2122982

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

ใบความรู้

1. ระเบียบแถว (ท่ ามือเปล่ า)


จุดมุ่งหมายหลักของการฝึ กระเบียบแถว เป็ นการฝึ กลูกเสื อให้เป็ นผูม้ ีระเบี ยบวินัยและความพร้อม
เพรี ยงก ัน นอกจากนี้ ยังเป็ นการฝึ กการปฏิบตั ิตามคาสัง่ ฝึ กความอดทนการทาให้ร่า งกายแข็งแรง ท่ า ทาง
องอาจผึ่งผาย สามารถเคลื่อนไหวร่ างกายได้คล่องแคล่วว่องไว และให้รู้จกั การเป็ นผูน้ าและผู ้ตามที่ดีดว้ ย

ระเบียบแถวที่ลูกเสื อต้องฝึ กเบื้ องต้นเป็ นการฝึ กในท่า มือเปล่า ซึ่งประกอบด้วยท่าต่าง ๆ ต่อไปนี้


คือ

1. ท่ าตรง
คาบอก “แถว - ตรง”
การปฏิบตั ิ ยืนให้สน้ เท้าชิดและอยู่ในแนวเดี ยวกนั
ปลายเท้าแยกออกข้างละเท่า ๆ ก ันห่ า งกนั ประมาณ 1
คืบ (ทามุม 45 องศา)เข่ า เหยียดตึ งและบี บเข้า หากนั
ลาตัวยืดตรงอกผายไหล่เสมอกนั แขนทั้งสองห้อยอยู่
ข้างลาตัวและเหยียดตรง พลิกศอกไปข้างหน้า เล็กน้อย
จนไหล่ตึง นิ้วมือเหยียดและชิดก ัน นิ้วกลางจดขาตรง
กึ่งกลางประมาณแนวตะเข็บกางเกง เปิ ดฝ่ ามื อออก
เล็ ก น้อ ย ล าคอยืด ตรงไม่ ยื่น คาง ตามองตรงไป
ข้า งหน้า ให้น้ าหนักตัว อยู่บนเท้า ทั้ง สองเท่ า ๆ ก นั
และนิ่ง

หมายเหตุ 1. ท่าตรงเป็ นท่าเบื้องต้นและเป็ นรากฐานของการปฏิบตั ิท่าอื่น ๆ


2. ใช้เป็ นท่าสาหรับแสดงความเคารพได้ท่าหนึ่ง
2. ท่ าพัก

2.1 พักตามปกติ
คาบอก “พัก”
การปฏิบตั ิ หย่อนเข่าขวาก่อน ต่อไปก็หย่อน
และเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่ างกายเมื่อได้ยนิ
คาบอกว่า “แถว” ให้ยดื ตัวขึ้นและจัดทุกส่วนของ
ร่ างกายให้อยู่ในท่าตรง นอกจากเข่าขวาครั้นเมื่อ
ได้ยนิ คาบอกว่า “ตรง” ให้กระตุกเข่าขวาโดยเร็ว
และแข็งแรง กลับไปอยู่ในลักษณะของท่าตรง

2.2 พักตามระเบียบ
คาบอก “ตามระเบียบ - พัก”
การปฏิ บั ติ แยกเท้ า ซ้ า ยออกไปทางซ้ า ย
ประมาณ 30 ซม. (หรื อประมาณเกือบครึ่ งกา้ ว ป ก ติ )
อย่างแข็งแรงและองอาจ พร้อมกบั จับมือไขว้ห ลัง มื อ หั น
เข้า หาตัว มื อ ขวาทับ มื อ ซ้า ยแนบล าตัว ในแนว กึ่ง กลาง
และอยูใ่ ต้เข็มขัดเล็กน้อย ขาทั้งสองตึ ง น้ า หนักตัว อ ยู่ บ น
เท้า ทั้งสองเท่ า ๆ กนั และนิ่ ง เมื่อได้ยินค าบอกว่า “แถว -
ตรง” ให้ชกั เท้าขวาอย่า งแข็งแรง พร้อมกบั มือทั้ง ส อ ง
กลับไปอยูใ่ นลักษณะท่าตรงตามเดิม

2.3 พักตามสบาย
คาบอก “ตามสบาย - พัก”
การปฏิบตั ิ “หย่อนเข่าขวาก่อนเช่นเดียวก ับ “พัก” ต่อไปจึ งเคลื่อนไหวร่ า งกายอย่า งสบายและพูด
จากก ันได้ แต่เท้าข้างหนึ่งต้องอยูก่ ับที่ ถ้ามิได้รับอนุญาตให้นงั่ จะนัง่ ไม่ได้
เมื่อได้ยนิ คาบอกว่า “แถว - ตรง” ให้ปฏิบตั ิท่าเดียวก ับท่าพักปกติ ”
2.4 พักนอกแถว
คาบอก “พักแถว”
การปฏิบตั ิ ต่างคนต่างแยกออกจากแถวทันทีแต่ตอ้ งอยูใ่ นบริ เวณใกล้เคี ยงกนั และไม่ทาเสี ยงอึกทึ ก
เมื่อได้ยนิ คาบอกว่า “แถว” ให้รีบกลับมาเข้าแถวตรงที่เดิม โดยเข้า ในรู ปแถวเดิ มและเมื่อจัด แถวเรี ยบร้อย
แล้วให้อยูใ่ นท่าตรงจนกว่าจะมีคาบอกคาสัง่ ต่อไป

