Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 90

Design Foundation Reinforcement

รศ.ดร.อมร พิมานมาศ
ภาณุวัฒน จอยกลัด
ปรีดา ไชยมหาวัน

1
Basic of Foundation Design

• Assume that foundation is rigid and able to distribute


equal loading.
P
P
R1 = P/3 R2 = P/3 R3 = P/3

(Rigid Beam)

P
Foundation

R1 =0 R2 = P R3 = 0
(Flexible Beam)

2
0.50

P = 350 T
Fs = 58.58 T Fs = 73.3 T Fs = 86.25 T Fs = 73.3 T Fs = 58.58 T

M = 114.27 T-m

Mmax = 126 T-m P = 350 T


70 T 70 T 70 T 70 T 70 T

3
Reinforcement Follow Bending Moment Theory

• ฐานรากที่มีความลึกไมมาก การออกแบบจะเปนไปตามหลักของคาน ซึ่ง


วิเคราะหที่หนาตัดวิกฤติของการรับแรงดัด

4
เหล็กเสริมตามทฤษฎีโครงถัก
• ฐานรากที่มีความลึก การออกแบบจะใชหลักการของคานลึก (Deep beam)
หรือใชวธิ ี Strut and Tie model

5
หนาตัดวิกฤติ (Critical section)

• สําหรับเหล็กเสริมรับแรงดัดจะกําหนดหนาตัดวิกฤติทหี่ นาเสาหรือหนากําแพง
• สําหรับการวิเคราะหแรงเฉือนแบบ
คานกวาง (Wide beam shear) d
d/2

จะกําหนดหนาตัดวิกฤติทรี่ ะยะ d t เหล็กเสริม d


(ก) ระดับ
จากหนาเสาหรือกําแพง ระนาบที่เกิดการวิบตั ิแบบเฉือนคานกวาง

• สําหรับการวิเคราะหแรงเฉือนแบบ ระนาบที่เกิดการวิบตั ิแบบเฉือนทะลุ


d/2
b c
เฉือนทะลุ (Punching shear) (ข) แปลน

จะกําหนดหนาตัดวิกฤติทรี่ ะยะ d/2 a d


d/2

จากหนาเสาหรือกําแพง ตามเสน abcd d

6
การกระจายแรงในฐานราก : ฐานแผ
• ฐานสี่เหลี่ยมรับแรงอัดและแรงดัด 2 แกน การกระจายของหนวยแรงใตฐานรากจะแปรผัน
เปนเชิงเสน

P 6M y 6M x
• ที่จุด b จะเกิดแรงอัดสูงสุด : q max = +
BL LB 2
+
BL 2
< qa

P 6M y 6M x
• ที่จุด d จะเกิดแรงอัดนอยสุด : q min = −
BL LB 2

BL 2
>0
7
การกระจายแรงในฐานราก : เสาเข็ม
• สําหรับกรณีของฐานรากเสาเข็มทั้งแรงอัดแรงโมเมนตจะถูกพิจารณาเปนแรงอัดหรือ
แรงดึงในเสาเข็ม

R คือ แรงในเสาเข็ม
P คือ แรงอัดในตอมอ
n คือ จํานวนเสาเข็มในฐาน
Mx, Myคือ โมเมนตดดั รอบแกน x และแกน y
ตามลําดับ
x, y คือ ระยะทางจากศูนยกลางไปยังเสาเข็ม
P Myx M xy
Ri = ± ±
n ∑ (x 2 ) ∑ (y 2 ) ตามทิศ x และ y ตามลําดับ

8
การลดแรงในเสาเข็ม
• ในกรณีที่เสาเข็มอยูหางจากหนาตัดวิกฤติภายในระยะ dp จะสามารถปรับลด
แรงได

⎡1 x ⎤
R′ = R⎢ + ⎥
⎢⎣ 2 d p ⎥⎦

9
เหล็กเสริมรับแรงดัด
• การคํานวณเหล็กเสริมรับแรงดึงตามทฤษฎีการดัด สําหรับหนาตัดแบบ singly
reinforcement เมื่อทราบ Mu
M f′ ⎡ 2Ru ⎤
วิธีที่ 1 คํานวณ Ru =และ u2 ρ = 0.85 c ⎢ 1 − 1 − ⎥
φbd fy ⎢⎣ 0.85 f c′ ⎥⎦

และคํานวณเหล็กเสริมจาก As = ρbd
วิธีที่ 2 แทนคาตัวแปรดานบนลงใน As จะได

f c′ ⎛ 2M u ⎞
As = 0.85bd ⎜1 − 1 − ⎟
fy ⎜ φ0 .85bd 2 ′
fc ⎟
⎝ ⎠

14
• เหล็กเสริมขั้นต่ําตองมากกวา 1.33As หรือ As, min =
fy
bd หรือ
Astemp 10
เหล็กเสริมปองกันการแตกราว

• เพื่อปองกันการแตกราวเนื่องจากการหดตัว (shrinkages) และการ


เปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ (Temperature) ที่ผิวของคอนกรีต ACI
กําหนดใหเสริมเหล็ก ขั้นต่ําดังนี้
• เหล็กขอออย fy = 3,000 กก./ซม.2 เทากับ 0.0020bt
• เหล็กขอออย fy = 4,000 กก./ซม.2 เทากับ 0.0018bt
• เหล็กขอออยที่มีกําลังมากกวา 4,282.50 กก./ซม.2
ตองไมนอยกวา 7.71bt/fy และ 0.0014bt

11
การเฉือนแบบคานกวาง
• กําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีตลวนที่หนาตัดวิกฤต (φVc) ซึ่งวัดออกจาก
หนาเสาหรือกําแพงเปนระยะ d ตองมากกวาหรือเทากับ Vu

Vc = 0.53 f c′ bd

• เมื่อ φ = 0.85

12
แรงเฉือนทะลุ
• กําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีตลวนที่หนาตัดวิกฤต (φV ) ซึ่งวัดออกจาก
c

หนาเสาหรือกําแพงเปนระยะ d/2 ตองมากกวาหรือเทากับ V u


⎛ 4 ⎞
Vc = 0.27⎜⎜ 2 + ⎟b 0d f c′

⎝ β c ⎠

⎛α d ⎞
Vc = 0.27⎜⎜ s + 2 ⎟⎟b 0d f c′
⎝ b0 ⎠

Vc = 1.06b 0d f c′

• ใหเลือกใชคาที่นอยกวา เมื่อ
• β คือ อัตราสวนระหวางดานยาวตอดานสั้น
c

• b คือ เสนรอบวงของหนาตัดวิกฤติ
0

• α คือ 40,30,20 สําหรับเสาใน,ริมและขอบ


c 13
Isolate Footing

14
ตัวอยางที่ 1 จงออกแบบเหล็กเสริมในฐานเดี่ยว
P

• น้ําหนักบรรทุกคงที่ใชงาน PD = 70
ตัน
• น้ําหนักบรรทุกจรใชงาน PL = 45 ตัน
• สําหรับ f’c = 320 กก./ซม.2
0.5

คอนกรีตหยาบ

• และ fy = 4,000 กก./ซม.2 ทรายชุมน้ําอัดแนน

• เสาเข็มขนาด 22 ซม.
0.3
• น้ําหนักบรรทุกปลอดภัย 30 ตัน/ตน 0.4

0.45

0.4 0.9

0.22

0.22 0.3

1.5

15
ขั้นที่ 1 : ตรวจสอบจํานวนเสาเข็ม
9 น้ําหนักของแทนหัวเข็ม : W = γc*B*L*t = 2.4*1.5*1.5*0.5 = 2.70 ตัน

9 รวมน้ําหนักใชงานทั้งหมด : Qs = W + PD + PL = 2.70+70+45 = 117.70 ตัน

9 น้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของเสาเข็ม Qsa = 30 ตัน/ตน

9 จํานวนเสาเข็ม Qs/Qsa = 117.70/30 = 3.92 ตัน ใช เข็ม 4 ตน O.K.


