Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

ความรู้ท่ วั ไปเกี่ยวกับศาสนา

ศาสนาคืออะไร
ศาสนา ตรงกับคําภาษาอังกฤษว่า “religion” มาจากภาษาลาติน “religio” ซึง่ แปลว่า
“ผูกพัน” หรื อ “สัมพันธ์ ” หมายถึง ความผูกพันระหว่างมนุษย์กบั พระเจ้ า ซึง่ แสดงออกโดยการมอบ
ศรัทธาต่อพระเจ้ าด้ วยความเคารพยําเกรง เช่น
- เชื่อว่าพระเจ้ าสร้ างโลกและสรรพสิง่
- เชื่อว่าพระเจ้ ากําหนดคําสอนด้ านศีลธรรมและกฎหมาย
- เชื่อคําสอนของพระเจ้ าโดยไม่ต้องพิสจู น์
- อุทิศตนให้ แก่พระเจ้ า

สําหรับคําว่า “ศาสนา” ในภาษาไทย มาจากคําศัพท์เดิมในภาษาสันสกฤตว่า “ศาสน” และ


ตรงกับคําในภาษาบาลีวา่ “สาสน” แปลว่า ”คําสั่งสอน” หรื อ “การปกครอง” ซึง่ หมายถึง
- “คําสั่ง” อันเป็ นข้ อห้ ามมิให้ ทําชัว่ ที่เรียกว่า “ศีล” หรื อ “วินัย” และ “คําสอน” อัน
เป็ นคําแนะนําให้ ทําความดี ที่เรียกว่า “ธรรม” เมื่อรวมเข้ าด้ วยกันก็หมายถึง
“ศีลธรรม” นัน่ เอง
- “การปกครอง” หมายถึง การปกครองจิตใจของตนเอง การควบคุมดูแลกล่าว
ตักเตือนตนเองให้ ทําในสิง่ ที่ถกู ต้ องดีงามอยูเ่ สมอนัน่ เอง

ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ ได้ ให้ คาํ นิยามของคําว่าศาสนาไว้ วา่


“ลัทธิ ความเชือ่ ถื อของมนุษย์ อนั มีหลัก คือ การแสดงกําเนิ ดและความสิ้ นสุดของโลก เป็ นต้น อันเป็ นไป
ในฝ่ ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี ย่ วกับบุญบาปอันเป็ นไปฝ่ ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อม
ทัง้ ลัทธิ พิธีทีก่ ระทําตามความเห็นหรื อตามคําสัง่ สอนในความเชือ่ ถื อนัน้ ๆ” ซึง่ ก็หมายถึงว่า ศาสนาเป็ น
ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ ที่แสดงกําเนิดและสิ ้นสุดของโลก แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาป และมี
พิธีกรรม นัน่ เอง

ศาสนาเกิดขึน้ ได้ อย่ างไร


ศาสนาเกิดขึ ้นจากมูลเหตุสําคัญดังนี ้
๑) เกิดจากความไม่ร้ ู เช่น ไม่ร้ ูวา่ ปรากฎการณ์ธรรมชาติตา่ งๆ เกิดขึ ้นได้ อย่างไร ไม่ร้ ูวา่ ทําไม
มนุษย์จงึ เจ็บป่ วยและตาย
๒) เกิดจากความกลัว อันเป็ นผลสืบเนื่องมาจากความไม่ร้ ูนนั่ เอง

๓) เกิดจากความต้ องการที่พงึ่ ทางใจ ในยามที่เศร้ าโศกเสียใจ หรื อหวาดกลัว มนุษย์ยอ่ ม


ต้ องการที่พงึ่ ทางใจ
๔) เกิดจากอิทธิพลของบุคคลสําคัญ เช่น บุคคลสําคัญที่เคยทําคุณประโยชน์ใหญ่หลวงให้ กบั
ท้ องถิ่น
๕) เกิดจากปั ญญาต้ องการรู้แจ้ งเห็นจริง ต้ องการหาคําตอบให้ แก่ชีวติ ต้ องแสวงหาทางหลุดพ้ น
จากที่กล่าวมาข้ างต้ น จะเห็นได้ วา่ ศาสนาเกิดขึ ้นเพื่อตอบสนองความต้ องการของมนุษย์นนั่ เอง

องค์ ประกอบของศาสนา
องค์ประกอบของศาสนามีดงั นี ้
๑) ศาสดา เป็ นผู้ก่อตังหรื
้ อผู้ประกาศศาสนา ต้ องมีตวั ตนอยูจ่ ริงตามประวัตศิ าสตร์
๒) หลักธรรม อันเป็ นคําสอนในด้ านศีลธรรม ซึง่ ต่อมาได้ มีการรวบจารึกเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
เรี ยกว่า “คัมภีร์ทางศาสนา”
๓) นักบวช เป็ นสาวกผู้ปฏิบตั ศิ าสนกิจและสืบต่อหลักคําสอน
๔) ปูชนียสถาน และ ปูชนียวัตถุ สถานที่หรื อวัตถุอนั เป็ นที่เคารพบูชา
๕) พิธีกรรม การประกอบพิธีตา่ งๆ ตามแนวปฏิบตั ขิ องศาสนา

ศาสนากับลัทธิต่างกันอย่ างไร
คําว่า “ลัทธิ” หมายถึง คติความเชื่อ ความคิดเห็น ซึง่ มีข้อแตกต่างระหว่าง “ศาสนา” และ
“ลัทธิ” ในประเด็นต่างๆ ต่อไปนี ้
 ในแง่ ของเขต
ศาสนา เกิดขึ ้นเพื่อประโยชน์สขุ ของคนทัว่ ไป เกี่ยวข้ องกับมนุษย์ทวั่ โลก มีศาสดาผู้นํา
สัจธรรมหรื อนําคําสัง่ สอนของพระเจ้ ามาบอกชาวโลก
ลัทธิ เกิดขึ ้นเพื่อประโยชน์สขุ ของบุคคลเฉพาะกลุม่ เจ้ าลัทธิประกาศเพียงหลักการของ
ตนเองซึง่ เป็ นทัศนะส่วนตัว
 ในแง่ คาํ สอน
ศาสนา มีคาํ สอนเกี่ยวกับศีลธรรมเป็ นหลัก มีคําสอนเกี่ยวกับจุดหมายสูงสุดของชีวิตทัง้
ในโลกนี ้และโลกหน้ า ทังที ้ ่เป็ นรูปธรรมและนามธรรม คําสอนมีลกั ษณะศักดิ์
เป็ นที่สกั การะบูชาของศาสนิกชน
ลัทธิ ไม่มีหลักการที่จะต้ องมีคําสอนเกี่ยวกับศีลธรรมโดยตรง อาจมีแต่คําสัง่ ไม่มีคํา
สอนทางศีลธรรมเลยก็ได้ เน้ นจุดมุง่ หมายสูงสุดของชีวติ ในปั จจุบนั และอนาคต
อันเป็ นรูปธรรม คําสอนไม่มีลกั ษณะศักดิส์ ทิ ธิ์ เป็ นเพียงความเห็นที่สอดคล้ อง
กันระหว่างเจ้ าลัทธิกบั ผู้นบั ถือ

 ในแง่ การสืบต่ อ
ศาสนา มีสถาบันและคัมภีร์สืบต่อคําสอน โดยไม่สามารถเปลี่ยนแปลงสิง่ ใดในคัมภีร์ได้
มีพิธีกรรมที่เกี่ยวข้ องกับศาสนา
ลัทธิ มีคมั ภีร์ไว้ เป็ นหลักการ และมีสถาบันไว้ ปฏิบตั ใิ ห้ บรรลุหลักการ ซึง่ อาจ
เปลี่ยนแปลงแก้ ไขได้ และไม่จําเป็ นต้ องมีพิธีการเสมอไป

ประเภทของศาสนา
สามารถจัดประเภทของศาสนาได้ หลายรูปแบบ ดังนี ้
๑) จัดตามแหล่ งผู้นับถือ
ศาสนาประจําชาติ เช่น ชินโต ฮินดู ซิกข์
ศาสนาสากล เช่น พุทธ คริ สต์ อิสลาม
๒) จัดตามการมีผ้ ูนับถือในปั จจุบัน
ศาสนาที่ตายไปแล้ ว เช่น ศาสนาของชาวอียิปต์โบราณ ศาสนาของกรี กโบราณ
ศาสนาที่ยงั มีชีวิตอยู่ เช่น พุทธ คริสต์ อิสลาม ฮินดู
๓) จัดตามความเชื่อเกี่ยวกับพระเจ้ า
ศาสนาอเทวนิยม เช่น ศาสนาพุทธ
ศาสนาเทวนิยม แบ่งเป็ น
เอกเทวนิยม เช่น คริสต์ อิสลาม
พหุเทวนิยม เช่น ฮินดู

