Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 53

ทักทาย

หนังสือคู่มือฉบับนี้ เป็นเอกสารในโครงการ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” ครั้งที่ 22 จัดโดย


บริษัท สหพัฒนพิบูล จ�ำกัด (มหาชน) โดยผลิตภัณฑ์ มาม่า บิสชิน มองต์เฟลอ ริชเชส ร่วมกับ
บริษทั เนชัน่ บรอดแคสติง้ คอร์ปอเรชัน่ จ�ำกัด (มหาชน) โดยเนชัน่ ทีวี ช่อง 22 และร่วมสนับสนุน
สถานที่โดยมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ทั้งนี้โครงการสหพัฒน์แอดมิชชั่นจัดขึ้นเพื่อเตรียม
ความพร้อมให้แก่นกั เรียนชัน้ มัธยมปลายก่อนการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ไม่วา่ วิธกี ารรับเข้าศึกษาต่อ
จะเป็นรูปแบบใดก็ตาม จากเอ็นทรานซ์ สู่แอดมิชชั่น และ TCAS
กว่า 2 ทศวรรษ ที่ “สหพัฒน์แอดมิชชัน่ อยูค่ สู่ งั คมไทย” 22 ปีแห่งการเปิดโอกาสทางการศึกษา
ซึง่ ในปีนจี้ ดั ระหว่างวันที่ 7-12 ตุลาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พร้อมส่งสัญญาณ
บรอดแบนด์ ไปยังโรงเรียนกว่า 1,000 แห่งทัว่ ประเทศ เพือ่ เป็นการกระจายโอกาสและความเท่าเทียม
ทางการศึกษา
คู่มือทบทวนความรู้นี้ อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวิชา รวบรวมเนื้อหาอย่างเข้มข้น
พร้อมตัวอย่างข้อสอบ เพื่อให้น้องๆ เตรียมพร้อมก่อนเข้าสู่สนามสอบต่อไป ซึ่งนอกจากใช้
ในการเรียนสด ณ สนามกรุงเทพฯ แล้ว ยังสามารถใช้ประกอบการดูย้อนหลังได้ โดยรับชมผ่าน
ทางเว็บไซต์ www.sahapatadmission.com

ขอเป็นก�ำลังใจให้นอ้ งๆ ทุกคนโชคดีในทุกสนามสอบ ได้เข้าคณะและมหาวิทยาลัยทีใ่ ฝ่ฝนั ...

กองบรรณาธิการ
สหพัฒน์แอดมิชชั่น
สารบัญ หน้า

 คณิตศาสตร์ (O-NET+PAT1+สามัญ) 3

อ.ไอศุริย สุดประเสริฐ (ม.หอการค้าไทย)
• ระบบจ�ำนวนจริง 3
• ความน่าจะเป็น 9

 คณิตศาสตร์ (O-NET+PAT1+สามัญ) 17
อ.มนตรี นิรมิตศิริพงศ์ (พี่ช้าง We by the Brain)
• Trigonometric functions - ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 18
• Sequence & Series - ล�ำดับและอนุกรม 25
• Complex Number - จ�ำนวนเชิงซ้อน 32

 คณิตศาสตร์ (O-NET+PAT1+สามัญ) 36
อ.ภาคภูมิ อร่ามวารีกุล (พี่แท็ป ALevel by OnDemand)
• สถิติบทที่ออกข้อสอบเยอะในแต่ละสนาม 36
• ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม 37
• แคลคูลัส 40
• สถิติ 45

2 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


คณิตศาสตร์ (O-NET+PAT1+สามัญ) อ.ไอศุริย สุดประเสริฐ (ม.หอการค้าไทย)

ระบบจ�ำนวนจริง

ก�ำหนด a, b และ c เป็นจ�ำนวนจริงใด ๆ


สมบัติ ส�ำหรับการบวก ส�ำหรับการคูณ
1. ปิด a + b เป็นจ�ำนวนจริง ab เป็นจ�ำนวนจริง
2. การสลับที่ a+b = b+a ab = ba
3. การเปลี่ยนกลุ่ม a + (b + c) = (a + b) + c a(bc) = (ab)c
4. การมีเอกลักษณ์ มี 0   ซึ่งส�ำหรับทุก a  , มี 1   ซึ่งส�ำหรับทุก a  ,
a+0 = a = 0+a a 1 = a = 1 a
• •

5. การมีอินเวอร์ส ทุก a   มี −a   ซึ่ง ทุก a ≠ 0 มี a−1 = _a1  ,


a + (−a) = 0 = (−a) + a a • _a1 = 1 = _a1 • a

6. การแจกแจง a(b + c) = ab + ac

ทฤษฎีบทเศษเหลือ : ก�ำหนดพหุนาม p(x) = an x + an- x + ... + a x + a


n
1
n−1
1 0

จะได้ว่าเศษที่ได้จากการหารพหุนาม p(x) ด้วย x − c คือ p(c)

ทฤษฎีบทตัวประกอบ : ก�ำหนดพหุนาม p(x) = an x + an- x + ... + a x + a


n
1
n−1
1 0

จะได้ว่าพหุนาม x − c เป็นตัวประกอบหนึ่งของพหุนาม p(x) ก็ต่อเมื่อ p(c) = 0

โจทย์ตัวอย่าง

1. ก�ำหนดให้ f(x) = x + ax + bx + 3 และ g(x) = bx + 3x + a เมื่อ a และ b เป็น


3 2 2

จ�ำนวนจริง ถ้า f(3) = 0 และ x − 2 หาร f(x) มีเศษเหลือเท่ากับ 5


แล้วค่าของ (g  f )(1) เท่ากับเท่าใด

2. ก�ำหนดให้ P(x) เป็นพหุนามดีกรี 3


ถ้า x − 1, x − 2 และ x − 3 ต่างก็หาร P(x) แล้วเหลือเศษ 1 และ x−4 หาร P(x) ลงตัว
แล้ว P(5) เท่ากับเท่าใด

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 3


3. ให้ a เป็นจ�ำนวนเต็ม
ถ้า x − a หาร x + 2x − 5x − 2 เหลือเศษ 4 แล้วผลบวกของค่า
3 2
a ทั้งหมดที่สอดคล้อง
กับเงือ่ นไขดังกล่าวเท่ากับเท่าใด

4. ก�ำหนดให้ A เป็นเซตค�ำตอบของสมการ x + x − 27x − 27 = 0


3 2

และ B เป็นเซตค�ำตอบของสมการ x + (1 − 3 ) x − (36 +


3 2
3 ) x − 36 = 0
แล้ว A∩B เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้

1. [−3 5 , −0.9] 2. [−1.1, 0]


3. [0, 3 5 ] 4. [0, 5 3 ]

สมบัติไตรวิภาค : ส�ำหรับจ�ำนวนจริง a และ b ใด ๆ ข้อความต่อไปนี้เป็นจริงเพียงข้อเดียวเท่านั้น


(1) a = b หรือ (2) a < b หรือ (3) a > b

วิธีการหาค�ำตอบของอสมการท�ำได้ดังนี้
ขั้นที่ 1 ท�ำด้านขวาของอสมการให้เป็นศูนย์ แล้วแยกตัวประกอบของพหุนามทางซ้ายมือ
สมมติว่าแยกได้เป็น
(x − a )(x − a ) ... (x − a )(x − a ) โดยที่ a < a < ... < a
1 2 n−1 n 1 2 n

ขั้นที่ 2 หาค่า x ที่ท�ำให้ (x − a )(x − a ) ... (x − a ) = 0 จะได้ x = a , a , ... , a


1 2 n 1 2 n

ขั้นที่ 3 เขียนค่า x ทั้งหมดลงบนเส้นจ�ำนวน


a 1 a2 an− 1 an
ขั้นที่ 4 ใส่เครื่องหมายบวกและลบสลับกันไป โดยเริ่มใส่เครื่องหมาย + จากขวามือสุดก่อน

+ − +
a1 a2 an−
2 an− 1 an

ขั้นที่ 5 ถ้าอสมการในโจทย์ เป็นเครื่องหมาย “< 0” ให้ตอบในช่วงที่เป็นเครื่องหมายลบ