ขั้นที่ 2 : คํานวณแรงประลัยในเข็มแตละตน
9 แรงอัดประลัย : Pu = 1.4(PD + W) + 1.7PL

9 นั่นคือ : Pu = 1.4(70 + 2.70) + 1.7*45 = 178.28 ตัน

9 เสาเข็มแตละตนรับแรงอัดประลัยเทากับ Ri = Pu/N

9 นั่นคือ Ri = 178.28/4 = 44.57 ตัน


16
ขั้นที่ 3 : ตรวจสอบ แรงเฉือนแบบคานกวาง
9 กําหนดระยะหุมเทากับ 7.5 ซม.
9 หากเลือกใชเหล็ก DB20 จะมีระยะ d = 0.50-(0.075+0.5*0.02) = 0.415 ม.
9 หนาตัดวิกฤติ วัดออกจากขอบเสา แสดงในรูป

0.415

0.25 0.415

0.25

หนาตัดวิกฤติ หนาตัดวิกฤติ

9 ศูนยกลางเสาเข็มหางจากหนาตัดวิกฤติเทากับ x = 0.415-0.25 =0.165 ม.


9 ซึ่งมากกวา dp/2 = 0.11 ม. ดังนั้นไมตองคิดแรงเฉือนแบบคานกวาง 17
ขั้นที่ 4 : ตรวจสอบ แรงเฉือนแบบเฉือนทะลุ
9 หนาตัดวิกฤติ วัดออกจากขอบเสาเปนระยะ d/2 = 0.208 ม. แสดงในรูป
0.25

0.25

หนาตัดวิกฤติ

หนาตัดวิกฤติ

0.208

0.208

9 ศูนยกลางเสาเข็มหางจากหนาตัดวิกฤติเทากับ x = 0.208-0.25 =0.042 ม.

9 ซึ่งนอยกวา dp/2 = 0.11 ม. ตองคิดแรงเฉือนทะลุ แตสามารถลดแรงในเข็มได

9 นั่นคือ R’ = R(0.5+(x/dp)) = 44.57(0.5+(0.042/0.11)) = 39.30 ตัน

9 แรงเฉือนทะลุรวมเทากับ Vup = N*R’ = 4*39.30 = 157.20 ตัน 18


ขั้นที่ 5 : ตรวจสอบ แรงเฉือนแบบเฉือนทะลุ
9 เสนรอบหนาตัดวิกฤติ : b0 = 2b+2h+4d = 4*(0.4+0.415) = 3.26 ม.

9 ตรวจสอบกําลังรับแรงเฉือนทะลุ เมื่อ β = b/h = 0.4/0.4 = 1 และ αs = 40


⎛ 4 ⎞
⎟b0d f c′ = 0.27⎛⎜ 2 + ⎞⎟ × 326 × 41.5 320 = 392,062.93
4
9 สูตรที่1 Vc = 0.27⎜⎜ 2 +
βc ⎟⎠ 1⎠
⎝ ⎝
กก
⎛α d ⎞ ⎛ 40 × 41.5 ⎞
Vc = 0.27⎜⎜ s + 2 ⎟⎟b0d f c′ = 0.27⎜ + 2 ⎟ × 326 × 41.5 320 = 463,419.90
⎝ b0 ⎠ ⎝ 326 ⎠
9 สูตรที่2
กก Vc = 1.06b0d f c′ = 1.06 × 326 × 41.5 320 = 256,534.95

9สูตรที่3
กก

9 เลือกคานอยสุดนั่นคือ Vc = 256.53 ตัน และเมื่อ φ = 0.85

9 ดังนั้น φVc = 0.85*256.53 = 218.06 ตัน

9 มากกวา Vup = 157.20 ตัน นั่นคือความหนาผาน O.K.


19
ขั้นที่ 6 : ออกแบบเหล็กเสริมรับแรงดัด
9 หนาตัดวิกฤติสําหรับโมเมนตดัดอยูที่หนาเสา

9 โมเมนตดัดประลัย Mu = Pi*dc = 44.57*2*0.25 = 22.29 ตัน-ม.


f′ ⎛ 2M u ⎞
9 จากสูตร As = 0.85bd c ⎜1 − 1 − ⎟
fy ⎜ φ0.85bd 2 f c′ ⎟
⎝ ⎠

320 ⎛⎜ 2 ⋅ 22.29 × 1,000 × 100 ⎞


⎟ = 15.19
9 แทนคา As = 0.85 ⋅ 150 ⋅ 41.5 ซม. 1 −2 1 −
4,000 ⎜⎝ 0.9 ⋅ 0.85 ⋅ 150 ⋅ 41.52 ⋅ 320 ⎟

9 เหล็กเสริมรับแรงดัดนอยสุด As,min = (14/fy)bd

9 แทนคา As,min = (14/4,000)*150*41.50 = 21.79 ซม.2


9 หรือ As,min = 1.33As = 1.33*15.19 = 20.20 ซม.2 (ควบคุม!!)
เหล็กเสริมเพื่อตานทานการยืด-หดตัว As,temp = 0.0018bt
9 แทนคา As,temp = 0.0018*150*50 = 13.50 ซม.2

20
ขั้นที่ 7 : รายละเอียดเหล็กเสริม
9 ใชเหล็ก DB20 จํานวน 20.20/3.14 = 6.43 เสน

9 เหล็กเสริมลางใช 7DB20 ทั้งสองทิศทางเปนเหล็กหลัก

9 ใชเหล็ก DB16 จํานวน 13.50/2.01 = 6.71 เสน

9 เหล็กเสริมบนใช 7DB16 ทั้งสองทิศทางเปนเหล็กเสริมกันราว

7DB16 - สองทิศทาง

เหล็กเดือย
7DB20 -สองทิศทาง 0.5

คอนกรีตหยาบ 5 ซม.
ทรายชุมน้าํ อัดแนน 5 ซม.
เสาเข็มรับน้าํ หนักปลอดภัย 30/ ตัน/ตน 21
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวม
(Combined footing) และฐานรากรวมแบบมี
แบบมีคานรั้ง (Strap footing)
ตอมอตันใน
(Interior pier)

ตอมอตัวชิดเขต
(Exterior pier) คานรั้ง
(Strap beam)

22
ฐาน (footing)
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวม
(Combined footing)
รศ.ดร.อมร พิมานมาศ
ั น จอยกลัด
ภาณุวฒ
ปรีดา ไชยมหาวัน

23
สมมุติฐานในการออกแบบ
™ ฐานรากที่ใชรับน้ําหนักบรรทุกของเสาหรือตอมอตัง้ แต 2 ตนขึ้นไป โดยที่เสา
เหลานั้นอยูใกลชิดกันมากจนฐานรากเกยกัน หรือใชเพื่อยึดไวกับฐานรากอื่นที่
ใกลเคียงใหเกิดความมั่นคงและปลอดภัย

