Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 97

โครงสรางหุนยนตเคลือ่ นที่

นาย ธนากร สุวรรณอาภา

นาย ธีรพงษ สำราญใจ

โครงการนี้เป$นสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

แผนกวิชา เมคคาทรอนิกสและหุนยนต

วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี ป1การศึกษา 2562

สำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
Mobile robot structure

Mr. Thanakorn Suwanarapa

Mr. Theerapong Samrangchai

This project is a part of education according to the Diploma Program.

Mechatronics and Robotics Department

Min Buri Technical College, academic year 2019

Office of the Vocational Education Commission Ministry of Education


ใบรับรองโครงงาน

วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
เรื่อง โครงสรางหุนยนตเคลื่อนที่

โดย นาย ธีรพงษ สำราญใจ รหัส 6131270037

นาย ธนากร สุวรรณอาภา รหัส 6131270035

ไดอนุ มั ติ ใหโครงการนี ้ เ ป0 น สวนหนึ ่ ง ของการศึ กษาตามหลั กสู ต รประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พชั ้ น สู ง
สาขาวิชา ชางเมคคาทรอนิกสและหุนยนต

หัวหนาสาขางานเครื่องมือกล

(นาย สมนึก ดำนุย)

วันที่…………เดือน…………………………….พ.ศ……………..

คณะกรรมการสอบโครงการ

_______________________________________________ประธานกรรมการ

( นาย สหัสกร สุพรรณคง)

_______________________________________________กรรมการ

( นาย ณัฐวิชช สุขสง )


โครงสรางหุนยนตเคลื่อนที่

ป1การศึกษา 2562

ชื่อ : นาย ธีรพงษ สำราญใจ

: นาย ธนากร สุวรรณอาภา

ชื่อเรื่อง : โครงสรางหุนยนตเคลื่อนที่

สาขาวิชา : เมคคาทรอนิกส และหุนยนต

สาขางาน : เมคคาทรอนิกส และหุนยนต

ที่ปรึกษา : อาจารย สหัสกร สุพรรณคง

ป@การศึกษา : 2562

บทคัดยอ
ในปAจจุบันเทคโนโลยี มีความกาวหนาไปอยางรวดเร็วประเทศตาง ๆ ทั่ว
โลกใดมีการคิดตนออกแบบผลิตภัณฑที่นำมาใชในงานทำความสะอาดกันอยางแพรหลาย
อาทิเชน หุนยนตดูดฝุGน หุนยนตตัดหญา หุนยนตเก็บขยะ หุนยนตกวาดขยะ เป0นตน เพื่อ
อำนวยความสะดวกใหกับประชนในประเทศของตนใหมีความสะดวกสบายในการทำงาน
และปลอดภัยในการทำงานประหยัดเวลาในการทำงาน บางประเทศใดมีการออกแบบและ
คิดคนเพื่อจัดจำหนายขายไปยังประเทศตาง ๆ ทั่วโลกเพื่อใหประเทศมีความกาวหนาดาน
เศรษฐกิจ ซึ่งสิ่งของเหลานั้นมีราคาที่สูง บุคคลคลากรสวนใหญไมสามารถซื่อใดทั้งที่สิ่ง
เหลานี้เป0นอุปกรณที่จำเป0นในการทำงานในปAจจุบัน ดวยแนวคิดนี้จึงทำใหผู วิจัยใดคิด
ออกแบบวิจัยเกี่ยวกับโครงสรางหุนยนตเคลื่อนที่ ที่นำมาใชในงานกวาดขยะริมถนนเพื่อ
อำนวยความสะดวกในการกวาดขยะที่มักสกปรกอยูเป0นประจำตามริมถนน

Mobile robot structure

Academic year 2019

Name : Mr. Theerapong Samrangchai


: Mr. Thanakorn Suwanarpa
Title : Structure of sweeping robot
Subject : industry
Field of work : Mechatronic
Advisor : professor Sahasakon Suphanong
Academic Year : 2019

Abstract

Nowadays technology With rapid progress, countries around the world


have thought about designing products that are widely used in cleaning, such as
vacuuming robots. Motor mower stock Garbage collection robot Robot, sweeping
robot, etc. to facilitate the local people in their countries to be comfortable in work
and safe at work, saving time in the workplace. Some countries have designs and
invented for distribution to countries around the world to enable the country to
have economic progress. Which those items have a high price Most people cannot
be naive, even though these are the equipment they need to work today. With this
concept, the researcher was able to design and research the mobile robot structure.
That is used in street sweepers to facilitate the frequent sweeping of rubbish on the
roadside

กิตติกรรมประกาศ

โครงการ โครงสรางหุนยนตเคลื่อนที่ ฉบับนี้สำเร็จลุลวงไดดวยความกรุณาจากทาน


อาจารย สมนึก ดำนุย ( หัวหนาแผนกเมคคาทรอนิกส ) และอาจารย สหสกร สุพรรณคง และอาจารย
ในแผนกเมคคาทรอนิกสทุกทาน ที่ใหคำปรึกษาพรอมทั้งใหความสะดวกในทุก ๆ ดานมาโดยตลอด
ขอขอบพระคุณทุกทานที่ใหการสนับสนุน และคณะผูจัดทำรูสึกซาบซึ้งในการใหความอนุเคราะห จาก
ทุกทานเป0นอยางมาก และขอกราบขอบพระคุณเป0นอยางสูง
ขอขอบคุณพระคุณ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี ซึ่งเป0นสถานศึกษาที่เอื้อเฟpqอสถานที่และ
อุปกรณในการทดสอบและนำเสนอโครงการ ตลอดจนแหลงขอมูลตาง ๆ ที่ผูจัดทำโครงการไดศึกษา
หาความรูและนำมารวบรวมจัดทำโครงการฉบับนี้
ทายนี้ทางคณะผู จัดทำโครงการขอกราบขอบพระคุณผู มีพระคุณทุกทานที่ไดให
คำปรึกษาในดานตาง ๆ ใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันมาโดยตลอด และใหความรูดานเทคนิคตาง ๆ
ในการจัดทำโครงการ จนกระทั่งโครงการนี้สำเร็จลุลวงไปไดดวยดี

คณะผูจัดทำ

สารบัญ

เรื่อง หนา
บทคัดยอ(ภาษาไทย)………………………………………………………………………………………….. ก
บทคัดยอ(ภาษาอังกฤษ………………………………………………………………………………………. ข
กิติกรรมประกาศ………………………………………………………………………………………………… ค
สารบัญ……………………………………………………………………………………………………………… ง
สารบัญ(ตอ)………………………………………………………………………………………………………. จ
สารบัญ(ตอ)………………………………………………………………………………………………………. ฉ
สารบัญ(ตอ)………………………………………………………………………………………………………. ช
สารบัญรูป…………………………………………………………………………………………………………. ซ
สารบัญรูป(ตอ)………………………………………………………………………………………………….. ฌ
สารบัญรูป(ตอ)………………………………………………………………………………………………….. ญ
บทที่ 1 บทนำ…………………………………………………………………………………………………….. 1
1.1 ความเป0นมาและความสำคัญของปAญหา…………………………………………………… 1
1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย……………………………………………………………………….. 2
1.3 สมมุติฐานของโครงงาน ………………………………………………………………………… 2
1.4 ขอบเขตของการวิจัย……………………………………………………………………………… 2
1.5 วิธีการดำเนินงาน………………………………………………………………………………….. 2
1.6 ประโยชนที่ไดรับจากโครงงาน………………………………………………………………… 2
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ…………………………………………………………………. 3
2.1 หลักการความรูที่เกี่ยวของ……………………………………………………………………… 3
2.2 เครื่องยนตเล็ก( Small engine )……………………………………………………………. 4-8
2.2.1 ฝาสูบ (Chlinder Head)……………………………………………………………. 8
2.2.2 เสื้อสูบ (Chlinder Block)………………………………………………………….. 9
2.2.3 กระบอกสูบ (Chlinder)…………………………………………………………….. 10
2.2.4 ลูกสูบ (Piston)…………………………………………………………………………. 11
2.2.5 แหวนลูกสูบ (Piston Ring)………………………………………………………… 12
2.2.6 แหวงน้ำมัน (Oil ring)……………………………………………………………….. 13

สารบัญ(ตอ)

หนา
2.2.7 กานสูบ (Connecting Rod)…………………………………………………….. 14
2.2.8 เพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft)…………………………………………………… 15
2.2.9 เพลาลูกเบี้ยว (Camshaft)………………………………………………………. 16
2.2.10 ลอชวยแรง (Fly Wheel) ……………………………………………………… 17
2.2.11 อางน้ำมันเครื่อง (Crank Case)………………………………………………. 18
2.2.12 การดูแล “ปA|มน้ำมันเครื่อง”…………………………………………………… 19
2.2.13 การดูแล “ปA|มน้ำมันหลอลื่น”…………………………………………………. 20
2.2.14 การดูแล “หัวเทียน”……………………………………………………………… 21
2.2.15 แบริงกานสูบ ( Connecting Rod Bearing)…………………………….. 22
2.3 เหล็ก(steel)……………………………………………………………………………………… 23-24
2.3.1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโครงสรางเหล็ก……………………………………… 25-26
2.3.2 โครงสรางเหล็กคืออะไร…………………………………………………………… 27-28
2.3.3 ขอดีของโครงสรางเหล็ก………………………………………………………….. 28
2.3.4 เหล็กกลอง…………………………………………………………………………….. 28
2.3.5 เหล็กกลองเหลี่ยม (Steel Tube)……………………………………………… 29
2.3.6 ลักษณะการใชงานเหล็กกลอง………………………………………………….. 30
2.3.7 ลักษณะการใชงานเหล็กกลอง………………………………………………….. 31
2.4 ทอพีวีซี (PVC)…………………………………………………………………………………… 32-33
2.5 ลอ (wheel)………………………………………………………………………………………. 34-35
2.5.1 ลอยาง (Rubber wheels)………………………………………………………. 35
2.5.2 การเคลื่อนที่แบบวงกลม คือ…………………………………………………….. 36
2.5.3 การเคลื่อนที่เป0นวงกลมสม่ำเสมอ……………………………………………. 36
2.5.4 สรุปสูตรการเคลื่อนที่แบบวงกลม…………………………………………….. 37
2.5.5 หลักการคำนวณเรื่องการเคลื่อนที่แบบวงกลม………………………….... 38
2.6 เกียร (Gears)…………………………………………………………………………………….. 38
2.6.1 อัตราทดเกียร…………………………………………………………………………. 39-40

สารบัญ(ตอ)
หนา
2.6.2 รูปแบบการตอเกียร……………………………………………………….. 40
บทที่ 3 วิธีดำเนินงานวิจัย………………………………………………………………………. 41
3.1 ระยะเวลาการดำเนินการ……………………………………………………. 41
3.1.1 ศึกษา/สำรวจขอมูลเพื่อจัดทำโครงงาน………………………. 42
3.1.2 การเสนอโครงงาน ………………………………………………….. 42
3.2 ศึกษาและสืบคนขอมูล……………………………………………………….. 44
3.3 การสรางชิ้นงาน………………………………………………………………… 44
3.4 การออกแบบโครงสรางหุนยนตเคลื่อนที่ (ดวยโปรแกรม)……….. 44-45
3.5 การทดลองใชและเก็บขอมูล…………………………………………….. 47
3.6 ปรับปรุงชิ้นงาน……………………………………………………………… 48
3.7 ทดสอบชิ้นงาน………………………………………………………………. 48-49
3.8 จัดทำรูปเลม………………………………………………………………….. 50
3.9 การแกไขรูปเลมและนำเสนอ………………………………………………. 50
บทที่ 4 การทดสอบระบบหุนยนตอัตโนมัติและการพัฒนาทางคณิตศาต………. 53
4.1 หลักเกณฑการประเมิน………………….………………………………….. 53
4.2 การวิเคราะหขอมูลและสรุปผล………….……………………………….. 54
4.3 สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะห…………………………………………….. 55
4.4 สติถิที่ใชในการวิเคราะหขอมูล…………………………………………….. 56
4.5 การวิเคราะหผลผลการประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ……………………. 57

สารบัญ(ตอ)
หนา
บทที่ 5 สรุปผลวิจัยและขอเสนอแนะ……………………………………………………… 58
5.1 สรุปผลวิจัย………………………………………………………………….. 58
5.2 อภิปรายผลการดำเนินงาน…………………………………………….. 59
5.3 ปAญหาและอุปสรรค………………………………………………………. 59
5.ขอเสนอแนะ………………………………………………………………… 59
บรรณานุกรม……………………………………………………………………………………………….. 60
บรรณานุกรม(ตอ)…………………………………………………………………………………………. 61
ภาคผนวก (ก)………………………………………………………………………………………………. 62-88
ประวัติผูจัดทำ……………………………………………………………………………………………… 89-90

สารบัญรูป

รูปที่ หนา
รูปที่ 2-1 แสดงเครื่องยนตเล็ก…………………………………………………………………… 4
รูปที่ 2-2 การทำงานของลูกสูบภายในกระบอกสูบ (จังหวะดูดไอดี)………………….. 5
รูปที่ 2-3 การทำงานภายในกระบบอกสูบ จังหวะระเบิดและจังหวะคาย…………… 6
รูปที่ 2-4 แสดงฝาสูบ (Chlinder Head)………………………………………………………… 8
รูปที่ 2-5 แสดงเสื้อสูบ (Chlinder Block)………………………………………………………. 9
รูปที่ 2-6 แสดงกระบอกสูบ (Chlinder)…………………………………………………………. 10
รูปที่ 2-7 แสดงลูกสูบ (Piston)…………………………………………………………………….. 11
รูปที่ 2-8 แสดงแหวนอัด…………………………………………………………………………… 11
รูปที่ 2-9แสดงแหวนอัด……………………………………………………………………………. 12
รูปที่ 2-10 แสดงแหวงน้ำมัน……………………………………………………………………… 13
รูปที่ 2-11 แสดงกานสูบ (Connecting Rod)………………………………………………….. 14
รูปที่ 2-12 แสดงเพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft)………………………………………………… 15
รูปที่ 2-13 แสดงเพลาลูกเบี้ยว (Camshaft)……………………………………………………. 16
รูปที่ 2-14 แสดงลอชวยแรง (Fly Wheel)………………………………………………………. 17
รูปที่ 2-15 แสดงปAqนน้ำ (Water Pump)…………………………………………………………. 18
รูปที่ 2-16 แสดงปA|มน้ำมันเครื่อง (Oil Pump)…………………………………………………. 19
รูปที่ 2-17 แสดงหมอกรองอากาศ (Air Cleaner)……………………………………………. 20
รูปที่ 2-18 แสดงหัวเทียน (spark plug)………………………………………………………….. 21
รูปที่ 2-19 แสดงแบริ่งกานสูบ ( Connecting Rod Bearing)……………………………. 22
รูปที่ 2-20 แสดงเหล็กกลองสี่เหลี่ยม…………………………………………………………… 23
รูปที่ 2-21 แสดงเหล็กหลอ……………………………………………………………………….. 24
รูปที่ 2-22 แสดงเหล็กกลา………………………………………………………………………… 26

สารบัญรูป(ตอ)

รูป หนา
รูปที่ 2-23 แสดงโครงสรางเหล็กมีรูปทรงตาง ๆ……………………………………………….. 27
รูปที่ 2-24 แสดงเหล็กกลอง (Steel Tube)……………………………………………………….. 29
รูปที่ 2-25 แสดงเหล็กกลองสี่เหลี่ยม หรือ เหล็กแป•บโปรง…………………………………. 30
รูปที่ 2-26 แสดงเหล็กกลองสี่เหลี่ยมแบน หรือเหล็กแป•บแบน…………………………… 31
รูปที 2-27 แสดงเหล็กกลองสี่เหลี่ยม หรือ เหล็กแป•บโปรง…………………………………. 33
รูปที่ 2-28 แสดงทอพีวีซีสีเหลือง (PVC)…………………………………………………………….. 33
รูปที่ 2-29 แสดงลอยาง………………………………………………………………………………. 35
รูปที่ 2-30 แสดงเฟpองขับและเฟpองตาม………………………………………………………….. 38
รูปที่ 2-31 รูปแบบการตอเกียร…………………………………………………………………….. 39
รูปที่ 2-32 แสดง Gear box ของเครื่องรีดเหล็ก………………………………………………. 40
รูปที่ 2-33 แสดงการตอเกียรหลายๆชุด…………………………………………………………. 40

