถานภาพและข้อมูลของผูต้ อบแบบสอบถาม
จํานวน 2 ข้อ
ตอนที 2 เป็ นแบบสอบถามเกียวกับเรื อง คุณลักษณะทีเป็ นจริ งและคุณลักษณะ
ทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนระดับระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของ
โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ จํานวน 42 ข้อ แบ่งออกเป็ น 3 ด้าน คือ
ด้านวิชาการ จํานวน 13 ข้อ ด้านมนุษยสัมพันธ์ จํานวน 15 ข้อ และด้านบริ การ จํานวน 14 ข้อ
ในการตอบแบบสอบถามทัง 2 ตอน โปรดตอบให้ครบทุกข้อและตรงกับความเป็ นจริ ง
ของนักเรี ยน ข้อมูลทีถูกต้องและตรงกับความจริ งจะทําให้การวิจยั ครั งนี เป็ นประโยชน์ต่อนักเรี ยน
และต่อการให้คาํ แนะนําปรึ กษาของครู ที ปรึ กษา

ตอนที 1 สถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม


คําชี แจง โปรดทําเครื องหมาย  ลงใน ( ) หน้าข้อความทีตรงกับความเป็ นจริ งของนักเรี ยน
1. เพศ
( ) ชาย
( ) หญิง
2. ผูต้ อบเป็ นนักเรี ยนระดับใด
( ) มัธยมศึกษาปี ที 3
( ) มัธยมศึกษาปี ที 4
( ) มัธยมศึกษาปี ที 5
89

ตอนที 2 คุณลักษณะทีเป็ นจริ งและทีพึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยน


ระดับระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
คําชี แจง ให้นกั เรี ยนอ่านข้อความแต่ละข้ออย่างละเอียด แล้วไตร่ ตรองดูวา่ นักเรี ยน พบพฤติกรรม
ของครู ทีปรึ กษาในสภาพการทํางานจริ งและคุณลักษณะที พึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษา แล้วทํา
เครื องหมาย ลงในช่องทีตรงกับระดับความคิดเห็นของนักเรี ยนเพียงช่องเดียวเท่านันโดยกําหนด
คะแนนกับระดับปฏิบตั ิสาํ หรับคุณลักษณะที เป็ นจริ งและระดับความต้องการสําหรับคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ดังนี
5 คะแนน หมายถึง ระดับปฏิบตั ิมากทีสุด/ ต้องการมากทีสุด
4 คะแนน หมายถึง ระดับปฏิบตั ิมาก/ ต้องการมาก
3 คะแนน หมายถึง ระดับปฏิบตั ิปานกลาง/ ต้องการปานกลาง
2 คะแนน หมายถึง ระดับปฏิบตั ินอ้ ย/ ต้องการน้อย
1 คะแนน หมายถึง ระดับปฏิบตั ินอ้ ยทีสุด/ ต้องการน้อยทีสุด

คุณลักษณะ คุณลักษณะ
คุณลักษณะครู ทีปรึกษา ทีเป็ นจริง ทีพงึ ประสงค์
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
ด้ านวิชาการ
1. มีความเข้าใจในเรื องระเบียบและวิธีการให้คาํ ปรึ กษา
เป็ นอย่างดี
2. สามารถแนะนํา เกียวกับโครงสร้างของหลักสู ตร
ตลอดจนวิธีการปฏิบตั ิตนของนักศึกษาระหว่างเรี ยน
3. เอาใจใส่ ติดตาม ดูแลการเรี ยนของนักเรี ยน
อย่างใกล้ชิด
4. หมันศึกษาหาความรู ้อยูเ่ ป็ นประจํา
5. มีเทคนิคในการกระตุน้ นักเรี ยนให้มีนิสัยรักการอ่า น
ค้นคว้าหาความรู ้เพิมเติม
6. ให้คาํ แนะนําเกียวกับวิธีการเรี ยน และการศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเอง
7. ใช้เทคนิคใหม่ ๆ แนะนํานักเรี ยนให้เกิดการเรี ยนรู ้ที ดี
90

คุณลักษณะ คุณลักษณะ
คุณลักษณะครู ทีปรึกษา ทีเป็ นจริง ทีพงึ ประสงค์
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
8. ติดตามช่วยเหลือให้คาํ ปรึ กษาเกียวกับกิจกรรม
ทีนกั เรี ยนสนใจ
9. เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนมีส่วนร่ วมในการวิเคราะห์
เนือหาของบทเรี ยน
10. วางแผนช่วยเหลือนักเรี ยนทีไม่ผา่ นเกณฑ์การวัดผล
และประเมินผล
11. สนใจตรวจสอบการจบหลักสู ตรของนักเรี ยน
12. ส่ งเสริ มนักเรี ยนทีเรี ยนดีให้ดียิงขึน
13. มีความรอบรู ้ทนั สถานการณ์ปัจจุบนั
ด้ านมนุษยสั มพันธ์
14. วางตัวเป็ นกันเองกับนักเรี ยน
15. เข้าใจจิตวิทยาของวัยรุ่ นเป็ นอย่างดี
16. คอยช่วยเหลือและสร้างขวัญกําลังใจให้นกั เรี ยน
17. สนใจ สอบถามต่อทุกข์ สุ ขของนักเรี ยน
18. ยกย่อง ชมเชย และให้เกียรติผอู ้ ื น
19. มีวธิ ี การทีดีในการว่ากล่าวตักเตือน
20. ยอมรับฟังความคิดเห็นของนักเรี ยน
21. มีวจิ ารณญาณในการพิจารณาข้อเท็จจริ ง
22. รู ้จกั ควบคุมอารมณ์ได้เหมาะสมทุกสถานการณ์
23. มีความสุ ภาพ ร่ าเริ งแจ่มใส เป็ นแบบอย่างทีดี
แก่นกั เรี ยน
24. สร้างความสามัคคีให้เกิดขึนในหมู่คณะ
25. ให้อภัยและเปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรับปรุ งตน
26. เป็ นผูป้ ระสานงานทีดี
27. มีความยุติธรรม
28. มีความสามารถแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าได้ดี
91