™ เปนเหตุใหแรงดันดินใตฐานรากมีการกระจายตัวไมสม่ําเสมออาจทําใหฐานเกิดการ
พลิกคว่ําไดการแกปญหาดังกลาวอาจใช ฐานรากรวม (Combined footing) หรือ
ฐานรากแบบมีคานยึดรั้ง (Strap footing)
™ เชื่อมตอตอมอที่อยูชิดเขตดวยฐานตัวใน ซึ่งอาจใชเปนรูปแบบฐานรากรวมแบบ
สี่เหลี่ยม
สมมุติฐานการออกแบบ
(1)เชื่อมตอระหวางฐานตัวที่อยูชิดเขตและฐานรากตัวใน โดยใหฐานเปน rigid
member
(2)ใหแรงดันดินใตฐานรากกระจายแบบสม่ําเสมอ
24
แรงที่เกิดขึ้นในฐานราก (โมเมนต และ แรงเฉือน)
P ro p e rty lin e
L

ƒ เมื่อฐานรากรับแรงดัน 1 2

B
ดินจะเกิดแรงเฉือนและ
x2
แรงดัดในฐานรากดัง x1 P1 Rp P2

แสดง x

Combined
footing
q
Rq

Shear force
diagram

Moment
diagram
25
สรุปขั้นตอนการออกแบบ
ขั้นตอนที่ 1 หาความยาวฐาน (L) และความกวางฐาน (B)
( P1 + P2 ) x = P1 x1 + P2 x2
เมื่อ P1 และ P2 เปนแรงในเสาตอมอที่สภาวะใชงาน
โดยการหาตําแหนงที่แรงลัพธ x กระทําเสียกอน
ความยาวฐาน L = 2x เพื่อใหใหการกระจายตัวของหนวยแรงดันดินใตฐานเปนแบบสม่ําเสมอ
P1 + P2
ความกวางฐาน B=
L.qa
เมื่อ qa คือหนวยแรงดันดินปลอดภัย
ขั้นตอนที่ 2 คํานวณแรงดันดินใตฐานที่สภาวะประลัย
qu = ( P1u + P2u ) /( L ⋅ B)
P1u และ P2u เปนแรงในเสาตอมอที่สภาวะประลัย 26
สรุปขั้นตอนการออกแบบ
ขั้นตอนที่ 3 เขียนแผนภาพแรงเฉือนและโมเมนตดัด
คิดเสมือนฐานรากเปนคานทีม่ ีแรงกระทําสม่ําเสมอกระทําในทิศขึน้ และมีแรงในเสา
ตอมอเปนแรงกระทําเปนจุดกระทําในทิศลง

ขั้นตอนที่ 4 หาความหนาฐานราก
หาความหนาฐานจากแรงเฉือนแบบคานกวาง (wide beam shear)
ที่หนาตัดวิกฤติ (d) จากขอบเสา และตรวจสอบความหนาใหปลอดภัยจากแรงเฉือน
ทะลุ (punching shear) (d/2) จากขอบเสา
ขั้นตอนที่ 5 หาปริมาณเหล็กเสริมตามยาว
ปริมาณเหล็กเสริมตามยาวคํานวณจากโมเมนตบวกและโมเมนตลบประลัยที่ขอบเสา
และตรวจสอบกับปริมาณเหล็กเสริมขั้นต่ํา 14/fy หรือ 1.33Ascal หรือ
Astemp 27
สรุปขั้นตอนการออกแบบ
ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมตามขวาง
™เนื่องจากแรงดันดินบริเวณใตตอมอจะสูงกวาบริเวณอื่น ๆ ดังนัน
้ จึงตองเสริมเหล็กเปน
พิเศษบริเวณใตตอมอดังกลาวเพื่อตานทานโมเมนตดัดในทิศตามขวาง มากกวาบริเวณอื่น
™ความกวางของแถบที่เสริมเหล็กตามขวางเปนพิเศษ (s1) =c1+0.75d

™ความกวางของแถบที่เสริมเหล็กตามขวางเปนพิเศษ (s2) =c2+1.5d

™หนวยแรงดันดินใตตอมอ q ′′ = Pu /Bs
q ′′s1l12
เมื่อPu คือแรงประลัยในเสาตอมอแตละตน M u1 =
2
c1 0.75d 0.75d c 0.75d
2

q ′′s2l 22
M u2 =
2

28
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสี่เหลี่ยม
จงออกแบบความกวาง ความยาว ความหนาของฐานรากรวมสี่เหลี่ยมที่มีระยะหางระหวางตอมอ
6.0 ม. เสาตอมอมีขนาดเทากับ 0.3x0.3 ม. และ 0.4x0.4 ม. สําหรับเสาตอมอตนที่ 1
และ 2 ตามลําดับ แรงกระทําในเสาตอมอแสดงในรูป กําหนดใหใชคอนกรีตกําลังอัด 210
ksc เหล็กเสริมกําลังดึง 4,000 ksc หนวยแรงดันดินปลอดภัย 12 ton/m2

หมายเหตุ แรงกระทําในเสาตอมอไดถกู บวกเพิ่มขึ้นอีก 5-10% เพื่อแทนน้ําหนักของฐานรากแล


29 ว
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 1 คํานวณแรงดันดินใตฐาน
P1 = 36 + 27 = 63 ton P1u = 1.4 × 36 + 1.7 × 27 = 96.3 ton

P2 = 55 + 50 = 105 ton P2u = 1.4 × 55 + 1.7 × 50 = 162.0 ton

P1 + P2 = 63 + 105 = 168 ton P1u + P2u = 96.3 + 162.0 = 258.3 ton

ขั้นตอนที่ 2 หาความยาวฐาน (L) และความกวางฐาน


(B) R x = P1x1 + P2x2
168x = 63(0.15) + 105(6.15) x = 3.90 m

L = 2x = 2 × 3.9 = 7.8 m ใช L = 7.8 m

30
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
B = (P1 + P2 )/ Lqa = 168 /(7.8 × 12) = 1.795 m

ดังนั้นใช B = 1.80 m
qu = (P1u + P2u )/(B × L ) = 258.3 /(1.8 × 7.8) = 18.40 ton /m 2

q ′ = 18.40 × 1.8 = 33.12 ton /m

31
สรุปขัน้ ตอนการออกแบบ
7.8 m

P1u=96.3 ton P2u=162.0 ton

ขั้นตอนที่ 3 0.3 0.4

เขียนแผนภาพ
แรงเฉือนและ q’= 33.12 ton/m
107.36 t
โมเมนตดัด 100.74 t
4.97 t

Shear
diagram
-48.02 t
-54.64 t
-91.33 t -86.37 t
48.45 t-m
38.19 t-m
Moment 0.37 t-m 27.64 t-m 3.38 t-m
diagram -12.95 t-m

-125.58 t-m
Moment diagram ไมปดดวย 0 เนือ่ งจากการปดเศษ q’ 32
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 4 หาความหนาฐานราก
จาก shear diagram แรงเฉือนทีห่ นาตัดวิกฤตสําหรับแรงเฉือนแบบคานกวางมีคา
เทากับ
⎛ 33.12 × 1,000 ⎞
Vu = 100.74 × 1,000 − ⎜ ⎟×d
⎝ 100 ⎠
φVc = φ 0.53 f c′ bd ≥ Vu

φ = 0.85 f c′ = 210 kg/cm2


φVc = 0.85 × 0.53 × 210 × 180 × d ≥ 100,740 − 331.2d

d = 66.88 cm

เลือกใชความหนาฐาน = 90 cm, d = 90-7.5-db/2 = 81.25 cm


สมมุติใชเหล็กเสริม db = 25 mm
33
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 4 หาความหนาฐานราก
ตรวจสอบแรงเฉือนทะลุ
พิจารณาเสาตอมอตนที่ 1

Area = (30 + d ) × (30 + d / 2)