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา
ตารางที่ 3-1 ระยะเวลาการดำเนินการ…………………………………………………………….. 41
ตารางที่ 3-2 ผลลการทดสอบการเคลื่อนที่ของโคงสรางอยางเดี่ยว………………………. 48
ตารางที่ 3-3 ผลลการทดสอบโครงสรางโดยใชมอเตอรทดสอบการเคลื่อนที่-
ของโครงสราง……………………………………………………………………………………………….. 48
ตารางที่ 3-4 ตารางการทดสอบการทำงานของแปรงกวาดขยะที่มีผลตอวัตถุที่มี-
น้ำหนักตางกัน………………………………………………………………………………………………. 49
ตารางที่ 4-1 แสดงสัญลักษณในการวิเคราะขอมูล……………………………………………… 53
ตารางที่ 4-2 แสดงผลการประเมินดานกายภาพ………………………………………………… 54
ตารางที่ 4-3 แสดงผลการประเมินดานการใชงาน……………………………………………… 55
ตารางที่ 4-4 แสดงผลการประเมินดานความเหมาะสมของการนำไปใช………………… 56
แผนภูมที่ 3-1 แบบประเมินคุณภาพโคงสรางหุนยนตกวาดขยะ………………………….. 43
แผนภูมที่ 3-2 ขั้นตอนการออกแบการสรางชิ้นงาน……………………………………………. 46
แผนภูมที่ 3-3 ขั้นตอนการทดลองใชงานและเก็บรวบรวมประเมินคุณภาพ…………… 47
แผนภูมที่ 4-1 ผลการประเมินดานกายภาพ……………………………………………………… 53
แผนภูมที่ 4-2 ผลการประเมินดานการใชงาน……………………………………………………. 54
แผนภูมที่ 4-3 ผลการประเมินดานความเหมาะสมของการนำไปใช……………………… 55
แผนภูมที่ 4-4 ผลการประเมินดานการบำรุงรักษา……………………………………………… 56
1

บทที่ 1

บทนำ
1.1 ความเป$นมาและความสำคัญของปcญหา
ปAจจุบันใดมีการนำหุนยนตเขามาใชงานมากขึ้น โดยมีเปƒาหมายในการชวยอำนวย
ความสะดวกในการทำงานของมนุษย ดั้งนั้นวงการอุตสาหกรรมการผลิต จึงนำมาใชแทนแรงงาน
มนุษยในงานที่ตองทำอยางตอเนื่องกันตลอดเวลา งานที่เป0นอันตราย งานหนักและยากเกินที่มนุษย
จะทำไหว ดั้งนั้นถือเป0นความจำเป0นที่อุตสาหกรรมตองใหความสำคัญกับการใชงานที่หลากหลายของ
อุปกรณหุนยนตการใชงานเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมชวยยกระดับประสิทธิภาพของการทำงานใหดี
ขึ้น ทำใหผูเรียนในสายอาชีพนี้ ตองพัฒนาความรูทางดานเทคโนโลยี ใหสอดคลองกับความตองการ
ของสถานประกอบการ ในปAจจุบันสาขาเมคคาทรอนิกสไดจัดการเรียนการสอนวิชาหุนยนตเกี่ยวกับ
การศึกษาและปฏิบัติหลักการทำงานของหุนยนต ชุดควบคุม การสอนตำแหนง ชุดโปรแกรมควบคุม
หุนยนต การเคลื่อนที่ของหุนยนต การนำหุนยนตไปใชในงานกวาดขยะ การออกแบบโปรแกรมและ
ควบคุมใหทำงานตามโปรแกรม ติดตั้ง ทดสอบการทำงานและซอมบำรุงรักษาหุนยนต โดยการเรียน
การสอนในปAจจุบันเป0นการเรียนโดยใชโปรแกรมจำลองการทำงานของหุนยนตไมมีการปฏิบัติงานจริง
เพราะขาดอุปกรณในการเรียนการสอน
ในดานการศึกษาสาขางานวิชาเมคคาทรอนิ กส มีการศึกษาเกี ่ยวกับโครงสราง
หุนยนตเคลื่อนที่ เพื่อที่จะนำไปใชควบคุมการทำงาน แตการเรียนการสอนในปAจจุบันเป0นการเรียน
โดยใชโปรแกรมจำลองการทำงานของหุนยนต ทำใหนักเรียนนักศึกษาขาดความรูและความเขาใจใน
การทำงานของหุ นยนต เนื่องจากทางสถานศึกษาที่สอนในสาขาเมคคาทรอนิกสขาดสื่อการสอน
เกี่ยวกับหุนยนต
ผูจัดทำจึงไดสนใจศึกษาหาขอมูลและนำมาสราง Mobile robot structure เพื่อ
นำมาสาธิตการทำงานของโครงสรางหุ นยนตเคลื่อนที่และใชเป0นสื่อการสอนวิชาเมคคาทรอนิกส
เบื้องตน และระบบขอตอแบบลิงค อันจะเป0นประโยชนตอผูเรียนตอไป
2

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย
1.2.1 เพื่อศึกษาหลักการออกแบบโครงสรางของหุนยนต
1.2.2 เพื่อศึกษาประยุกตใชวัสดุที่มีอยูในทองตลาดนำมาออกแบบโครงสรางหุนยนต
1.3 สมมุติฐานของโครงงาน
1.3.1 หุนยนตกวาดขยะสามารถกวาดขยะใด
1.3.2 มอดตอรสามารถรับน้ำหนักของโครงสรางและพาเคลื่อนที่ใด
1.3.3 หุนยนตสามารถเก็บกักฝุGนละอองใด
1.4 ขอบเขตของโครงงาน
1.3.1 ในงานวิจัยนี้ถูกจำกัดขอบเขตของงานอยูที่การออกแบบโครงสรางที่จับยึดชุดหัว
แปรงกวาดขยะและแปรงกวาดขยะซึ่งผูจัดทำไมสามารถออกแบบและผลิตมาใช
ในงานวิจัยเองใด
1.5 วิธีการดำเนินงาน
1.5.1 เขาใจปAญหาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในการเลือกใชวัสดุ
1.5.2 ศึกษาความเป0นไปไดในการเลือกใชวัสดุที่นำมาทำโครงสราง
1.5.3 วิเคราะปAญหาที่พบจากการเลือกใชวัสดุที่นำมาทำโครงสราง
1.5.4 งานออกแบบโครงสรางจะตองสอดคลองกับวัสดุที่จัดหามา
1.5.5 โครงสรางที่ผูวิจัยไดทำการออกแบบสามารถทำการตอยอดและพัฒนาตอได
1.5.6 การจัดทำโครงสรางถูกออกแบบใหเสามารถปรับเปลี่ยนอุปกรณ ตาง ๆ
1.5.7 งานออกแบบโครงสรางสามารถถอดประกอบชิ้นสวนตางได
1.6 ประโยชนที่ไดรับจากโครงงาน
1.4.1 ไดความรูเกี่ยวกับหลักการในการจัดทำโครงสรางหุนยนตเคลื่อนที่
1.4.2 ไดความรูทางคณิตศาสตรดานการคำนวณทางคณิตศาสตร
1.4.3 ไดฝ…กทักษะการคิดวิเคราะขอมูลตาง ๆที่เกี่ยวของในการออกแบบโครงสราง
1.4.4 ไดออกแบบโครงสรางที่สามารถใชงานไดจริง
3

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
ในการศึกษาเรื่องการออกแบบโครงสรางหุนยนตกวาดขยะ ผูวิจัยไดรวบรวมขอมูล
และหลักการตาง ๆจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้

2.1 หลักการความรูที่เกี่ยวของ
หุ นยนตทุกตัวมีส วนประกอบหลัก 3 สวน : ชิ้นสวนทางกล (Mechanical Unit)
ตัวควบคุมการขับเคลื่อน (Drives Unit) ชิ้นสวนควบคุม (Controller Unit)
2.2 เครื่องยนตเล็ก( Small engine )
2.2.1 ฝาสูบ (Chlinder Head)
2.2.2 เสื้อสูบ (Chlinder Block)
2.2.3 กระบอกสูบ (Chlinder)
2.2.4 ลูกสูบ (Piston)
2.2.5 แหวนลูกสูบ (Piston Ring)
2.2.6 แหวงน้ำมัน (Oil ring)
2.2.7 กานสูบ (Connecting Rod)
2.2.8 เพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft)
2.2.9 เพลาลูกเบี้ยว (Camshaft)
2.2.10 ลอชวยแรง (Fly Wheel)
2.2.11 อางน้ำมันเครื่อง (Crank Case)
2.2.12 การดูแล ปA|มน้ำมันเครื่อง (Caring for "petrol stations")
2.2.13 การดูแล ปA|มน้ำมันหลอลื่น (Taking care of the "Lubricating oil pump")
2.2.14 การดูแล หัวเทียน ( Caring for "spark plugs")
2.2.15 แบริงกานสูบ ( Connecting Rod Bearing)
4

เครื่องยนตเล็ก( Small engine )

รูปที่ 2-1 แสดงเครื่องยนตเล็ก


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.vigotech.co.t
หลักการทำงานของเครื่องยนตเล็กแกŠสโซลีนแบบ 2 จังหวะ ที่ใชลูกสูบแทนลิ้น และเป0นการทำงานที่
นิยมใชกันในรถจักรยานยนต , เครื่องตัดหญาสะพายขาง เป0นตน คือ จังหวะที่ 1 เป0นจังหวะดูดและ
อัด จังหวะที่ 2 เป0นจังหวะระเบิดและคาย เครื่องยนต 2 จังหวะจะไมมีวาลวเป‹ดป‹ดไอดี-ไอเสีย แตจะ
ใชลูกสูบเป0นตัวเป‹ดป‹ดไอดี-ไอเสียแทน ซึ่งเครื่องยนต 2 จังหวะจะทำงานรอบจัดกวาเครื่องยนต 4
จั งหวะและการเผาไหมก็ มี ป ระสิ ทธิ ภ าพดอยกวาเครื ่ องยนต 4 จั งหวะ จั งหวะที ่ 1 ดู ด และอั ด
(Suction or intake stroke and Compression stroke) ดานบนลูกสูบจะอัดไอดี สวนดานใตลูกสูบ
จะดูดไอดี เขาไปในหองเพลาขอเหวี่ยง
5

รูปที่ 2-2 การทำงานของลูกสูบภายในกระบอกสูบ (จังหวะดูดไอดี)


ที่มาจากเว็บไซต: http://www.vigotech.co.th

จังหวะที่ 2 ระเบิดและคาย (Power stroke and Exhaust stroke) ดานบนลูกสูบจะสงกาลัง สวน


ดานลางลูกสูบจะเพิ่ม ความดันของไอดี การทำงานของเครื่องยนตในจังหวะที่ 2 กลับไปยังจังหวะที่ 1
ดานบนของลูกสูบจะคาย และขับไลไอเสียดวยไอดีสวนดานลางลูกสูบจะอัดไอดีเขาไปในกระบอกสูบ
6

รูปที่ 2-3 การทำงานภายในกระบบอกสูบ จังหวะระเบิดและจังหวะคาย (Power stroke and


Exhaust stroke)
ที่มาจากเว็บไซต: http://www.vigotech.co.th
7

หลักการทำงานของเครื่องยนตเล็กแกŠสโซลีนแบบ 2 จังหวะ ที่ใชลิ้นแผน


เครื่องยนตเล็กแกŠสโซลีน 2 จังหวะ (Two-stroke engine) คือ เครื่องยนตที่ทำงาน 2 จังหวะที่ใชลิ้น
แผนหรือรีดวาลวเป0นลิ้นที่ใชในระบบสงไอดี ทำจากเหล็กสปริงติดอยูดานบนของหองเพลาขอเหวี่ยง
ในขณะที ่ ล ู ก สู บ เคลื ่ อ นที ่ ข ึ ้ น -ลง ความดั น ในหองเพลาขอเหวี ่ ย งจะเพิ ่ ม ขึ ้ น และลดลงสลั บ กั น
ขณะเดียวกันลิ้นแผน จะเป‹ดและป‹ดสลับกันไปดวย เวลาในการเป‹ดของลิ้นแผนจะแปรผันตรงกับ
ความเร็วรอบของเครื่องยนต ลิ้นแผนจะทางานโดยสุญญากาศ และความดันในหองเพลาขอเหวี่ยง
จังหวะที่ 1 ดูดและอัด (Suction or intake stroke and Compression stroke) เป0นจังหวะที่ลูกสูบ
เคลื่อนที่จากศูนยตายลางขึ้นสู ศูนยตายบน ระหวางการเคลื่อนที่นี่เอง ดานบนลูกสูบเป0นการอัด
อากาศไอดี ในขณะเดียวกันชองไอเสียจะถูกป‹ดดวยตัวลูกสูบโดยอัตโนมัติ โดยที่เวลาเดียวกันนี้เอง รีด
วาลวก็จะเป‹ดชองไอดี ทาใหอากาศไอดีไหลเขาสูหองเพลาขอเหวี่ยงโดยอัตโนมัติ จังหวะที่ 2 ระเบิด
และจังหวะคาย (Power stroke and Exhaust stroke) เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นไปสู ศูนยตายบนจะ
เกิดประกายไฟจากหัวเทียนทำใหเกิดระเบิด เพื่อดันลูกสูบลงไปสูศูนยตายลางอีกครั้ง ในระหวางการ
เคลื่อนที่ลงครั้งนี้ ความสูงของลูกสูบก็จะไปป‹ดชองอากาศทางเขาไอดี และดานบนของลูกสูบก็จะพน
ชองทางออกของไอเสีย ทำใหอากาศไอเสียไหลผานออกไป ในขณะเดียวกันที่ดานบนของลูกสูบก็จะ
พนชองจากหองเพลาขอเหวี่ยง ไอดีจากหองเพลาขอเหวี่ยงไหลเขาไปขับไลไอเสีย และเขาไปแทนที่ใน
หองเผาไหม เมื่อเครื่องยนตทางานครบ 2 จังหวะ เพลาขอเหวี่ยงจะหมุนไปได 1 รอบ เมื่อลูกสูบอยูที่
ตำแหนงศูนยตายลางในจังหวะดูดภายในกระบอกสูบจะมีปริมาตรที่บรรจุสวนผสมนามันและอากาศ
เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นในจังหวะอัดปริมาตรนี้จะถูกอัดใหลดลงตรงสวนของลูกสูบ เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่
ถึงจุดศูนยตายบนปริมาตรจะมีขนาดเล็กที่สุดบริเวณที่มีปริมาตรเล็กนี้ถูกเรียกวาหองเผาไหมหลักการ
ทำงานของเครื่องยนตเล็กแกŠสโซลีนแบบ 2 จังหวะ ที่ใชเพาเวอรรีดวาลวเนื่องจากการอัดไอดีในแบบ
เกาซึ่งใชลูกสูบแทนลิ้น และใชลิ้นแผนนั้นยังมีขอเสียอยู คือ ที่ความเร็วรอบตาง ความเร็วรอบปาน
กลาง และความเร็วรอบสูง ไอดีที่อัดเขากระบอกสูบในแตละความเร็วรอบนั้นไมมีความแนนอนคงที่
และไมสัมพันธกับการทำงานของเครื่องยนตเทาที่ควร จึงไดมีการพัฒนาระบบการควบคุมไอดีของ
เครื่องยนตแกŠสโซลีนแบบ 2 จังหวะขึ้นเป0นแบบเพาเวอรรีดวาลว (Power Reed Valve) เพื่อใหไอดี
ที่เขาไปในเครื่องยนตมีความคงที่สม่ำเสมอทุก ๆ ความเร็วรอบของเครื่องยนต ทำใหเครื่องยนตมี
สมรรถนะเพิ่มขึ้น และที่สำคัญทาใหประหยัดน้ำมันเชื้อเพลิง หลักการทำงานของเครื่องยนตเล็กแกŠส
โซลีน 2 จังหวะที่ใชเพาเวอรรีดวาลวมีดังนี้ ในขณะที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลงไปยังศูนยตายลางชองไอดีจาก
คารบูเรเตอรจะถูกลูกสูบป‹ดลิ้นแผนก็จะป‹ดดวยไอดีที่ผานคารบูเรเตอรจะมีแรงเฉื่อยอยู และหองพัก
ไอดีก็ยังเป0นสุญญากาศไอดีจากคารบูเรเตอรจึงเขาไปในหองพักไอดีจนเต็ม เพื่อสะสมไวใชงานใน
จังหวะตอไปการไหลของไอดีผานคารบูเรเตอรจะไมมีการหยุดชะงักจะมีการไหลผานอยางตอเนื่อง
8

