Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

207105

Lecture 4
แรงและการเคลื่อนที่
เนื้อหา
- กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
- แรง
- มวล และน้้าหนัก
- กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน
- กฎข้อที่ 3 ของนิวตัน
- การประยุกต์กฎของนิวตัน
1
กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
• ถ้าไม่มีแรงลัพธ์กระท้าต่อวัตถุ (Fnet=0) ความเร็วของวัตถุจะไม่เปลี่ยนแปลง (วัตถุไม่
มีความเร่ง)
– วัตถุที่อยู่นิ่ง จะยังคงอยู่นิ่งต่อไป
– วัตถุที่มีการเคลื่อนที่อยู่แล้ว ก็จะเคลื่อนที่ต่อไปด้วยความเร็วคงที่ (โดยมีอัตราเร็วและทิศทาง
คงที่)

• เขียนเป็นสมการได้เป็น หรืออาจเขียนเป็น  F  0
Fnet  0
• กฎของนิวตันใช้ได้กับกรอบอ้างอิงเฉื่อยเท่านั้น (เราอาจใช้พื้นโลกเป็นกรอบอ้างอิง
เฉื่อยโดยประมาณ)
• แรงลัพธ์ คือ ผลรวมแบบเวกเตอร์ของแรงทั้งหมดที่กระท้าต่อวัตถุ

2
กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
 วัตถุที่หยุดนิ่ง จะอยู่ในสภาพหยุดนิ่งอย่างนั้น เมื่อแรงลัพธ์ที่กระทากับวัตถุนั้นมี
ค่าเป็นศูนย์
 วัตถุที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ จะยังคงเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม และ ใน
ทิศทางเดิม เมื่อแรงลัพธ์ที่กระทากับวัตถุนั้นมีค่าเป็นศูนย์
 วัตถุทุกชนิดจะรักษาสภาพการเคลื่อนที่ของมัน ไม่ว่าจะหยุดนิ่ง หรือ เคลื่อนที่
ด้วยความเร็วคงที่ จนกว่าจะถูกบังคับให้เปลี่ยนสภาพโดยแรงลัพธ์ที่มีค่าไม่เป็น
ศูนย์ที่เข้ามากระทา
 ความเฉื่อย (Inertia) เป็นสมบัติอย่างหนึ่งของวัตถุ ที่ต้านทานการเปลี่ยนสภาพ
การเคลื่อนที่ของตัวมันเอง
3
แรง (Force)
• แรง คือ อันตรกิริยาแบบผลัก หรือ แบบดูด ระหว่างวัตถุ

• ใช้สัญลักษณ์เป็น F มีหน่วยเป็น นิวตัน (N) หรือ kg.m/s2
• เป็นปริมาณเวกเตอร์ (มีทั้งขนาด และทิศทาง)
• สามารถใช้ตาชั่งแบบสปริงที่ได้มีการสอบเทียบ ในการวัดขนาดของแรง
• ขนาดแรง คือ ผลคูณระหว่างมวลกับความเร่งของวัตถุ
• ขนาดของแรง 1 N มีค่าเท่ากับ ขนาดของแรงที่ท้าให้มวลมาตรฐาน 1 กิโลกรัม
เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง a=1 m/s2

F  ma  1kg 1m / s 2   1N

1 N  1 kg.m / s 2 4
5
มวล (mass)
• หากออกแรงที่มีขนาดเท่ากันกระท้าต่อวัตถุที่มีต่อมวลแตกต่างกัน พบว่า วัตถุต่างมี
ความเร่งที่แตกต่างกัน (วัตถุที่มีมวลน้อย จะมีขนาดความเร่งมาก, วัตถุที่มีมวลมาก
จะมีขนาดความเร่งน้อย)
m x a0
 (เมื่อออกแรงที่มีขนาดเท่ากัน)
m0 a x

• เช่น หากออกแรง 1 N กระท้าต่อมวลมาตรฐาน 1 กิโลกรัม (m0) เป็นผลท้าให้เกิด


ความเร่ง 1 m/s2 หากออกแรงขนาดเท่ากันกระท้าต่อมวล mx ท้าให้เกิดความเร่ง
เป็น 0.25 m/s2 จงหามวล mx

6
ตัวอย่าง (การหาแรงลัพธ์)
กรณีใดบ้างที่แสดงการรวมเวกเตอร์แรง (แรงลัพธ์) ที่เกิดจากแรง F1 และ F2 ได้ถูกต้อง

7
กฎข้อที่สองของนิวตัน
• หากมีแรงลัพธ์ที่ไม่เป็นศูนย์กระท้าต่อวัตถุ วัตถุจะมีความเร็วเปลี่ยนแปลงไป (วัตถุ
เกิดความเร่ง)