ถ้าอสมการในโจทย์ เป็นเครื่องหมาย “> 0” ให้ตอบในช่วงที่เป็นเครื่องหมายบวก
และถ้าอสมการมี “=” รวมอยู่ด้วย ค�ำตอบของอสมการจะมีเท่ากับรวมอยู่ด้วยเช่นกัน

4 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


โจทย์ตัวอย่าง

5. จงแก้อสมการแต่ละข้อต่อไปนี้
(1) (x − 2) (x − 3) ≥ 0
5 7
(2) (x − 2) (x − 3)
9 20
< 0

(3) (x − 2) 15
(x − 3)24(x − 4)37 > 0 (4) (x − 2)11
(x − 3)24(x − 4)53 ≤ 0

(x + 1)(x − 3)
6. จ�ำนวนเต็มที่สอดคล้องกับอสมการ มี
< 0 ทั้งหมดกี่จ�ำนวน
x (2x + 1)

ค่าสัมบูรณ์ของจ�ำนวนจริง a เขียนแทนด้วย |a| นิยามโดย

|a| =
a, a ≥ 0
−a, a < 0

สมบัติที่ส�ำคัญของค่าสัมบูรณ์ : ก�ำหนด a และ b เป็นจ�ำนวนจริงใด ๆ


1. |a| ≥ 0 2. |a| = | −a|
3. |a | = |a| = a
2 2 2
4. a = |a| 2

5. |ab| = |a||b| 6. a_b = |a|


_
|b| , b ≠ 0
7. |a − b| = |b − a| 8. |a + b| ≤ |a| + |b|
9. |a − b| ≥ ||a| − |b|| ≥ |a| − |b| 10. |a| = |b| ก็ต่อเมื่อ a = ±b
11. ถ้า a เป็นจ�ำนวนจริงบวก แล้ว
11.1 |x| < a ก็ต่อเมื่อ −a < x < a
11.2 |x| ≤ a ก็ต่อเมื่อ −a ≤ x ≤ a
12. ถ้า a เป็นจ�ำนวนจริงบวก แล้ว
12.1 |x| > a ก็ต่อเมื่อ x < −a หรือ x > a
12.2 |x| ≥ a ก็ต่อเมื่อ x ≤ −a หรือ x ≥ a

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 5


โจทย์ตัวอย่าง

7. อสมการ |x2 − 2x| − x ≤ 4 มีค�ำตอบเป็นจ�ำนวนเต็มกี่ค�ำตอบ

8. ถ้า A แทนเซตค�ำตอบของสมการ |2 − 2x| + |x + 2| = 4 − x


แล้วเซต A เป็นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้
1. (−4 , 0) 2. (−1, 1) 3. (0, 4) 4. (−3, 2)

ตัวอย่างข้อสอบ
xy , x + y ≠ 0
______
x+y
1. ส�ำหรับ x และ y เป็นจ�ำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ นิยาม x * y =
0 , x+y=0
ถ้า a, b และ c เป็นจ�ำนวนจริงที่ไม่เป็นศูนย์ โดยที่ a * b = 1, a *c และ b * c = 3
= 2

แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT1 : มีนาคม 2559)


1. a + b < c 2. a < b + c
3. a < b < c 4. b < c < a
5. c < a < b

2. นิยาม a * b = 1 + ab ส�ำหรับ a และ b เป็นจ�ำนวนเต็มใด ๆ


พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. a * (1 * a ) = (a * 1) * a ส�ำหรับทุกจ�ำนวนเต็ม a
ข. a * (b * c ) = (a * b) * c ส�ำหรับทุกจ�ำนวนเต็ม a, b และ c
ค. ((1 * 2 ) * 3) * 4 เป็นจ�ำนวนเฉพาะ
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (PAT1 : ตุลาคม 2560)
1. ข้อ ก และข้อ ข ถูก แต่ข้อ ค ผิด 2. ข้อ ก และข้อ ค ถูก แต่ข้อ ข ผิด
3. ข้อ ข และข้อ ค ถูก แต่ข้อ ก ผิด 4. ข้อ ก, ข และ ค ถูกทั้งสามข้อ
5. ข้อ ก, ข และ ค ผิดทั้งสามข้อ

6 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


3. ถ้า a เป็นจ�ำนวนจริงลบ, b เท่ากับ 3 เท่าของค่าสัมบูรณ์ของ a และ b มากกว่า a อยู่ 12
แล้ว a + 2b เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (คณิตศาสตร์ 2 : 2558)
1. 12 2. 15 3. 18 4. 21 5. 30

4. ก�ำหนดให้ P(x) = ax + bx + cx + d เมื่อ a, b, c และ d เป็นค่าคงตัว


5 3

ถ้า x − 1 หาร P(x) เหลือเศษ 10 และ x หาร P(x) เหลือเศษ 6


แล้ว x + 1 หาร P(x) เหลือเศษเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (คณิตศาสตร์ 1 : 2558)
1. -10 2. -6 3. 2 4. 4 5. 6

5. ก�ำหนดให้ P(x) = 2x 3
+ ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นจ�ำนวนจริง
ถ้า x + 1, x + 2 และ x + 3 เป็นตัวประกอบของ P(x) แล้ว a + b + c มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
(คณิตศาสตร์ 1 : 2559)
1. 12 2. 24 3. 32 4. 40 5. 46

6. ถ้า x , x , x เป็นรากของสมการ 8x + 6x − 5x −3 = 0 โดยที่ x < x < x


1 2 3
3 2
1 2 3

แล้ว x + x มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (คณิตศาสตร์ 1 : 2557)


1 3

1. − 3_2 2. − 1_4 3. 1_4 4. 1_2 5. 3_4


7. ก�ำหนดให้ A = {x | x − 9x − 10 ≤ 0}, B = {x | 5 − 3x > 7 − 4x }


2

และ C = {x | x เป็นจ�ำนวนเต็มและ x  A ∩ B } จ�ำนวนสมาชิกของ C เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


(คณิตศาสตร์ 2 : 2559)
1. 4 2. 5 3. 8 4. 9 5. 12

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 7


8. เซตค�ำตอบของอสมการ เป็
x + 2 < 3 − x + 2x − 1 นสับเซตของเซตในข้อใดต่อไปนี้
(PAT1 : มีนาคม 2559)
1. { x || 2x − 1| < 1 } 2. { x || x − 2| < 1 }
3. { x || x − 1| < 2 } 4. { x | x + 2 < 3x }
2

5. { x | x < 2x }
2

9. ผลบวกของค�ำตอบทั้งหมดของสมการ (|x − 2 | − 1)(| 2x − 1 | − 2) = 0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


(คณิตศาสตร์ 2 : 2559)
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 5. 5

10. ให้ A เป็นเซตค�ำตอบของอสมการ || x − 1| −1| < 1

1 2x
−2
และ B เป็นเซตค�ำตอบของอสมการ ≥
x+1 x −3x + 2
2

เซต A ∩ B เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 : ตุลาคม 2558)


1. (−5 , −1) 2. (−3 , 1) 3. (−1 , 3) 4. (0, 4) 5. (1, 5)

11. ให้ A เป็นเซตค�ำตอบของอสมการ x 2


+ 2 | x − 3 | −9 > 0

และ B เป็นเซตค�ำตอบของอสมการ | x − 3 | < 2


แล้ว A ∩ B เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 : ตุลาคม 2560)
1. (4 , ∞) 2. (−∞ , 1) 3. (−1 , 3) 4. (3, 6) 5. (0, 4)

12. ให้ A แทนเซตของจ�ำนวนเต็มทั้งหมดที่สอดคล้องกับสมการ | x − 1 − 2 | + | x − 1 −3| = 1


ผลบวกของสมาชิกทั้งหมดในเซต A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 : มีนาคม 2559)
1. 52 2. 45 3. 38 4. 31 5. 24