ความสําคัญของศาสนา เช่น
- สร้ างระเบียบความประพฤติของสมาชิกในสังคมให้ เป็ นไปในแนวเดียวกัน
- เป็ นที่พงึ่ ที่ยดึ เหนี่ยวจิตใจ
- ยกระดับจิตใจคนให้ สงู ขึ ้น
- เป็ นแหล่งกําเนิดจริ ยธรรม ทําให้ คนในสังคมประพฤติในแนวทางที่ถกู ต้ อง
- เป็ นแหล่งกําเนิดศิลปะและวัฒนธรรม

ประโยชน์ ของศาสนา เช่น


- สอนให้ มนุษย์เป็ นอิสระจากการครอบงําของกิเลส
- สอนให้ มนุษย์ปกครองตนเองได้ สามารถควบคุมตนเองไม่ให้ ทําชัว่ ทังในที
้ ่ลบั และที่แจ้ ง
- ช่วยให้ มนุษย์อยูร่ ่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข
ุ ค่าทางศิลปะและวัฒนธรรม
- ส่งเสริ มและสร้ างสรรค์ให้ เกิดผลงานที่มีคณ

ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู

ศาสนาพรามหณ์ – ฮินดูเกิดขึ ้นในอินเดีย มีอายุเก่าแก่กว่าพระพุทธศาสนาประมาณ ๙๐๐ ถึง


๑,๐๐๐ ปี จึงจัดเป็ นศาสนาที่เก่าแก่กว่าบรรดาศาสนาทังหลายที
้ ่มีผ้ นู บั ถืออยูใ่ นปั จจุบนั มีลกั ษณะเป็ น
ศาสนาพหุเทวนิยม

ศาสดา
ตามหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ไม่ปรากฎว่าศาสนาพราหมณ์มีศาสดาผู้ก่อตังหรื ้ อเผยแผ่คําสอน
ผู้นบั ถือศาสนาพราหมณ์เชื่อว่า ศาสนาของตนสืบเนื่องมาจากพระผู้เป็ นเจ้ า คือ พระพรหม
ถ้ ามองในแง่ประวัตศิ าสตร์ ศาสนาพราหมณ์ถือกําเนิดขึ ้นเมื่อพวกอารยันอพยพเข้ ามาตังถิ ้ ่นฐาน
และมีอํานาจบริ เวณลุม่ แม่นํ ้าสินธุ และนําความเชื่อเรื่ องการนับถือสุริยเทพและเทพเจ้ าประจําธรรมชาติ
ของตนเข้ ามาผสมผสานกับการนับถือและบูชาวิญญาณประจําโลกธาตุทงั ้ ๔ (ดิน นํ ้า ลม ไฟ) ของชาว
พื ้นเมือง (มิลกั ขะ) ด้ วยเหตุนี ้ศาสนาพราหมณ์จงึ กําเนิดขึ ้นในลักษณะของศาสนาพหุเทวนิยม

เทพเจ้ า
ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู นับถือเทพเจ้ ามากมาย โดยมีความคิดว่าเทพเจ้ ามีความรู้สกึ รัก โกรธ
เกลียด ชัง เหมือนกับมนุษย์ และอาจบันดาลประโยชน์หรื อหายนะแก่มนุษย์ได้ ทําให้ มนุษย์ร้ ูสกึ กลัว
และหาทางเอาใจเทพเจ้ า ก่อให้ เกิดการสวดสรรเสริ ญเยินยอเทพเจ้ า การบูชายัญเพื่อสังเวยเทพเจ้ า
เทพเจ้ าองค์สําคัญมี ๓ องค์ ที่เรี ยกรวมกันว่า “ตรีมูรติ” คือ
พระพรหม เทพเจ้ าผู้สร้ างโลก
พระวิษณุ เทพเจ้ าผู้พิทกั ษ์ ค้ มุ ครองโลก
พระศิวะ เทพเจ้ าผู้ทําลายโลก (ทําลายเพื่อกวาดล้ างความชัว่ และให้ อาตมันได้
พักผ่อนจากการเวียนว่ายตายเกิด)

ระบบวรรณะ
ผู้นบั ถือศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู เชื่อว่าวรรณะต่างๆ เกิดจากพระผู้เป็ นกําหนด คนในสังคมจึง
ต้ องปฏิบตั ติ าม แต่ถ้าพิจารณาจากคําศัพท์และประวัตศิ าสตร์ จะพบว่า คําว่า “วรรณะ” แปลว่า “สี”
หมายถึง สีผวิ กายของบุคคลที่ตงถิ
ั ้ ่นฐานอยูใ่ นลุม่ แม่นํ ้าตอนเหนือของอินเดีย ซึง่ แบ่งเป็ น ๒ กลุม่ คือ
พวกอารยัน และพวกมิลกั ขะ / ฑราวิฑ จึงมีการแบ่งวรรณะตามสีผิว

ในคัมภีร์พระเวทแบ่งคนในสังคมออกเป็ น ๔ วรรณะ ได้ แก่


๑) วรรณะพราหมณ์ เกิดจากปากของพระพรหม ทําหน้ าที่ศกึ ษาคัมภีร์พระเวทและประกอบพิธี
ทางศาสนา
๒) วรรณะกษัตริ ย์ เกิดจากแขนของพระพรหม ทําหน้ าที่ปกครองและปกป้องบ้ านเมือง
๓) วรรณะแพศย์ เกิดจากส่วนขาของพระพรหม เป็ นบุคคลส่วนใหญ่ของสังคม มีอาชีพค้ าขาย
และอาชีพอื่นๆ เช่น เกษตรกรรม สถาปั ตยกรรม หัตถกรรม ฯลฯ
๔) วรรณะศูทร เกิดจากเท้ าของพระพรหม มีหน้ าที่ใช้ แรงกายรับจ้ างทํางานให้ คนในวรรณะอื่น

คัมภีร์ทางศาสนา
หลังจากที่ศาสนาพราหมณ์เกิดขึ ้น เมื่อเวลาผ่านไปเทพเจ้ าต่างๆ ก็มีมากขึ ้น บทสวดสรรเสริ ญ
บูชาและบทสวดในพิธีกรรมก็มากขึ ้น จึงมีการรวบรวมไว้ ในที่เดียวกัน จึงเกิด “คัมภีร์พระเวท” ขึ ้น
คัมภีร์พระเวทมีทงหมด
ั้ ๔ คัมภีร์ ได้ แก่
๑) ฤคเวท เป็ นบทร้ อยกรองสําหรับใช้ สวดสรรเสริญเทพเจ้ าในพิธีกรรมบูชายัญ
๒) ยชุรเวท มีทงบทร้ ั ้ อยกรองสําหรับสวดสรรเสริญเทพเจ้ า และบทร้ อยแก้ วว่าด้ วยระเบียบ
พิธีในการประกอบพิธีกรรมบูชายัญ
๓) สามเวท เป็ นบทร้ อยกรองสําหรับสวดในพิธีถวายนํ ้าโสมแด่พระอินทร์ และขับกล่อมเทพ
เจ้ าอื่นๆ
๔) อถรรพเวท เป็ นคัมภีร์รวบรวมคาถาอาคมเวทมนตร์ ตา่ งๆ

จุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา
จุดมุห่ มายสูงสุดของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดูอยูท่ ี่ “โมกษะ” อันเป็ นการหลุดพ้ นจากความทุกข์
ทังปวง
้ มีภาวะเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกับปรมาตมัน ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิดอีกต่อไป
ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู เชื่อว่า สิง่ ที่เป็ นแกนกลางของชีวิตคือ “อาตมัน” หรื อ “ชีวาตมัน” ซึง่
เป็ นตัวตนแท้ จริงไม่แตกดับ และมี “ปรมาตมัน” เป็ นตัวตนสากล เปรี ยบดัง่ ดวงวิญญาณอันยิ่งใหญ่
เป็ นพลังธรรมชาติ และปรมาตมันเป็ นต้ นกําเนิดของอาตมันทังปวง ้ เมื่ออาตมันแยกออกมาจาก
ปรมาตมันแล้ วจะเวียนว่ายตายเกิด ซึง่ การเวียนว่ายตายเกิดถือว่าเป็ นทุกข์ การจะพ้ นจากความทุกข์
อาตมันต้ องกลับไปรวมเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกับปรมาตมัน

การไปสู่โมกษะทําได้ ๓ ทาง คือ


๑) กรรมโยคะ คือ การกระทํากิจต่างๆ ด้ วยความรู้สกึ ปล่อยวาง ทําด้ วยความรู้สกึ ว่าเป็ น
หน้ าที่ อุทิศตนเองเพื่อรับใช้ พระเป็ นเจ้ า และไม่มงุ่ หวังผลประโยชน์สว่ นตนใดๆ จากการกระทํานัน้

๒) ภักติโยคะ คือ การมีจิตใจภักดีตอ่ พระเป็ นเจ้ าอย่างไม่คลอนแคลน สักการะบูชาพระองค์


อย่างไม่ขาดตกบกพร่อง มอบกายถวายชีวิตให้ อยูใ่ นพระกรุณาของพระองค์
๓) ชญานโยคะ คือ การปฏิบตั เิ พื่อมุง่ ให้ เกิดความรู้แจ้ งเกี่ยวกับธรรมชาติที่แท้ จริงของชีวาตมัน
และปรมาตมัน โดยขจัดความหลงผิดและความเข้ าใจผิดให้ หมดไป
ทังสามประการเป็
้ นหลักปฏิบตั ทิ ี่สอดคล้ องกัน แต่จะเน้ นหนักไปทางไหนแล้ วแต่อธั ยาศัยของแต่
ละบุคคล เมื่อปฏิบตั จิ นถึงที่สดุ จนเป็ นที่พอใจของพระเป็ นเจ้ า พระองค์ก็จะประทานความรู้แจ้ งให้ เกิดขึ ้น
เมื่อเกิดความรู้แจ้ งก็หลุดพ้ น เรี ยกว่า “บรรลุโมกษะ”

หลักอาศรม ๔
ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ได้ แบ่งขันตอนของชี
้ วิตออกเป็ น ๔ ช่วง เรี ยกว่า “อาศรม ๔” ได้ แก่
๑) พรหมจรรย์ เป็ นวัยศึกษาเล่าเรี ยน ผู้ชายที่อยูใ่ นวัยรุ่นจะต้ องออกจากบ้ านไปอยูศ่ กึ ษา
วิชาการจากอาจารย์ คอยปฏิบตั ริ ับใช้ อาจารย์พร้ อมทังเรี
้ ยนวิชาที่เหมาะกับวรรณะของตน
๒) คฤหัสถ์ เป็ นวัยครองเรือนโดยการแต่งงานและตังครอบครั
้ ว ในขันนี
้ ้บุคคลต้ องประกอบ
อาชีพเลี ้ยงครอบครัว และสะสมทรัพย์สมบัตไิ ว้ ตามความสามารถ
๓) วานปรัสถ์ เป็ นวัยที่ต้องแยกตัวออกไปปฏิบตั ธิ รรมอยูใ่ นป่ า เมื่อเริ่มแก่หรื อเริ่ มมีหลาน
บุคคลควรเริ่ มต้ นอาศรมที่สามของชีวิต โดยการออกจากครอบครัวไปปฏิบตั ธิ รรมในป่ า เป็ นการเตรี ยม
ตนเพื่อขันตอนสุ
้ ดท้ ายของชีวิต
๔) สันยาสี เป็ นขันตอนสุ
้ ดท้ ายของชีวิต บุคคลจะครองเพศบรรชิตสละชีวิตทางโลกโดยสิ ้นเชิง
ใช้ เวลาส่วนใหญ่ไปในการพิจารณาแสวงหาความจริ งเกี่ยวกับชีวิต พยายามควบคุมกาย วาจา ใจ ของ
ตนเองให้ อยูใ่ นขอบเขตของชีวิตพรหมจรรย์ มุง่ ปฏิบตั เิ พื่อบรรลุโมกษะ

นิกายต่ างๆ ของศาสนา


มีนิกายที่สําคัญ ดังนี ้
๑) นิกายไวษณพ นับถือพระวิษณุ / พระนารายณ์ เป็ นเทพเจ้ าสูงสุด ทรงเป็ นผู้สร้ างโลกและ
ทุกสิง่ ในโลก
๒) นิกายไศวะ นับถือพระศิวะ เป็ นเทพเจ้ าสูงสุด ทรงเป็ นผู้สร้ างโลกและทุกสิง่ ในโลก
๓) นิกายพรหม นับถือพระพรหม เป็ นเทพเจ้ าสูงสุด ทรงเป็ นผู้สร้ างโลกและทุกสิง่ ในโลก
๔) นิกายศักติ นับถือบูชาพระเทวีของพระเป็ นเจ้ า โดยเฉพาะอย่างยิ่งพระอุมาเทวีซงึ่ เป็ น
พระมเหสีของพระศิวะ

ศาสนาพุทธ

ศาสนาพุทธเกิดขึ ้นในประเทศอินเดีย เมื่อประมาณ ๒,๕๐๐ ปี มาแล้ ว มีลกั ษณะเป็ นศาสนา


อเทวนิยม

ศาสดา
ศาสดาของศาสนาพุทธ คือ พระพุทธเจ้ า พระองค์ประสูตใิ นวรรณะกษัตริย์ เป็ นพระโอรสของ
พระเจ้ าสุทโทธนะ ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ และพระนางสิริมหามายา
เมื่อประสูตไิ ด้ ๕ วัน ได้ จดั ให้ มีพธิ ีขนานพระนาม และทํานายพระลักษณะ พราหมณ์ผ้ ู
ประกอบพิธีสว่ นใหญ่ทํานายเป็ นสองลักษณะ คือ ถ้ าพระโอรสดํารงอยูใ่ นฆราวาสจักได้ เป็ นมหา
จักรพรรดิ ถ้ าออกผนวชจักได้ เป็ นศาสดาเอกของโลก มีเพียงพราหมณ์หนุ่มโกณฑัญญะเท่านันที ้ ่ทํานาย
เป็ นคติเดียวคือ พระโอรสจะออกผนวชและได้ เป็ นศาสดาเอกของโลก
เมื่อพระชนม์ได้ ๑๖ พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกับพระนางยโสธราหรื อพิมพา และเมื่อเจริ ญ
พระชนมายุ ๒๙ พรรษา ทรงมีพระโอรสพระนามว่า “ราหุล”
เจ้ าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวชในคืนที่พระราหุลประสูติ ทรงแสวงหาทางดับทุกข์โดยการ
ทดลองถูกทดลองผิด โดยการศึกษาเล่าเรี ยนในสํานักอาจารย์ผ้ มู ีชื่อเสียง เมื่อไม่ได้ ผลจึงทรงหันมา
บําเพ็ญทุกรกิริยา ซึง่ ในระหว่างนันปั้ ญจวัคคีย์ทงั ้ ๕ ได้ มาติดตามพระองค์
หลังจากทรงพบว่าการบําเพ็ญทุกรกิริยามิใช่หนทางสูก่ ารพ้ นทุกข์จงึ หันมาเสวยภัตตาหารและ
บําเพ็ญเพียรทางจิต เป็ นเหตุให้ เหล่าปั ญจวัคคีย์เสื่อมศรัทธาและพากันทิ ้งพระองค์ไป
ในคืนที่จะตรัสรู้พระองค์ประทับนัง่ อยูใ่ ต้ ต้นโพธิ์ ทรงตังจิ
้ ตอธิษฐานว่า “แม้ เลือดเนื ้อในกายของ
เราจะเหือดแห้ งไป เหลือแต่หนังเอ็นและกระดูกก็ตาม ถ้ ายังไม่บรรลุสมั มาสัมโพธิญาณจะไม่เลิกละ
ความเพียรลุกไปจากที่นี ้”
เมื่อพระชนม์ได้ ๓๕ พรรษา พระองค์ได้ ตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ และได้ เป็ น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้ า ในวันเพ็ญเดือน ๖
หลังจากตรัสรู้แล้ วพระองค์ได้ เผยแพร่พระศาสนธรรมให้ แพร่หลาย พระองค์ทรงประกาศ
พระศาสนาอยู่ ๔๕ พรรษา ครัง้ ถึงวันเพ็ญเดือน ๖ เมื่อมีพระชนมายุ ๘๐ พรรษา สมเด็จพระสัมมา
สัมพุทธเจ้ าได้ เสด็จดับขันธ์ปริ นิพพาน

คัมภีร์ทางศาสนา
พระคัมภีร์ในศาสนาพุทธคือ “พระไตรปิ ฎก” ซึง่ แปลว่า ตะกร้ า ๓ ใบ พระไตรปิ ฎก
ประกอบด้ วย ๓ คัมภีร์ คือ