Fnet  ma Fnet ,x  max Fnet ,y  ma y Fnet ,z  maz

• แรงลัพธ์จากภายนอก (external force) เท่านั้นที่ท้าให้วัตถุเกิดความเร่ง


 ความเร่งของวัตถุที่เกิดขึ้นนั้น มีค่าเท่ากับแรงลัพธ์ที่กระทากับวัตถุหารด้วยมวล
ของวัตถุนั้นๆ
 ความเร่งของวัตถุนั้นแปรผันตรงกับแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุนั้น และ แปรผกผัน
กับมวลของวัตถุ

8
ตัวอย่าง (การหาแรงลัพธ์)
จากรูป กล่องใบหนึ่งวางสัมผัสบนพื้นที่ไม่มีความเสียดทาน โดยมีขนาดและทิศทางของแรง
กระท้าต่อกล่อง (สองแรง) ดังรูป จงหาขนาดและทิศทางของแรง F3 ที่ท้าให้
ก) กล่องยังคงอยู่นิ่ง
ข) กล่องเคลื่อนที่ไปทางซ้ายด้วยความเร็วคงตัว 5 m/s

9
ตัวอย่าง (กฎข้อสองของนิวตัน)
ก้าหนดให้ วัตถุมวล m=0.20 kg วางบนพื้นลื่นไม่มีแรงเสียดทาน
เมื่อมีแรงต่างๆกระท้าต่อวัตถุในแต่ละกรณีดังรูป โดยก้าหนดให้
แรง F1=4.0 N, F2=2.0 N, F3=1.0 N (ท้ามุม 30กับแนวระดับ)
จงค้านวณความเร่งในแต่ละกรณี

10
ตัวอย่าง (กฎข้อสองของนิวตัน)
จงหาแรง (F3) (แสดงในเทอมของเวกเตอร์หนึ่งหน่วย, ขนาด, ทิศทาง) ที่ขาดไป เมื่อวัตถุ
มวล 2.0 kg เคลื่อนที่บนพื้นระดับ (ไม่มีแรงเสียดทาน) ด้วยความเร่ง 3.0 m/s2 (ในทิศ a
ดังรูป) ก้าหนดให้ F1=10 N, F2=20 N (จากรูปเป็นมุมมองจากด้านบน)

11
ตัวอย่าง (กฎข้อสองของนิวตัน)
จงค้านวณแรงลัพธ์ที่มีขนาดคงตัวที่จ้าเป็นต่อการหยุดรถยนต์คันหนึ่งซึ่งมีมวล 1500 kg ที่
ก้าลังเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 100 km/h ให้หยุดในระยะ 55 m

12
แรงชนิดอื่นๆที่น่าสนใจ
• แรงโน้มถ่วง (gravitational force, Fg) เป็นแรงดึงดูด
ระหว่างวัตถุสองอัน (ซึ่งในเนื้อหา 207105 วัตถุอีกอัน
คือโลก) ดังนั้นแรงโน้มถ่วงที่กล่าวถึงคือแรงโน้มถ่วงของ
โลก (g=9.80 m/s2) มีทิศทางชี้ลงสู่พื้นโลก (ชี้เข้าหา
ศูนย์กลางโลก)
Fg  mg

• น้าหนัก (weight, W) เป็นแรงในทิศทางชี้ขึ้นที่มีขนาด


สมดุ ล กั บ แรงโน้ ม ถ่ ว งที่ ก ระท้ า ต่ อ วั ต ถุ เป็ น ปฏิ ภ าค
โดยตรงกับมวลของวัตถุ
W  mg  m0 W  mg

13
แรงชนิดอื่นๆที่น่าสนใจ
• แรงแนวฉาก (normal force, FN หรือ n) เป็นแรงสัมผัสที่พื้นกระท้าต่อวัตถุ (ซึ่ง
กดทับพื้น) ในทิศทางตั้งฉากกับพื้นผิว
FN  mg  ma y

FN  mg  a y 

ay
 0  FN  mg 
a y
 0  FN  mg 

a y
 0  FN  mg 

14
แรงชนิดอื่นๆที่น่าสนใจ
• แรงเสียดทาน (friction force, f ) เป็นแรงที่เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัส อยู่ใน
แนวขนานกับพื้นผิวสัมผัส มีทิศทางตรงข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ (จะได้อธิบายใน
รายละเอียดในเอกสารถัดไป)
• แรงตึงเชือก (Tension, T) เป็นแรงที่เกิดขึ้นภายใต้ความตึงของเส้นเชือก โดยมี
ทิศทางของแรงตามแนวเส้นเชือก และมีทิศทางออกจากวัตถุเสมอ หากเชือกมีมวล
น้อยและไม่ยืดไม่หด แรงตึงเชือกทุกๆส่วนของเส้นเชือกจะมีค่าเท่ากัน

15
ตัวอย่าง (แรงตึงเชือก)
จากรูป วัตถุหนัก 75 N ผูกติดกับเชือกและพาดผ่านรอกดังรูป ในกรณีต่อไปนี้ แรง T จะมี
ค่าเท่ากับ, มากกว่า หรือน้อยกว่า น้้าหนักของวัตถุ (75N)
ก) ดึงวัตถุขึ้นด้วยอัตราเร็วคงที่
ข) ดึงวัตถุขึ้นด้วยอัตราเร็วเพิ่มขึ้น
ค) ดึงวัตถุขึ้นด้วยอัตราเร็วลดลง