8 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


ความน่าจะเป็น

กฎข้อ 1: กฎการคูณ
ในการท�ำงานอย่างหนึ่งประกอบด้วย k ขั้นตอน โดย ขั้นตอนที่ 1 มีวิธีเลือกท�ำได้ n วิธี 1

ในแต่ละวิธีของขั้นตอนที่ 1 มีวิธีเลือกท�ำขั้นตอนที่ 2 ได้ n วิธี 2

ในแต่ละวิธขี องขั้นตอนที่ 2 มีวิธีเลือกท�ำขั้นตอนที่ 3 ได้ n วิธี 3


เช่นนี้เรื่อยไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายคือ ขั้นตอนที่ k ท�ำได้ n วิธี k

จ�ำนวนวิธีท�ำงานทั้งหมดเท่ากับ n n n ... n วิธี


1 2 3 k

กฎข้อ 2 : กฎการบวก
ในการท�ำงานอย่างหนึ่งประกอบด้วย k วิธี คือวิธีที่ 1 ถึงวิธีที่ k โดย
การท�ำงานวิธีที่ 1 ท�ำได้ n วิธี
1

การท�ำงานวิธีที่ 2 ท�ำได้ n วิธี


2


เช่นนี้เรื่อยไปจนถึงขั้นตอนสุดท้ายคือการท�ำงานวิธีที่ k ท�ำได้ n วิธี k

ถ้าต้องการเลือกท�ำงานวิธีใดวิธีหนึ่งเพียงหนึ่งวิธีเท่านั้น จะได้จ�ำนวนวิธีในการท�ำงานนี้
เท่ากับ n + n + n + ... + n วิธี
1 2 3 k

โจทย์ตัวอย่าง

1. จงหาจ�ำนวนวิธใี นการเขียนเครือ่ งหมาย O หรือ X ลงในตารางขนาด 2 x 3 โดยให้มเี ครือ่ งหมายเต็มทุกช่อง


และต้องมีเครื่องหมายอย่างน้อยชนิดละ 1 เครื่องหมาย

2. จงหาจ�ำนวนวิธีในการสร้างเลขคู่สี่หลักที่แต่ละหลักไม่ซ�้ำกันจากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 7, 8, 9

3. จงหาจ�ำนวนเต็มคี่บวกสามหลักทั้งหมดที่มีหลักหน่วยหรือหลักร้อยเป็นจ�ำนวนเฉพาะ

บทนิยาม ก�ำหนด n เป็นจ�ำนวนเต็มบวก แฟกทอเรียล n เขียนแทนด้วย n! นิยามโดย


n! = n (n−1) ... 3 2 1
• • •

และ 0! = 1

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 9


กฎข้อ 3 : วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นตรง
จ�ำนวนวิธเี รียงสับเปลีย่ นเชิงเส้นตรงของสิง่ ของ n สิง่ ทีแ่ ตกต่างกันทัง้ หมด เท่ากับ n! วิธี

โจทย์ตัวอย่าง

4. จงหาจ�ำนวนวิธีในการจัดผู้ชาย 3 คน และผู้หญิง 2 คนมายืนเรียงแถวหน้ากระดานหนึ่งแถว โดย


(1) ไม่มเี งื่อนไขใด ๆ

(2) ผู้ชายทั้งสามคนยืนติดกัน

(3) ผู้ชายทั้งสามคนยืนติดกัน และผู้หญิงทั้งสองคนยืนติดกัน

5. จัดคน 8 คน ซึ่งมีสมชาย สมคิด และสมศรี รวมอยู่ด้วย เข้านั่งเรียงกันเป็นแถวตรง โดยที่สมศรีนั่งกลาง


ติดกับสมชายและสมคิดเสมอ จงหาจ�ำนวนวิธีการจัดที่นั่งดังกล่าว

กฎข้อ 4 : วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่ไม่แตกต่างกันทั้งหมด
ถ้ามีสิ่งของ n สิ่ง ในจ�ำนวนนี้มี n สิ่งที่เหมือนกันเป็นกลุ่มที่หนึ่ง
1

มี n สิ่งที่เหมือนกันเป็นกลุ่มที่สอง
2

มี n สิ่งที่เหมือนกันเป็นกลุ่มที่ k โดยที่ n + n + ... + n =


k 1 2 k n
n!
จ�ำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของ n สิ่ง เท่ากับ วิ
n ! n ! ... n !
ธี
1 2 k

โจทย์ตัวอย่าง

6. ในการจัดหลอดไฟสีต่าง ๆ เพื่อประดับตามแนวเส้นตรงจ�ำนวน 8 หลอด ถ้ามีหลอดไฟสีแดง 3 หลอด


สีเหลือง 3 หลอด สีเขียว 1 หลอด และสีน�้ำเงิน 1 หลอด จงหาจ�ำนวนวิธีการจัดเรียงหลอดไฟสีดังกล่าว
โดยไม่ให้หลอดไฟสีเขียวและสีน�้ำเงินติดกัน

7. จงหาจ�ำนวนวิธีในการเรียงสับเปลี่ยนตัวอักษร A, A, A, B, B, B
โดยมีตวั อักษรอย่างน้อยสองตัวที่ติดกันเป็นอักษรตัวเดียวกัน

10 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


กฎข้อ 5 : วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
จ�ำนวนวิธเี รียงสับเปลีย่ นเชิงวงกลมของสิง่ ของ n สิง่ ทีแ่ ตกต่างกันทัง้ หมด เท่ากับ (n − 1)! วิธี

โจทย์ตัวอย่าง

8. คุณลุง คุณป้า ลูกชาย และลูกสาว มาเยี่ยมครอบครัวเราซึ่งมี 4 คน คือ คุณพ่อ คุณแม่ ตัวฉัน และ
น้องชาย ในการจัดที่นั่งรอบโต๊ะอาหารกลมที่มี 8 ที่นั่ง โดยให้คุณลุงนั่งติดกับคุณพ่อ คุณป้านั่งติดกับ
คุณแม่ ลูกชายของคุณลุงนั่งติดกับน้องชายของฉัน และลูกสาวของคุณลุงนั่งติดกับฉัน จะมีจ�ำนวนวิธี
จัดได้เท่ากับเท่าใด

กฎข้อ 6 : จ�ำนวนวิธจี ดั หมูข่ องสิง่ ของทีแ่ ตกต่างกัน n สิง่ โดยเลือกคราวละ r สิง่ เมือ่ 0 ≤ r ≤ n
n!
( )
n
เท่ากับ หรื
r ( )
n
อ C วิธี โดย =
n, r r r! (n – r)!

สมบัติที่น่าสนใจ : ก�ำหนด n, r และ s เป็นจ�ำนวนเต็มที่ 0 ≤ r , s ≤ n

( )
n
( )
n
1. = = 1
0 n
2. ( )
n
r ( )
n
= ก็
s ต่อเมื่อ r + s = n หรือ r = s
( )
n
( )
n
3. + =
r r+1 ( )
n+1
r+1

กฎข้อ 7 : วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่แตกต่างกันทั้งหมด
จ�ำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของ n สิ่งที่แตกต่างกันทั้งหมด โดยจัดเรียงคราวละ r สิ่ง
n!
เมื่อ 1 ≤ r ≤ n เท่ากับ P วิธี โดย P =
n, r n, r
(n – r)!