ตลอดเวลา สรุป หลักการทางานของเครื่องยนตเล็กแกŠสโซลีน 2 จังหวะ วัฎจักรการทำงานของ


เครื่องยนตเล็กแกŠสโซลีนแบบ 2 จังหวะ คือ ดูดและอัด,ระเบิดและคาย ลูกสูบ จะขึ้นลง 2 ครั้ง เพลา
ขอเหวี่ยงหมุน 1 รอบ คือ 360 องศาโดยปกติแลวเครื่องยนตไมวาจะเป0นชนิดเบนซินหรือดีเซล จะมี
ชิ้นสวนประกอบคลายคลึงกัน อาจจะแตกตางกันเล็กนอยตรงที่เครื่องยนตเบนซินจะจุดระเบิดดวยหัว
เทียน และเครื่องยนตดีเซนจะจุดระเบิดดวยการอัดอากาศใหมีอุณหภูมิและความดันที่สูง และฉีด
น้ำมันเชื้อเพลิงเขามาปะทะทำใหเกิดการระเบิด นอกจากนั้นสวนประกอบที่สำคัญของเครื่องยนตเล็ก
โดยปกติจะเหมือนกันกับเครื่องยนตขนาดใหญ เพียงแตขนาดเล็กกวา เบากวา แตสวนประกอบสำคัญ
หลัก ๆ นั้น แทบไมแตกตางกัน ซึ่งตอไปนี้จะแนะนำชิ้นสวนประกอบที่สำคัญของเครื่องยนตเล็ ก
ตำแหนงการทำงานในเครื่องยนต และรวมถึงหนาที่การทำงานดังตอไปนี้
2.2.1 ฝาสูบ (Chlinder Head)
คื อ ชิ ้ น สวนที ่ อ ยู ตำแหนงบนสุ ด ของเครื ่ อ งยนต ซึ ่ ง ทำหนาที ่ ป ‹ ด สวนบนของ
เครื่องยนต อีกทั้งยังเป0นที่ติดตั้งของชิ้นสวนอยางอื่นที่สำคัญ

รูปที่ 2-4 แสดงฝาสูบ (Chlinder Head)


ที่มาจากเว็บไซต: http://www.rungkijparts.com
การดูแล “ฝาสูบ”
เราจะตองหมั่นตรวจสอบการทำงานของเครื่องยนต โดยเฉพาะขณะที่เครื่องยนต
กำลังทำงาน ตรวจสอบฝาหมอน้ำวารั่วหรือไมตรวจวามีลมอัดออกมาจากรอยตอของฝาสูบหรือไม มี
น้ำหยดไหลออกจากเครื่องมากหรือไมหรือน้ำในหมอน้ำลดระดับมากผิดปกติ ที่สำคัญ อยารอใหไฟ
ความรอนเตือน เพราะบางครั้งฝาสูบอาจจะโกงพรอมกับระบบเตือนความรอนอาจเพราะอายุและการ
ทำงานของเครื่องยนต
2.2.2 เสื้อสูบ (Chlinder Block)
9

คือ ชิ้นสวนที่อยู ตำแหนงตอนกลางของเครื่องยนต โดยจะทำหนาที่ห อหุ มกลไก


ภายในเครื่องยนตเปรียบเสมือนหองทำงาน ที่มีชิ้นสวนประกอบอื่น ๆ มากมาย เชน กระบอกสูบ
เพลงขอเหวี่ยง เป0นตน

รูปที่ 2-5 แสดงเสื้อสูบ (Chlinder Block)


ที่มาจากเว็บไซต: http://www.ftiebusiness.com

การดูแล “เสื้อสูบ”
เสื้อสูบนั้น ผลิตจากวัสดุที่แข็งแรงทนทาน โดยเฉพาะเสื้อสูบที่ทำจากเหล็กจะมี
ความทนทานมาก เชนนั้นเป0นไปไดยากที่จะเกิดความเสียหาย เวนแตจะมีสาเหตุเกิดจากชิ้นสวนอื่น ๆ
ดังนั้นเราควรหมั่นตรวจสอบระบบน้ำมันหลอเย็นและระบบอื่นดวย
10

2.2.3 กระบอกสูบ (Chlinder)


คือ กระบอกเปรียบเสมือนหองทำงานของลูกสูบ “การเคลื่อนที่” โดยกระบอกสูบจะ
เป0นสวนที่ไดรับน้ำมันเชื้อเพลิงและอากาศ ซึ่งเชื่อเพลิงและอากาศจะเกิดการระเบิด ทั้งนี้ แรงระเบิด
จะทำใหลูกสูบเคลื่อนที่ในกระบอกสูบ กระบอกสูบมักจะไมเกิดความเสียหาย ยกเวนแตชิ้นสวน
ภายใน เชน ลูกสูบ กานสูบ เป0นตน ทำใหกระบอกสูบชำรุดเสียหายได

รูปที่ 2-6 แสดงกระบอกสูบ (Chlinder)


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.thai.alibaba.com
การดูแล “กระบอกสูบ”
คงไมมีการบำรุงรักษาสำหรับกระบอกสูบ แตควรตรวจและหมั่นดูน้ำมันหลอลื่นอยา
ใหขาดหรือเกินมากเกินไป และระวังความเสียหายที่เกิดขึ้นจากชิ้นสวนอื่น เชน ลูกสูบ เป0นตน
11

2.2.4 ลูกสูบ (Piston)


คือ ชิ้นสวนสำคัญที่เคลื่อนที่ภายในกระบอกสูบ ทำหนาที่สรางแรงอัดตอน้ำมัน
เชื้อเพลิงและอากาศ ใหมีความดันและอุณหภูมิที่เหมาะสมกับการจุดระเบิดและเผาไหม ซึ่งลูกสูบเป0น
ตัวสรางกำลังและสงตอออกมาภายในกระบอกสูบ โดยอาศัยกานสูบในการถายเทพลังงานไปยังเพลา
ขอเหวี่ยง

รูปที่ 2-7 แสดงลูกสูบ (Piston)


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.gasthai.com

การดูแล “ลูกสูบ”
จะตองหมั่นตองตรวจสอบระบบหลอเย็นวามีน้ำหยดออกจากระบบหรือไม หรือ
ปะเก็นมีรอยรั่วหรือไม และใชน้ำมันหลอลื่นถูกตองตามคูมือหรือไม
12

2.2.5 แหวนลูกสูบ (Piston Ring)


แหวงลูกสูบจะแบงออกเป0น 2 ชนิด คือ แหวนน้ำมันและแหวนอัด จะทำหนาที่
ปƒองกันไมใหความดันอากาศรั่วซึมออกจากกระบอกสูบ หรือหองเผาไหม ทั้งนี้ถาไมมีแหวงอัดอากาศ
จะทำให ไอดี รั่วไหลออกผานชองวางระหวางลูกสูบกับผนังกระบอกสูบ

รูปที่ 2-8 แสดงแหวนอัด


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.webike.net

รูปที่ 2-9แสดงแหวนอัด
ที่มาจากเว็บไซต : http://www.webike.net
13

2.2.6 แหวนน้ำมัน
ทำหนาที่กวาดน้ำมันหลอลื่อที่ไหลตามผนังกระบอกสูบลงมา ไมใหไหลไปยังหอง
เผาไหม เพราะหากน้ำมันหลอลื่อถูกดันขึ้นไปเผาไหมในหองเผาไหมมากเกิน ไป จะเกิดเป0นกŠา ซ
คารบอน ซึ่งเป0นสาเหตุที่ทำใหหัวเทียนบอดเคลือบวาลว และความเสียหายจะเกิดกับแหวนในที่สุด

รูปที่ 2-10 แสดงแหวงน้ำมัน


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.thai.excavatorengine-parts.com

การดูแล “แหวงลูกสูบ”
ควรใสใจกับการใชชนิดของน้ำมันหลอลื่อ เราตองเลือกใชน้ำมันหลอลื่อที่เหมาะสม
กับชนิดของเครื่องยนต และควรตรวจสอบระบบน้ำหลอเย็นใหดี เพื่อปƒองกันใหลูกสูบมีความรอน
ในขณะทำงานมากเกินไป เพราะอาจจะเกิดอันตรายใหกับแหวงลูกสูบได
14

2.2.7 กานสูบ (Connecting Rod)


ทำหนาที่ ถายทอดกำลังจากการเคลื่อนที่ของลูกสูบ ที่เกิดจากการจุดระเบิดหรือเผา
ไหมเชื้อเพลิงภายในกระบอกสูบ โดยกานสูบนี้จะสงกำลังงานไปยังเพลงขอเหวี่ยง และถายทอดเป0น
กำลังในการหมุนตอไปยังชิ้นสวนอื่น

รูปที่ 2-11 แสดงกานสูบ (Connecting Rod)


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.kwaithongaec.com

การดูแล “กานสูบ”
การที่เราจะรูถึงความผิดปกติของกานสูบนั้นยากมาก เพราะอาการที่ของเครื่องยนต
ที่จะเตือนใหรูเรารูตัวกอนแทบจะไมมี สุดทายก็จะเกิดเสียงดังปAง เป0นอันวากานสูบเริ่มจะชำรุดแลว
ดังนั้นเราควรตรวจสอบระบบตาง ๆ ของเครื่องยนตกอนที่จะทำงาน
15

2.2.8 เพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft)


ทำหนาที่ รับกำลังจากกานสูบ และเปลี่ยนแรงการเคลื่อนที่ของลูกสูบที่ขึ้นลง หรือซายขวา ไปเป0น
การเคลื่อนที่แบบหมุนเป0นวงกลม เพื่อถายทอกกำลังหมุนไปยังชิ้นสวนอื่น ๆ

รูปที่ 2-12 แสดงเพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft)


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.kwaithongaec.com และ http://www.thai.webike.net

เพลาขอเหวี่ยง (Crankshaft)
การดูแล “เพลงขอเหวี่ยง” การบำรุงรักษาแบริ่งใหอยูในสภาพที่สมบูรณอยูเสมอ
โดยเราจะตองเปลี่ยนน้ำมันหลอลื่นใหตรงเวลา
“อยาลาก” หรือปลอยใหน้ำมันหลอลื่นแหงจนเกินไป
16

2.2.9 เพลาลูกเบี้ยว (Camshaft)


ทำหนาที่เป‹ดวาลวไอดีและวาลวไอเสียจะป‹ด”เพื่อใหอากาศไหลเขา”เมื่อเป‹ดวาลว
ไอเสียวาลวไอดีจะป‹ด”เพื่อใหไอเสียไหลออก”

รูปที่ 2-13 แสดงเพลาลูกเบี้ยว (Camshaft)


ที่มาจากเว็บไซต : www.yienn.icoc.com

การดูแล “เพลาลูกเบี้ยว”
โดยปกติแลวลูกเบี้ยวจะไมเสียหายงาย ๆ แตชิ้นสวนที่อาจจะเสียหาย คือเซนเซอร
เพลาลูกเบี้ยว ก็สามารถเปลี่ยนใหมได ราคาไมแพง
17

2.2.10 ลอชวยแรง (Fly Wheel)


ลอชวยแรง หรือลอตุนกำลัง จะติดอยูที่ตำแหนงปลายของเพลงขอเหวี่ยง ทำหนาที่
สะสมกำลังงานเพื่อทำใหเครื่องยนตเดินเรียบ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ เป0นตัวกลางในการถายทอดกำลัง
จากเครื่องยนต ลอชวยแรงจะเพิ่งแรงหมุนขอเหวี่ยงเป0น 2 เทาตัวไมวาเครื่องยนตจะทำอัตราเรงหรือ
ลดก็ตาม

รูปที่ 2-14 แสดงลอชวยแรง (Fly Wheel)


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.gaeglong.com

การดูแล “ลอชวยแรง”
ลอชวยแรงผลิตขึ้นจากเหล็กกลา จึงเป0นไปไดยากที่จะแตก หัก หรือบิ่น เวนแตจะ
ถูกกระแทงอยางแรง ซึ่งหากเป0นเชนนั้น ก็ตองซื้อเปลี่ยนใหมอยางเดียว
18

2.2.11 อางน้ำมันเครื่อง (Crank Case)


อางน้ ำ มั น เครื ่ อง หรื ออางน้ ำ มั น หลอลื ่ น คื อสวนที ่ อยู ชองลางของเครื ่ องยนต
โดยทั่วไปแลวอางน้ำมันเครื่องจะมีอยู 2 สวนดวยกัน คือสวนบนของอางจะถูกหลอติดกับเสื้ อสูบ
และสวนลางจะเป0นอางที่ใชเก็บน้ำมันหลอลื่น โดยน้ำมันหลอลื่นนั้นจะถูกดูดขึ้นไปหลอเลี้ยงชิ้นสวนที่
ตองการหลอลื่นทั้งหมดของเครื่องยนต การดูแล “อางน้ำมันหลอลื่น” โดยปกติแลวอางน้ำมันหลอลื่น
จะไมคอยเสียงาย เวนแตจะถูกกระแทงอยางแรง สวนมากจะเป0นปะเก็นอางน้ำมันเครื่องที่มีโอกาสที่
จะเสียหายไดมากกวาอางน้ำมันหลอลื่น ปA|มน้ำ (Water Pump) ทำหนาที่สูบน้ำจากหมอน้ำไประบาย
ความรอนใหกับชิ้นสวนตาง ๆ ของเครื่องยนตในขณะทำงาน โดยเรียกทั้งระบบวา ระบบหลอเย็น แต
สำหรับเครื่องยนตเล็ก 2 จังหวะจะเป0น ระบบรายความรอนดวยอากาศจะไมมีปA|มน้ำอยู ในระบบ
เครื่องยนต

รูปที่ 2-15 แสดงปAqนน้ำ (Water Pump)


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.weekendhobby.com
19

2.2.12 การดูแล “ปcpมน้ำมันเครื่อง” (Caring for "petrol stations")


การเสียหายของปA|มน้ำสามารถเกิดขึ้นไดงาย โดยเฉพาะเครื่องยนตที่มีความรอนสูง
ชิ้นสวนที่จ ะเสีย หายกอนในปA| มน้ำ คือซีลยางที่ คอปA |มน้ ำ เนื่องจากซี ลสวนใหญจะผลิ ตจากยาง
สังเคราะห เมื่อถูกความรอนมาก ๆ ซีลก็มักจะเสื่อมสภาพเร็ว ปA|มน้ำมันเครื่อง (Oil Pump)หรือปA|ม
น้ ำ มั น หลอลื ่น ทำหนาที ่ ดู ด น้ำ มั นหลอลื ่น จากอางน้ ำมั น หลอลื ่ นไปหลอลื ่น ชิ้น สวนตาง ๆ ของ
เครื่องยนตที่มีการเสียดสี ในขณะที่เครื่องยนตทำงาน โดยปA|มน้ำมันหลอลื่นจะถูกติดตั้งในเสื้อสูบ
และทำการดูดน้ำมันหลอลื่นใหไหลไปตามทางทอ โดยผานไสกลองน้ำมันเครื่อง เพื่อปƒองกันไมใหสิ่ง
สกปรกหลุดเขาไปสรางอันตรายใหแกชิ้นสวนตาง ๆ ของเครื่องยนต

รูปที่ 2-16 แสดงปA|มน้ำมันเครื่อง (Oil Pump)