16
กฎข้อที่สามของนิวตัน
• เมื่อวัตถุสองอันมีอันตรกิริยาต่อกัน
• ขนาดของแรงเท่ากัน
FBC  FCB
• แต่ทิศทางตรงข้ามกัน (แสดงด้วยสมการเวกเตอร์)
 
FBC   FCB
• ทั้งสองแรง เป็นแรงที่กระท้าต่อวัตถุคนละก้อน
• FBC คือแรงบน B เนื่องจาก C
• FCB คือแรงบน C เนื่องจาก B

17
18
ตัวอย่าง (กฎของนิวตัน)
กล่อง S (ซึ่งก้าลังไถลไปตามพื้น) มีมวล M=3.3 kg เมื่อพื้นและรอกไม่มีแรงเสียดทาน โดย
กล่อง S ผูกเชือกเชื่อมกับกล่อง H มีมวล m=2.1 kg โดยแขวนอยู่ในแนวดิ่ง ดังรูป
ก้าหนดให้เชือกมีมวลน้อยมาก จงหา
ก) ความเร่งของกล่อง S
ข) ความเร่งของกล่อง H
ค) แรงตึงในเส้นเชือก

19
ตัวอย่าง (กฎของนิวตัน)
กล่องใบหนึ่งมวล 10.0 kg โดยกล่องนี้วางนิ่งบนพื้นระดับที่ไม่มีแรงเสียดทาน ดังรูป จงหา
ก) น้้าหนักของกล่อง และแรงแนวฉากที่กระท้าต่อกล่อง
ข) หากออกแรงขนาด 40.0 N กดลงบนกล่องในแนวตั้งฉาก จงหาแรงแนวฉากทีก่ ระท้า
ต่อกล่อง
ค) หากดึงเชือกที่ผูกติดอยู่กับกล่องขึ้นในแนวดิ่งด้วยแรงขนาด 40.0 N จงหาแรงแนว
ฉากที่กระท้าต่อกล่อง

20
ตัวอย่าง (กฎของนิวตัน)
กล่องใบหนึ่งมวล 10.0 kg เมื่อออกแรงดึงกล่องใบนี้ด้วยแรง FP=110 N ให้เคลื่อนที่ขึ้นใน
แนวดิ่ง จงอธิบายการเคลื่อนที่ของกล่องนี้

21
ตัวอย่าง (กฎของนิวตัน)
ผู้หญิงคนหนึ่งมวล 65 kg ยืนอยู่บนตาชั่งที่วางอยู่ในลิฟต์
ซึ่งก้าลังเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง 0.20g
ก) น้้าหนักของเขาที่อ่านได้จากตาชั่งเป็นเท่าใด
ข) น้้ า หนั ก ของเขาที่ อ่ า นได้ ห ากลิ ฟ ต์ เ คลื่ อ นที่ ล งด้ ว ย
อัตราเร็วคงตัวที่ 2.0 m/s

22
ตัวอย่าง (กฎของนิวตัน)
กล่องมวล 10.0 kg ถูกลากไปบนพื้นในแนวระดับ ด้วย
ขนาดแรงคงตัว FP= 40.0 N ในทิศทางท้ามุม 30กับแนว
ระดับ หากไม่คิดแรงเสียดทาน
ก) ความเร่งของกล่อง
ข) แรงตั้งฉากที่พื้นผิวโต๊ะกระท้าต่อกล่อง

23
ตัวอย่าง (กฎของนิวตัน)
สมมติพื้นไม่มีแรงเสียดทาน เมื่อออกแรงดึง 40.0 N ทิศทางขนานกับแนวระดับ จงหา
ความเร่งของกล่องแต่ละใบ และแรงตึงเชือกระหว่างกล่องทั้งสองใบ

24
ตัวอย่าง (กฎของนิวตัน)
นักศึกษาคนหนึ่งออกแรงผลักกล่อง 3 ใบด้วยแรงขนาด 7.5 N บนพื้นที่ไม่มีแรงเสียดทาน
จงหาความเร่งของกล่องทั้ง 3 ใบ แรงกระท้าระหว่างกล่องแต่ละใบ

25
ตัวอย่าง (กฎของนิวตัน)
กล่องมวล 8.0 kg และมวล 10.0 kg ผูกติดกันด้วยเชือกและวางหยุดนิ่งที่บนพื้นเอียงที่ท้า
มุม 40 องศา และ 50 องศากับพื้นดังแสดงในรูป ถ้าทั้งระบบไม่มีแรงเสียดทาน
ก) เขียน FBD ส้าหรับแต่ละกล่อง
ข) เขียนสมการของแต่ละมวล ตามแนวแกนที่เหมาะสม
ค) ค้านวณขนาดความเร่งของกล่องทั้งสอง

26

You might also like