๑) พระวินยั ปิ ฎก ว่าด้ วยเรื่องวินยั หรื อศีลของพระสงฆ์


๒) พระสุตตันตปิ ฎก ว่าด้ วยพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้ าและพระสาวกสําคัญที่แสดงแก่
บุคคลต่างๆ ในเวลาและสถานที่ตา่ งๆ
๓) พระอภิธรรมปิ ฎก ว่าด้ วยหลักธรรมที่อธิบายในด้ านวิชาการล้ วนๆ ไม่มีเหตุการณ์ บุคคล
สถานที่ เข้ ามาเกี่ยวข้ อง

จุดมุ่งหมายสูงสุดของศาสนา
จุดมุง่ หมายสูงสุดของศาสนาพุทธ คือ นิพพาน เป็ นภาวะที่ดบั สิ ้นจากกิเลสเครื่ องเศร้ าหมองทัง้
ปวง หลุดพ้ นจากการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ

หลักธรรมสําคัญ
๑) ไตรลักษณ์
“ไตรลักษณ์ ” แปลว่า ลักษณะ ๓ อย่าง หมายถึง กฎธรรมชาติที่มีอยูท่ วั่ ไปในสรรพสิง่
ทังปวง
้ เป็ นสิง่ ธรรมดาที่เกิดขึ ้นเอง เป็ นไปเองตามธรรมชาติ ไม่มีผ้ สู ร้ างผู้บนั ดาล เรี ยกอีกอย่างว่า
“สามัญลักษณ์ ” มีอยู่ ๓ ประการ คือ
อนิจจตา ความไม่เที่ยงแท้ ความไม่คงที่ การเปลี่ยนแปลง
ทุกขตา ความทนอยูไ่ ม่ได้ ภาวะที่มีความบกพร่องในตัวพร้ อมที่จะเปลี่ยนแปลง
อนัตตตา ความไม่มีตวั ตน ไม่มีตวั ตนที่แท้ จริง ทุกสิง่ เกิดขึ ้น ตังอยู
้ ่ และดับไป
หลักธรรมเรื่ องไตรลักษณ์สอนให้ เรารู้เท่าทันธรรมชาติของสรรพสิง่ ที่ไม่สามารถคงอยู่
เช่นเดิมได้ ต้ องมีการเปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ เพื่อจะได้ ไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ ให้ เกิดทุกข์

๒) ขันธ์ ๕
“ขันธ์ ๕ “ หรื อ “เบญจขันธ์ ” เป็ นองค์ประกอบของชีวิต ๕ ประการ ประกอบด้ วย
รูป ส่วนที่เป็ นร่างกาย รวมถึงพฤติกรรมทังหมดของร่
้ างกาย
เวทนา ความรู้สกึ ที่เกิดขึ ้นต่อสิง่ ที่รับรู้ มี ๓ อย่าง คือ สุขเวทนา ทุกขเวทนา
และอุเบกขาเวทนา
สัญญา การกําหนดหมายรู้สงิ่ ใดสิง่ หนึง่ แยกแยะได้ วา่ อะไรเป็ นอะไร
สังขาร สิง่ ที่ปรุงแต่งจิต แรงจูงใจแรงผลักดันให้ เกิดการกระทําอย่างใดอย่างหนึง่
วิญญาณ การรับรู้ผา่ นประสาทสัมผัส ตา หู จมูก ลิ ้น กาย ใจ ประกอบด้ วย
จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ
มโนวิญญาณ

๓) อริยสัจ ๔
“อริยสัจ ๔” แปลว่า ความจริงอันประเสริ ฐ ๔ ประการ อันเป็ นขันตอนปฏิ
้ บตั เิ พื่อ
ความดับทุกข์หรื อแก้ ปัญหา ได้ แก่
ทุกข์ คือ ปั ญหาหรื อความทุกข์
สมุทยั คือ สาเหตุแห่งทุกข์
นิโรธ คือ ความดับทุกข์
มรรค คือ ทางแห่งความดับทุกข์ มี ๘ ประการ คือ สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ
สัมมาสมาธิ

นิกายสําคัญของศาสนา
ก่อนที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ าจะเสด็จดับขันธ์ปริ นิพพาน พระองค์ได้ ประทานพระโอวาทแก่
พระสาวก ข้ อหนึง่ ในโอวาททังหลายนั
้ นมี
้ วา่ “อานนท์ ต่อไปภายหน้าถ้าสงฆ์ ปรารถนาจะถอนสิ กขาบท
เล็กๆ น้อยๆ บ้างก็ได้” (สิกขาบท หมายถึง ข้ อศีล ข้ อวินยั คือศีลแต่ละข้ อ วินยั แต่ละข้ อ เช่นศีลของ
สามเณรมี ๑๐ ข้ อ เรี ยกว่ามี ๑๐ สิกขาบท ศีลของพระภิกษุมี ๒๒๗ ข้ อ เรี ยกว่ามี ๒๒๗ สิกขาบท)
พุทธดํารัสที่ตรัสแก่พระอานนท์ครัง้ นี ้ ได้ ถกู ยกมาเป็ นประเด็นถกเถียงกัน แต่ไม่สามารถวินิจฉัย
เด็ดขาดไปได้ วา่ สิกขาบทใดบ้ างเป็ นสิกขาบทเล็กน้ อยซึง่ อาจเพิกถอนได้ จึงมีความเห็นเป็ นสองฝ่ าย คือ
ฝ่ ายที่เห็นว่าควรรักษาสิกขาบทต่างๆ ไว้ คงเดิมโดยไม่เปลี่ยนแปลง อีกฝ่ ายหนึง่ เห็นว่าควรมีการเพิกถอน
หรื อปรับเปลี่ยนให้ เข้ ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป จากเหตุการณ์นี ้จึงมีการแบ่งนิกายขึ ้นเป็ นครัง้ แรก
ในพระพุทธศาสนา หลังจากนันก็ ้ แตกแยกย่อยเป็ นอีกหลายนิกาย

ปั จจุบันมีนิกายใหญ่ ๆ ที่สาํ คัญอยู่ ๒ นิกาย คือ


๑) นิกายเถรวาท เป็ นนิกายดังเดิ ้ มที่รักษาพระธรรมวินยั ต่างๆ ไว้ โดยไม่เปลี่ยนแปลง
๒) นิกายอาจาริ ยวาท หรื อ มหายาน เป็ นนิกายที่เกิดขึ ้นใหม่ โดยผสมผสานกับหลักคําสอน
ของนิกายอื่นๆ แล้ วสร้ างเอกลักษณ์ที่เป็ นของตนโดยเฉพาะ สําหรับนิกายมหายานนัน้ วินยั แก้ ไขได้
ธรรมแก้ ไขได้ ไม่เน้ นชีวิตสงฆ์ แนวคิดเกี่ยวกับอุดมคติพระโพธิสตั ว์ (ภาวะโพธิสตั ว์เป็ นสิง่ ที่เกิดขึ ้นกับ
บุคคลทัว่ ไปได้ โดยตังปณิ ้ ธานของพระโพธิสัตว์ ๔ ประการ คือ ช่วยเหลือสรรพสัตว์ให้ พ้นทุกข์
ทําลายกิเสลตัณหาทังหลายให้้ หมดสิ ้น เข้ าถึงสัจธรรมและสอนธรรมนันให้้ แก่ผ้ อู ื่น นําสัตว์ทงหลายให้
ั้
เข้ าสูพ่ ทุ ธภาวะหมายถึง ภาวะแห่งความรู้ ความตื่น ความเบิกบาน)
๑๐

ศาสนาคริสต์

ศาสนาคริ สต์ถือกําเนิดขึ ้นในดินแดนปาเลสไตน์ ทวีปเอเชีย แต่เผยแผ่เข้ าไปแพร่หลายในทวีป


ยุโรป แล้ วแพร่หลายไปสูท่ วีปต่างๆ ทัว่ โลก ศาสนาคริสต์มีพฒ
ั นาการมาจากศาสนายูดายหรื อศาสนายิว
มีลกั ษณะเป็ นศาสนาเอกเทวนิยม โดยมีพระเจ้ าสูงสุดคือ พระยะโฮวา