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.yienn.icoc.com
20

2.2.13 การดูแล “ปcpมน้ำมันหลอลื่น” (Taking care of the "Lubricating oil pump")


ปA|มน้ำมันหลอลื่นจะเสียไดก็ตอเมื่อไมมีน้ำมันหลอลื่นหรือน้ำมันหลอลื่นขาด เพราะ
ถาปA|มน้ำมันหลอลื่นมีปAญหาในการทำงาน นั่นหมายถึงไมมีน้ำมันขึ้นไปหลอลื่นการเคลื่อนที่ของ
ชิ้นสวนที่เสีนดสีกันในเครื่องยนต หมอกรองอากาศ (Air Cleaner) ทำหนาที่กรองฝุGนผงเล็ก ๆ และ
เศษสิ่งสกปรกทั้งหลายในอากาศ ที่เขาไปในกระบอกสูบ ซึ่งเป0นหองเผาไหมใหกำลังใหกับเครื่องยนต

รูปที่ 2-17 แสดงหมอกรองอากาศ (Air Cleaner)


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.auto2drive.com
21

2.2.14 การดูแล “หัวเทียน”(Caring for "spark plugs")


หมั่นตรวจดูสภาพการทำงานของเครื่องยนตในกรณีรถกระตุกอาจเกิดจากการเผา
ไหมไมสมบูรณ เราควรถอดเอาหัวเทียนออกมาทำความสะอาด ใชเครื่องมือถอดหัวเทียนออกมา แลว
ตรวจดูสภาพของหัวเทียน ทั้งในเรื่องคราบเขมาสกปรก และระยะหางของเขี้ยวหัวเทียน ซึ่งแตละรุน
จะมีระยะปรับตั้งที่บอกมาเป0นคามาตรฐาน ทำความสะอาดดวยการใชกระดาษทรายละเอียดขัด และ
ลางดวยน้ำมัน เช็ดและเปGาใหแหง ทิ้งไวจนแหงสนิทแลวจึงนำไปประกอบกลับคืน

รูปที่ 2-18 แสดงหัวเทียน (spark plug)


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.asiadirect.com
22

2.2.15 แบริ่งกานสูบ ( Connecting Rod Bearing)


แบริ่งกานสูบจะทำจากทองแดงผสมตะกั่ว เรียกวา เคลเมต (Kelmet) ที่ผิวหนาของ
แบริ่งกานสูบจะชุบดีบุก เพื่อใหสามารถสัมผัสกับเพลาขอเหวี่ยงไดดี แบริ่งกานสูบสามารถแยก
ออกเป0น 2 สวนได คือ สวนที่อยูกับกานสูบ และสวนที่ติดอยูกับฝาประกับกานสูบ บุชกานสูบจะท า
จากทองแดงผสมตะกั่วเชนเดียวกับแบริ่งกานสูบ ที่หนาบุชจะชุบดีบุกเคลือบไว เพื่อชวยใหทนทานตอ
แรงสั่นสะเทือน แรงกระแทก และความรอนที่เกิดขึ้นขณะใชงาน

รูปที่ 2-19 แสดงแบริ่งกานสูบ ( Connecting Rod Bearing)


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.thanachartbluebook.com

การดูแล “แบริ่งกานสูบ”
การดูแลแบริ่งกานสูบนั้น เราไมสามารถที่จะดูแลโดยตรงได เพราะแบริ่งกานสูบอยู
ในหองเครื่องยนต ดังนั้น การดูแลแบริ่งนั้น เราตองดูน้ำมันหลอลื่นใหไมขาดจนมากกวาไป และ
เปลี่ยนน้ำมันเครื่องตามระยะการใชงาน
23

2..3 เหล็ก
เป0นแรธาตุที่มีบทบาทกับการนำมาใชงานในชีวิตประจำวันมากที่สุด และเป0น
ที่รูจักกันอยางแพรหลาย โดยเหล็กจะแบงออกเป0น 2 ประเภทดวยกัน คือเหล็ก (iron) และ เหล็กกลา
(steel) ซึ่งทั้งสองประเภทนี้ มีคุณสมบัติที่ต างกันหลายประการ แตสวนใหญก็มักจะถูกเรียกอยาง
เหมารวมกันวา “เหล็ก” นั่นเอง ลักษณะทั่วไปของเหล็กและเหล็กกลา เหล็ก จะมีสัญลักษณทาง
วิทยาศาสตร คือ Fe มักพบไดมากในธรรมชาติ ซึ่งจะมีลักษณะเป0นสีแดงอมน้ำตาล เมื่อนำเขาใกลกับ
แมเหล็ก จะดูดติดกัน สวนพื้นที่ที่คนพบเหล็กไดมากที่สุด ก็คือ ตามชั้นหินใตดินที่อยูบริเวณที่ราบสูง
และภูเขา โดยจะอยู ในรูปของสินแรเป0นสวนใหญ ซึ่งก็ต องใชวิธีถลุงออกมา เพื่อใหไดเป0นแรเหล็ก
บริสุทธิ์และสามารถนำมาใชประโยชนได เหล็กกลา เป0นโลหะผสม ที่มีการผสมระหวาง เหล็ก ซิลิคอน
แมงกานีส คารบอนและธาตุอื่นๆ อีกเล็กนอย ทำใหมีคุณสมบัติในการยืดหยุนสูง ทั้งมีความทนทาน
แข็งแรง และสามารถตานทานตอแรงกระแทกและภาวะทางธรรมชาติไดอยางดีเยี่ยม ที่สำคัญคือ
เหล็กกลาไมสามารถคนพบไดตามธรรมชาติเหมือนกับเหล็ก เนื่องจากเป0นเหล็กที่สรางขึ้นมาโดยการ
ประยุกตของมนุษย แตในปAจจุบันก็มีการนำเหล็กกลามาใชงานอยางแพรหลาย เพราะมีตนทุนต่ำ จึง
ชวยลดตนทุนไดเป0นอยางมาก และมีคุณสมบัติที่โดดเดนไมแพเหล็ก ประเภทของเหล็กแบงไดอยางไร
บาง? สำหรับประเภทของเหล็กนั้น สามารถแบงออกไดเป0น กลุมใหญๆ คือ เหล็กหลอ เป0นเหล็กที่ใช
วิธีการขึ้นรูปดวยการหลอขึ้นมา ซึ่งจะมีปริมาณของธาตุคารบอนประมาณ 1.7-2% จึงทำใหเหล็กมี
ความแข็ง แตในขณะเดียวกันก็มีความเปราะ และดวยเหตุนี้จึงทำใหเหล็กหลอ สามารถขึ้นรูปไดแค
วิธีการหลอวิธีเดียวเทานั้น ไมสามารถขึ้นรูปดวยการรีดหรือวิธีการอื่น ๆ ได นอกจากนี้เหล็กหลอ ก็
สามารถแบงยอย ไดดังนี้เหล็กหลอเทา เป0นเหล็กหลอที่มีโครงสรางคารบอนในรูปของกราฟไฟต
เพราะมีคารบอนและซิลิคอนเป0นสวนประกอบสูงมาก เหล็กหลอขาว เป0นเหล็กที่มีความแข็ งแรง
ทนทานสูง สามารถทนตอการเสียดสีไดดี แตจะเปราะจึงแตกหักไดงาย โดยเหล็กหลอประเภทนี้ จะมี
ปริมาณของซิลิคอนต่ำกวาเหล็กหลอเทา ทั้งมีคารบอนอยูในรูปของคารไบดของเหล็กหรือที่เรียกกวา
ซีเมนไตต เหล็กหลอกราฟไฟตกลม เป0นเหล็กที่มีโครงสรางเป0นกราฟไฟต ซึ่งจะมีส วนผสมของ
แมกนีเซียมหรือซีเรียมอยูในน้ำเหล็ก ทำใหเกิดรูปรางกราฟไฟตทรงกลมขึ้นมา ทั้งยังไดคุณสมบัติทาง
กลในทางที่ดีและโดดเดนยิ่งขึ้น เหล็กหลอกราฟไฟตจึงไดรับความนิยมในการนำมาใชงานอยาง
แพรหลายและถู ก นำมาใชงานในอุ ต สาหกรรมมากขึ ้ น เหล็ ก หลออบเหนี ย ว เป0 น เหล็ ก ที ่ ผ าน
กระบวนการอบเพื่อใหไดคารบอนในโครงสรางคารไบดแตกตัวมารวมกับกราฟไฟตเม็ดกลม และ
24

กลายเป0นเฟอรไรดหรือเพิรลไลต ซึ่งก็จะมีคุณสมบัติที่เหนียวแนนกวาเหล็กหลอขาวเป0นอยางมาก ทั้ง


ไดรับความนิยมในการนำมาใชงานที่สุด เหล็กหลอโลหะผสม เป0นประเภทของเหล็กที่มีการเติมธาตุ
ผสมเขาไปหลายอยางดวยกัน ซึ่งก็จะชวยปรับปรุงคุณสมบัติของเหล็กใหดีขึ้น โดยเฉพาะการทนตอ
ความรอนและการตานทานตอแรงเสียดสีที่เกิดขึ้น เหล็กหลอประเภทนี้จึงนิยมใชในงานที่ตองสัมผัส
กับความรอน

รูปที่ 2-20 แสดงเหล็กกลองสี่เหลี่ยม


ที่มาจากเว็บไซต https://www.chi.co.th/article/article-831/
25

2.3.1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับโครงสรางเหล็ก
เหล็กกลา เป0นเหล็กที่มีความเหนียวแนนมากกวาเหล็กหลอ ทั้งสามารถขึ้นรูปดวยวิธี
ทางกลได จึงทำใหเหล็กชนิดนี้ นิยมถูกนำมาใชอยางแพรหลายและกวางขวางมากขึ้น ตัวอยาง
เหล็กกลาที่มักจะพบไดบอย ในชีวิตประจำวัน คือ เหล็กแผน เหล็กโครงรถยนตหรือเหล็กเสน เป0นตน
นอกจากนี้คารบอนก็สามารถแบงไดเป0นกลุ มยอย ดังนี้ เหล็กกลาคารบอน จะมีส วนผสมหลักเป0น
คารบอนและมีสวนผสมอื่น ๆ ปนอยูบางเล็กนอย ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับจะมีธาตุอะไรติดมาในขั้นตอนการ
ถลุงบาง ดังนั้นเหล็กกลาคารบอน จึงสามารถแบงเป0นยอย ไดอีก ตามปริมาณธาตุที่ผสมดังนี้เหล็ก
คารบอนต่ำ มีคารบอนต่ำกวา 0.2% และมีความแข็งแรงต่ำมาก จึงนำมารีดเป0นแผนไดงาย เชน
เหล็กเสน เหล็กแผน เป0นตน

รูปที่ 2-21 แสดงเหล็กหลอ


ที่มาจากเว็บไซต https://www.chi.co.th/article/article-831/
26

เหล็กกลาคารบอนปานกลาง จะมีคารบอนอยู ประมาณ 0.2-0.5% มีความแข็งแรงสูงขึ้นมาหนอย


สามารถนำมาใชเป0นชิ้นสวนของเครื่องจักรกลได เหล็กกลาคารบอนสูง มีคารบอนสูงกวา 0.5% มี
ความแข็งแรงสูงมาก นิยมนำมาอบชุบความรอนเพื่อเพิ่มความแข็งแกรงมากขึ้น และสามารถตานทาน
ตอการสึกหรอไดดี จึงนิยมนำมาทำเครื่องมือเครื่องใชที่ตองการผิวแข็ง เหล็กกลาผสม เป0นเหล็ก ที่มี
การผสมธาตุอื่น ๆ เขาไปโดยเจาะจง เพื่อใหคุณสมบัติของเหล็ก เป0นไปตามที่ต องการ โดยเหล็ก
ประเภทนี้มักจะมีความสามารถในการตานทานตอการกัดกรอนและสามารถนำไฟฟƒาได รวมถึงมี
คุณสมบัติทางแมเหล็กอีกดวย ซึ่งก็จะแบงออกไดเป0น 2 ประเภท คือ เหล็กกลาผสมต่ำและเหล็กกลา
ผสมสูง นั่นเอง โดยเหล็กกลาผสมต่ำ จะเป0นเหล็กกลาที่มีการผสมดวยธาตุ อื่น ๆ นอยกวา 10% และ
เหล็กกลาผสมสูง จะเป0นเหล็กกลาที่มีการผสมดวยธาตุ อื่น ๆ มากกวา 10% เหล็ก เป0นแรธาตุที่ถูก
นำมาใชในชีวิตประจำวันมากที่สุด และเป0นที่รูจักอยางแพรหลาย เนื่องจากมีคุณสมบัติที่เหมาะกับ
การนำมาใชงานในหลายๆ ดาน แตก็มีขอเสียอยู บาง คือมีน้ำหนักมาก ทำใหเคลื่อนยายไดไมคอย
สะดวกมากนัก อยางไรก็ตาม เหล็ก ก็ยังคงเป0นที่นิยมและมีการนำมาใชงานในอุตสาหกรรมหรือการ
ผลิตเครื่องจักรกล ตาง ๆ รวมทั้งใชในการสรางบานดวย เพราะเป0นโลหะที่มีความแข็งแรงและ
ทนทานมาก

รูปที่ 2-22 แสดงเหล็กกลา


ที่มาจากเว็บไซต https://www.chi.co.th/article/article-831/
27

2.3.2 โครงสรางเหล็กคืออะไร
โครงสรางเหล็กเป0นโครงสรางโลหะที่ทำจากเหล็กโครงสราง สวนประกอบเชื่อมตอ
ซึ่งกันและกันเพื่อการรับน้ำหนักและใหความแข็งแกรงเต็มรูปแบบ เนื่องจากเหล็กกลามีความแข็งแรง
สูง โครงสรางนี้มีความนาเชื่อถือและตองการวัตถุ ดิบนอยกวาโครงสรางชนิด อื่ นเชน โครงสราง
คอนกรีตและโครงสรางไม ในการกอสรางที่ทันสมัย,โครงสรางเหล็กใชสำหรับโครงสรางเกื อบทุ ก
ประเภท รวมถึงอาคารอุตสาหกรรมหนั ก,อาคารสู ง, ระบบสนับสนุนอุปกรณ,โครงสรางพื้น ฐาน,
สะพาน,หอคอย,อาคารรองรับผูโดยสารของสนามบิน,โครงรับชั้นวางทอ ฯลฯ โครงสรางเหล็กที่รวมถึง
โครงสรางยอยหรือชิ้นสวนในอาคารทำจากเหล็ก เหล็กโครงสรางคือวัสดุกอสรางที่ทำจากเหล็ก ซึ่ง
สรางขึ้นใหมีรูปรางและองคประกอบทางเคมีที่เฉพาะเจาะจง เพื่อใหเหมาะสมกับการใชงานของแตละ
โครงการ สวนผสมหลักของเหล็กโครงสราง คือ เหล็กและคารบอน แมงกานีส โลหะผสม และสารเคมี
บางอยาง เพิ ่ มไปยั งเหล็ กและคารบอนเพื ่ อเพิ ่มความแข็ งแรงและความทนทาน ทั ้ งนี ้ ขึ ้ น อยู กับ
ขอกำหนดของแตละโครงการกอสรางโครงสรางเหล็ก ถูกสรางขึ้นโดยการมวนแบบรอนหรือเย็น หรือ
ทำโดยการเชื่อมแผนแบนหรืองอเขาดวยกันโครงสรางเหล็กมีรูปทรง ขนาดและเกณฑ หลายๆ รูปทรง
ที่พบบอย ไดแก I-Beam รางและมุม

รูปที่ 2-23 แสดงโครงสรางเหล็กมีรูปทรงตาง ๆ


ที่มาจากเว็บไซต : https://atad.vn/th/
28

I-Beam: รูปรางหนาตัดเหมือนตัว IZ-Shape: ลักษณะเหมือนตัว Z คือมีป@กยื่นออกมาแคครึ่งเดียวใน