Area = (30 + 81.25) × (30 + 81.25 /2) = 7857 cm 2


7857
Vu = 96.3 − Area × qu = 96.3 − 2
× 18.40 = 81.84 ton
100
φVc = φ1.06 f c′ b0d φ = 0.85 f c′ = 210 kg/cm2
b0 = (30 + d ) + 2 × (30 + d /2) = (30 + 81.25) + 2 × (30 + 81.25 /2) = 252.5 cm

φVc = 0.85 × 1.06 × 210 × 252.5 × 81.25 /1,000 = 267.87 ton > Vu

ปลอดภัยจากแรงเฉือนทะลุ 34
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 4 หาความหนาฐานราก
ตรวจสอบแรงเฉือนทะลุ
พิจารณาเสาตอมอตนที่ 2

Area = (40 + d )2

Area = (40 + 81.25)2 = 14,702 cm 2


14,702
Vu = 162 − Area × qu = 162 − 2
× 18.40 = 134.95 ton
100
φVc = φ1.06 f c′ b0d φ = 0.85 f c′ = 210 kg/cm2
b0 = 4 × (40 + d ) = 4 × (40 + 81.25) = 485 cm

φVc = 0.85 × 1.06 × 210 × 485 × 81.25 /1,000 = 514.52 ton > Vu

ปลอดภัยจากแรงเฉือนทะลุ 35
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 5 หาปริมาณเหล็กเสริมตามยาว
โมเมนตลบสูงสุด = 125.58 ton-m
φ = 0.9 , b = 180cm , f c′ = 210kg /cm 2 f y = 4,000kg /cm 2
ρmin = 14 / 4000 = 0.0035

Mu 125.58 × 1,000 × 100


Ru = = 2
= 11.74 kg/cm2
φbd 2 0.9 × 180 × 81.25
f′ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞
ρ = 0.85 c ⎜1 − 1 − 2Ru ⎟ = 0.85 210 ⎜1 − 1 − 2 × 11.74 ⎟ = 0.0030
fy ⎜ 0.85 f c′ ⎟⎠ 4,000 ⎜⎝ 0.85 × 210 ⎟
⎝ ⎠
f c′ 6,120 210 6,120
0.75 ρb = 0.75 × 0.85β1 = 0.75 × 0.85 × 0.85 × × = 0.0172
f y 6,120 + f y 4,000 6,120 + 4,000

ρmin(0.0035) > ρ (0.0030) As = ρbd = 0.0035 × 180 × 81.25 = 51.19 cm 2

π
ดังนั้นใชเหล็ก DB25 @ 0.15 ม. เปนเหล็กบนตามยาว As = ( × 2.52 /0.15) ×1.80 = 58.90 cm2
4
36
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 5 หาปริมาณเหล็กเสริมตามยาว
โมเมนตบวกสูงสุดทีห่ นาเสา = 38.19 ton-m
φ = 0.9 , b = 180cm , f c′ = 210kg /cm 2 f y = 4,000kg /cm 2
ρmin = 14 / 4000 = 0.0035

Ru =
Mu 38.19 × 1,000 × 100
2 = = 3.57 kg/cm2
φbd 0.9 × 180 × 81.25 2

f c′ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞
ρ = 0.85 ⎜1 − 1 − 2Ru ⎟ = 0.85 210 ⎜1 − 1 − 2 × 3.57 ⎟ = 0.0009
fy ⎜ 0.85 f c′ ⎟ 4,000 ⎜⎝ 0.85 × 210 ⎟
⎝ ⎠ ⎠
210 6,120
0.75 ρb = 0.75 × 0.85 × 0.85 × × = 0.0172
4,000 6,120 + 4,000

ρmin(0.0035) > ρ (0.0009) As = ρbd = 0.0035 × 179.5 × 81.25 = 51.04 cm 2

π
ดังนั้นใชเหล็ก DB25 @ 0.15 ม. เปนเหล็กลางตามยาว As = ( × 2.52 /0.15) ×1.80 = 58.90 cm2
4
37
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมตามขวาง
พิจารณาเสาตอมอตนที่ 1
ความกวางของแถบที่เสริมเหล็กตามขวางเปนพิเศษ (s1) =c1+0.75d
7.8 m
d = 90 − 7.5 − 2.5 − 2.0 /2 = 79.0 cm
s1 = 30 + 0.75 × 79.0 = 89.25 cm c1=30cm
l1 = (1.80 − 0.3)/2 = 0.75 1.80m

q ′′ = Pu /Bs1 75.0 cm

= 96.3 /(1.80 × 0.8925) = 59.94 ton /m 2


89.25 cm

q ′′s1l12
M u1 = = 59.94 × 1000 × 0.8925 × 0.752 / 2 = 15,046 kg − m
2
38
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมตามขวาง
พิจารณาเสาตอมอตนที่ 1
φ = 0.9 b = s1 = 89.25 cm d = 79.0 cm f c′ = 210kg /cm 2 f y = 4,000kg /cm 2
ρmin = 14 / 4000 = 0.0035
Mu 15,046 × 100
Ru = = = 3.00 kg/cm2
2
φbd 0.9 × 89.25 × 79 2

210 ⎛⎜ 2 × 3.00 ⎞
ρ = 0.85 1− 1− ⎟ = 0.00076 ρmin(0.0035) > ρ (0.00076)
4,000 ⎜⎝ 0.85 × 210 ⎟

1.33ρ = 0.0010

0.75 ρb = 0.0172

ใช As = 0.0018bt = 0.0018 × 89.25 × 90 = 14.46 cm 2

π
ดังนั้นใชเหล็ก 5 - DB20 เสริมพิเศษใตตอมอ 1 As = 5 × ( × 2.02 ) = 15.71 cm2
4
39
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมตามขวาง
พิจารณาเสาตอมอตนที่ 2
ความกวางของแถบที่เสริมเหล็กตามขวางเปนพิเศษ (s2) = c2 + 1.5d
7.8 m
d = 90 − 7.5 − 2.5 − 2.0 /2 = 79.0 cm
s2 = 40 + 1.5 × 79.0 = 158.5 cm c2=40cm
l2 = (1.80 − 0.4)/2 = 0.70 1.8 m

q ′′ = Pu /Bs2 70 cm

= 162/(1.80 × 1.585) = 56.78 ton /m 2


158.5 cm

q ′′s2l 22
M u2 = = 56.78 × 1000 × 1.585 × 0.702 / 2 = 22,049 kg − m
2

40
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมตามขวาง
พิจารณาเสาตอมอตนที่ 2
φ = 0.9 b = s2 = 158.5 cm d = 79.0 cm f c′ = 210kg /cm 2 f y = 4,000kg /cm 2
ρmin = 14 / 4000 = 0.0035
Mu 22,049 × 100
Ru = = = 2.48 kg/cm2
2
φbd 0.9 × 158.5 × 79 2

210 ⎛⎜ 2 × 2.48 ⎞
ρ = 0.85 1− 1− ⎟ = 0.00062 ρmin(0.0035) > ρ (0.00062)
4,000 ⎜⎝ 0.85 × 210 ⎟

1.33ρ = 0.0010
0.75 ρb = 0.0172

ใช As = 0.0018bt = 0.0018 × 158.5 × 90 = 25.68 cm 2


π
ดังนั้นใชเหล็ก 9- DB20 เสริมพิเศษใตตอมอ 2 As = 9 × ( × 2.02 ) = 28.27 cm2
4
41
ตัวอยางการออกแบบฐานรากรวมสีเ่ หลีย่ ม
ขั้นตอนที่ 6 หาปริมาณเหล็กเสริมตามขวาง
นอกชวง column strip