ศาสดา
ศาสดาของศาสนาคริ สต์ คือ พระเยซู ท่านกําเนิดที่เมืองเบธเลเฮม (Bethlehem) แคว้ นยูดาย
เมื่อ พ.ศ.๕๔๓ ในครรภ์ของหญิงพรหมจรรย์นามว่า มาเรีย ซึง่ ตังครรภ์ ้ โดยพระอานุภาพของพระเจ้ า
พระเยซูเริ่ มประกาศศาสนาเมื่ออายุ ๓๐ ปี เทศนาสัง่ สอนประชาชน รักษาคนป่ วย ชาวคริสต์
เชื่อว่าพระเยซูเป็ น พระเมสซิอาห์ (Meshiah) หรื อพระผู้ช่วยให้ รอด ซึง่ พระเจ้ าส่งลงมาช่วยเหลือชาวยิว
ให้ รอดพ้ นจากการกดขี่และภัยสงคราม เป็ นผู้ที่จะนําสันติสขุ ที่แท้ จริงมาสูช่ าวยิว
การประกาศศาสนาของพระเยซูทําให้ นกั บวชชาวยิวไม่พอใจ เนื่องจาก คําสอนของพระเยซูขดั
ต่อคําสอนของโมเสส ความขัดแย้ งเรื่ องผลประโยชน์ พระเยซูประกาศศาสนาในนามของพระองค์เอง
และพระเยซูไม่หยุดทํางานวันสะบาโต จึงหาทางกําจัดพระองค์ โดยวางแผนจับกุมแล้ วส่งให้ ผ้ สู ําเร็จ
ราชการชาวโรมันให้ สาํ เร็จโทษ ในข้ อหาหมิ่นประมาทพระเจ้ า อ้ างตนเป็ นพระเมสซิอาห์และเป็ นบุตรของ
พระเจ้ า และเป็ นกบฎตังตนเป็
้ นกษัตริ ย์ของชาวยิว ท้ ายที่สดุ ผู้สําเร็จราชการชาวโรมันได้ รับแรงกดดันจน
ต้ องตัดสินโทษประหารพระเยซูโดยการตรึงกางเขน เมื่อพระชนมายุ ๓๓ ปี
หลังจากพระเยซูสิ ้นพระชนม์แล้ วสามวัน พระองค์ก็ได้ ฟืน้ คืนชีพ และสัง่ สอนประชาชนต่อไปอีก
สักระยะก่อนจะเสด็จสูส่ วรรค์ บรรดาสาวกของพระองค์ก็ออกเผยแผ่ศาสนายังดินแดนต่างๆ ในประเทศ
อิสราเอง และค่อยๆ ขยายไปในแถบเมดิเตอร์ เรเนียน

คัมภีร์ทางศาสนา
คัมภีร์ของศาสนาคริ สต์ คือ คัมภีร์ไบเบิล เป็ นประมวลคําสอนซึง่ ถือว่าคือพระวจนะของพระเจ้ า
แบ่งออกเป็ น ๒ ภาค คือ
- พระคัมภีร์เก่ า หรื อ พันธสัญญาเดิม (The Old Testament) เป็ นคัมภีร์ของศาสนายิวซึง่
เป็ นรากฐานของพระคัมภีร์ใหม่ ประกอบด้ วยเนื ้อหาเกี่ยวกับเรื่ อง พระเจ้ าทรงสร้ างโลก ประวัตชิ นชาติยิว
บัญญัติ ๑๐ ประการ และศาสดาพยากรณ์ตา่ งๆ
- พระคัมภีร์ใหม่ หรือ พันธสัญญาใหม่ (The New Testament) เป็ นคัมภีร์ของศาสนาคริสต์
โดยเฉพาะ เป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับพระเยซูและพระอัครสาวกต่างๆ ซึง่ เขียนโดยนักบุญที่สําคัญต่างๆ เช่น
มัธธิว (Mathew) มาระโก (Mark) ลูกา (Luke) ยอห์น (John)
๑๑

ความเชื่อและหลักธรรมสําคัญ
ความเชื่อในหลักตรีเอกานุภาพ
โดยเชื่อว่า พระบิดา (พระเจ้ า) พระบุตร (พระเยซู) และพระจิต (พระวิญญาณบริสทุ ธิ์
ของพระเจ้ าที่เสด็จมาประทับในใจผู้เชื่อถือ) คือพระเจ้ าองค์เดียวกันแม้ จะมีพระนามและพระฐานะต่างกัน

หลักความรัก
ศาสนาคริ สต์เป็ นศาสนาแห่งความรัก โดยหลักความรักนี ้แบ่งออกเป็ น ๒ ประการ คือ
๑) ความรักต่อพระเจ้ า “จงรักพระองค์ผ้ เู ป็ นพระเจ้ าของเจ้ าด้ วยสุดจิต สุดใจของเจ้ า
ด้ วยสุดกําลัง”
๒) ความรักต่อเพื่อนมนุษย์ “ถ้ าผู้ใดตบแก้ มขวาของท่าน ก็จงหันแก้ มซ้ ายให้ เขาด้ วย”

บัญญัตสิ ิบประการ
๑) จงนมัสการพระเจ้ าแต่เพียงพระองค์เดียว
๒) จงอย่าสร้ างรูปเคารพ
๓) อย่าออกนามพระเจ้ าโดยไม่สมเหตุ
๔) จงนับถือวันสะบาโตเป็ นวันศักดิส์ ทิ ธิ์
๕) จงนับถือบิดามารดา
๖) อย่าฆ่าคน
๗) อย่าผิดประเวณี
๘) อย่าลักทรัพย์
๙) อย่าเป็ นพยานเท็จ
๑๐) อย่ามีความโลภในสิง่ ของผู้อื่น

ความเชื่อเรื่องอาณาจักรพระเจ้ า
อาณาจักรพระเจ้ า หมายถึง อาณาจักรพระเจ้ าบนสรวงสวรรค์ หรื ออาณาจักรพระเจ้ า
บนโลกมนุษย์ ซึง่ ก็คือศาสนจักร ซึง่ ทุกคนที่มีความเชื่อจะอยูร่ ่วมกันอย่างสันติสขุ จุดมุง่ หมายสูงสุด
ของศาสนาคริ สต์ก็คือ การได้ อยูอ่ ย่างเป็ นสุขในอาณาจักรพระเจ้ านัน่ เอง

นิกายสําคัญของศาสนา
๑. นิกายโรมันคาทอลิก (Roman Catholic)
- ชื่อนิกายมาจากการถือเอากรุงโรมเป็ นศูนย์กลางของศาสนา และเป็ นที่พํานักของ
พระสันตปาปา (ปั จจุบนั อยูท่ ี่นครวาติกนั ซึง่ เป็ นรัฐอิสระที่ตงอยู
ั ้ ใ่ นกรุงโรม)
๑๒

- มีพระสันตะปาปาเป็ นประมุขสูงสุดของคริ สต์ศาสนจักร


- ชาวคาทอลิกเชื่อว่าตนเป็ นผู้สืบทอดคําสอนและประเพณีอื่นๆ ของศาสนามาแต่เริ่ มแรก
และพยายามปกป้องหลักธรรมคําสอนและประเพณีแต่ดงเดิ ั ้ มอย่างเคร่งครัด
- ชาวคาทอลิกเชื่อเรื่ องการชําระบาป ถือว่าพระเป็ นผู้ประกอบพิธีล้างบาปให้ ได้ และ
เชื่อเรื่ องแดนชําระ
- ชาวโรมันคาทอลิกจะยกย่องนักบุญทังหลาย ้ รวมทังมาเรี
้ ย และโยเซฟ
- มีการประกอบพิธีศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ๗ ประการ คือ ศีลล้ างบาป ศีลกําลัง ศีลมหาสนิท
ศีลแก้ บาป ศีลเจิมคนไข้ ศีลบวช และศีลสมรส
- มีนกั บวช ซึง่ อุทิศตนเพื่อศาสนา และไม่ได้ รับอนุญาตให้ สมรส

๒. นิกายออร์ ธอดอกซ์ (Orthodox)


- แยกตัวจากนิกายโรมันคาทอลิกด้ วยเหตุผลทางการเมือง (ความขัดแย้ งระหว่าง
สังฆราชแห่งโรม กับสังฆราชแห่งคอนสแตนติโนเบิล)
- ไม่ขึ ้นตรงต่อพระสันตปาปา แต่ละประเทศมีประมุขเรี ยกว่าเพทริอาค (Patriarch)
- แทบจะไม่มขี ้ อแตกต่างจากโรมันคาทอลิกในด้ านหลักธรรมคําสอน แต่มีความแตกต่าง
ในเรื่ องรูปแบบของพิธีกรรม ภาษา การจักระเบียบการปกครองสงฆ์
- ไม่ยกย่องนักบุญ รูปเคารพมักเป็ นภาพโมเสด (ห้ ามประดิษฐานรูปเคารพสามมิต)ิ
- ประกอบพิธีศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ ๗ ศีล
- มีนกั บวช และนักบวชชันผู ้ ้ น้อยสามารถสมรสได้