โจทย์ตัวอย่าง

9. ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกบอลขนาดแตกต่างกัน 12 ลูก ประกอบด้วยสีแดง 3 ลูก, สีขาว 4 ลูก และที่เหลือ


เป็นสีฟ้า จงหาจ�ำนวนวิธีในการหยิบลูกบอล 3 ลูก เมื่อ
(1) ไม่มีเงื่อนไขใด ๆ (2) ทั้งสามลูกเป็นสีเดียวกัน

(3) ทั้งสามลูกมีสีแตกต่างกัน (4) ได้ลูกบอลสีแดงอย่างน้อย 1 ลูก

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 11


10. ก�ำหนดจุด 12 จุด ถ้ามี 7 จุดอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน จะสร้างสามเหลี่ยมได้ทั้งหมดกี่รูป

11. กิตติและสมาน กับเพือ่ นอีก 5 คน ไปเทีย่ วต่างจังหวัดด้วยกัน เข้าพักทีร่ สี อร์ทแห่งหนึง่ ซึง่ มีบา้ นพักเหลืออยู่
3 หลัง โดยหลังแรกพักได้ 3 คน ส่วนหลังที่สองและสาม พักได้หลังละ 2 คน โดยบ้านแต่ละหลัง
มีรูปแบบที่แตกต่างกัน จงหาจ�ำนวนวิธีในการจัดคนทั้ง 7 คนเข้าพัก เมื่อ
(1) ไม่มีเงื่อนไขใด ๆ


(2) กิตติและสมานพักในบ้านหลังเดียวกันคือหลังแรกหรือหลังที่สาม

12. นาย ก และนางสาว ข พร้อมด้วยเพื่อนผู้ชายอีก 3 คน และเพื่อนผู้หญิงอีก 3 คน นั่งรับประทานอาหาร


รอบโต๊ะกลม โดยที่ นาย ก และนางสาว ข นั่งตรงข้ามกัน และมีเพื่อนผู้หญิง 2 คน นั่งติดกันกับ
นางสาว ข จะมีจ�ำนวนวิธีจัดที่นั่งรอบโต๊ะกลมดังกล่าวได้กี่วิธี

12 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


ความน่าจะเป็น

การทดลองสุม่ คือ การทดลองหรือการกระท�ำใด ๆ ทีท่ ราบว่าผลลัพธ์เป็นอะไรบ้างแต่ไม่สามารถบอกได้แน่นอน


ปริภูมิตัวอย่าง หรือ แซมเปิลสเปซ คือเซตของผลลัพธ์ทั้งหมดที่เป็นไปได้จากการทดลองสุ่ม
เหตุการณ์ คือ สับเซตของปริภูมิตัวอย่าง

ให้ S แทนปริภูมิตัวอย่างและ E แทนเหตุการณ์


n(E)
____
ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ E เขียนแทนด้วย P(E) ก�ำหนดโดย P(E) =
n(S)
เมื่อ n(E) เป็นจ�ำนวนสมาชิกในเหตุการณ์ E
และ n(S) เป็นจ�ำนวนสมาชิกในปริภูมิตัวอย่าง S

สมบัติของความน่าจะเป็น : ก�ำหนด A, B และ C เป็นเหตุการณ์ใด ๆ


1. 0 ≤ P(A) ≤ 1
2. P(Ø) = 0 และ P(S) = 1
3. P(A') = 1 – P(A)
4. P(A – B) = P(A) – P(A ∩ B)
5. P(A ∪ B) = P(A) + P(B) – P(A ∩ B)
6. ถ้า A และ B เป็นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน แล้ว P(A ∪ B) = P(A) + P(B)
7. P(A ∪ B ∪ C) = P(A) + P(B) + P(C) – P(A ∩ B) – P(A ∩ C) – P(B ∩ C) + P(A ∩ B ∩ C)

โจทย์ตัวอย่าง

13. โรงเรียนแห่งหนึ่งมีรถโรงเรียน 3 คัน นักเรียน 9 คน ก�ำลังเดินไปขึ้นรถโรงเรียนโดยสุ่ม ความน่าจะเป็น


ที่ไม่มีนักเรียนคนใดขึ้นรถคันแรกเท่ากับเท่าใด

14. ข้าวสารบรรจุถุงแล้วกองหนึ่งประกอบด้วย ข้าวหอมมะลิ 4 ถุง ข้าวเสาไห้ 3 ถุง ข้าวขาวตาแห้ง 2 ถุง


และข้าวบัสมาตี 1 ถุง สุ่มหยิบข้าวจากกองนี้มา 4 ถุง จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้ข้าวครบทุกชนิด

15. ในการจัดคน 12 คน (มี GAT และ PAT รวมอยูด่ ว้ ย) นัง่ รับประทานอาหารรอบโต๊ะกลม ความน่าจะเป็น
ที่ GAT และ PAT ไม่ได้นั่งติดกันเท่ากับข้อใดต่อไปนี้

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 13


ตัวอย่างข้อสอบ

1. มีหนังสือวิชาคณิตศาสตร์ต่างกัน 3 เล่ม หนังสือวิชาภาษาไทยต่างกัน 2 เล่ม และหนังสือภาษาอังกฤษ


เหมือนกัน 5 เล่ม ถ้าต้องการจัดเรียงหนังสือ 5 เล่มวางบนชั้น โดยมีหนังสือแต่ละวิชาอย่างน้อย 1 เล่ม
และมีจ�ำนวนหนังสือวิชาคณิตศาสตร์และหนังสือวิชาภาษาไทยรวมกันอย่างมาก 3 เล่ม จ�ำนวนวิธีจัดเรียง
หนังสือ 5 เล่ม ดังกล่าวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 : ตุลาคม 2559)
1. 360 วิธี 2. 390 วิธี 3. 660 วิธี 4. 680 วิธี 5. 740 วิธี

2. ถ้าโยนเหรียญเที่ยงตรงเหรียญหนึ่ง 4 ครั้ง แล้วจ�ำนวนสมาชิกของเหตุการณ์ที่เหรียญจะออกหัว 2 ครั้ง


และก้อย 2 ครั้ง เท่ากับเท่าใด (O-net : กุมภาพันธ์ 2560)
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5 5. 6

3. มีลูกแก้วขนาดเดียวกัน 7 ลูก เป็นลูกแก้วสีแดง 2 ลูก ลูกแก้วสีเขียว 2 ลูก และลูกแก้วสีขาว 3 ลูก


ต้องการจัดเรียงลูกแก้วทั้ง 7 ลูกเป็นแถวตรงโดยที่ลูกแก้วสองลูกใด ๆ ที่เรียงติดกันมีสีต่างกัน จ�ำนวนวิธี
จัดเรียงลูกแก้วดังกล่าวเท่ากับเท่าใด (PAT1 : มีนาคม 2560)
1. 24 2. 28 3. 30 4. 38 5. 42

4. ต้องการสร้างจ�ำนวนที่มี 5 หลักจากเลขโดด 0 และ 1 โดยจ�ำนวนที่สร้างขึ้นมีค่ามากกว่า 10,000


จะมีวิธีการสร้างได้ทั้งหมดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (คณิตศาสตร์ 2 : มีนาคม 2561)
1. 15 วิธี 2. 16 วิธี 3. 20 วิธี 4. 31 วิธี 5. 32 วิธี

5. ถ้าการที่ครอบครัวจะมีลูกชายหรือลูกสาวมีโอกาสเท่า ๆ กัน แล้วจ�ำนวนสมาชิกของเหตุการณ์ที่ครอบครัว


ทีม่ ีลูก 4 คน มีลูกคนที่สองเป็นหญิงและลูกคนที่สี่เป็นชาย เท่ากับเท่าใด (O-net : กุมภาพันธ์ 2559)
1. 4 2. 6 3. 8 4. 10 5. 16

14 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


6. กล่องใบหนึ่งบรรจุลูกแก้วสีแดง 2 ลูก ลูกแก้วสีขาว 3 ลูก และลูกแก้วสีเขียว 3 ลูก สุ่มหยิบลูกแก้ว
ออกมาจากกล่อง 8 ครัง้ ครัง้ ละลูกโดยไม่ตอ้ งใส่คนื ความน่าจะเป็นทีส่ มุ่ หยิบลูกแก้ว 8 ครัง้ โดยครัง้ ที่ 1
ได้ลูกแก้วสีขาวหรือหยิบครั้งที่ 8 ไม่ได้ลูกแก้วสีแดง เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (PAT1 : มีนาคม 2560)
1. __3 2. __5 3. 29
__ 4. __7 5. __6
4 8 56 8 7

7. กล่องใบหนึ่งมีลูกแก้วสีแดงเหมือนกัน 4 ลูก และมีลูกแก้วสีน�้ำเงินเหมือนกันจ�ำนวนหนึ่ง สุ่มหยิบลูกแก้ว