φ = 0.9 b = 800 − 89.25 − 158.5 = 552.25 cm

d = 78.75 cm f y = 4,000kg /cm 2

As min = 0.0018bt = 0.0018 × 552.25 × 90 = 89.46 cm 2

ดังนั้นใชเหล็ก DB20@0.175 นอกชวง column strip


π
As = ( × 2.02 )/0.175× 5.5225 = 99.14 cm2
4

42
Top reinforcement

Bot. reinforcement

43
DB25 @ 0 .15 m
0 .3 x0 .3 m 0 .4 x0 .4 m
DB25 @ 0 .15 m
0 .90 m

5 - DB20 9 - DB20
0 .9 DB20 @ 0 .175 m DB20 @ 0 .175 m
1 .6
7 .8 m

Elevation view

44
การแกปญหาฐานรากชิดเขตโดยใชคานยึดรั้ง
กอนการปรับปรุง
หลังการปรับปรุง
แนวอาคารเดิม
หรือแนวเขตที่ดิน

คานยึดรั้ง

45
สมมุติฐานในการออกแบบ
™ ในกรณีที่ตอมอวางอยูชด
ิ เขตที่ดินทําใหไมสามารถกอสรางฐานรากใหแนวของตอ
มอผานจุดศูนยถวงของฐานได

™ เปนเหตุใหแรงดันดินใตฐานรากมีการกระจายตัวไมสม่ําเสมออาจทําใหฐานเกิดการพลิก
คว่ําได การแกปญหาดังกลาวอาจใช ฐานรากรวม (Combined footing)

™ ชนิดที่ไดรับความนิยมคือฐานรากรวมและฐานรากแบบมีคานรั้ง
(strap footing)

สมมุติฐานการออกแบบ
(1)คานรั้งที่เชื่อมตอระหวางฐานตัวที่อยูชิดเขตและฐานรากตัวในจะถูกยกใหลอยเหนือพืน

ทําใหไมรับแรงดันดิน
(2)จากขอที่ (1) ทําใหน้ําหนักบรรทุกที่กระทําจากคานรั้งเกิดจากน้ําหนักของตัวมันเอง
และแรงที่ถายมาจากฐานรากตัวที่อยูชิดเขตไปยังฐานรากตัวในเทานัน้ 46
แรงที่เกิดขึ้นในฐานราก
Wue Wui

ƒ เมื่อฐานรากรับแรงดันดิน Ce

H
Ci

(ก) หนาตัด
จะเกิดแรงเฉือนและแรงดัด
te ti

ในฐานรากดังแสดง
Hce Hci

Be Bce B Bci Bi (ข) แปลน

Le Li

wue wui

pu pu (ค) กราฟของแรง

(ง) กราฟแรงเฉือน

(จ) กราฟโมเมนต
47
สรุปขั้นตอนการออกแบบ
คํานวณตําแหนงของแรงลัพธ
ที่เกิดจากแรงในฐานรากตัวชิดเขตและตัวใน

จัดขนาดของฐานรากทั้งสองใหจด ุ ศูนยถว งของฐานรากรวม


ตรงกับตําแหนงของแรงลัพธ
เพื่อใหการกระจายตัวของแรงดันดินใตฐานรากสม่ําเสมอ

สรางกราฟแรงเฉือนและสรางกราฟของโมเมนตดัด
โดยอาศัยความสัมพันธของพื้นที่ใตกราฟแรงเฉือน
(พื้นที่ใตกราฟแรงเฉือน = โมเมนตดัด)

ออกแบบเหล็กเสริมในฐานและคานรั้ง
48
หนาตัดสําหรับการออกแบบ

49
ตัวอยางที่ 3 จงออกแบบฐานรากรวม
ฐานรากตัวชิดเขต
™ เสาขนาด 0.40x0.40 ม.
™ น้ําหนักบรรทุกใชงาน 70 ตัน
™ น้ําหนักบรรทุกประลัย 105 ตัน
ฐานรากตัวชิดใน
™ ระยะทางของศูนยกลางเสาตัวในและเสาตัวนอก 5.0 ม.
™ เสาขนาด 0.50x0.50 ม.
™ น้ําหนักบรรทุกใชงาน 100 ตัน
™ น้ําหนักบรรทุกประลัย 150 ตัน

เงื่อนไขการออกแบบ
™ ความกวางของฐานเทากับ 2.60 ม.
™ กําลังอัดของคอนกรีต (f’c) = 200 กก./ซม.2
™ กําลังที่จุดคราก (fy) = 4,000 กก./ซม.2
50
ƒกําลังรับน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของดิน qa = 13.33 ตัน/ม.2
ขั้นที่ 1 : เลือกขนาดของฐานราก

ƒ น้ําหนักบรรทุกใชงานทั้งหมด Ps = Pse + Psi = 70 + 100 = 170 ตัน

ƒ ประมาณน้ําหนักของฐานราก 10% ของน้ําหนักบรรทุก : WFD = 0.10*170 = 17 ตัน

ƒ น้ําหนักทั้งหมดเทากับ Wst = Ps + WFD = 170 + 17 = 187 ตัน

ƒ กําลังรับน้ําหนักบรรทุกปลอดภัยของดิน qa = 13.33 ตัน/ม.2

ƒ พื้นที่ๆตองการ AF = Wst/qa = 187/13.33 = 14.03 ม.2

ƒ นั่นคือ พื้นที่ของฐานทั้งหมด (ไมรวมคานรั้ง) BF(Le + Li) = 14.03 ม.2

ƒ หรือ Le + Li = 5.40 ม. เมือ


่ BF = 2.6 ม.
105 × 5.0
ƒ หาตําแหนงของแรงลัพธ วัดจากแนวตอมอตัวใน x = = 2.06
ม.
105 + 150

51
3.10 2.30

2.06 1.05
0.40 0.50

2.60 0.40 0.50 0.50

P = 70 ตัน (ใชงาน)
C.G.
= 105 ตัน (ประลัย) P = 100 ตัน (ใชงาน) 1.05
= 150 ตัน (ประลัย)

5.00
แรงของตอมอ แรงลัพธ
แรงของตอมอ
ตัวชิดเขต ของน้ําหนักบรรทุก
ตัวใน

แรงลัพธของดิน แรงลัพธของดิน
ฐานรากตัวชิดเขต ของฐานรากตัวใน

52
ขั้นที่ 1 : เลือกขนาดของฐานราก

ƒ คํานวณโมเมนตพื้นที่รอบศูนยกลางเสาตัวใน

B F L e [(5.0 + 0.2) − 0.5L e ] = 14.03 × 2.06


ƒ หรือ
L2e − 10.4L e + 22.24 = 0

ƒ แกสมการจะได Le = 3.01 ม. เลือกใช 3.10 ม.

ƒ ดังนั้นฐานรากตัวในยาว Li = 5.40 – Le = 2.30 ม.


ƒ
ƒ กําหนดขนาดความกวางของคานรั้ง (B) เทากับ 0.50 ม.

53
ขนาดของฐานราก (แปลน)

3.10 2.30

2.06 1.05
0.40 0.50

2.60 0.40 0.50 0.50

P = 70 ตัน (ใชงาน)
C.G.
= 105 ตัน (ประลัย) P = 100 ตัน (ใชงาน) 1.05
= 150 ตัน (ประลัย)

5.00
แรงของตอมอ แรงลัพธ
แรงของตอมอ
ตัวชิดเขต ของน้ําหนักบรรทุก
ตัวใน

แรงลัพธของดิน แรงลัพธของดิน
ฐานรากตัวชิดเขต ของฐานรากตัวใน 54
ขั้นที่ 2 : เขียนผังแรงเฉือนและโมเมนตดัด

ƒ นําน้ําหนักของตอมอแตละตนมาคํานวณแรงกระจาย

ƒ ตอมอตัวชิดเขต : we = Pue/Bce = 105/0.40 = 262.50 ตัน/ม.