๓. นิกายโปรแตสแตนท์
- เป็ นชื่อเรี ยกรวมของนิกายต่างๆ ที่ไม่ใช่โรมันคาทอลิก และออร์ ธอดอกซ์
- แยกจากโรมันคาทอลิกเนื่องจากความขัดแย้ งเกี่ยวกับหลักธรรมคําสอน และการ
ปฏิบตั ศิ าสนาที่ผิดแบบแผน เช่น การซื ้อใบไถ่บาป
- การบริ หารจัดการแต่ละประเทศเป็ นอิสระไม่ขึ ้นต่อการ และไม่ขึ ้นต่อพระสันตปาปา
- ไม่เชื่อว่าพระมีอํานาจใจการอภัยบาป การอภัยบาปสามารถทําได้ เองโดยสารภาพต่อ
พระเจ้ าเป็ นหมูค่ ณะ
- ไม่ยกย่องนักบุญ และไม่ประดิษฐานรูปเคารพใดๆ เพราะถือเป็ นเรื่ องนอกคัมภีร์ ไม้
กางเขนจะไม่มีรูปพระเยซูถกู ตรึงอยูบ่ นกางเขน
- ประกอบพิธีศีลศักดิส์ ทิ ธิ์เพียง ๒ ศีล คือ ศีลล้ างบาป และศีลมหาสนิท
๑๓

ศาสนาอิสลาม

คําว่า “อิสลาม” เป็ นภาษาหรับ แปลว่า “สันติ” “การยินยอม” หมายถึง การยินยอมต่อ


พระประสงค์ของพระเจ้ าเพื่อสันติ ผู้ที่นบั ถือศาสนาอิสลามเรี ยกว่า “ชาวมุสลิม”
ศาสนาอิสลามเป็ นศาสนาที่มีววิ ฒ ั นาการมาจากศาสนายิวและศาสนาคริสต์ เกิดขึ ้นในประเทศ
ซาอุดอิ าระเบีย เมื่อประมาณ ๑,๕๐๐ ปี มาแล้ ว มีลกั ษณะเป็ นศาสนาเอกเทวนิยม มีพระเจ้ าสูงสุดคือ
“พระอัลเลาะห์ ” ซึง่ ชาวมุสลิมเชื่อว่าเป็ นพระผู้สร้ าง ผู้คํ ้าจุน และผู้ฟืน้ ฟูโลกมนุษย์ และมีพระศาสดา
คือ นบีมฮู ํามัด

ศาสดา
ศาสดานบีมฮู ํามัด เกิดที่เมืองเมกกะ เมื่อ พ.ศ.๑๑๑๓ ท่านกําพร้ าบิดามารดาตังแต่ ้ อายุยงั
น้ อย จึงอยูใ่ นความดูแลของอบูฏอลิบผู้เป็ นลุง จนกระทัง่ เติบโตได้ ตดิ ตามลุงเดินทางไปค้ าขายต่างแดน
เมื่ออายุได้ ๒๕ ปี ได้ สมรสกับนางคอดียะห์ เศรษฐี นีมา่ ยชาวเมืองเมกกะ มีบตุ รด้ วยกัน ๖ คน เป็ น
ชาย ๒ หญิง ๔ แต่บตุ รชายเสียชีวิตหมดตังแต่ ้ ยงั เยาว์วยั ชีวิตของท่านเรียบง่ายแต่เปี่ ยมด้ วยคุณธรรม
ท่านพยายามหาทางแก้ ปัญหาสังคมและสร้ างความสงบขึ ้นในสังคม ท่านมักจะแสวงหาสถานที่สงบเพื่อ
ใคร่ครวญหาทางสูส่ นั ติ ท่านมักจะไปที่ถํ ้า “ฮิรออ์ ” ซึง่ อยูน่ อกเมือง และที่ถํ ้าแห่งนี ้ท่านได้ รับโองการ
ของพระเจ้ าผ่านเทวทูตยิบรออีลเป็ นครัง้ แรก ในขณะที่ท่านอายุได้ ๔๐ ปี
ท่านได้ เริ่ มประกาศพระศาสนา โดยประกาศให้ ผ้ คู นเลิกบูชาเทพเจ้ าทังหลายอั ้ นเป็ นประเพณีของ
ชาวอาหรับในขณะนัน้ ทําให้ ทา่ นได้ รับการต่อต้ านและดูหมิ่นเหยียดหยามจากผู้คนในเมืองเป็ นอันมาก
แต่ท่านก็มิได้ ยอ่ ท้ อ ผู้ที่ตอ่ ต้ านท่านพยายามหาทางกําจัดท่าน จนในที่สดุ ท่านและเหล่าสาวกต้ องหนีไป
เมืองเมดินะฮ์ ต่อมา ๘ ปี หลังจากนันท่ ้ านได้ รวบรวมผู้คนกลับไปยึดเมกกะได้ ทําลายรูปเคารพต่างๆ
และประกาศนิรโทษกรรมผู้หลงผิดทังหลาย ้ หลังจากนันศาสนาอิ
้ สลามจึงได้ เริ่ มเผยแผ่ออกสูท่ ี่อื่นๆ ตังแต่

บัดนัน้

คัมภีร์ทางศาสนา
คัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ คัมภีร์อลั กุรอาน เป็ นคัมภีร์ที่พระอัลเลาะห์ประทานให้ กบั ท่าน
นบีมฮู ํามัด โดยผ่านทางเทวทูต คัมภีร์อลั กุรอานจึงเป็ นพระวจนะของพระอัลเลาะห์ที่ตรัสแก่มนุษย์ เป็ น
พระประสงค์ของพระองค์และเป็ นธรรมนูญของชีวิต ชาวมุสลิมถือว่าทุกสิง่ ที่ปรากฏในคัมภีร์เป็ นความจริง
ที่บริสทุ ธิ์ ไม่มีใครจะสงสัยหรื อดัดแปลงแก้ ไขได้
๑๔

อัล-ฮะดิส เป็ นบันทึกซึง่ รวบรวมคําสัง่ สอนและแบบอย่างในการดําเนินชีวิตของท่านนบีมฮู ํามัด


ไว้ ซึง่ ได้ รับการถ่ายทอดสืบต่อกันมากด้ วยการเล่าปากต่อปาก แต่ภายหลังได้ มีการจดบันทึกเอาไว้ เป็ น
ลายลักษณ์อกั ษร เป็ นหนังสือที่มีความสําคัญ แต่ก็ไม่อาจเปรี ยบเทียบได้ กบั คัมภีร์อลั กุรอาน

หลักคําสอนและศาสนพิธีสาํ คัญ
๑. หลักศรั ทธา ซึง่ ชาวมุสลิมจะต้ องเชื่อมัน่ โดยปราศจากความระแวงสงสัยหรื อโต้ แย้ งใดๆ มี
อยู่ ๖ ประการ คือ
๑) ศรัทธาในเอกภาพของพระผู้เป็ นเจ้ า ชาวมุสลิมจะต้ องศรัทธาในพระอัลเลาะห์แต่
เพียงพระองค์เดียว ไม่มีพระเจ้ าอื่นใดนอกเหนือไปจากพระองค์
๒) ศรัทธาในเทวทูตของพระเจ้ า ชาวมุสลิมเชื่อว่าเทวทูต (มาลาอีกะฮ์) เป็ นคนกลาง
ระหว่างพระเจ้ ากับศาสดา เป็ นผู้รับใช้ ของพระเจ้ า
๓) ศรัทธาในคัมภีร์อลั กุรอาน เชื่อว่าเป็ นพระวจนะของพระเจ้ าที่ทรงมอบให้ แก่มนุษย์
โดยผ่านทางพระศาสดามูฮํามัด
๔) ศรัทธาต่อศาสนทูตหรื อบรรดาศาสดาต่างๆ โดยชาวมุสลิมเชื่อว่าก่อนที่พระเจ้ าจะ
ประทานคัมภีร์อลั กุรอานให้ แก่ศาสดามูฮํามัด พระองค์ได้ สถาปนาศาสดาต่างๆ อีกหลายองค์ให้ แก่
มนุษยชาติตามเวลาต่างๆ เช่น นูห์ (Noah) อิบรอฮีม (Abraham) มูซา (Moses) อีซา (Jesus)
๕) ศรัทธาต่อวันพิพากษา ชาวมุสลิมเชื่อว่ามนุษย์มีดวงวิญญาณเป็ นอมตะ เมื่อ
ร่างกายดับสูญวิญญาณจะยังอยูแ่ ละรับผลกรรมดีกรรมชัว่ ของตนที่ทําเมื่อมีชีวิตอยู่ ชาวมุสลิมเชื่อว่าโลก
นี ้มีการดับสูญ และเมื่อถึงวันนันพระอั
้ ลเลาะห์จะทรงพิพากษามนุษย์ตามกรรมดีและกรรมชัว่
๖) ศรัทธาในกฎกําหนดสภาวการณ์ เชื่อว่าพระเจ้ าเป็ นผู้กําหนดทุกสิง่ ทุกอย่างสําหรับ
โลกและมนุษย์ ไม่มีใครสามารถฝ่ าฝื นหรื อเปลี่ยนแปลงได้ แต่ก็ไม่ได้ หมายความให้ มนุษย์งอมืองอเท้ า
ปล่อยทุกอย่างให้ เป็ นไปตามแต่พระเจ้ ากําหนด หากแต่มนุษย์ต้องพยายามทําทุกอย่างให้ ดที ี่สดุ แต่
ขณะเดียวกันก็ต้องไว้ วางใจพระองค์ให้ เป็ นผู้นําทางชีวติ