ทิศทางที่ตรงขามกันHSS-Shape: โครงสรางที่มีหนาตัดกลวงที่รวมถึง ทรงสี่เหลี่ยม มุมฉาก วงกลม
(ทอ)และหนาตัดวงรีAngle: เหล็กที่มีหนาตัดเป0นรูป ตัว L โครงสรางรางน้ำ,ชอง: คานรูปตัว C หรือ
เหล็กหนาตัดรูปตัว C Tee: เหล็กหนาตัดรูปตัว T ระบบรางรถไฟ: ชิ้นสวนเหล็กที่ใชประกอบราง
รถไฟทั้งหมดBar: ชิ้นสวนโลหะ, เหล็กหนาตัดสี่เหลี่ยมมุมฉากและยาว แตไมกวาง ที่เรียกวา แผน
Rod: ชิ้นสวนโลหะที่มีลักษณะเป0นวงกลมหรือสี่เหลี่ยม มีความยาว เหล็กเสนกอสรางและเหล็กเดือย
Plate: แผนโลหะหนากวา 4 มิลลิเมตร
2.3.3 ประเภทของโครงสรางหลัก
1.โครงสรางโครงถัก : บาร หรือชิ้นสวนโครงถัก
2.โครงสรางโครงอาคาร : คานและเสา
3.โครงสรางแบบตาราง : โครงสรางไมระแนงหรือโดม
4.โครงสรางลักษณะโคง
5.โครงสรางคอนกรีตอัดแรง
6.คานสะพาน
7.สะพานโครงถัก : ชิ้นสวนของโครงถัก
8.สะพานโคง
9.สะพานขึง
10.สะพานแขวน
2.3.4 ขอดีของโครงสรางเหล็ก
ในขั้นตอนของการกอสรางโครงสรางเหล็ก เพราะชิ้นสวนเหล็กโครงสรางไดถูกผลิตที่
โรงงาน ความยืดหยุ นการประยุกตใชแบบใหม เงื่อนไขของการรับน้ำหนัก การขยายตามแนวดิ่ง
สามารถปรับเปลี่ยนไดในอนาคตและการเปลี่ยนแปลงในความตองการของเจาของโครงการในรูปแบบ
ที่ระบบเฟรมอื่น ๆ ไมสามารถทำไดโครงสรางเหล็กยังสามารถเพิ่มชั้นแมในขณะที่การกาอสราง
อาคารเดิมเสร็จสมบูรณแลวเป0นเวลาหลายป@
29

2.3.5 เหล็กกลอง (Steel Tube)


เหล็กกลองคือเหล็กรูปพรรณชิดหนึ่ง แบบเป0นเหล็กกลองสองแบบคือ เหล็กกลอง
แบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสและเหล็กกลองแบนเหล็กกลองเหลี่ยม (Carbon Steel Square Tube) เป0นเหล็ก
รูปพรรณ Structural Steel รีดรอน Hot Rolled มักใชทำโครงสรางรองรับน้ำหนัก งานแปหลังคา
งานประกอบรหัสทั่วไป มีขนาดมาตรฐานเริ่มตน 12x12x0.6มม. มีความยาว 6ม. บางครั้งเรียกใน
ทองตลาดวา แป•บโปรง, กลอง, เหล็กกลอง,เหล็กหลอดเหลี่ยม เหล็กรูปพรรณเหลานี้ ทำใหงาน
กอสรางเสร็จไดรวดเร็วกวางานคอนกรีต และทำใหไดโครงสรางที่มีชวงกวางกวา และมีน้ำหนักเบา
กวา เชน โครงสรางโรงงานอุตสาหกรรม สะพาน อาคารสูง ฯลฯ เหล็กรูปพรรณผลิตออกมามีหลาย
หนาตัด สวนประกอบทางเคมีสำคัญไดแก คารบอน แมงกานีส ฟอสฟอรัส และกำมะถันเหล็กกลอง
(Steel Tube) หรือเหล็กแป•บ อุตสาหกรรมเหล็กที่มีรูปรางแบบตาง ๆ เพื่อตอบสนองตอการใชงาน
รับแรงตานทานการเสียรูปขณะใชงานไดดี ใชเป0นเหล็กในโครงสรางหลักหรือโครงสรางอื่น ๆ เชนบาน
ที่พักอาศัย ออฟฟ‹ศ โรงจอดรถ รานคาเหล็กกลอง (Steel Tube) หรือ เหล็กแป•บ จัดอยูในประเภท
เหล็กรูปพรรณ เหล็กที่มีรูปรางแบบตาง ๆ เพื่อตอบสนองตอการใชงาน โดยมีจุดประสงคหลักคือ การ
เพิ่มคุณสมบัติของหนาตัด เพื่อรับแรงตานทานการเสียรูปขณะใชงานไดดีขึ้น ใชเป0นเหล็กในโครงสราง
หลักหรือโครงสรางอื่น ๆ เชน โครงหลังคาเหล็ก คานเหล็ก

รูปที่ 2-24 แสดงเหล็กกลอง (Steel Tube)


ที่มาจากเว็บไซต https://www.thaimetallic.com/
30

2.3.6 เหล็กกลองสี่เหลี่ยม (Steel Tube)


เหล็ ก กลองสี ่ เ หลี ่ ย ม หรื อ เหล็ ก แป• บ โปรง (Square Steel Tube)เหล็ ก กลอง
สี ่ เ หลี ่ ย ม หรื อ เหล็ กแป• บโปรง (Square Steel Tube) เป0 น เหล็ กโครงสรางรู ป พรรณกลวงแบบ
สี่เหลี่ยมจัตุรัส มีความยาว 6,000 มิลลิเมตร/เสน มีลักษณะเป0นทอสี่เหลี่ยม มีมุมฉากที่เรียบคม ไม
มนไดมุมฉาก 90 องศา ผิวเรียบไมหยาบ ขนาดความยาวตองวัดไดหนวยมิลลิเมตร ผิดพลาดไมเกิน
2% ขนาดตองเทากันทุกเสน เหล็กกลองสี่เหลี่ยม เหมาะสำหรับงานโครงสรางทั่วไปที่ไมรับน้ำหนัก
มาก เชน เสา,นั่งราน เป0นตน สามารถนำไปประยุกตใชในงานทั่วไป ทดแทนการใชไม คอนกรีต และ
เหล็กรูปพรรณชนิดอื่น ๆ น้ำหนักเบา และมีคุณสมบัติที่แข็งแรงทนทาน เหล็กกลองสี่เหลี่ยมแบน
หรื อ เหล็ ก แป• บ แบน (Rectangular Steel Tube) เป0 น เหล็ ก โครงสร างรู ป พรรณกลวงแบบ
สี่เหลี่ยมผืนผา มีความยาว 6,000 มิลลิเมตร/เสน เหล็กแป•บแบน มีลักษณะเป0นทอสี่เหลี่ยมผืนผา ผิว
เรียบไมหยาบ ขนาดความยาวตองวัดไดหนวยมิลลิเมตรผิดพลาดไมเกิน 2% ขนาดตองเทากันทุกเสน
เหล็กกลองสี่เหลี่ยมแบน เหมาะสำหรับงานกอสรางสรางทั่วไปที่มีขนาดเล็กและขนาดกลาง เชน เสา,
นั่งราน,ประตู เป0นตน สามารถนำไปประยุกตใชในงานทั่วไป ทดแทนการใชไม คอนกรีต และเหล็ก
รูปพรรณชนิดอื่น ๆ น้ำหนักเบา และมีคุณสมบัติที่แข็งแรงทนทาน

รูปที่ 2-25 แสดงเหล็กกลองสี่เหลี่ยม หรือ เหล็กแป•บโปรง (Square Steel Tube)


ที่มาจากเว็บไซต https://www.thaimetallic.com/
31

2.3.7 ลักษณะการใชงานเหล็กกลอง
สำหรับเหล็กกลองทั้งสองชนิดนี้เหมาะกับงานกอสรางขนาดกลางและขนาด
เล็ก เชน ที่พักอาศัย และอาคารพานิชย สำนักงาน ออฟฟ‹ศ โครงหลังคาเหล็ก คานเหล็กโครงสราง
โรงจอดรถเป0นตน ทั้งนี้สามารถนำไปใชงานไดหลากหลายตามความตองการ

รูปที่ 2-26 แสดงเหล็กกลองสี่เหลี่ยมแบน หรือเหล็กแป•บแบน (Rectangular Steel Tube)


ที่มาจากเว็บไซต https://www.thaimetallic.com/
32

2.4 ทอพีวีซี (PVC)


เป0 น พลาสติ กชนิ ดหนึ่ งที ่มี คุ ณสมบั ติที ่ ดีห ลายอยาง เชน มี ความเหนียว
ยืดหยุนตัวได ทนตอแรงดันน้ำไดดี ทนตอการกัดกรอนของกรดหรือดางไดดี ใชเป0นฉนวนไฟฟƒาไดดี
เพราะไมเป0นตัวนำไฟฟƒา เป0นวัสดุไมติดไฟ มีผิวมันเรียบชวยใหการไหลของน้ำไดดี มีน้ำหนักเบาและ
ราคาถูก แตมีขอเสียคือ เปราะ กรอบ และแตกหักงาย ไมทนทานตอแรงกระแทกและแสงแดดหรือ
แสงยูวี (UV) ทอ PVC คือ ทอที่ทำขึ้นจากโพลิไวนิลคลอไรด โดยไมผสมพลาสติกไซเซอร ซึ่งชื่ออยาง
เป0นทางการที่ไดระบุใน มอก. คือ ทอพีวีซีแข็ง แตคนทั่วไปนั้นจะรู จักมักคุ นกันในชื่อทอ PVC กัน
มากกวา โดยในปAจจุบันทอ ชนิดนี้เป0นที่นิยมอยางมากในวงการกอสราง เพราะดวยคุณสมบั ติ ที่ดี
หลายอยางไมวาจะเป0น คุณสมบัติที่มีความเหนียวยืดหยุ นตัวไดดี ทนตอแรงดันน้ำ ทนตอการกัด
กรอน ไมเป0นฉนวนนำไฟฟƒาเพราะไมเป0นตัวนำไฟฟƒา เป0นวัสดุไมติดไฟ น้ำหนักเบาอีกทั้งยังราคาถูก
อีกดวย ทอ PVC จึงถูกนำมาใชในงานหลาย ๆ ระบบ อาทิเชน ระบบประปา ระบบงานรอยสายไฟฟƒา
ระบบงานระบายน้ำทางการเกษตร/อุตสาหกรรม ทอพีวีซีสีฟƒา หรือ ทอพีวีซีแข็งสำหรับใชเป0นทอน้ำ
ดื่ม ตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หรือ มอก. 17-2532 ทอชนิดนี้เป0นที่นิยมใชงานประปา
สุขาภิบาลภายในอาคาร เชน ใชเป0นทอน้ำประปา หรือใชกับปA|มน้ำ ซึ่งทอประเภทนี้เป0นเพียงประเภท
เดียวใน 3 สหายของเราที่มีการระบุมาตรฐานความดันหรือชั้นคุณภาพ อันไดแก PVC 5, PVC 8.5,
PVC 13.5 ซึ่งตัวเลขที่ไดระบุคือคาความดันระบุและคาความดันระบุหมายถึง ความดันที่กำหนดให
สำหรับใชงาน ณ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส โดยในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมไดอธิบายไววา
ชั้นคุณภาพคือ ความดันระบุที่มีหนวยเป0นเมกะพาสคัลทอพีวีซีสีฟƒาที่เป0นที่นิยมใชงานภายในอาคาร
นั้นก็เพราะวาทอชนิดนี้ไม ทนตอแสงแดด เพราะการที่สัมผัสกับแสงแดดโดยตรงนั้นจะทำใหทอเสื่อม
คุณภาพและแตกหักได งาย การเลือกใชทอพีวีซีใหเหมาะสมกับงาน สามารถเลือกไดดังนี้ ทอ PVC สี
ฟƒา เป0นทอพีวีซีที่ใชงานทั่วไป ซึ่งเราสามารถเห็นได และคุนเคยกันดี สวนใหญทอพีวีซี สีฟƒา จะใชกับ
งานประปา งานเดินทอ ทั้งอุโมงคสงน้ำ ซึ่งเป0นทอพีวีซีขนาดใหญ ทนตอแรงดันน้ำทั้งภายในและ
ภายนอกไดดี เนื่องจากทอพีวีซีสีฟƒา มีลักษณะแข็งแรงทนทาน ผิวทอมีความเรียบ ลื่น สามารถสงน้ำ
ไดดี ทนตอความเป0นกรด และดาง โดยไมมีสารพิษปนเปpqอนภายในทอ คุณสมบัติที่ควรระวังมีอยาง
เดียวคือ ทอพีวีซี สีฟƒา จะไมทนความรอน ไมวาจะเป0นความรอนจากภายใน หรือภายนอกก็ตาม
33

รูปที่ 2-27 แสดงทอพีวีซีสีฟƒา (PVC)


ที่มาจากเว็บไซต: https://www.tossapolstore.com/product/31109/

รูปที่ 2-28 แสดงทอพีวีซีสีเหลือง (PVC)


ที่มาจากเว็บไซต: https://www.tossapolstore.com/product/31109/
34

2.5 ลออุตสาหกรรม (Industrial wheels)


หลั กๆเลยจะประกอบไปดวยลอ และการใสเพลา เพื ่ อใหมั น หมุ นได ใชสำหรับ
เคลื่อนที่สิ่งของ/ รวมถึงแบบมีฐาน ซึ่งฐานลอรถ เข็นจะ 2แบบ คือ แบบสกรู และแบบแปƒน สวนจะ
หมุนได หมุนไมได หรือเบรก ก็แลวแตการใชงาน ความรูเรื่องลูกลอ ลูกลอ เป0นสวนประกอบของงาน
ในทุกวงการลูกลอ เป0นสวนประกอบที่สำคัญที่สุดของรถเข็น ลอเป0นอุปกรณอยางหนึ่งที่ช วยลด
ขั้นตอนการทำงานใหสะดวกและงายยิ่งขึ้น ลูกลอเป0นสวนประกอบของงานในทุกวงการ เชน ใชใน
บานเป0นลอที่ติดตามชั้นหรือตู ตาง ๆ ใชในวงการคาปลีก พวกรถเข็นช็อปป‹qง (shopping trolley)
รถเข็นขายของตาง ๆ, ในวงการอาหารและโรงแรม พวกรถเข็นแมบาน รถเข็นผา รถเข็นบริการทั่วไป
(Service Trolley), วงการอุตสาหกรรม และอื่น ๆ ฉะนั้นการเลือกเพื่อใหเหมาะสมกับการใชงานจึง
จำเป0นอยางยิ่ง เพราะจะทำใหการทำงานมีประสิทธิภาพสูง แบงเบาภาระผูใชและใชงานรถเข็นไดดี
ลูกลอแบงเป0น ลอแปƒน และลอแปƒนแบงเป0น ลอแปƒนเป0น ลอแปƒนตาย และลอแปƒนติดเบรก ลอแปƒน
เกลียว อาจเรียกวา ลอเกลียวและลอแปƒนเกลียว มีแบบลอเกลียว และลอเกลียวเบรก การเลือก ลูก
ลอ เพื่อมาประกอบรถเข็น ใหเหมาะกับการใชงาน พื้นที่การใชงานจำเป0นมากที่จะเลือกลอใหเหมาะ
ถาใชงานในพื้นที่แคบ ตองเลี้ยวรถเข็นบอย ๆ ควรใชลูกลอแปƒนเกลียวทั้ง 4 ลูก จะชวยใหการเข็น
รถเข็นคลองตัวและสะดวกมากขึ้น หากพื้นที่เป0นที่ตองเข็นระยะทางยาว ควรใชลอแปƒนเป0น 2 ลอ
แปƒนตาย 2 ลูก โดยใหลอเป0นอยูหนารถ เพื่อใหรถเข็นเลี้ยวงาย และใชลอตายทีมีขนาดใหญกวาลอ
มุมเล็กนอย สวนมุมใชลอเป0นพื้นรถเข็น(platform trolley)เป0นตัวแปรอีกสิ่งหนึ่งที่ผลตอการเลือก
รถเข็นและการจะใชลอแบบใดดวยสินคาหรือสิ่งของที่วางบนรถเข็นมีน้ำหนักมาก ๆ แนะนำใหสลับ
ลอเป0นยายไปดานหลังที่อยูใกลมือจับ เพื่อการบังคับเลี้ยว ผูเข็นรถเข็นไมตองออกแรงงัดตัวรถแตใช
วิธีดึงมือจับใหหันไปทางซายขวา เพื่อบังคับทิศไปทางตรงขามไดอยางเบาแรง การเลือกใชลอลูกใหญ
ขึ้น (คือมีเสนผาศูนยกลางยาวขึ้นใชลอ 5 นิ้ว จะเข็นรถไดเบาแรงกวา ลอ 4 นิ้ว) จะทำใหการเข็นรถ
เบาแรงกวารถเข็นที่มีขนาดลูกลอเล็กกวา3. พื้นอาคาร มีทั้งในและนอกอาคาร อาคารมีพื้นเรียบสวย
ตองรักษาผิวพื้นไมใหมีรอย ควรเปลี่ยนเป0นใชลอประเภท ยางเทา หรือลอ TPR หรือ PU พื้นผิว
ขรุขระ ไมเรียบ และเปpqอนน้ำมัน ควรใชลอยูรีเทนไฮเทค PUOเพราะแข็งแรง ทนตอแรงกระแทก
การสึกหรอ สารเคมีและนํ้ามัน พื้นที่พื้นเป@ยก ควรใชลอไนลอน PA และ ลอโอลีฟ‹น YUPA ภายนอก
อาคาร ซึ่งจะเป0นผิวถนนที่ไมใชพื้นเรียบ ควรเลือกใชลอขนาดใหญ หรือลอที่มีหนากวาง เชน ลอยาง
ลม การใชรถเข็นที่ตองบังคับใหหยุดในตำแหนงที่ตองการ ไมลื่นไถล ควรใชลอเบรก แทนที่ลอแปƒน
เป0น หรือลอเกลียว ในกรณีที่รถเข็นน้ำหนักเบา และพื้นเรียบ อาจใชลอเบรกเพียงลูกเดียวก็ได แตถา
รถเข็นมีน้ำหนักมาก และพื้นไมเรียบมากนัก เพื่อที่จะหยุดรถใหสนิท อาจจะใชลอเบรกทั้งสองลูกลอ
กอนที่จะใชรถเข็น ควรจะตรวจสอบความกวางเสนทางการใชของรถเข็น และอัตราความลาดชันของ
35