ƒ ตอมอตัวใน : wi = Pui/Bci = 150/0.50 = 300 ตัน/ม.

ƒ พื้นที่สุทธิเทากับ An = B F (L e + L i ) = 2.60 × (3.10 + 2.30) = 14.04


Pue + Pui 105 + 150
ƒ แรงดันดินประลัยเทากับ pu = ตั=น/ม.2 = 18.16
An 14.04

ƒ แรงกระจายประลัย : pu = p u × L = 18.16 × 2.6 = 47.22

ƒ นําขอมูลทั้งหมดมาเขียนผังแรงเฉือนและโมเมนตดัด

55
ผังแรงเฉือนและโมเมนตดัด
262.5 300

(ก) แรงกระจาย (ตัน/ม.)


47.22 47.22
3.10 2.30

78.74 83.89
41.39 41.39 0.900

(ข) กราฟแรงเฉือน (ตัน)

42.50
86.11 0.332
2.224 0.876 0.950 0.900 1.068

0.500
95.76
77.63 1.509
38.31
(ค) กราฟโมเมนต (ตัน-ม.)
56
22.70 19.13
ขั้นที่ 3 : ออกแบบฐาน

ƒ เนื่องจากความกวางของคานรั้งเทากับ 0.50 ม.
~ B F − B 2.6 − 0.5
ƒ ความยาวแบบคานยื่นของฐาน L = = = 1.05
2 2
ม. ~
V u = p u L = 18.16 × 1.05 = 19.07
ƒ แรงเฉือนประลัยตอเมตร ~ ตัน (/ม.)
p u L 2 18.16 × 1.05 2
Mu = = = 10.01
2 2
ƒ โมเมนตดัดประลัยตอเมตร ตัน-ม. (/ม.)

ƒ กําหนดความลึกของฐานเทากับ 0.40 ม. และใช d = 0.35 ม.

57
ขั้นที่ 3 : ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคานกวาง

ƒ กําลังแรงเฉือนของคอนกรีตลวน

ƒ แทนคาจะได c′ bd
V c = 0.53 fกก./(ม.)

ƒ เมื่อ φ = 0.85 จะได φVc = 0.85 × 0.53 200 × 100 × 35 = 22.ตั


30น/(ม.)

ƒ แรงเฉือนประลัยที่หนาตัดวิกฤติ (หางจากหนาเสา d)

ƒ คือ Vu = 18.16(1.05-0.35) = 12.71 ตัน/(ม.)

ƒ จะได φVc > Vu O.K.

58
ขั้นที่ 3 : ออกแบบเหล็กเสริม (เอก-ขนานดาน 2.60 ม.)

f′ ⎛ 2M u ⎞
As = 0.85bd c ⎜1 − 1 − ⎟
ƒ จาก fy ⎜ 2 ⎟
⎝ φ0 .85bd f c′ ⎠

200 ⎛⎜ 2 ⋅ 10.01 × 1,000 × 100 ⎞


⎟ = 8.17
ƒ แทนคา As = 0.85 ⋅ 100 ⋅ 35 1 − 1 −
4,000ซม.
2 /(ม.)
⎜ 0.9 ⋅ 0.85 ⋅ 100 ⋅ 35 2 ⋅ 200 ⎟
⎝ ⎠

ƒ เหล็กเสริมนอยสุด As,min = (14/4,000)*100*35 = 12.25 ซม.2/(ม.)

ƒ หรือ As,min = 1.33As = 1.33*8.17 = 10.87 ซม.2/(ม.)


ควบคุม!!
ƒ เหล็กเสริมตานทานการยืดหดตัว As,temp = 0.0018bt

ƒ แทนคา As,min = 0.0018*100*40 = 7.20 ซม.2/(ม.)

ƒ ใช DB16 จํานวน 10.87/2.02 = 5.41 เสน/ม.

ƒ หรือ s = 1/5.41 = 0.185 ม./(ม.) นั่นคือ ใช DB16@0.185 ม.


59
ขั้นที่ 3 : ออกแบบเหล็กเสริม (รอง-ตั้งฉากเหล็กเอก)

ƒ ใชเหล็กเสริมเพื่อตานทานการยืดหดตัวเปนเกณฑ As = 7.20 ซม.2/(ม.)

ƒ เมื่อใช DB12 จะได 7.20/1.13 = 6.37 เสน/ม.

ƒ หรือ s = 1/6.37 = 0.157 ม.

ƒ นั่นคือ ใช DB12@0.15 ม. เปนเหล็กเสริมรอง

60
ขั้นที่ 3 : ตรวจสอบระยะฝงยึด

ƒ สําหรับเหล็กเสนผานศูนยกลางไมเกิน 36 มม. ระยะฝงที่ตองการคือ


0.06 Ab f y
l db =
f c′

ƒ ระยะหุม 5 ซม. แทนคาจะได


0.06 × 2.01 × 4,000
l db = = 34.11 ซม.
200

ƒ นอยกวา 0.5x(260-50)-5=100 ซม. O.K.

61
ขั้นที่ 4.1 : ออกแบบคานรั้ง

สําหรับคานรูปตัวที มี Mu = 95.76 ตัน-ม. โดยสมมุติความลึกคาน 95 ซม.

ƒ ปกคานลึก tf = 40 ซม. และมี d = 0.90 ม.

ƒ สมมุตวิ าคานเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผากวาง 260 ซม.


Mu 95.76 × 1,000 × 100
ƒ ปริมาณเหล็กเสริมที่ตองการ As = =ซม.2 = 38.00
⎛ a⎞ ⎛ 40 ⎞
φf y ⎜ d − ⎟ 0.9 × 4,000 × ⎜ 90 − ⎟
⎝ 2⎠ ⎝ 2 ⎠
ƒ หรือ ρ = As/bd = 38/(260x90) = 0.0016
As f y 38 × 4000
ƒ ตําแหนงของแกนสะเทิน a= = = 3.44
0.85 f c′b 0.85 × 200 × 260
a 3.44
ƒ นั่นคือ c = ซม.= นอยกว
= 4า tf คิดเปนคานสี่เหลียมปรกติ
β1 0.85
200 ⎛⎜ 2 2 ⋅ 95.76 × 1,000 × 100 ⎞
⎟ = 30.01
ƒ ปริมาณเหล็กเสริม As = 0.85 ⋅ 260 ⋅ 90 ซม.
4,000 ⎜⎝
1− 1−
0.9 ⋅ 0.85 ⋅ 260 ⋅ 90 2 ⋅ 200 ⎟

62
ขั้นที่ 4.2 : ออกแบบคานรั้ง

สําหรับคานสี่เหลียมผืนผา มี Mu = 77.63 ตัน-ม. (ไมคด ิ ผลของเหล็กเสริมรับ


แรงอัด) 200 ⎛⎜ 2 ⋅ 77.63 × 1,000 × 100 ⎞⎟
ƒ เหล็กเสริม A s = 0 .85 ⋅ 50 ⋅ 90
4,000 ⎜ซม.
1 − 1
2 −
2
0.9 ⋅ 0.85 ⋅ 50 ⋅ 90 ⋅ 200 ⎟
= 25.69
⎝ ⎠

ƒ เมื่อพิจารณารวมกับเหล็กเสริมที่หาจาก ขั้นที่ 4.2 พบวาเหล็กเสริมรับโมเมนตลบ

ƒ ใชเทากับ As = 30.01 ซม.2

ƒ เหล็กเสริมนอยสุด As,min = (14/4,000)*50*90 = 15.75 ซม.2

ƒ เลือกใชเหล็ก DB20 จะได 30.01/3.14 = 9.55 เสน

ƒ ดังนั้นใช 10DB20 จํานวน 2 ชั้นๆละ 5 เสน เปนเหล็กเสริมรับโมเมนตลบ

63
ขั้นที่ 4.3 : ออกแบบคานรั้ง

สําหรับคานรูปตัวที ที่พิจารณาเปนคานสี่เหลี่ยมผืนผา

มี Mu = 22.70 ตัน-ม. (ไมคิดผลของเหล็กเสริมรับแรงอัด)


200 ⎛⎜ 2 2 ⋅ 22.70 × 1,000 × 100 ⎞
⎟ = 7.139
ƒ เหล็กเสริม As = 0.85 ⋅ 50 ⋅ 90 ซม.
4,000 ⎜⎝
1− 1−

0.9 ⋅ 0.85 ⋅ 50 ⋅ 90 2 ⋅ 200 ⎠

ƒ เนื่องจากในฐานมีเหล็กเสริมอยูแลว As = 7.20x2.60 = 18.72 ซม.2


ƒ
ƒ มากกวา 15.75 ซม.2 (As,min) O.K.