หมายเหตุ สาหรับท่าพัก
ท่าพัก เป็ นท่าที่เปลี่ยนอิริยา บทจากท่าตรง เพื่อผ่อนคลายความเคร่ งเครี ยดตามโอกาสต่าง ๆ คือ
1. พักตามปกติใช้พกั ในโอกาสระหว่างฝึ กสอน เพื่ออธิบายหรื อแสดงตัวอย่างแก่ลูกเสือ
2. พักตามระเบี ยบ ใช้พกั ในโอกาสที่ เกีย่ วกบั พิธีการต่ า ง ๆ เช่ น ตรวจพลสวนสนามหรื ออยู่ใน
แถวกองเกียรติยศ ฯลฯ
3. พักตามสบาย ใช้พกั ในโอกาสที่ตอ้ งรอรับคาสัง่ เพื่อปฏิบตั ิ ต่ อไปเป็ นระยะเวลาสั้น ๆ เช่ น เมื่อ
ผูค้ วบคุมแถวต้องไปรับคาสัง่ จากผูบ้ งั คับบัญชา เป็ นต้น
4. พักนอกแถว ใช้พกั ในโอกาสที่ตอ้ งรอรับคาสัง่ เพื่อปฏิบตั ิต่อไปเป็ นระยะเวลานาน ๆ

3. ท่ าหันอยู่กับที่
3.1ขวาหัน
คาบอก “ขวา - หัน”
การปฏิบตั ิ ทาเป็ น 2 จังหวะ คือ
จังหวะ 1 เปิ ดเท้าขวา และยกส้นเท้าซ้าย ทันใดนั้นให้หันตัวไปทางขวาจนได้ 90 องศา หมุนเท้า
ทั้งสองไปโดยให้สน้ เท้าและปลายเท้า ซึ่งเป็ นหลักนั้นติดอยูก่ ับพื้นน้ าหนักตัวอยูท่ ี่ เท้า ขวา ขาซ้า ยเหยียดตึ ง
บิดส้นเท้าซ้ายออกข้างนอกพอตึง
จังหวะ 2 ชักเท้าซ้ายมาชิดเท้าขวาในลักษณะท่าตรงโดยเร็ว และแข็งแรง

3.2 ซ้ ายหัน
คาบอก “ซ้าย - หัน”
การปฏิบตั ิ ทาเป็ น 2 จังหวะอย่างเดียวก ับท่าขวาหันโดยเปลี่ยนคาว่า “ขวา” เป็ น “ซ้าย”
3.3 กลับหลังหัน
คาบอก “กลับหลัง - หัน”
การปฏิบตั ิ ทาเป็ น 2 จังหวะ คือ
จังหวะ 1 ทาเช่ นเดี ยวกบั ท่ า ขวาหัน จังหวะ 1 แต่ หันเลยไปจนกลับหน้า เป็ นหลัง ครบ 180
องศา และให้ปลายเท้าซ้ายไปหยุดอยูข่ า้ งหลังเฉี ยงซ้ายประมาณครึ่ งก ้าวและในแนวส้นเท้าขวา
จังหวะที่ 2 ทาเช่นเดียวก ับท่าขวาหันจังหวะ 2

4. ท่ าเดิน - ท่ าหยุด
4.1 ท่ าเดิน
คาบอก “หน้า – เดิน”
การปฏิบตั ิ โน้มน้ าหนักตัวไปข้างหน้าพร้อมก ับก ้าวเท้าซ้ายออกเดิ นก่อน ขาเหยียดตึ งปลายเท้า งุ ้ม
ส้นเท้าสูงจากพื้นประมาณ 1 คืบ เมื่อจะวางเท้าและก ้าวเท้าต่อไปให้โน้มน้ าหนักตัว ไปข้า งหน้า ตบเต็มฝ่ า
เท้าอย่างแข็งแรง ทรงตัวและศีรษะอยู่ในท่ า ตรง แกว่งแขนตามธรรมดาเฉี ยงไปข้า งหน้า และข้า งหลังพอ
งาม เมื่ อแกว่ งแขนไปข้า งหน้า ข้อศอกงอเล็กน้อย เมื่ อ แกว่ งแขนไปข้า งหลังให้เ หยียดแขนตรงตาม
ธรรมชาติ หันหลังมือออกนอกตัวแบมือให้นิ้วมือเรี ยงชิดติดก ัน
ความยาวของกา้ ว 40-60 เซนติ เมตร (นับจากส้นเท้า ) รักษาความยาวของกา้ วให้ค งที่ อัตรา
ความเร็วในการเดิน นาทีละ 90-100 ก ้าว

4.2 ท่ าหยุด
คาบอก “แถว – หยุด”
การปฏิบตั ิ ในขณะที่กาลังเดิ นตามปกติ เมื่อได้ยินค าบอกว่า “แถว – หยุด ” ไม่ว่า เท้า ข้า งใดข้า ง
หนึ่งจะตกถึงพื้นก็ตาม ให้ปฏิบตั ิเป็ น 2 จังหวะ คือจังหวะ 1 ก ้าวเท้า ต่ อไปอีก 1 กา้ ว จังหวะ 2 ชักเท้า
หลังไปชิดเท้าหน้าในลักษณะท่าตรงอย่างแข็งแรง

หมายเหตุ
1) ท่าหยุดโดยธรรมดา ผูบ้ อกแถวควรบอกให้ตบเท้าขวา
2) เมื่อใช้คาบอกว่า “แถว” ลงเท้าใดให้บอกคาว่า “หยุด” ลงเท้านั้นในก ้าวต่อไป เช่น บอก
“แถว - ” ลงเท้าขวาเมื่อก ้าวเท้าซ้ายต่อไป และลงเท้าขวาอีกเป็ น ครั้งที่ 2 จึงบอกคาว่า “หยุด”

You might also like