พื้นเสียกอนวาเป0นอยางไร จะเลือกใชรถเข็นและลอ วาจะเป0นลอไนลอน ลอยูรีเทน ลอYUPA ลอPP


ลอยาง ลอยางสังเคาระหTPR ลอพลาสติกPP และอื่น ๆ ลูกลออุตสาหกรรม ถือเป0นสิ่งหนึ่งที ่ มี
ความสำคัญมากในธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรมและโกดังเก็บของ เพราะ รถเข็นเป0นอุปกรณพื้นฐาน
ทั่วไปในการ ขนยายสินคาหรือสิ่งของ รถเข็นอเนกประสงคจึงเป0นอีกหนึ่งอุปกรณหลักที่ขาดไมได ซึ่ง
สวนหนึ่งในความสามารถของ รถเข็น ก็คือ ลอรถเข็น ลอรถยกลาก สำหรับคุณลักษณะที่สำคัญของ
ลูกลอเลื่อนอุตสาหกรรม คือตองมีความแข็ง ความยืดหยุนสูง มีความทนทาน รับนํ้าหนักไดดี ไดรับ
การออกแบบใหมีอายุการใชงานยาวนาน โดยปAจจุบันมี ลูกลออุตสาหกรรม ชนิดใหมๆเกิดขึ ้น มา
หลายแบบ อาทิ ลูกลอปƒองกันไฟฟƒาสถิตชแบบทนทานใชสำหรับอุปกรณลอจิสติกสและรถเข็นทอ
ขนาดใหญ ลอเลื่อน ของเราสามารถรับน้ำหนักไดถึง 350 ปอนด , ลอเลื่อนขนาดกลาง มียูรีเทน
ฟ@นอลยูรีเทนในเหล็กหลอและวัสดุลอเลื่อน TPR ลอเลื่อนของเราทุกรุนแข็งแรงและหมุนไดดวยเบรก
เป0นตน ลูกลออุตสาหกรรมจึงถือวามีความสำคัญอยากมากในการขับเคลื่อนธุรกิจตาง ๆ โดยเฉพาะ
เรื่องโลจิสติกส การจัดการการสงสินคา ซึ่งถือวาเป0นขั้นตอนที่ตองใสใจ ในยุคที่การขายของออนไลน
กำลังเฟp—องฟู ลูกลออุตสาหกรรมเป0นหนึ่งในฟAนเฟp—องที่ขาดไมได
2.5.1 ลอยาง
ขอดี คือ เข็นนุม พื้นไมเป0นรอย ที่สำคัญคือราคาไมแพง จึงมักจะเห็นลอยาง
เยอะที่สุดในชีวิตประจำวัน ทั้งในหางสรรพสินคาและโรงพยาบาล ขอเสีย คือ รับน้ำหนักไดนอยกวา
วัสดุอื่น ๆ

รูปที่ 2-29 แสดงลอยาง


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.wattanasuk.com/
36

2.5.2 การเคลื่อนที่แบบวงกลม คือ


การเคลื่อนที่แบบวงกลม คือ วัตถุที่เคลื่อนที่เป0นวงกลม บนระนาบใด ๆ อัตราเร็ว
ขณะใดขณะหนึ่งของวัตถุจะคงที่หรือไมก็ได แตความเร็วของวัตถุไมคงที่แนนอน เนื่องจากวามีการ
เปลี่ยนทิศาทางของการเคลื่อนที่ ตลอดเวลา ซึ่งเมื่อวัตถุที่มีการเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่แสดงวา
วัตถุนี้ตองมีองคประกอบของแรงมากระทาในทิศทางที่ตั้งฉากกับเสนทางการเคลื่อนที่ดวย และกรณีที่
การเคลื่อนที่มีอัตราเร็วไมคงที่ แสดงวาตองมีองคประกอบของแรงในทิศทางที่ขนานกับแนวการ
เคลื่อนที่
2.5.3 การเคลื่อนที่เป$นวงกลม
การเคลื ่ อนที ่ แบบวงกลมที ่ ความเร็ วของวั ต ถุ จ ะมี ค าคงที ่ห รื อเทากั น ตลอดการ
เคลื่อนที่การเคลื่อนที่เป0นวงกลม ลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุจะมีแรงกระทาตั้งฉากกับเวกเตอร
ความเร็วเสมอตลอดการเคลื่อนที่ วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ในแนววงกลม แตยังคงมีความเรง
เกิดขึ้น ซึ่งความเรงจะขึ้นกับการเปลี่ยนเวกเตอรความเร็ว ซึ่งเวกเตอรความเร็วจะมีทิศสัมผัส กับ
เสนทางการเคลื่อนที่ของวัตถุและมีทิศตั้งฉากกับแนวรัศมีวงกลม เรียกความเรงชนิดนี้วา ความเรง
แนวสัมผัสวงกลม (AT) เวกเตอรความเรงในการเคลื่อนที่แบบวงกลมจะมีทิศตั้งฉากกับเสนทางการ
เคลื่อนที่ของวั ตถุและมีทิ ศพุ งเขาสู จุด ศูน ยกลางวงกลมเสมอ เราเรียกความเรงนี้ว า ความเรงสู
ศูนยกลาง (ac)
37

2.5.4 สูตรการเคลื่อนที่แบบวงกลม

= = = =

คาบ (T) คือ เวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ หรือ วินาทีตอรอบ (s)


ความถี่ (F) คือ จำนวนรอบที่เคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา หรือ รอบตอวินาที (Hz)

= =

อัตราเร็วเชิงเสน (V) คือ ระยะทางตามแนวเสนรอบวงของวงกลมที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา


( m/s)

= =

อัตราเร็วเชิงมุม (W) คือ มุมที่จุดศูนยกลางของวงกลมที่รัศมีกวาดไปไดในหนึ่งหนวยเวลา(เรเดียน/


วินาที) rad/s

= = = =

ความเรงเขาสูศูนยกลาง (CENTRIPETAL ACCELERATION) Ac คือ ความเรงเนื่องจากการเคลื่อนที่


แบบวงกลม มีขนาดคงที่ และมีทิศเขาสูศูนยกลางเสมอ

แรงเขาสูศูนยกลาง (CENTRIPETAL FORCE) FC คือ แรงที่กระทำตอวัตถุในการเคลื่อนที่แบบวงกลม


มิทิศเดียวกับทิศของความเรง

= = =
38

2.5.5 หลักการคำนวณเรื่องการเคลื่อนที่แบบวงกลมแบบตาง ๆ
เขียนระนาบกลมขณะที่วัตถุ กำลังหมุน เขียนแรงที่กระทำตอวัต ถุ แลวแตกแรง
ทั้งหมดใหอยูในแนวสูศูนยกลางวงกลมและแนว ฉากกับแนวสูศูนย ในแนวสูศูนยกลางหาแรงลัพธที่ที
ทิศทางพุงเขาสูศูนยกลาง แรงนี้จะทำหนาที่เป0นแรงสูงกลางในแนวตั้งฉากกับระนาบวงกลมนี้ ถือวา
สมดุล ∑f ในแนวนี้เทากับศูนย
2.6 เกียร (Gears)
เกียรเป0นองคประกอบของเครื่องจักรที่ใชในการถายทอดกำลังโดยการเพิ่มหรือลด
ความเร็วของเพลา หรือใชในการขับเกียร มีอยูหลายชนิดแลวแตประเภทของการใชงาน เกียรฟAนตรง
และเกียรฟAนเฉียง ตัวแกนหรือเพลาจะวางอยู ในตำแหนงขนานกัน ซึ่งจะมีทั้งแบบเปลี่ยนหรื อไม
เปลี่ยนความเร็วก็ได ในกรณีที่ความเร็วและแรงกดบนเกียรสูง เกียรฟAนตรงจะมีโอกาสทำใหเกิดเสียง
ดังมากกวาเกียรฟAนเฉียง เพราะการถายทอดกำลังของเกียรฟAนเฉียงจากฟAนหนึ่งไปอีกฟAนหนึ่งสามารถ
ทำไดนุมนวลกวาสวนเกียรตัวหนอน เกียรดอกจอก และไฮปอยดเกียร เหมาะสำหรับใชในการเปลี่ยน
ทิศทางของการขับ จะเป0นทั้งแบบเปลี่ยนหรือไมเปลี่ยนความเร็วก็ได ตัวอยางของเกียรตัวหนอนและ
เกียรดอกจอกไดแก เกียรที่ใชในเฟpองทายของรถยนตทั่วไป สวนไฮปอยดเกียรซึ่งเป0นรูปแบบของเกียร
พิเศษ เกียรดอกจอกมักใชในเฟpองทายรถยนตซึ่งตองทำงานในสภาวะที่ต องรับการเคลื่อนตัวแบบ
รถยนตหรือหนวยงานมาตรฐานกำหนด ซึ่งรวมถึงการทดสอบสมรรถนะตาง ๆของน้ำมันเกียรดวย

รูปที่ 2-30 แสดงเฟpองขับและเฟpองตาม


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.stemedthailand.org/
39

2.6.1 อัตราทดเกียร
ปกติ ช ุ ด เกี ย ร จะเป0 น อุ ป กรณทางกล (Mechanical System) โดยขอดี ข อ
ฟAนเฟpองคือจะไมมีการลื่นไถล เหมือนกับสายพาน แตก็แลกมาดวยเสียงที่ดัง และคาบำรุงรักษาที่สูง
กวา หนาที่หลักของเกียรคือ การสงกำลังจากจุด ๆ หนึ่งไปหาจุด ๆ หนึ่งครับ โดยสวนประกอบจะมี
ฟAนเฟpอง(Gear)มาขับกัน อาจจะเป0นฟAนเฟpองชุดเดียว หรือฟAนเฟpองหลายหรือ อาจจะเป0นเกียรแบบ
rack-pinion หรือ Sun-gear ในเกียรออโตรถยนต อัตราทดเกียร คืออัตราสวนของฟAนตามหารดวย
ฟAนขับ ซึ่งหมายความวา ยิ่งเฟpองตามใหญมาก ๆ และเฟpองขับเล็ก ๆ อัตราทดก็จะยิ่งสูง
โดยอัตราทดมีประโยชนหลักๆคือ ไวทดแรงบิด (Mechanical Advantage) เพื่อ
ที่วาจะไดประหยัดแรงที่เราใสเขาไปครับ โดยแรงบิดที่ไดก็จะเป0นสัดสวนโดยตรงกับจำนวนฟAนที่ทด
ไปครับไว ลด/เพิ่ม รอบ (Speed adjustment) เพื่อใหรอบเหมาะสมกับการไปใชงานนั้น ๆ การตอ
เกียรจะมีรูปแบบหลักๆ คือ ตอใหอัตราทดมากกวา 1 (เกียรตามจะใหญกวาเกียรขับ) การตอแบบนี้
จุดประสงคหลักๆคือตองการทดแรงบิดครับ ทำใหตัวขับออกแรงนอยลงกวาเดิมเยอะครับ แตรอบขา
ออกจะชากวาขาเขา ตัวอยาง หากเราไปเจอ nameplate เขียนวา 2.97/1 ใหรูคราวๆเลยวา เกียรตัว
นี้ทดรอบทำใหรอบขาออกต่ำ แตจะทดแรงบิด ยกตัวอยางการใชงาน เชน เกียรรถยนต (เกียรตนๆ 1-
3 ตองการกำลัง แรงบิดสูงๆ) เครื่องรีดเหล็ก หรือเครื่องมือผอนแรงตาง ๆ เป0นตน

2-31 รูปแบบการตอเกียร
ที่มาจากเว็บไซต : http://www.stemedthailand.org/
40

การตอเกียรจะมีรูปแบบหลักๆ คือ ตอใหอัตราทดมากกวา 1 (เกียรตามจะใหญกวาเกียรขับ) การตอ


แบบนี้จุดประสงคหลักๆคือตองการทดแรงบิดครับ ทำใหตัวขับออกแรงนอยลงกวาเดิมเยอะครับ แต
รอบขาออกจะชากวาขาเขา ตัวอยาง หากเราไปเจอ nameplate เขียนวา 2.97/1 ใหรูคราวๆเลยวา
เกียรตัวนี้ทดรอบทำใหรอบขาออกต่ำ แตจะทดแรงบิด ยกตัวอยางการใชงาน เชน เกียรรถยนต (เกีย
ตนๆ 1-3 ตองการกำลัง แรงบิดสูงๆ) เครื่องรีดเหล็ก หรือเครื่องมือผอนแรงตาง ๆ เป0นตน ตอใหอัตรา
ทดนอยกวา 1 (เกียรตามจะเล็กกวาเกียรขับ) การตอแบบนี้คนออกแบบตองการความเร็วที่สูงแต
แรงบิดก็ตองใชมากขึ้นตามสัดสวนกันไปขอยกตัวอยาง หากเราไปเจอ nameplate เขียนวา 0.56/1
ใหรูคราวๆเลยวา เกียรตัวนี้เพิ่มรอบใหสูงกวาขาเขา แตจะตองใชแรงบิดที่มากกวาปกติพบไดในพบ
พวกอุปกรณตองการรอบหรือความเร็ว เชน รถยนต (เกียรทายๆ 5-6 ชวงเกียรทายๆที่ต องการ
ความเร็วของรถยนต) ปA|ม High speed (10,000 รอบ/นาที) หรือพวก Centrifugal compressor
เป0นตน การตอเกียรหลายๆชุด