ƒ ดังนั้นเสริมเหล็ก 2DB20 เปนเหล็กลางตลอดความยาวคาน

64
ขั้นที่ 4.4 : ออกแบบคานรั้ง

ออกแบบแรงเฉือน Vu = 86.11 ตัน พิจารณาเปนคานสี่เหลี่ยมผืนผา

ƒ คํานวณกําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีตลวน Vc = 0.53 × 200 × 50 × 90 = 33,728.99


กก.

ƒ เมื่อ φ = 0.85 จะได φVc = 28.67 ตัน นอยกวา Vu ตองเสริมเหล็กรับแรงเฉือน


φVn ,max = 2.1 × 0.85 200 × 50 × 90 = 113,596.70
ƒ กําลังรับแรงเฉือนสูงสุด กก.

ƒ หรือ φVn,max = 113.60 ตัน มากกวา Vu ดังนั้นไมจําเปนตองขยายหนาตัด


V c1 = 1.1φ f c′ bd = 1.1 × 0.85 200 × 50 × 90 = 59,503.04
ƒ สําหรับ กก.

ƒ นั่นคือ Vu - φVc = 86.11-28.67 = 57.44 ตัน Av φf y d


s=
ƒ พบวา φVc < Vu-φVc < φVc1 เสริมเหล็กรับแรงเฉือนเปนระยะ V u − φVc
65
ขั้นที่ 4.4 : ออกแบบคานรั้ง

2.26 × 0.85 × 4 × 90
ƒ เลือก DB12 เปนเหล็กเสริมตามขวาง จะได s= = 12.04
86ซม.
.11 − 28.67

ƒ ตองไมมากกวา 0.5d = 45 ซม. และ 60 ซม.

ƒ เพื่อความสะดวกในการกอสรางใช 2DB12@0.20 ม.

66
รายละเอียดเหล็กเสริม

67
รายละเอียดเหล็กเสริม

68
รายละเอียดเหล็กเสริม

69
ตัวอยางที 4 จากตัวอยางที่ 3 จงออกแบบฐานราก
รวมวางบนเข็ม
ƒ จากตัวอยางที่ 3 เมื่อ Pse = 70 ตัน และ Psi = 100 ตัน Pue = 105 ตัน และ Pui =
150 ตัน และ Safe load ของเสาเข็มคือ 12.5 ตัน/ตน

ƒ ประมาณน้ําหนักของฐานรากจาก 10% ของน้ําหนักบรรทุก

ƒ สําหรับฐานตัวใน 100x1.10/12.5 = 8.8 ตัน ใช 9 ตัน

ƒ สําหรับฐานตัวชิดเขต 70x1.10/12.5 = 6.2 ใช 9 ตัน

ƒ ใชเข็ม 0.22x0.22 วางหางกัน 3 เทาของหนาตัด (เลือกใช 0.65 ม.)

70
แปลนของฐานราก

71
คํานวณขนาดของฐานราก
ƒ ประมาณน้ําหนักของฐานรากจาก 10% ของน้ําหนักบรรทุก

ƒ นั่นคือ We = 0.1x70 = 7 ตัน

ƒ และ Wi = 0.1x100 = 10 ตัน

ƒ คํานวณโมเมนตรอบจุดศูนยถวงของฐานตัวชิดเขต 70 × 0.65 + 4.35R i = 4.35(100 + 10)

ƒ จะได Ri = 99.54 ตัน

ƒ รวมแรงในแนวดิ่ง Ri + Re = Pi + Pe + Wi + We หรือ Ri + Re = 100+70+10+7

ƒ แทน Ri จะได Re = 187-99.54 = 87.46 ตัน

ƒ Check ฐานตัวใน : 99.54/9 = 11.66 ตัน < 12.5 ตัน O.K.

ƒ Check ฐานตัวชิดเขต : 87.46/9 = 9.72 ตัน < 12.5 ตัน O.K.


72
คํานวณขนาดของฐานราก
ƒ กําหนดความลึกฐานเทากับ 0.45 ม.

ƒ ดังนั้นขนาดของฐานรากคือ 1.7x1.7x0.45 ม.

ƒ นั่นคือฐานรากหนัก We = Wi = 3.12 ตัน นอยกวา 7 และ 10 ตัน O.K.

73
ผังของแรงเฉือนและโมเมนตดัด
ƒ น้ําหนักประลัยของฐาน WuD = 1.4x3.12 = 4.37 ตัน

ƒ คํานวณแรงลัพธ Rue และ Rui โดยคํานวณโมเมนตรอบจุด Rue จะได

ƒ นัน
่ คือ 105x0.65+4.35Rui-154.37x4.35=0

ƒ จะได Rui = 138.68 ตัน เฉลีย


่ ลงเข็ม 138.68/9 = 15.41 ตัน

ƒ รวมแรงในแนวดิ่ง 105+2x4.37+150=138.68+Rue จะได Rue = 125.06 ตัน


74
ƒ เฉลี่ยลงเข็มจะได 125.06/9 = 13.90 ตัน
ผังของแรงเฉือนและโมเมนตดัด
0.85 0.65 3.05 0.65 0.65 0.20
0.20

105 4.37 154.37

(ก) แรง (ตัน)

41.70 41.70 41.70 46.23 46.23 46.23

61.96

15.73
(ข) กราฟแรงเฉือน (ตัน)
-25.97 -46.23
-63.30
58.03 54.88
41.15
10.05
(ค) กราฟโมเมนต (ตัน-ม.)
75
-30.23
ตรวจสอบแรงเฉือนแบบคานกวาง
ƒ กําหนดให d = 0.4 ม. ดังนั้นหนาตัดวิกฤติอยูหางจากขอบเสาเปนระยะ d
ƒ สําหรับฐานรากตัวใน เสาเข็มอยูห  างจากหนาตัดวิกฤติเทากับ 0.0 ม.
⎛ x ตั⎞⎟น ⎛ 0 ⎞
ƒ ซึ่งนอยกวา dp/2 = 0.11 ม. ดังนั้น ⎜
R ′ = R 0.5 + = 15.41⎜ 0.5 + ⎟ = 7.705
⎜ d ⎟ ⎝ 0 .22 ⎠
⎝ p ⎠
ƒ สําหรับฐานรากตัวชิดเขต เสาเข็มอยูห
 างจากหนาตัดวิกฤติเทากับ 0.0 ม.