1 ลูก จากกล่อง ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกแก้วสีน�้ำเงินเป็นสองเท่าของความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกแก้วสีแดง
ถ้าสุ่มหยิบลูกแก้ว 2 ลูกจากกล่อง ความน่าจะเป็นจะได้ลูกแก้วเหมือนกันทั้งสองลูกตรงกับข้อใดต่อไปนี้
(PAT1 : ตุลาคม 2559)
1. __4 2. __1 3. __5 4. 16
__ 5. 17
__
9 2 33 33 33

8. ก�ำหนดให้ S = { 1, 2, 3, ...,8, 9 } และ W = {A | A ⊂ S และ A มีสมาชิก 4 ตัว}


ถ้าสุ่มหยิบเซตหนึ่งมาจากเซต W แล้วความน่าจะเป็นที่จะได้เซตที่ไม่มีเลข 9 เป็นสมาชิกเท่ากับข้อใด
ต่อไปนี้ (คณิตศาสตร์ 1 : ธันวาคม 2559)
1. __2 2. __1 3. __4 4. __1 5. __5
9 3 9 2 9

9. ความน่าจะเป็นที่ดวงพรจะไปดูหนังและไปซื้อของในวันอาทิตย์เป็น 0.7 และ 0.6 ตามล�ำดับ ถ้าดวงพร


จะท�ำกิจกรรมอย่างน้อยหนึ่งอย่างแน่นอน แล้วความน่าจะเป็นที่ดวงพรจะท�ำกิจกรรมทั้งสองอย่าง
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (คณิตศาสตร์ 1 : ธันวาคม 2559)
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.3 4. 0.4 5. 0.5

10. ข้อสอบแบบเลือกตอบค�ำตอบชุดหนึ่งมี 5 ข้อ แต่ละข้อมี 5 ตัวเลือก และมีตัวเลือกที่ถูกเพียงตัวเลือกเดียว


ถ้านายสบโชคเดาค�ำตอบแต่ละข้ออย่างสุ่มข้อละ 1 ตัวเลือก ความน่าจะเป็นที่นายสบโชคจะเดาค�ำตอบ
ผิดหมดทุกข้อเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (คณิตศาสตร์ 2 : ธันวาคม 2559)
1. __1 5
2. __1 3. __2
5
4. __3
5 5
5. __4 5

5 4 5 5 5

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 15


11. กล่องใบหนึ่งบรรจุฉลากซึ่งเขียนหมายเลข 100, 101, 102, ... , 998, 999 ไว้ฉลากละหนึ่งหมายเลข
ถ้าสุ่มหยิบฉลาก 1 ใบจากกล่อง ความน่าจะเป็นที่ฉลากที่หยิบมามีผลคูณของเลขสามหลักเป็นจ�ำนวนคู่
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (คณิตศาสตร์ 2 : ธันวาคม 2559)
1. __1 2
2. __ 3. 29
__ 4. 77
__ 5. 31
__
2 3 36 90 36

12. หมู่บ้านแห่งหนึ่งมี 35 ครัวเรือน จากการส�ำรวจพบว่า 25 ครัวเรือนมีรถกระบะ, 20 ครัวเรือนมีจักรยานยนต์,


15 ครัวเรือนมีรถกระบะและจักรยานยนต์ ถ้าสุ่มมาหนึ่งครัวเรือน แล้วความน่าจะเป็นที่จะสุ่มได้ครัวเรือน
ที่ไม่มีรถกระบะและไม่มีจักรยานยนต์เท่ากับเท่าใด (O-net : กุมภาพันธ์ 2560)
1. __1 2. __ 2 3. __3 4. __5 5. __6
7 7 7 7 7

16 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


คณิตศาสตร์ (O-NET+PAT1+สามัญ) อ.มนตรี นิรมิตศิริพงศ์ (พี่ช้าง We by the Brain)

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 17


18 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22
โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 19
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ

1. Let fk(x) = 1k (sinkx + coskx) for k = 1, 2, 3, .....


what is the value of f4(x) – f6(x) ?
1. 24 1 1
2. 12 3. 16 4. 14 5. 13

2. ถ้า sin A cos A = 15 แล้ว sin10 A + cos10 A มีคา่ เท่ากับเท่าใด


1. 13 2. 15 3. 17 4. 19 1
5. 11

3. ก�ำหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยที่มมุ C เป็ นมุมฉาก


และ มุม A สอดคล้องกับสมการ 2 cos 2A – 8 sin A + 3 = 0 ให้ a, b และ c
เป็ นความยาวของด้านตรงข้าม มุม A มุม B และมุม C ตามล�ำดับ
ถ้า a + c = 30 แล้วค่าของ a sin A + b sin B เท่ากับเท่าใด (PAT1 ก.พ. 62)

20 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


4. cos4 512π – sin4 512π มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (คณิต 1 สามัญ 62)
1. – 32 2. – 1 3. – 12 4. 0 5. 1
2 2

5. Let x2 + y2 = 1 for x, y in R
Then the value of P = (3x – 4x3)2 + (3y – 4y3)2 is
1. 13 2. 12 3. 1 4. 2 5. 3

6. ถ้า cos 6θ = Acos6θ + Bcos4θ + Ccos2θ + D แล้วค่าของ A + B + C + D + 2 เท่ากับเท่าใด

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 21


7. ก�ำหนดให้ a = cos 15° + cos 50° และ b = sin 15° + sin 50°
2
ค่าของ (a2 + b)2 ตรงกับข้อใดต่อไปนี ้ (PAT1 ก.พ. 62)
a +b
1. 1 + cos 25° 2. 1 + cos 35° 3. 1 + cos 65° 4. 1 + cos 75° 5. 1 + cos 85°

8. ค่าของ sec2 2 arctan 13 + arctan 17 เท่ากับเท่าใด (PAT1)

9. sin(arctan2 + arctan3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


1. – 12 2. – 1 3. 1 4. 12 5.
1
2 2

10. ค่าของ arctan 2 cos10° – cos50° เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (PAT1)


sin70° – cos80°
1. 15° 2. 30° 3. 45° 4. 60° 5. 75°

22 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


11. ให้ x และ y เป็ นจ�ำนวนจริงซึง่ arcsin(x + y) + arccos(x – y) = 32π
ดังนัน้ arcsin y + arccos x มีคา่ อยูใ่ นช่วงใดต่อไปนี ้
1. – π2 , 0 2. 0, π2 3. π2 , π 4. π, 3π 5. 54π , 43π
2

12. ค่าของ arccos sin 177π – arcsin sin 107π เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (PAT1 ก.พ. 62)
1. – 514π 2. 14π 3. 27π 4. π2 5. 32π

13. ก�ำหนดให้ ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยม โดยที่มีความยาวของด้านตรงข้าม


มุม A มุม B และมุม C เท่ากับ a หน่วย b หน่วย และ c หน่วย ตามล�ำดับ
ถ้า b = a( 3 – 1 ) และ มุม C มีขนาด 30° แล้ว ค่าของ sin 3B เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
(PAT1 ก.พ. 62)
1. – 32 2. – 22 3. 1 4. 22 5. 32

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 23


โจทย์เสริมความแข็งแกร่งฟังก์ชันตรีโกณมิติ
1. ก�ำหนดให้ 0° < θ < 90°
ถ้า P = sec6θ – tan6θ – 3 sec2θ tan2θ
Q = csc6θ – cot6θ – 3 csc2θ cot2θ
R = sin6θ + cos6θ + 3 sin2θ cos2θ
แล้วค่าของ (P + Q + R)PQ + QR + RP เท่ากับเท่าใด

2. For θ ∊ π4 , π2 , let A = (cos θ)cos θ , B = (sin θ)cos θ , C = (cos θ)sin θ


Which of the following is true ?
a. A < B < C b. A < C < B c. B < A < C d. B < C < A e. C < A < B

3. ให้ A แทนเซตค�ำตอบของจ�ำนวนจริง x ∊ [0, 2π) ทัง้ หมดที่สอดคล้อง


กับสมการ 2(1 + 3 sin x) – 5 × 22 sin x + 2(2 + sin x) = 1 จ�ำนวนสมาชิกของเซต A เท่ากับเท่าใด