รูปที่ 2-32 แสดงGear box ของเครื่องรีดเหล็ก


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.stemedthailand.org/

รูปที่ 2-33 แสดงการตอเกียรหลายๆชุด


ที่มาจากเว็บไซต : http://www.stemedthailand.org/
41

บทที่ 3

วิธีดำเนินงานวิจัย
3.1 ระยะเวลาการดำเนินการ

หมาย
ลำดับ ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม
รายการ/กิจกรรม เหตุ
ที่
1 2 3 4 1 2 3 3 1 2 3 4
ศึกษา/สำรวจขอมูลเพื่อ
1
จัดทำโครงงาน
เสนอเรื่องโครงงานเพื่อขอ
2
อนุมัติ
3 ศึกษาและคนควาขอมูล
4 รวบรวมขอมูล
5 สรางชิ้นงาน
6 ประเมินคุณภาพชิ้นงาน
7 ปรับปรุงชิ้นงาน
8 ทดสอบชิ้นงาน
9 วิเคราะหขอมูล
10 จัดทำรูปเลม
11 แกไขรูปเลม

ตารางที่ 3-1 ระยะเวลาการดำเนินการ


42

การดำเนินการสรางโครงสรางหุนยนตกวาดขยะ มีรายละเอียดดังนี้

3.1.1 ศึกษา/สำรวจขอมูลเพื่อจัดทำโครงงาน

ผู จัดทำไดรวมกลุ มและสืบคนขอมูลที่เกี่ยวของในงานวิจัยการทำโครงสรางของ
หุนยนตกวาดขยะเบื่องตน
3.1.2 การเสนอโครงงาน

ผูจัดทำไดหาแนวทางในการจัดทำโครงสรางหุนยนตกวาดขยะโดยสรุปคือ ใหมีการ
ออกแบบและสรางขนโดยมีการใชวัสดุที่มีความแข็งแรงทนทานและน้ำหนักเบา การนำเสนอแบบ
โครงสรางตามแบบและเสนอนำเสนอ เพื่ออนุมัติการดำเนินการตามโครงงานทางขณะผู จัดทำได
ออกแบบเบื่ องตน ศึกษาขอบเขตเนื้ อหาที่เ กี ่ยวของในการจัด ทำโครงสราง ศึกษารายละเอี ย ดที่
เกี่ยวของและวิธีในการสรางและออกแบบ ศึกษารายละเอียดการเรียนการสอนอื่น ๆ เชน งานโลหะ
เบื่องตน งานเชื่อมโลหะเบื่องตนงานวัสดุชางเบื่องตน
43

แบบประเมินคุณภาพโคงสรางหุนยนตกวาดขยะ

เริ้มตน

ศึกษาความเป็ นไปได้

จัดหาชินส่วนและอุปกรณ์

ประกอบและทดสอบ

ทดลองการใช้งาน

จัดทําคูม่ อื การใช้งาน

ประเมินผล

แผนภูมที่ 3-1 ประเมินคุณภาพโคงสรางหุนยนตกวาดขยะ


44

3.2 ศึกษาและคนควาขอมูล

3.2.1 ผู วิจัยไดไดศึกษารายละเอียดขอมูลที่เกี่ยวของเนื้อหาสาระเกี่ยวกับงานการ
ออกแบบโครงสรางอีกทั้งขั้นตอนในการคนควาเพื่อใหการจัดทำโครงงานเป0นไปตามจุดประสงคที่ได
วางไว
3.2.2 ผู วิจัยไดศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ เพื่อจัดทำโครงสราง อาทิเชน ขอมูลวัสดุ
และอุปกรณ ขอมูลจำเพาะของวัสดุ การนำวัสดุที่มีอยูในทองตลาดมาใชในงานอยางเหมาะสม
3.3 รวบรวมขอมูล
3.3.1 ผู วิจัยไดรวบรวมขอมูลในการออกแบบจัดทำโครงสรางหุ นยนตกวาดขยะ
ไดแก ขอมูลวัสดุอุปกรณที่เกี่ยวของ ขอมูลดานงานคำนวลทางคณิตศาสตร ขอมูลราคาและแหลงที่จัด
ซื่อวัสดุและอุปกรณ เป0นตน
3.4 การออกแบบโครงสรางหุนยนตเคลื่อนที่ (ดวยโปรแกรม Solid Work)
3.4.1 ขั ้ น ตอนแรกของการออกแบบโครงสรางหุ นยนตกวาดขยะ ผู วิ จ ั ย ได
ดำเนินการเขียนแบบโครงสรางตามแบบที่ไดนำเสนอ (ดวยโปรแกรม Solid Work)

รูปที่ 3-1 โครงสรางของหุนยนตกวาดขยะเบื่องตน


45

3.4.2 ขั้นตอนสวนที่สองเป0นงานเขียนแบบ กำหนดขนาดและลงสีเนื้อโลหะ

รูปที่ 3-2 แบบสเก็ตโครงสรางโดยรวมของหุนยนตกวาดขยะเคลื่อนที่

3.4.3 ขั้นตอนสวนที่สามผูจัดทำไดเขียนแบบกำหนดสีจริงที่จะใชในงานจริงของหุนยนต

รูปที่ 3.3 ภาพสะเก็ตมุมสูงของหุนยนตกวาดขยะ


46

ขั้นตอนการออกแบการสรางชิ้นงาน

ศึกษาขอมูลเบื่องตน

ศึกษาหล้กการออกแบบ

สร้างโครงสร้าง

ทดสอบโครงสร้าง

ปรึกษาผูเ้ ชีย+ วชาญตรวจสอบ

แก้ไขโครงสร้าง

แผนภูมที่ 3-2 ขั้นตอนการออกแบการสรางชิ้นงาน


47

3.5 การทดลองใชและเก็บขอมูล

ในการออกแบบและสรางโครงสรางหุนยนตกวาดขยะมีการทดลองใชงาน และเก็บรวบรวม
ขอมมูลดังตอไปนี้
การประเมินคุณภาพ

เริม+ ต้น

แต่งตังผูเ้ ชีย+ วชาญ

นัดหมายผูเ้ ชีย+ วชาญ

แนะนําแนะแนวทางการจัดทํา

สร้างโครงสร้าง

ประเมินผล

แผนภูมที่ 3-3 การประเมินคุณภาพ


48

3.6 ปรับปรุงชิ้นงาน
ในการปรับปรับปรุงชิ้นงานนั้นผูวิจัยไดปรับปรุงจากที่ไดทำการทดสอบโดยรวมของ
วัสดุที่ไดนำมาใชซึ่งปAญหาที่พบจะเป0นเรื่องของน้ำหนักซึ่งมีผลตอมอเตอรขับที่ผูวิจัยไดคำนวลคาไว
เพื่อไมใหน้ำหนักของโครงสรางมากเกินกวาที่มอเตอรสองตัวจะขับได
3.7 ทดสอบชิ้นงาน
ในการทดสอบโครงสรางผูจัดทำไดทำการทดสอบ ดังนี้
1. การทดสอบการเคลื่อนที่ของโครงสรางอยางอยางเดี่ยว

ระดับผลการทดสอบ
จำนวนครั้งที่ทดสอบ
พอใช ปานกลาง ดี
1 
2 
3 

ตารางที่ 3-2 ผลลการทดสอบการเคลื่อนที่ของโคงสรางอยางเดี่ยว


2. การทดสอบโครสรางโดยใชมอเตอรทดสอบการเคลื่อนที่โดยการทดสอบครั้งนี้
ผูวิจัยไดทำการประกอบหุนยนตเต็มรูปแบบ

ระดับผลการทดสอบ
จำนวนครั้งที่ทดสอบ
พอใช ปานกลาง ดี
1 
2 
3 

ตารางที่ 3-3 ผลลการทดสอบโครงสรางโดยใชมอเตอรทดสอบการเคลื่อนที่ของโครงสราง


49

. 3. การทดสอบการทำงานของแปรงกวาดขยะที่มีผลตอวัตถุที่มีน้ำหนักตางกัน

ระดับความพึงพอใจ
วัสดุที่ใชในการ
ลำดับ น้ำหนักของวัตถุ
ทดสอบ ปรับปรุง พอใช ดี ดีมาก

1 320 กรัม กระปƒองสี 


2 1 ขีด กระดาษหนังสือพิมพ 
3 2 ขีด เศษใบไม 
4 4 ขีด เศษขยะทัว่ ไป 
5 ไมสามารถวัดน้ำหนักได ฝุGนผงขนาดเล็ก 

ตารางที่ 3-4 ผลลการทดสอบการทำงานแปรงกวาดขยะที่มีผลตอวัตถุตาง ๆ


ในการทดสอบโครงสรางหุ นยนตกวาดขยะพบวา กระป›องสีมีน้ำหนักมากเกินไปที่
แปรงกวาดจะสามารถปAดกระป›องและนำเขาไปยังหุนยนตได เนื่องจากแปรงกวาดนั้นขนแปรงกวาด
นั้นออนเกินไปที่จะสามารถทำการดูดกระป›องเขาไปไดในสวนของของกระดาษหนังสือพิมพเป0นวัสดุที่
เบา เพาราะเป0นใยกระดาษมีน้ำหนักเบา ผลในการทดสอบปรากฏวา กระดาษหนังสือพิมพปลิวออก
กอนที ่ กระดาษนั ้ น จะถู กกวาดเขายั งหุ นยนต ทั ้ งนี ้ เ นื ่ องจากสาเหตุ ของรอบอัต ราความเร็ วของ
เครื่องยนตนั้นสูงเกินไปดวยเหตูนี้จึงทำใหแปรงกวาดไมสามารถกวาดลขยะเขาไปไดตอไปคือเศษใบไม
เศษขยะทั่วไป ฝุGนผงบนพื้น ก็เกิดขึ้นเชนกันเหมือนกระดาษหนังสือพิมพตามที่ไดกลาวไวขางตนการ
ทดสอบในสวนของระโดยรวมพบวาเครื่องยนตตัวที่หนึ่งมีอัตราเรงคงที่สตารจติดงายตามจังหวะ ดูด
อัด ระเบิด คายสามารถควบคุมรอบเครื่องยนตไดดีไมมีปAญหาสวนเครื่องยนตตัวที่สองนั้นอัตรา
ความเร็วของเครื่องมาตรฐานนั้นอัตารารอบการหมุนของเครื่องยนตจะสูงกวาเครื่องยนตตัวที่หนึ่งซึ่ง
ไดทำการทำสอบไปจึงทำใหเครื่องยนตตัวที่สองมีอาการสั่นสะเทือนกวาเครื่องยนตตัวที่หนึ่ง
หมายเหตุ เครื่องยนตแกŠสโซลีนที่นำมาติดตั้งเป0นเครื่องยนตเล็กไดถูกออกแบบทอไอเสียมาสั่นจึงทำ
ใหมามลภาวะทางเสี ย งที ่ ดั งมากหากทดสอบในหองทดสอบควรหาอุ ป กรณอุ ด หู ในการทดสอบ
เครื่องยนตชนิดนี้เป0นเครื่องยนตสองจังหวะซึ่งมีการใสสารปรุงแตงหลอลื่นชุดลูกสูบ 2 T ซึ่งผลให
เครื่องยนตมีควันออกมาเพราะฉะนั้นในการนำไปใชงานหรือทดสอบในหองทึบควรเป‹ดพัดลมระบาย
อากาศและสวมใสหนากากป‹ดจมูกดวยเพื่อปƒองกันควันเสียเขารางกาย
50

3.8 จัดทำรูปเลม
ในสวนของการจัดทำรูปเลมผูวิจัยไดจัดทำและเสนอเพื่อทำการตรวจสอบขอมูลที่ได
รวบรวมไวซึ่งเป0นการตรวจสอบความถูกตองของเนื้อหาที่ไดรวบรวมไว
3.9 การแกไขรูปเลมและนำเสนอ
ในสวนของการแกไขรูปเลมผูวิจัยใดยื่นเสนอรูปเลมการจดเรียงขอมูลเบื่องตนเพื่อให
อาจารยที่ปรึกษาไดตรวจสอบรายละเอียดความถูกตองในการจัดทำรูปเลมและทำการแกไขและ
เพิ่มเติมใหสอดคลองกับงานวิจัย
51

(ตัวอยาง)แบบประเมินผลประสิทธิภาพ

แบบประเมินผลความพึงพอใจในการใชงาน
คำชี้แจง กรุณาทำเครื่องหมายถูกลงในชองวางตรงกับความคิดเห็นของทาน
1. เพศ ชาย หญิง
2. ตำแหนง ครู/อาจารย คาราชการ เจา หนาที่/พนักงาน
ลูกจางชั่วคราว……………………………………………………………………………….
หัวหนา………………………………………………………………………………………….
เ หนาที่ชำนาญการพิเศษเฉพาะทาง……………………………………………………
3.หนอยงานองคกรณ เอกชน รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ

คำชี้แจงที่ 2 แบบประเมินที่สรางขึ้นมาเพื่อเป0นเครื่องมือในการประเมิน

วัตถุประสงค เพื่อใหผูใหผูประเมิน ประเมินลักษณะการใชงาน แบงได 4 หัวขอดังนี้


1.1 ลักาณะการใชงาน
1.2 ลักษณะความเหมาะสมในการนำไปใชงาน
1.3 ลักษณะทางกายภาพ
1.4 ลักษณะการบำรุงรักษา
แบบประเมินประเมินเสนอความคิดเห็นของผูประเมินและขอแนะนำ
แบบประเมินแบงออกเป0น 4 ดาน มีทั้งหมด 16 ขอ
โปรดขีดเครื่องหมายถูกลงในชองวาง
หลักเกณฑการประเมินความพึงพอใจมี 5 ระดับดังนี้
5 หมายถึง อยูในระดับ ยอดเยี่ยม
4 หมายถึง อยูในระดับ ดีมาก
3 หมายถึง อยูในระดับ ปานกลาง
2 หมายถึง อยูในระดับ พอใช
1 หมายถึง อยูในระดับ ควรปรับปรุง
52

แบบประเมินประสิทธิภาพโครงสรางหุนยนตกวาดขยะ

ระดับเกณฑ
รายละเอียด
5 4 3 2 1
ดานกายภาพ
1.1 น้ำหนัก ความแข็งแรง และขนาดที่เมาะสม
1.2 ความเหมาะสมกับงานที่ทำ
1.3 การออกแบบที่งายตอการใชงาน
ดานการใชงาน
2.1 สามารถใชงานไดสะดวก
2.2 สมารถใชงานไดจริง
2.3 มีการวางทำแหนงอยางเหมาะสม
2.4 มีขั้นตอนการประกอบที่ถูกตองตามหลักการ
2.5 สามารถนำไปพัฒนาตอยอกได
ดานการเหมาะสมของการนำไปใช
3.1 ผูปฏิบัติงาน 1 คน สามารถปฏิบัติงานได
3.2 มีความปลอดภัยในการใชงาน
3.3 การเคลื่อนยายสะดวก
3.4 งบในการสรางเหมาะสมกับผลที่ได
3.5 อุปกรณที่นำมาจัดทำนั้นเชื่อถือได
ดานการบำรุงรักษา
4.1 การบำรุงรักษากอน – หลังการปฏิบัติงาน
4.2 เมื่อชิ้นสวนชำรุดสามารถถอดซอมแซมได
4.3 ความสะดวกในการบำรุงรักษา
ขอเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
53

บทที่ 4

ผลการดำเนินงาน
ผูวิจัยใดดำเนินงานวิจัยตามวัตถุประสงคที่ใดตั้งไวซึ้งใดมีการรวบรวมรายละเอียดดังนี้

4.1 ผลการประเมินดานกายภาพ

ลำดับ รายการ ผูเชี่ยวชาญ (คน) X SD


1.1 น้ำหนัก ความแข็งแรง และขนาดที่เมาะสม 5 5 5 4 4 4 4.50 0.55
1.2 ความเหมาะสมกับงานที่ทำ 4 4 5 5 4 4 4.33 0.52
1.3 การออกแบบที่งายตอการใชงาน 5 5 5 5 5 5 5.00 0.00
รวมผลการประเมินคุณภาพดานลักษณะทางกายภาพ 4.67 0.37

ตารางที่ 4-1 แสดงผลการประเมินดานกายภาพ

SD
X

ผูเ้ ชียวชาญ (คน)