๒. หลักปฏิบัติ เป็ นศาสนกิจที่ชาวมุสลิมจะต้ องปฏิบตั ทิ งทางกาย


ั้ วาจา ใจ มี ๕ ประการ
๑) การปฏิญาณตน โดยเปล่งวาจารับพระอัลเลาะห์เป็ นพระเจ้ าแต่เพียงพระองค์เดียว
๒) การละหมาด เป็ นการนมัสการพระเจ้ า เพื่อขอบคุณ ขอขมา และสรรเสริ ญ
พระองค์ โดยชาวมุสลิมจะต้ องละหมาดวันละ ๕ เวลา คือ เช้ าตรู่ บ่าย เย็น คํ่า กลางคืน
๓) การถือศีลอด เพื่อให้ เกิดความอดทนทางร่างกายและความเข้ มแข็งทางจิตใจ ให้
ระลึกถึงคนยากจนอดอาหารและจะได้ ช่วยเหลือผู้ที่ขดั สน ในระหว่างถือศีลอดหนึง่ เดือนจะต้ องงดเว้ นการ
กินอาหาร ดื่มนํ ้า กลืนนํ ้าลาย ร่วมสังวาส ตังแต่
้ รุ่งอรุณจนกระทัง่ พระอาทิตย์ตกดิน
๑๕

๔) การบริจาคซะกาต ชาวมุสลิมมีหน้ าที่จะต้ องบริจาคทรัพย์ของตนในอัตราร้ อยละ


๒.๕ แบ่งปั นให้ กบั ผู้อื่น เพื่อช่วยเหลือคนอนาถา เด็กกําพร้ า คนที่ขดั สน ผู้มีหนี ้สิน ผู้เผยแพร่ศาสนา
ผู้เดินทางที่ขดั สน
๕) การประกอบพิธีฮจั ญ์ เป็ นการเดินทางไปประกอบศาสนกิจที่เมืองเมกกะ ศาสนา
อิสลามบัญญัตใิ ห้ มสุ ลิมทังปวงที ้ ่มีความสามารถ คือ เป็ นผู้บรรลุนิตภิ าวะ มีสติสมั ปชัญญะสมบูรณ์
มีสขุ ภาพดี มีการคมนาคมที่ปลอดภัย และมีทนุ ทรัพย์เพียงพอ ให้ เดินทางไปประกอบพิธีฮจั ญ์ สําหรับ
ผู้ที่ไม่ได้ อยูใ่ นวิสยั ที่จะเดินทางได้ นนก็
ั ้ ไม่ได้ บงั คับ

ข้ อห้ ามในศาสนาอิสลาม
นอกจากหลักศรัทธาและหลักปฏิบตั แิ ล้ ว ยังมีกฎเกณฑ์อื่นๆ ที่ชาวมุสลิมจะต้ องปฏิบตั อิ ีก
มากมาย ในที่นี ้จะขอยกมาเป็ นเพียงตัวอย่างบางข้ อ เช่น
- ห้ ามยึดถือหรื อนําสิง่ อื่นมาเทียบเคียงอัลเลาะห์ เช่น เงินตรา ชื่อเสียง วงศ์ตระกูล ฯลฯ
- ห้ ามกราบไหว้ บชู ารูปปั น้ วัตถุ ดวงดาว ผีสาง เทวดา ฯลฯ ห้ ามเซ่นไหว้ สงิ่ ใดๆ ทังสิ
้ ้น
- ห้ ามเชื่อในเรื่ องดวง ห้ ามดูซะตาราศี ห้ ามถือโชคลาง ห้ ามเล่นเครื่ องรางของขลัง
- ห้ ามเล่นการพนันทุกชนิด เช่น เสีย่ งทาย แทงม้ า ลอตเตอรี
- ห้ ามกินสัตว์ที่ตายเอง สัตว์ที่มีโรค เลือดที่ได้ จากการเชือดสัตว์ ห้ ามกินหมู ห้ ามกินสัตว์ที่ถกู
นําไปเซ่นไหว้ สัตว์ที่ถกู รัดคอให้ ตายโดยไม่ได้ เชือด สัตว์ที่เชือดโดยไม่ได้ กล่าวนามพระเจ้ า
สัตว์ที่มีลกั ษณะน่ารังเกียจ สัตว์ที่ตะปบสัตว์อื่นเป็ นอาหาร
- ห้ ามเสพสิง่ มึนเมาทุกชนิด เช่น เหล้ า เบียร์ ยาเสพติด
- ห้ ามผิดประเวณีกบั หญิงใดๆ ไม่วา่ จะด้ วยความยินยอมสมัครใจของทังสองฝ่ ้ ายก็ตาม
- ห้ ามกักตุนสินค้ าจนราคาขึ ้นสูงแล้ วนําสินค้ านันไปขาย

- ห้ ามกินดอกเบี ้ย
ฯลฯ

นิกายสําคัญของศาสนา
นิกายซุนนี ชาวมุสลิมนิกายนี ้ถือว่าตนเองเป็ นผู้เคร่งครัดในแนวทางปฏิบตั ติ ามคัมภีร์อลั กุรอาน
และตามวจนะของท่านศาสดา รวมทังให้้ ความเคารพเชื่อถือต่อกาหลิบ หรื อผู้สืบตําแหน่งต่อจากท่าน
ศาสดา ชาวซุนนีให้ ความเคารพนับถือผู้นําทางศาสนา ๔ คนแรก คือ อาบูบกั ร์ โอมาร อุสมาน
และอาลี ชาวมุสลิมในไทย และชาวมุสลิมส่วนใหญ่ทวั่ โลกนับถือนิกายนี ้
๑๖

นิกายซีอะฮ์ เป็ นกลุม่ ที่แยกตัวออกมาเป็ นกลุม่ แรก เพราะมีความเห็นว่าผู้นําทางศาสนาควร


เป็ นทายาทของท่านนบีมฮู ํามัด นิกายนี ้จึงนับถือกาหลิบองค์ที่ ๔ คือ อาลี ว่าเป็ นกาหลิบที่ถกู ต้ องแต่
เพียงผู้เดียว ชาวซีอะฮ์สว่ นใหญ่อยูใ่ น อิรัก อิหร่าน เยเมน อินเดีย และแอฟริกาตะวันออก
๑๗

คําถาม : ความรู้ท่ วั ไปเกี่ยวกับศาสนา

๑. มูลเหตุการเกิดศาสนาที่สําคัญที่สดุ คือข้ อใด


๑) ความไม่ร้ ู ๒) ความกลัว
๓) ความจงรักภักดี ๔) อิทธิพลของผู้นํา
๒. องค์ประกอบสําคัญที่ทกุ ศาสนาจะขาดมิได้ คือ
๑) ศาสดา ๒) นักบวช
๓) รูปเคารพ ๔) หลักธรรม
๓. บทบาทเด่นที่สดุ ของศาสนาคือข้ อใด
๑) เป็ นกลไกควบคุมสังคม ๒) กําหนดรูปแบบของสังคม
๓) ประสาทวิทยาการแก่สงั คม ๔) สร้ างกฎระเบียบให้ สงั คม
๔. ศาสนาทุกศาสนามีคําสอนตรงกันในข้ อใด
๑) ผู้เคร่งครัดศาสนาจะได้ ขึ ้นสวรรค์
๒) สิง่ มีคา่ สูงสุดในชีวิตคือการดับกิเลส
๓) ให้ แต่ละบุคคลรู้จกั บังคับจิตใจตนเอง
๔) พระเจ้ าหรื อสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์เป็ นผู้สร้ างสรรพสิง่
๕. บางศาสนาได้ เป็ นศาสนาระดับโลก เพราะเหตุใด
๑) มีคนนับถือมาก ๒) มีคําสอนดีมาก
๓) มีวิธีการเผยแผ่ศาสนาที่ดีมาก ๔) ไปเจริญเติบโตมากในหลายประเทศ
๑๘