4. If tan x + tan y = 4 and cot x + cot y = 5 , compute tan (x + y)

5. ถ้า cot 7.5° = a + b + c + d โดยที่ a, b, c, d เป็ นจ�ำนวนเต็มบวก


แล้วค่าของ a + b + c + d เท่ากับเท่าใด

6. ค่าของ cos4 π + cos4 3π + cos4 5π + cos4 7π เท่ากับเท่าใด


8 8 8 8

7. ให้ sin A + sin B = 1 และ cos A + cos B = 3 ดังนัน้ cos(A + B) มีคา่ เท่ากับข้อใด
2
1. 5 2. 5 3. 5 4. 5 5. 1
8 13 16 26 2

8. ค่าของ tan 3π _ 1 arcsin _ 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้


4 4 5
1. 1 – 5 2. 1 + 5 3. 1 – 5 4. 1 + 5 5. 5
4 4 2 2 2

9
9. If sin–1x + sin–1y + sin–1z = 3π then x2019 + y2019 + z2019 – 2020 2020
2 x + y + z2020
is equal to

24 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 25
ล�ำดับและอนุกรม

1. ก�ำหนดให้ a1 , a2 , a3 , a4 , a5 และ b1 , b2 , b3 , b4 , b5 , b6
เป็ นล�ำดับเลขคณิตของจ�ำนวนจริงบวก โดยที่ a1 = b2 , a5 = b5 และ a1 ≠ a5
(b – b ) + (b – b1) x
ถ้า 6 a4 – a 6 = เมื
y ่อ ห.ร.ม. ของ x กับ y เท่ากับ 1
4 2
แล้ว x2 + y2 เท่ากับเท่าใด (PAT 1)

2. ให้ a1 , a2 , a3 , ..... , an , ..... เป็ นล�ำดับเลขคณิตของจ�ำนวนจริง


โดยที่มีผลบวกสี่พจน์แรกของล�ำดับเท่ากับ 14 และ a20 = a10 + 30
และให้ b1 , b2 , b3 , ..... , bn , ..... เป็ นล�ำดับของจ�ำนวนจริง
โดยที่ b1 = a3 และ bn + 1 = bn + 1 ส�ำหรับ n = 1 , 2 , 3 , .....
an ากับเท่าใด (PAT1 ก.พ. 61)
ค่าของ lim เท่
n ∞ bn

26 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


3. ก�ำหนดให้ a, b, c เป็ นจ�ำนวนจริงจัดเรียงกันเป็ นล�ำดับเรขาคณิต
โดยที่ a + b + c = 14 และ a, b + 3, c + 4 จัดเรียงกันเป็ นล�ำดับเลขคณิต
ค่าของ a2 + b2 + c2 เท่ากับเท่าใด (PAT1 ก.พ. 62)

4. If the distinct non-zero numbers x(y – z), y(z – x), z(x – y) form a geometric sequence
with common ratio r, then r satisfies the equation
a. r2 + r + 1 = 0 b. (r – 1)4 + r = 0 c. r4 + r2 – 1 = 0 d. (r + 1)4 + r = 0
e. (r – 1)4 – r = 0

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 27


5. Which one of the following integers can be expressed as the sum of 100 consecutive
positive integers?
a. 1,627,384,950 b. 2,345,678,910 c. 3,579,111,300 d. 4,692,581,470
e. 5,815,937,260

6. ก�ำหนดให้ {an} เป็ นล�ำดับของจ�ำนวนจริง โดยที่ a1 = 1


1
และ an = 1 – 1 1
– ..... 1 1
– ส�
4 9 n2 ำหรับ n = 2, 3, 4, ...
ค่าของ a
lim เท่ากับเท่าใด (PAT 1)
n ∞n

28 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22



1
7. ถ้า x = แล้
33 ว ∑
(–1) n x3n มีคา่ เท่ากับเท่าใด
n=0

8. ก�ำหนดให้ a1 , a2 , a3 , ..... , an , ..... เป็ นล�ำดับเรขาคณิตของจ�ำนวนจริง


โดยที่มีผลบวก 5 พจน์แรกเป็ น 275
∞ ∞
∑ n = 243 แล้วค่าของ ∑ 2n1– 1 an เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (PAT1 ก.พ. 62)
ถ้า a
n=1 n=1
1. 0 2. 60.75 3. 121.5 4. 303.75 5. 607.5

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 29


9. ถ้า a1 , a2 , ..... , an , ..... เป็ นล�ำดับของจ�ำนวนจริงบวก ซึง่ a1 = 2
และ log a 1
1 1 , log 1 a2 , ..... , log 1 an , ..... เป็ นล�ำดับเลขคณิต ซึง่ มีผลต่างร่วมเท่ากับ 2
3 3 3

แล้ว ∑ ai มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (คณิต 1 สามัญ 62)
i=1
1. 3 + 3 2. 3 + 2 3 3. 3 + 3 3 4. 9 5. 6 3

10. ก�ำหนดให้ a1 , a2 , a3 , ..... , an , ..... เป็ นล�ำดับเรขาคณิต


∞ ∞
ถ้า ∑ an = 1 และ ∑ (–1)n an = – 23
n=1 n=1

แล้ว ∑ a2n มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (คณิต 1 สามัญ 62)
n=1
1. 13 2. 49 3. 23 4. 1 5. 43

30 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


โจทย์เสริมความแข็งแกร่งล�ำดับและอนุกรม
1. ก�ำหนดให้ 4 พจน์แรกของล�ำดับเลขคณิต คือ 2a + 1 , 2b – 1 , 3b – a และ a + 3b
เมื่อ a และ b เป็ นจ�ำนวนจริง
พจน์ท่ี 1000 ของล�ำดับเลขคณิตนีเ้ ท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 3997 2. 3999 3. 4001 4. 4003 5. 4005

2. ก�ำหนดให้ {an} เป็ นล�ำดับของจ�ำนวนจริง โดยที่


an + 1 = n2 – an ส�ำหรับ n = 1 , 2 , 3 , ....
ค่าของ a1 ที่ทำ� ให้ a101 = 5100 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 50 2. 25 3. 15 4. 10 5. 5

3. ก�ำหนดให้ x , y , z เป็ นล�ำดับเรขาคณิต มีอตั ราส่วนร่วมเท่ากับ r และ x ≠ y


ถ้า x , 2y , 3z เป็ นล�ำดับเลขคณิต แล้ว ค่า r เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 14 2. 13 3. 12 4. 1 5. 2

4. ถ้าล�ำดับ 2 , a , b , c , 162 เป็ นล�ำดับเรขาคณิต


แล้วค่าของ loga2 + logba + logcb + logab + logbc + logc162 เท่ากับเท่าใด
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8 5. 10

n เมื่อ n เป็ นจ�ำนวนคี่


5. ถ้า an =
2n เมื่อ n เป็ นจ�ำนวนคู่
40
∑ k มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
แล้ว a
k=1
1. 860 2. 1,060 3. 1,080 4. 1,240 5. 1,440

6. ก�ำหนดให้ tn = 2n เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , ....