คุณลักษณะ คุณลักษณะ
คุณลักษณะครู ทีปรึกษา ทีเป็ นจริง ทีพงึ ประสงค์
5 4 3 2 1 5 4 3 2 1
ด้ านการบริการ
29. มีความรู ้ ความสามารถในการให้คาํ ปรึ กษา
แก่นกั เรี ยน
30. พึงพอใจต่อการให้คาํ แนะนําปรึ กษา
31. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําเกียวกับการวางแผนใช้จ่ายเงิน
ในเรื องการศึกษา
32. สนใจติดตามเกียวกับงานทีนกั เรี ยนได้รับมอบหมาย
33. เปิ ดโอกาสให้นกั เรี ยนปรึ กษาหารื อได้ทุกโอกาส
ตามความเหมาะสม
34. ให้ข่าวสารข้อมูลทีเป็ นประโยชน์ต่อ นักเรี ยน
เกียวกับการศึกษาและการประกอบอาชีพ
35. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําช่วยเหลือเกียวกับการปรับปรุ ง
พฤติกรรมของนักเรี ยน
36. สนใจติดตามป้ องกันเรื องยาเสพติดอย่างใกล้ชิด
37. ให้คาํ แนะนําช่วยเหลือปั ญหาด้านสุ ขภาพอนามัย
38. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําการทํางานนอกเวลา เพื อให้มี
รายได้พิเศษ
39. ให้คาํ ปรึ กษา แนะนําเกี ยวกับหลักสู ตร การเลือก
วิชาเรี ยน
40. ให้คาํ ปรึ กษานักเรี ยนให้ดาํ เนินชี วติ ตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง
41. แนะแนวเกียวกับการศึกษาต่อในระดับทีสูงขึน
42. อุทิศเวลาอย่างเต็มทีต่อการให้คาํ ปรึ กษาแก่นกั เรี ยน

ขอบพระคุณทีให้ความร่ วมมือตอบแบบสอบถาม
92

ภาคผนวก ข
ค่าอํานาจจําแนกรายข้อและค่าความเชื อมันของแบบสอบถาม
93

ตารางที 22 ค่าอํานาจจําแนกรายข้อและค่าความเชื อมันของแบบสอบถามคุณลักษณะของ


ครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรี ยนมัธยม
วัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ

ข้ อ ค่ าอํานาจจําแนก ข้ อ ค่ าอํานาจจําแนก
1 .44 22 .24
2 .24 23 .37
3 .48 24 .41
4 .48 25 .48
5 .32 26 .48
6 .32 27 .48
7 .31 28 .41
8 .41 29 .48
9 .41 30 .33
10 .41 31 .26
11 .46 32 .31
12 .46 33 .39
13 .24 34 .42
14 .24 35 .35
15 .35 36 .64
16 .48 37 .64
17 .46 38 .64
18 .35 39 .53
19 .37 40 .41
20 .56 41 .32
21 .45 42 .32
หมายเหตุ: ค่าความเชือมันทังฉบับ = .90
94

ตารางที 23 ค่าอํานาจจําแนกรายข้อและค่าความเชื อมันของแบบสอบถามคุณลักษณะที


พึงประสงค์ของครู ทีปรึ กษาตามทัศนะของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ของโรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ

ข้ อ ค่ าอํานาจจําแนก ข้ อ ค่ าอํานาจจําแนก
1 .49 22 .34
2 .57 23 .38
3 .52 24 .31
4 .57 25 .35
5 .59 26 .49
6 .37 27 .29
7 .47 28 .66
8 .45 29 .39
9 .45 30 .46
10 .49 31 .59
11 .46 32 .45
12 .46 33 .39
13 .56 34 .49
14 .56 35 .53
15 .43 36 .53
16 .41 37 .59
17 .29 38 .59
18 .36 39 .51
19 .34 40 .50
20 .35 41 .38
21 .60 42 .35
หมายเหตุ: ค่าความเชือมันทังฉบับ = .92
95

ประวัตยิ ่ อของผู้วจิ ยั

ชือ – สกุล นางสาวกัญญานันท์ หิ นแก้ว


วัน เดือน ปี เกิด 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2530
สถานทีเกิด จังหวัดปราจีนบุรี
สถานทีอยูป่ ั จจุบนั 68/ 1 หมู่ 6 ตําบลหัวหว้า อําเภอศรี มหาโพธิ
จังหวัดปราจีนบุรี 25140
ตําแหน่งและประวัติการทํางาน
พ.ศ. 2552 ครู ผสู ้ อน โรงเรี ยนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ฯ
จังหวัดปราจีนบุรี
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 2552 วิทยาศาสตรบัณฑิต (วทบ.) ฟิ สิ กส์
มหาวิทยาลัยบูรพา
พ.ศ. 2558 การศึกษามหาบัณฑิต (การบริ หารการศึกษา)
มหาวิทยาลัยบูรพา

You might also like