คําถาม : ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู

๑. ความหมายที่ถกู ต้ องของความเชื่อเรื่ องตรี มรู ติคือข้ อใด


๑) พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ สร้ างโลกพร้ อมกัน
๒) พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ สร้ างโลกกันคนละส่วน
๓) พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ ผลัดกันสร้ างโลกคนละยุค
๔) พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ แท้ จริงคือพระเจ้ าองค์เดียวกัน
๒. ตามหลักอาศรม ๔ ข้ อใดเป็ นขันตอนของผู
้ ้ อยูใ่ นวัยเรี ยน
๑) คฤหัสถ์ ๒) สันยาสี
๓) พรหมจารี ๔) วนปรัสถ์
๓. นิกายของศาสนาพราหมณ์ยดึ ข้ อใดเป็ นเกณฑ์ในการแบ่งแยก
๑) การอยูใ่ นวรรณะใด ๒) การจงรักภักดีตอ่ พระเจ้ าองค์ใด
๓) ความเคร่งครัดในพิธีกรรม ๔) วิวฒ
ั นาการอยูใ่ นช่วงสมัยใด
๔. ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู ถือว่ามนุษย์แตกต่างกันเพราะเหตุใด
๑) ทําหน้ าที่ตา่ งกัน ๒) ทํากรรมต่างกัน
๓) มีบรรพบุรุษต่างกัน ๔) มีแหล่งกําเนิดต่างกัน
๕. ข้ อใดมีเฉพาะในศาสนาพราหมณ์
๑) การแบ่งวรรณะ ๒) การบูชายัญ
๓) การทําสมาธิ ๔) การอวตารของพระเจ้ า
๑๙

คําถาม : ศาสนาพุทธ

๑. คําสอนในเรื่ องใดถือได้ วา่ เป็ นคําสอนเฉพาะของพระพุทธศาสนา


๑) ชีวิตเป็ นทุกข์ ๒) นรก - สวรรค์
๓) กฎแห่งกรรม ๔) ทําดีละชัว่
๒. คําสอนเรื่ องขันธ์ ๕ ในพระพุทธศาสนาแสดงให้ เห็นลักษณะของชีวิตในข้ อใด
๑) ชีวิตย่อมผันแปรไปตามพรหมลิขิต
๒) ชีวิตเกิดจากองค์ประกอบที่ผนั แปร ๕ ประการ
๓) ชีวิตเกิดจากองค์ประกอบที่ไม่ผนั แปร ๕ ประการ
๔) ชีวิตประกอบด้ วยตัวตนที่ถาวรบางส่วนและไม่ถาวรบางส่วน
๓. ชาวพุทธที่มีความเข้ าใจในกฎแห่งกรรมที่วา่ “ทําดีได้ ดี ทําชัว่ ได้ ชวั่ ” แสดงว่าความมีความเข้ าใจ
ตามหลักมรรค ๘ ข้ อใด
๑) สัมมาทิฏฐิ ๒) สัมมาสังกัปปะ
๓) สัมมากัมมันตะ ๔) สัมมาสมาธิ
๔. สุข – ทุกข์ ตามคําสอนในพระพุทธศาสนาเป็ นไปตามข้ อใด
๑) สุขหรื อทุกข์ยงั หาข้ อยุตไิ ม่ได้ วา่ มาจากที่ใด
๒) สุขหรื อทุกข์เป็ นผลมาจากการกระทําของตน
๓) สุขหรื อทุกข์เกิดจากการดลบันดาลของพระเจ้ า
๔) สุขหรื อทุกข์เกิดจากการได้ เกิดอยูใ่ นวรรณะใด
๕. การที่ผลไม้ เริ่ มเปลี่ยนสภาพจากดิบเป็ นสุก และจากสุกเป็ นเน่า ในพระพุทธศาสนาถือว่าเป็ นไป
ตามหลักคําสอนในเรื่ องใด
๑) อริ ยสัจ ๔ ๒) เบญจขันธ์
๓) ไตรลักษณ์ ๔) อิทธิบาท ๔
๒๐

คําถาม : ศาสนาคริสต์

๑. สาเหตุที่แท้ จริ งที่ทําให้ ศาสนาคริสต์แยกออกเป็ นนิกายโรมันคาทอลิกและนิกายออร์ ธอดอกซ์ คือข้ อใด


๑) การตีความหมายในพระคัมภีร์ตา่ งกัน
๒) ขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรมต่างกัน
๓) ความเชื่อเกี่ยวกับสภาวะของพระเยซูตา่ งกัน
๔) การแข่งขันด้ านการเมืองระหว่างกรุงโรมกับกรุงคอนสแตนติโนเบิล
๒. พระเยซูสอนว่า “จงรักเพื่อนบ้ านเหมือนรักตัวเอง” เพื่อนบ้ านในที่นี ้หมายถึง
๑) ชาวยิว ๒) ชาวคริสต์
๓) ชาวตะวันตก ๔) มนุษยชาติ
๓. คําว่า “ศีล” ในศาสนาคริ สต์หมายถึงอะไร
๑) ข้ อห้ าม ๒) ข้ อควรปฏิบตั ิ
๓) พิธีกรรม ๔) หลักธรรม
๔. ในศาสนาคริ สต์ บุคคลจะเข้ าเป็ นสมาชิกของศาสนจักรได้ จะต้ องผ่านพิธีใด
๑) ศีลล้ างบาป ๒) ศีลแก้ บาป
๓) ศีลมหาสนิท ๔) ศีลบรรพชา
๕. ข้ อใดคือเป้าหมายของชีวิตตามอุดมคติของศาสนาคริสต์
๑) การมีชีวิตนิรันดร์ ในดินแดนของพระเจ้ า
๒) การได้ กลับมาเกิดเป็ นมนุษย์ในชาติตอ่ ไป
๓) การมีชีวิตสุขสบายในโลกนี ้
๔) การได้ เข้ าถึงพระเจ้ า
๒๑

คําถาม : ศาสนาอิสลาม

๑. คําสอนในคัมภีร์อลั กุรอานของศาสนาอิสลามได้ มาจากไหน


๑) โองการที่นบีมฮู ํามัดได้ รับมาจากพระเจ้ าผ่านทางเทวทูต
๒) หนังสือภาษาอาหรับที่เทวทูตนํามาวางไว้ ที่ถํ ้าฮิรออ์
๓) คําสอนของนบีมฮู ํามัดที่บรรดาสาวกรวบรวมขึ ้น
๔) คัมภีร์ที่นบีมฮู ํามัดเขียนขึ ้นเพื่อสอนมนุษย์
๒. ศาสนากลุม่ ใดมีความสัมพันธ์ในด้ านกําเนิด ความเป็ นมา และคําสอนที่ใกล้ เคียงกันมากที่สดุ
๑) พุทธ พราหมณ์ อิสลาม ๒) ยิว คริสต์ อิสลาม
๓) ฮินดู อิสลาม ซิกข์ ๔) เต๋า ขงจื ้อ อิสลาม
๓. การถือศีลอดในศาสนาอิสลามมีจดุ มุง่ หมายอะไร
๑) เพื่อประหยัดอาหารไว้ บริ โภคในยามขาดแคลน
๒) เพื่อให้ ร้ ูจกั ความหิวโหยและอดกลันต่ ้ อความทุกข์ทางกายและทางใจ
๓) เพื่อรํ าลึกถึงความอดอยากที่ชาวมุสลิมต้ องเผชิญในระยะเริ่มประกาศศาสนา
๔) เพื่อให้ เห็นคุณค่าของอาหารมากขึ ้น
๔. ข้ อใดคือลักษณะสําคัญที่ทําให้ ชมุ ชนมิสลิมแตกต่างจากชุมชนที่นบั ถือศาสนาพุทธและศาสนาคริสต์
๑) ชาวมุสลิมมีเครื่ องแต่งกายเป็ นของตนเอง
๒) ชาวมุสลิมไม่แบ่งคนในชุมชนเป็ นนักบวชและฆราวาส
๓) ชาวมุสลิมไม่บริโภคอาหารต้ องห้ ามบางอย่าง
๔) ชาวมุสลิมมีศรัทธาในพระเจ้ าหนักแน่นกว่าผู้นบั ถือศาสนาอื่น
๕. ศาสนกิจใดที่ศาสนาอิสลามไม่ได้ บงั คับให้ ชาวมุสลิมทุกคนปฏิบตั ิ
๑) พิธีฮจั ญ์ ๒) พิธีละหมาด
๓) บริจาคซะกาต ๔) การถือศีลอด

You might also like