และ an = 5tn + 5–tn เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , ....
an + 1
ค่าของ lim เท่
n ∞ a1 a2 ..... an
ากับเท่าใด

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 31


32 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22
จ�ำนวนเชิงซ้อน

1. ก�ำหนดให้ n! = n(n – 1)(n – 2) ....... 3 2 1


• •

ผลบวกของ i0! + i1! + i2! + i3! + ...... + i100! เมื่อ i2 = –1 มีคา่ เท่าใด
1. 95 + i 2. 96 + i 3. 94 + 2i 4. 95 + 2i 5. 96 + 2i

2. ก�ำหนดให้ i2 = –1
1+i 1 3
2 – 1 + i มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (คณิต 1 สามัญ 62)
1. –i 2. i 3. –8 4. – 18 5. 1

3. ก�ำหนดให้ i2 = –1 และ A = {1, 2, 3, 4}


ถ้า S = {(a, b, c)| ia + ib + ic = 1 และ a, b, c ∊ A}
แล้ว S มีจำ� นวนสมาชิกเท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (คณิต 1 สามัญ 62)
1. 3 2. 4 3. 5 4. 7 5. 9

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 33


4. ก�ำหนดให้ z เป็ นจ�ำนวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับสมการ z + 2z – 3z = 3 – 45i
เมื่อ z แทนค่าสัมบูรณ์ (absolute value) ของ z และ z แทนสังยุค (conjugate) ของ z
ค่าของ z 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
1. 95 2. 225 3. 245 4. 375 5. 425

5. ให้ z เป็ นจ�ำนวนเชิงซ้อนโดยที่ z – 2 + i = z + 2 – 2i และ z + 1 = z + i


เมื่อ z แทนค่าสัมบูรณ์ของ z ค่าของ 2z 2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (PAT1 มี.ค. 62)
1. 10 2. 12 3. 15 4. 18 5. 32

34 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


6. ถ้า Z เป็ นจ�ำนวนเชิงซ้อนที่มี Z = 1 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. Z = Z–1 ข. 1 _ Z = 1 _ Z–1 ค. Z + Z–1 = 2Re(Z)
ข้อสรุปใดถูกต้อง
1. ถูกทัง้ 3 ข้อ 2. ข้อ ก. และ ข. เท่านัน้ จริง
3. ข้อ ข. และ ค. เท่านัน้ จริง 4. ข้อ ข. จริงเพียงข้อเดียว

7. ก�ำหนดให้ Z1 , Z2 , Z3 , ..... , Zn เป็ นจ�ำนวนเชิงซ้อน


Z + Z2 + Z3 + ..... + Zn
ถ้า Z1 = Z2 = Z3 = ..... = Zn = 1 แล้ว 1–1 –1 –1 เท่
–1 ากับข้อใดต่อไปนี ้
Z1 + Z2 + Z3 + ..... + Zn
1. 1n 2. n 3. 1 4. 2

5. Z1 + Z2 + Z3 + ..... + Zn

8. ถ้า Z1 = 2 (cos π8 + i sin π8 ) และ Z2 = 3(cos 38π + i sin 38π )


แล้ว Z1 – Z2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (คณิต 1 สามัญ 62)
1. 5 2. 6 3. 3 4. 2 3 5. 3 2

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 35


คณิตศาสตร์ (O-NET+PAT1+สามัญ) อ.ภาคภูมิ อร่ามวารีกุล (พี่แท็ป ALevel by OnDemand)

สถิติบทที่ออกข้อสอบเยอะในแต่ละสนาม
PAT1 สามัญ PAT3
สถิติ แคลคูลัส เรขาคณิต
แคลคูลัส ความน่าจะเป็น แคลคูลัส
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ สถิติ Expo & Log
Expo & Log ล�ำดับและอนุกรม เชาวน์และโจทย์ปัญหา
ล�ำดับและอนุกรม Expo & Log ล�ำดับและอนุกรม
ระบบจ�ำนวนจริง เมทริกซ์ สถิติ
เรขาคณิตและภาคตัดกรวย จ�ำนวนเชิงซ้อน ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
อื่นๆ ระบบจ�ำนวนจริง ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น ฟังก์ชันตรีโกณมิติ เมทริกซ์
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ทฤษฎีจ�ำนวน ระบบจ�ำนวนจริง

36 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


ฟั งก์ ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและฟั งก์ ชันลอการิทมึ

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 37


1. (PAT1 ก.พ. 62) ถ้ า x และ y เป็ นจานวนจริงที่สอดคล้ องกับสมการต่อไปนี ้
2
( x  y )3 y  x  และ 2log2 ( x  y)  x  y
9
แล้ วค่าของ x 2  y 2 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 4
2. 8
3. 9
4. 10
5. 16

2. (PAT1 ก.พ. 62) ให้ A เป็ นเซตของจานวนจริงบวก x ทังหมดที


้ ่สอดคล้ องกับสมการ
(log3 9x)2  3 log 3 x
7 0
ผลคูณของสมาชิกทังหมดในเซต
้ A เท่ากับเท่าใด

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22

38 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


โจทย์ เพิ่มเติม
1. (เลขสามัญ 62) ผลบวกของคาตอบทังหมดของสมการ
้ 4 3x 1  24  6(2|3x 1| ) 
เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1 2 4 5
1. 2. 3. 1 4. 5.
3 3 3 3

2. (PAT1 ก.พ. 62) เซตคาตอบของอสมการ 22x 1  32x 1  5(6x ) เป็ นสับเซตของ


ช่วงในข้ อใดต่อไปนี ้
1. ( ,3)  (3, ) 2. ( ,3)  ( 1,3)
3. ( 5,1)  (0,5) 4. ( 3,0)  (1, )
5. ( 2,1)  (3, )

3. (เลขสามัญ 62) ถ้ า a และ b เป็ นจานวนจริงบวก โดยที่ a  1 ซึง่ สอดคล้ องกับ


สมการ logab = 3 และ log b  log a  2 แล้ ว a มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 3 2. 2 3. 3 4. 10 5. 10

4. (เลขสามัญ 62) เซตคาตอบของสมการ log(logx)  log(logx 8 - 16)  1 


คือเซตในข้ อใดต่อไปนี ้
1. {10,100 10 } 2. {100,10 10 } 3. {100,100 10 }
4. {100 10 } 5. {10 10 }

5. (PAT1 ก.พ. 62) เมื่อ a, b, c และ d เป็ นจานวนเต็มบวกที่แตกต่างกันและสอดคล้ อง


กับอสมการต่อไปนี ้ (ก) log2a < log2b
(ข) 2b  3d  2d  3b
(ค) 6a  9c  3c (2a  3a )
ผลบวกในข้ อใดต่อไปนี ้ ที่มีคา่ มากที่สดุ
1. a + b 2. b + d 3. a + c 4. c + d 5. a + d

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 39


แคลคูลัส

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22

40 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22
โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 41
x x  1 x
1. (PAT1 ก.พ. 62) ค่าของ lim 3 8  x  2 เท่ากับเท่าใด
x 0

2. (PAT1 ก.พ. 62) ให้ R เป็ นเซตของจานวนจริงให้ f : R  R เป็ นฟั งก์ชนั


2

ax  bx  4 ; x  0
โดยที่ f ( x )   เมื่อ a, b และ c เป็ นจานวนจริง

 4 x  c ; x  0
ถ้ า f เป็ นฟั งก์ชนั ต่อเนื่องบนเซตของจานวนจริงและสอดคล้ องกับ f (3)  f(3) 45
1 9
และ  f ( x )dx  แล้ วค่าของ f(a)+f(b)+f(c) เท่ากับเท่าใด
2
0

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22

42 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


3. (PAT1 ก.พ. 62) ให้ y = f(x) เป็ นเส้ นโค้ งผ่านจุด (0, 1) และจุด (1, 1) และ
เส้ นสัมผัสของเส้ นโค้ งที่จดุ (x, y) ใดๆ มีความชันเท่ากับ ax 2  bx  c
เมื่อ a, b และ c เป็ นจานวนจริง ถ้ า f (0) = 1 และ f (1) = 2
แล้ วฟั งก์ชนั f มีคา่ สูงสุดสัมพัทธ์เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
11 13 31 34 43
1. 2. 3. 4. 5.
27 27 27 27 27

4. (เลขสามัญ 62) กาหนดให้ y = f(x) เป็ นพาราโบลามีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (0, 0) 


และ y = g(x) เป็ นพาราโบลามีจดุ ยอดอยูท่ ี่ (1, 4) ซึง่ มีกราฟดังรูป
พื ้นที่ของบริเวณที่แรเงา มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
4
1. 1 ตารางหน่วย 2. ตารางหน่วย
3
3 5
3. ตารางหน่วย 4. ตารางหน่วย
2 3
5. 2 ตารางหน่วย