รายการ
ลําดับ
0 1 2 3 4 5 6
ชุดข้อมูล4 ชุดข้อมูล3 ชุดข้อมูล2 ชุดข้อมูล1

แผนภูมที่ 4-1 กราฟแสดงผลการประเมินดานกายภาพ


54

4.2 ผลการประเมินดานการใชงาน

ลำดับ รายการ ผูเชี่ยวชาญ (คน) X SD


2.1 สามารถใชงานไดสะดวก 5 5 5 4 4 4 4.50 0.55
2.2 สมารถใชงานไดจริง 4 4 5 5 4 4 4.33 0.52
2.3 มีการวางทำแหนงอยางเหมาะสม 5 5 5 5 5 5 5.00 0.52
2.4 มีขั้นตอนการประกอบที่ถูกตองตามหลักการ 4 4 5 4 3 4 4.39 0.55
2.5 สามารถนำไปพัฒนาตอยอกได 5 4 5 5 4 5 4.55 0.59
รวมผลการประเมินคุณภาพดานลักษณะทางกายภาพ 4.78 0.32

ตารางที่ 4-2 แสดงผลการประเมินดานการใชงาน

10
5
0
รายการผเู ้ ชียวชาญ (คน) X SD
2.1
2.2
2.3
2.4
2.5
รวมผลการประเมินคุณภาพด้านลักษณะทางกายภาพ

แผนภูมที่ 4-2 กราฟแสดงผลการประเมินดานการใชงาน


55

4.3 ผลการประเมินดานความเหมาะสมของการนำไปใช

ลำดับ รายการ ผูเชี่ยวชาญ (คน) X SD


3.1 ผูปฏิบัติงาน 1 คน สามารถปฏิบัติงานได 4 4 4 4 4 4 4.53 0.54
3.2 มีความปลอดภัยในการใชงาน 4 4 5 5 4 4 4.35 0.51
3.3 การเคลื่อนยายสะดวก 5 5 5 5 5 5 5.08 0.50
3.4 งบในการสรางเหมาะสมกับผลที่ได 4 4 5 4 4 4 4.40 0.56
3.5 อุปกรณที่นำมาจัดทำนั้นเชือ่ ถือได 5 5 5 5 5 5 4.57 0.59
รวมผลการประเมินคุณภาพดานลักษณะทางกายภาพ 4.79 0.40

ตารางที่ 4-3 แสดงผลการประเมินดานความเหมาะสมของการนำไปใช

5 5 5 5 5 55 5 55 5 5 5 5 5 5.08
5 4.79
4.53 4.57
4.354.4

44 4 44 4 4 4 4 44 4 44 4
4

1
0.54
0.510.59
0.56
0.5
0.4

00 0 00
0
รายการ ผูเ้ ชียวชาญ X SD
(คน)
3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 รวมผลการประเมินคุณภาพด้านลักษณะทางกายภาพ

แผนภูมที่ 4-3 กราฟแสดงผลการประเมินดานความเหมาะสมของการนำไปใช


56

4.4 ผลการประเมินดานการบำรุงรักษา มีผลดังตอไปนี้

ลำดับ รายการ ผูเชี่ยวชาญ (คน) X SD


4.1 การบำรุงรักษากอน – หลังการปฏิบัติงาน 5 5 5 4 4 4 4.51 0.58
4.2 เมื่อชิ้นสวนชำรุดสามารถถอดซอมแซมได 4 4 5 5 4 4 4.35 0.53
4.3 ความสะดวกในการบำรุงรักษา 5 5 5 5 5 5 5.09 0.05
รวมผลการประเมินคุณภาพดานลักษณะทางกายภาพ 4.69 0.38

ตารางที่ 4-4 ตารางแสดงผลการประเมินดานการบำรุงรักษา

SD

ผูเ้ ชียวชาญ (คน)

รายการ

0 2 4 6 8 10 12 14 16 18 20

4.1 4.2 4.3 รวมผลการประเมินคุณภาพด้านลักษณะทางกายภาพ

แผนภูมที่ 4-4 การฟแสดงผลการประเมินดานการบำรุงรักษา


57

4.5 ขอเสนอแนะ

ความคิดเห็นและขอเสนอแนะของผู เชี่ยวชาญไดใหขอเสนอแนะเพิ่ มเติมพอสรุ ป


ประเด็นไดดังนี้

4.5.1. วัสดุอุปกรณในการนำมาทำโครงสรางนั้นมีน้ำหนักมากเกินไป
4.5.2. โครงสรางที่ออกแบบมานั้นยังตองแกไขหลายๆสวน
4.5.3. โครงสรางที่ออกแบบมานั้นจุดเชื่อมตอยังไมมีความแข็งแรง
58

บทที่ 5
สรุปผลวิจัยและเสนอแนะ

5.1 สรุปผลวิจัย

การจัดทำโครงงาน โครงสรางหุนยนตเคลื่อนที่ ในครั้งนี้พบวาผูวิจัยไมสามารถทำ


ตามวัตถุประสงคที่ไดตั้งไวซึ่งผลจากการทดสอบทำใหผู วิจัยใดทราบถึงปAญหาของการนำวัสดุและ
อุปกรณที่มีในทองตลาดนั้นมาจัดทำโครงสรางโดยทั้งนี้ผูวิจัยใดเลือกใชวัสดุคือเหล็กกลองในการรับ
น้ำหนักของเครื่องยนตและสายพานลำเลียงผลพบวาโครงสรางที่ไดออกแบบขึ้นมานี้ผูวิจัยใดออกแบบ
ตามขนาดของเครื่องยนตและมีการดีไซดไปตามวัสดุและชิ้นสวนจำเพาะเจาะจงที่ไมสามารถออกแบบ
และเปลี่ยนแปลงดวยตนเองใด นำมาใชในงาน ซึ่งทั้งขนาดและสเป0นของอุปกรณนั้นผูวิจัยไมสามารถ
ทราบถึงน้ำหนักที่แนนชัดไดจึงทำใหในการคำนวลหาคาของน้ำหนักในการจัดทำโครงสรางนั้นมี
ขีดจำกัดจึงใดวัสดุที่มีขนาดที่เล็กไมเหมาะสมกับอุปกรณชิ้นสวนในการติดตั้งชิ้นสวนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
และทำใหหุนยนตมีน้ำหนักมากเกินกวามอเตอรที่เลือกใชจึงสงผลทำใหไมสามารถขับเคลื่อนใดเต็ม
ประสิทธิภาพอีกทั้งการออกแบบในครั้งนี้ส งผลทำใหผู วิจัยใดทราบถึงปAญหาของการเลื อกใชลอ
พลาสติกมาใชในการขับเคลื่อนซึ่งสาเหตุของปAญหาคือลอนั้นไมสามารถทนตอแรงกดของเครื่องยนต
ทั้งสองตัวใดและไมสมารถทนตอแรงบิดของมอเตอรใดจึงทำใหการทดสอบในชวงแรกการขับเคลื่อน
ของหุ นยนตนั้นขับเคลื่ อนใดดี พอใดมีการทดสอบในระยะเวลาที่ นานขึ้น มานั ้นอาการของระบบ
ขับเคลื่อนก็เริ้มปรากฎใหเห็นใดชัดคือ ลอหนาเกิดอาการเบี่ยงเดินหนาไมตรงและลอหลังที่ขับดวย
มอเตอรนั้นเกิดอาการฟรีตัวทำใหหุนยนตเดินหนาสดุดหยุดนิ่งบางครั้งบางคราวไม
59

5.2 อภิปรายผลการดำเนินงาน

เครื่องยนตมีผลตอโครงสรางในดานแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้น โครงสรางที่ออกแบบ
มานั้นไมสามารถซัพแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นจากเครื่องยนตได อุณหภูมิของเครื่องยนตสงผลทำให
อัตราความเร็วรอบของเครื่องยนตไมคงที่เมื่อใชงานเวลานาน ๆ

5.3 ปcญหาและอุปสรรคในการทดลอง

อุ ป สรรคในการจั ด ทำโครงสรางหุ นยนตคื อ วั ส ดุ แ ละอุ ป กรณในการจั ด ทำ


โครงงานมี ราคาที ่สู งจึ งทำใหผู วิ จั ยจัด ทำโครงสรางหุ นยนตลาชาอีกทั ้งยั งตองปรับ เปลี ่ย นแบบ
โครงสรางใหเหมาะสมกับอุปกรณที่ใดนำมาใชงาน
5.4 ขอเสนอแนะ

จากการศึกษาในงานวิจัย โครงสรางหุนยนตกวาดขยะพบวา โครงสรางที่ใดออกแบบ


มานั้นยังสามารถที่จะพัฒนาตอใหมีประสิทธิภาพดีขึ้นใดจากการเลือกใชวัสดุที่ตามความเหมาะสม
ของงานนั้น ๆ ที่จะนำไปใชงาน เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
60

บรรณานุกรม
เว็บไซต
ที่มาเว็บไซต : http://www.auto2drive.com
ที่มาเว็บไซต : http://www.asiadirect.com
ที่มาเว็บไซต : https://atad.vn/th/
ที่มาเว็บไซต : https://www.chi.co.th/article/article-831/
ที่มาเว็บไซต : http://www.ftiebusiness.com
ที่มาเว็บไซต : http://www.gasthai.com
ที่มาเว็บไซต : http://www.gaeglong.com
ที่มาเว็บไซต : https://www.google.com/search?q
ที่มาเว็บไซต : http://www.khicec.ac.th
ที่มาเว็บไซต : http://www.kwaithongaec.com
ที่มาเว็บไซต : http://www.neutron.rmutphysics.com/
ที่มาเว็บไซต : http://www.stemedthailand.org/
ที่มาเว็บไซต : https://sites.google.com/
ที่มาเว็บไซต : https://www.thaimetallic.com/
ที่มาเว็บไซต : https://www.tossapolstore.com/product/31109/
ที่มาเว็บไซต : https://www.thaiphysicsteacher.com/
ที่มาเว็บไซต : https://th.wikihow.com/
ที่มาเว็บไซต : http://www.thai.excavatorengine-parts.com
ที่มาเว็บไซต : http://www.thai.webike.net
ที่มาเว็บไซต : http://www.thanachartbluebook.com
ที่มาเว็บไซต : http://www.rungkijparts.com
ที่มาเว็บไซต : http://www.vigotech.co.th
61

บรรณานุกรม(ตอ)
เว็บไซต
ที่มาเว็บไซต : http://www.webike.net
ที่มาเว็บไซต : http://www.wattanasuk.com/
ที่มาเว็บไซต : http://www.weekendhobby.com
ที่มาเว็บไซต : http://www.yienn.icoc.com
62

ภาพผนวก (ก)
63

รูปที่ 1 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนสวนที่ 1

รูปที่ 2 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนสวนที่ 2
64

รูปที่ 2 แสดงภาพโครงสรางพนสีรองพื้นชั้นที่ 1

รูปที่ 3 แสดงภาพโครงสรางพนสีรองพื้นชั้นที่ 2
65

รูปที่ 4 แสดงภาพโครงสรางพนสีจริงชั้นแรก

รูปที่ 5 แสดงภาพโครงสรางพนสีเก็บรอยถลอก
66

รูปที่ 6 แสดงภาพโครงสรางพนสีจริงครั้งสุดทาย

รูปที่ 7 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนในการวางตำแหนงลอ
67

รูปที่ 8 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนของตำแหนงลอดานขาง

รูปที่ 9 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนดานหนา
68

รูปที่ 10 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนวัดหาตำแหนงการวางเครื่องยนต

รูปที่ 11 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนวัดหาตำแหนงการวางเครื่องยนต
69

รูปที่ 12 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนดานหลังเป0นภาพเครื่องยนตและลอที่วางตามแบบที่เขียนไว

รูปที่ 13 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนดานขางฝA—งซายเป0นภาพเครื่องยนต,ลอ,ระบบสายพานลำเลียง
70

รูปที่ 14 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนดานขางฝA—งขวาเป0นภาพเครื่องยนต,ลอ,ระบบสายพานลำเลียง

รูปที่ 15 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนชุดแปรงกวาดถนน
71

รูปที่ 16 แสดงภาพโครงสรางเบื่องตนเป0นสวนในการวัดหาตำแหนงในการติดตั้งแปรงกวาด

รูปที่ 17 แสดงภาพการจับยึดระบบขับเคลื่อน
72

รูปที่ 18 แสดงภาพการทดสอบระบบคันเรงของเครื่องยนต

รูปที่ 19 แสดงภาพการทดสอบเครื่องยนตตัวที่ 1
73

รูปที่ 20 แสดงภาพสมบูรณของหุนยนตกวาดขยะ

รูปที่ 21 แสดงภาพสมบูรณของหุนยนตกวาดขยะ
74

รูปที่ 22 แสดงภาพงานเขียนแบบกำหนดขนาดดวยโปรแกรม Solid work (ขางขวา)

รูปที่ 23 แสดงภาพงานเขียนแบบกำหนดขนาดดวยโปรแกรม Solid work (ขางซาย)


75

รูปที่ 24 แสดงภาพงานเขียนแบบกำหนดขนาดดวยโปรแกรม Solid work (ดานหลัง)

รูปที่ 25 แสดงภาพงานเขียนแบบกำหนดขนาดดวยโปรแกรม Solid work (ดานบน)


76

รูปที่ 26 แสดงภาพงานเขียนแบบกำหนดขนาดดวยโปรแกรม Solid work (แบบ 2 มิติ)

รูปที่ 27 แสดงภาพงานเขียนแบบกำหนดขนาดดวยโปรแกรม Solid work (สีเนื้อเหล็ก)


77

รูปที่ 28 แสดงภาพงานเขียนแบบกำหนดขนาดดวยโปรแกรม Solid work (ลงสีจริง)

รูปที่ 29 แสดงภาพงานเขียนแบบดวยโปรแกรม Solid work (ดานขาง)


78

รูปที่ 30 แสดงภาพงานเขียนแบบดวยโปรแกรม Solid work (ดานหนาเฉียง)

รูปที่ 31 แสดงภาพงานเขียนแบบดวยโปรแกรม Solid work (เบื่องตน)


79

รูปที่ 32 แสดงภาพงานเขียนแบบดวยโปรแกรม Solid work (ดานขางงานลงสี)

รูปที่ 33 แสดงภาพงานเขียนแบบดวยโปรแกรม Solid work (ดานหลังงานลงสี)


80

รูปที่ 34 แสดงภาพงานเขียนแบบกำหนดขนาดดวยโปรแกรม Solid work (ดานบนงานลงสี)

รูปที่ 35 แสดงภาพงานเขียนแบบกำหนดขนาดดวยโปรแกรม Solid work (ดานบนมุมเอียงสีจริง)


81

ประวัติผูจัดทำ

ชื่อ : นาย ธนากร สุวรรณอาภา

ชื่อโครงการ : หุนยนตกวาดขยะอัตโนมัติ

สาขางาน : เมคคาทรอนิกสและหุนยนต

สาขาวิชา : เมคคาทรอนิกสและหุนยนต

ประวัติสวนตัว

วันเดือนป@เกิด : 19 สิงหาคม พ.ศ. 2532

อายุ : 30 ป@

สถานที่อยูปAจจุบัน : 97/128 หมู 1 ต.บึงยี่โถ อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี 12130

ประวัติการศึกษา

ประถมศึกษา : โรงเรียนเสริมมิตรวิทยา

มัธยมศึกษาตอนตน : โรงเรียนสายปAญญารังสิต

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ : วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
82

ประวัติผูจัดทำ

ชื่อ : นาย ธีรพงษ สำราญใจ

ชื่อโครงการ : หุนยนตกวาดขยะอัตโนมัติ

สาขางาน : เมคคาทรอนิกสและหุนยนต

สาขาวิชา : เมคคาทรอนิกสและหุนยนต

ประวัติสวนตัว

วันเดือนป@เกิด : 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537

อายุ : 25 ป@

สถานที่อยูปAจจุบัน : ที่อยู 35 หมูที่ 2 ตำบล ตั้งใจ อำเภอเมือง จังหวัด สุรินทร

รหัสไปรษณีย 32000

ประถมศึกษา : โรงเรียนบานระกาสังแก

มัธยมศึกษาตอนตน : โรงเรียนตั้งใจวิทยาคม

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ : วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
83

You might also like