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22


โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 43
โจทย์ เพิ่มเติม
|x2|
1. (เลขสามัญ 62) lim  2 มีคา่ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
x  2 x  5 x  14
1 1 1 1
1.  2.  3. 0 4. 5.
5 9 9 5
2. (เลขสามัญ 62) ถ้ าเส้ นโค้ งเส้ นหนึง่ ผ่านจุด (8, 10) และมีความชันของเส้ นโค้ ง
1
x3
ที่จดุ (x, y) ใดๆ เป็ น แล้ วเส้ นโค้ งนี ้ผ่านจุดในข้ อใดต่อไปนี ้
3
1. (0, 0) 2. (0, 1) 3. (0, 2) 4. (0, 4) 5. (0, 6)

3. (PAT1 ก.พ. 62) ให้ R แทนเซตของจานวนจริง ให้ f : R  R เป็ นฟั งก์ชนั ที่มีอนุพนั ธ์
และสอดคล้ องกับ f (x  h)  f (x)  2h3  (6x  1)h2  2x(3x  1)h
สาหรับทุกจานวนจริง x และ h ถ้ าค่าต่าสุดสัมพัทธ์ของ f เท่ากับ 4
1
 
แล้ วค่าของ f ( 2)  f  2 เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 28 2. 32 3. 34 4. 36 5. 40

4. (PAT1 ก.พ. 62) กาหนดให้ f(x) เป็ นพหุนามกาลังสอง ซึง่ มีสมั ประสิทธิ์เป็ นจานวนจริง
ถ้ าเส้ นโค้ ง y = f(x) ผ่านจุด (2, 2) และมีจดุ สูงสุดสัมพัทธ์ที่จดุ (1, 3)
2
แล้ วค่าของ  f ( x )dx เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1
16 14 8
1. 7 2. 6 3. 4. 5. 3
3 3

5. (เลขสามัญ 62) กาหนดให้ f (x) x3  2x  3 และ g( x)  f 1( x) เป็ น


ฟั งก์ชนั ผกผันของ f(x) ค่าของ g(6) เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1 1 1 1
1. 2. _5 3. 3 4. 2 5. 1
6

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22

44 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


สถิติ

3. หาค่าที่ต�ำแหน่งนั้น คือ ค่า Med

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 45


โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22
46 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22
1. (PAT1 ก.พ. 62) กาหนดตารางแจกแจงความถี่แสดงผลทดสอบของนักเรี ยนห้ องหนึง่
ดังนี ้
คะแนน จานวนนักเรี ยน (คน)
0 a-2
1 a
2 a2
3 (a  1)2
4 2a
5 a+1
เมื่อ a เป็ นจานวนเต็มบวก ถ้ าคะแนนเฉลี่ยเลขคณิตของผลทดสอบเท่ากับ 2.8
แล้ วจานวนนักเรี ยนห้ องนี ้เท่ากับเท่าใด

2. (PAT1 ก.พ. 62) ผลการสอบของนักเรี ยนห้ องหนึง่ มีการแจกแจงความถี่ ดังนี ้


คะแนน ความถี่
30 - 39 2
40 - 49 5
50 - 59 8
60 - 69 7
70 - 79 a
80 - 89 b
90 - 99 c
เมื่อ a, b และ c เป็ นจานวนเต็มบวก
ถ้ าควอร์ ไทล์ที่ 1 (Q1) ของข้ อมูลชุดนี ้เท่ากับ 54.5
แล้ วนักเรี ยนทังหมดในห้
้ องนี ้มีจานวนเท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 36 คน 2. 40 คน 3. 44 คน 4. 48 คน 5. 52 คน

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 47


3. (PAT1 ก.พ. 62) กาหนดข้ อมูลของประชากรชุดหนึง่ ดังนี ้
2 , 2 + d , 2 + 2d , 2 + 3d , … , 2 + 30d
เมื่อ d เป็ นจานวนจริงบวก ถ้ าความแปรปรวนของข้ อมูลชุดนี ้เท่ากับ 320
แล้ วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้ อมูลชุดนี ้ เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 24.5 2. 32 3. 39.5 4. 47 5. 54.5

4. (PAT1 ก.พ. 62) กาหนดตารางแสดงพื ้นที่ใต้ เส้ นโค้ งปกติมาตรฐานระหว่าง 0 ถึง z


ดังนี ้

z 1.30 1.40 1.50 1.60 1.70


พื ้นที่ใต้ เส้ นโค้ ง 0.4032 0.4192 0.4332 0.4452 0.4545

ความสูงของนักเรี ยนกลุม่ หนึ่งมีการแจกแจงปกติ โดยมีคา่ เฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ


162 เซนติเมตร ถ้ านักเรี ยนที่มีความสูงน้ อยกว่า 155 เซนติเมตรมีอยู่ 8.08%
แล้ วนักเรี ยนที่มีความสูง ในช่วง 155 – 170 เซนติเมตร มีจานวนคิดเป็ นร้ อยละเท่ากับ
ข้ อใดต่อไปนี ้
1. 82.24 2. 83.84 3. 85.24 4. 86.44 5. 87.46

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครั ้งที่ 22

48 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


โจทย์ เพิ่มเติม
1. (เลขสามัญ 62) จํานวนจริง 100 จํานวน มีคา่ เฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 80
ถ้ าสุม่ จํานวนเหล่านี ้มา 10 จํานวน พบว่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 75.5
แล้ วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของจํานวนที่เหลือ 90 จํานวน เท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 77.75 2. 78.5 3. 80.5 4. 81 5. 81.5

2. (เลขสามัญ 62) ให้ x 1, x 2 , x 3 , … , x 100 เป็ นข้ อมูลชุดหนึง่ ซึง่ มี a, m, x เป็ น


ฐานนิยม มัธยฐาน และค่าเฉลี่ยเลขคณิต ตามลําดับ พิจารณาข้ อความต่อไปนี ้
ก.ถ้ าเพิม่ ข้ อมูลอีก 1 ค่า คือ a ลงในข้ อมูลชุดนี ้
แล้ วฐานนิยมของข้ อมูลชุดใหม่ เท่ากับฐานนิยมของข้ อมูลชุดเก่า
ข. ถ้ าเพิ่มข้ อมูลอีก 1 ค่า คือ m ลงในข้ อมูลชุดนี ้
แล้ วมัธยฐานของข้ อมูลชุดใหม่ เท่ากับมัธยฐานของข้ อมูลชุดเก่า
ค. ถ้ าเพิม่ ข้ อมูลอีก 1 ค่า คือ x ลงในข้ อมูลชุดนี ้
แล้ วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้ อมูลชุดใหม่ เท่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้ อมูลชุดเก่า
ง. ถ้ าเพิ่มข้ อมูลอีก 3 ค่า คือ a, m และ x ลงในข้ อมูลชุดนี ้
แล้ วพิสยั ของข้ อมูลชุดใหม่ เท่ากับพิสยั ของข้ อมูลชุดเก่า
จํานวนข้ อความที่ถกู ต้ องเท่ากับข้ อใดต่อไปนี ้
1. 0 (ไม่มีข้อความใดถูก) 2. 1 3. 2
4. 3 5. 4

3. (เลขสามัญ 62) นํ ้าหนักของเด็กกลุม่ หนึง่ มีการแจกแจงปกติ


ถ้ าเด็กที่มีนํ ้าหนักน้ อยกว่า 30 กิโลกรัม มีอยู่ 15.87%
และเด็กที่มีนํ ้าหนักมากกว่า 41 กิโลกรัม มีอยู่ 11.51%
แล้ วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของนํ ้าหนักของเด็กกลุม่ นี ้ เท่ากับเท่าใด
กําหนดตารางแสดงพื ้นที่ใต้ เส้ นโค้ งปกติดงั นี ้
z 0.29 0.41 1 1.2
พื ้นที่ 0.1141 0.1591 0.3413 0.3489

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชัน่ ครัง้ ที2


่ 2
โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 49
บันทึก

50 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22


บันทึก

โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22 51


บันทึก

52 โครงการ สหพัฒน์แอดมิชชั่น ครั้งที่ 22

You might also like