ƒ ซึ่งนอยกวา dp/2 =0.11 ม. ดังนั้น ⎛ xตัน⎞⎟ ⎛ 0.0 ⎞



R′ = R 0.5 + = 13.90⎜ 0.5 + ⎟ = 6.95
⎜ dp ⎠ ⎟ ⎝ 0.22 ⎠
ƒ นัน ⎝
่ คือใช Vu = 3x7.705 = 23.115 ตัน ในการออกแบบ

ƒ กําลังรับแรงเฉือนของฐานราก
ตัน
Vc = 0.53 f c′bd = 0.53 200 × 170 × 40 = 50.97

ƒ จาก φ = 0.85 จะได φVc = 0.85x50.97 = 43.32 ตัน > Vu O.K.

76
หนาตัดวิกฤติสําหรับแรงเฉือน
หนาตัดวิกฤติ

หนาตัดวิกฤติ
0.40

77
เหล็กเสริมในฐาน : ตั้งฉากกับคานรัง้
⎛ 0.50 ⎞
ƒ โมเมนตดัดที่หนาคาน (ตัวใน) M u = 3 × 15 . 41 × ⎜ 0 . 65 − ⎟ = 18.49
ตัน-ม. ⎝ 2 ⎠
⎛ 0.50 ⎞
M u = 3 × 13.90 × ⎜ 0.65 − ⎟ = 16.68
ƒ โมเมนตดัดที่หนาคาน (ตัวชิดเขต)
⎝ 2 ⎠
ตัน-ม.

ƒ ดังนั้นใช Mu ของฐานตัวfในเพื ⎛ ่อออกแบบ 2M ⎞


c′ ⎜ u ⎟
As = 0.85bd 1− 1−
fy ⎜ φ 0 .85bd 2
f ′ ⎟
⎝ c ⎠
ƒ จาก 200 ⎛⎜ 2 ⋅ 18.49 × 1,000 × 100 ⎞⎟
As = 0.85 ⋅ 170 ⋅ 40 ⋅ 1− 1− = 13.14
4,000 ⎜⎝ 0.9 ⋅ 0.85 ⋅ 170 ⋅ 40 2 ⋅ 200 ⎟⎠
ƒ แทนคา ซม.2

ƒ เหล็กเสริมนอยสุด As,min = (14/fy)bd = (14/4,000)x170x40 = 23.80 ซม.2

ƒ หรือ As,min = 1.33xAs = 1.33x13.14 = 17.48 ซม.2 78


เหล็กเสริมในฐาน : ตั้งฉากกับคานรัง้
ƒ เหล็กเสริมเพื่อตานทานการยืดหด

ƒ As,temp = 0.0018bt = 0.0018x170x45 = 13.77 ซม.2

ƒ นั่นคือ As = 17.48 ซม.2 > 13.77 cm2 ควบคุมการออกแบบ

ƒ ใช DB16 จะได 17.48 / 2.01 = 8.70 เสน

ƒ หรือ s = 170/8.70 = 19.54 ซม.

ƒ ใช DB16@0.15 ม. สําหรับเหล็กเสริมเอก

79
เหล็กเสริมในฐาน : เหล็กเสริมตามขวาง
ƒ ใชเหล็กเพื่อตานทานการยืดหดตัว As = 13.77 ซม.2

ƒ เมื่อใช DB12 จะได (13.77)/1.13 = 12.2 เสน

ƒ หรือ s = 170/12.2 = 13.93 ซม.

ƒ นั่นคือใช DB12@0.125 ม. สําหรับเหล็กตั้งฉากกับเหล็กตามขวาง

80
ตรวจสอบระยะฝงยึด

ƒ สําหรับเหล็กเสนผานศูนยกลางไมเกิน 36 มม. ระยะฝงที่ตองการคือ


0.06 Ab f y
l db =
f c′

ƒ ระยะหุม 5 ซม. แทนคาจะได


0.06 × 2.01 × 4,000
l db = = 34.11 ซม.
200

ƒ นอยกวา 0.5x(170-50)-5=55 ซม. O.K.

81
ออกแบบคานรั้ง
ƒ หนาตัดรูปตัวทีคว่ํา0.85 0.65 ตัน-ม.3.05
Mu = 58.03 (โมเมนตลบ)
0.65 0.65 0.20
0.20
ƒ หนาตัดสี่เหลี่ยม Mu = 54.88 ตัน-ม. (โมเมนตลบ)
105 4.37 154.37
ƒ หนาตัดรูปตัวทีคว่ํา Mu = 30.23 ตัน-ม. (โมเมนตบวก)
(ก) แรง (ตัน)
ƒ Vu = 61.96 Ton
41.70 41.70 41.70 46.23 46.23 46.23
ƒ ประมาณความลึกคาน 0.95 ม. และมี d = 0.90 ม.
61.96

15.73
(ข) กราฟแรงเฉือน (ตัน)
-25.97 -46.23
-63.30
58.03 54.88
41.15
10.05
(ค) กราฟโมเมนต (ตัน-ม.)
82
-30.23
ออกแบบคานรั้ง : Mu1 = 58.03 ตัน-ม.

ƒ สําหรับปกคาน tf = 45 ซม. และ d = 90 ซม.

ƒ ตรวจสอบวาเปนคานรูปตัวทีจริงหรือไม?? โดยสมมุติวาเปนคานรูปเหลี่ยม = 170 ซม.


Mu 58.03 × 1,000 × 100
As = = = 23.88
ƒ ปริมาณเหล็กเสริมที่ตองการ ⎛ a⎞ ⎛ 45 ⎞
φf y ⎜ d − ⎟ 0.9 × 4,000 × ⎜ 90 − ⎟
ซม.2 ⎝ 2⎠ ⎝ 2 ⎠

As f y 23.88 × 4,000
a= = = 3.31
0.85 f c′b 0.85 × 200 × 170
ƒ คํานวณ ซม.

ƒ ตําแหนงแกนสะเทิน c = a/β1 = 3.31/0.85 = 3.89 ซม. < tf คานรูปเหลี่ยม


200 ⎛⎜ 2 ⋅ 58.03 × 1,000 × 100 ⎞
⎟ = 18.16
As = 0.85 ⋅ 170 ⋅ 90 1− 1−
4,000 ⎜⎝ 0.9 ⋅ 0.85 ⋅ 170 ⋅ 90 2 ⋅ 200 ⎟

ƒ จะได ซม.2
83
ออกแบบคานรั้ง : Mu2 = 54.88 ตัน-ม.

200 ⎛⎜ 2 × 54.88 × 1,000 × 100 ⎞


⎟ = 17.76
ƒ แทนคา As = 0.85 ⋅ 50 ⋅ 90 1 − 1 −
4,000 ⎜⎝ซม.
2
0.9 ⋅ 0.85 ⋅ 50 ⋅ 90 2 ⋅ 200 ⎟

ƒ เปรียบเทียบกับ As = 18.16 ซม.2

ƒ และ As,min = (14/4,000)x50x90 = 15.75 ซม.2

ƒ เลือกใช As = 18.16 ซม.2

ƒ เลือกใช DB20 จะได 18.16/3.14 = 5.78 เสน

ƒ นั่นคือใชเหล็ก 6DB20

84
ออกแบบคานรั้ง : Mu3 = 30.23 ตัน-ม.

ƒ พิจารณาเปนคานรูปเหลี่ยม กวาง 50 ซม.

200 ⎛⎜ 2 ⋅ 30.23 × 1,000 × 100 ⎞


⎟ = 9.57
ƒ นั่นคือ As = 0.85 ⋅ 50 ⋅ 90 1 − 1 −
4,000ซม.
2
⎜ 0.9 ⋅ 0.85 ⋅ 50 ⋅ 90 2 ⋅ 200 ⎟
⎝ ⎠

ƒ ตองการเหล็ก DB20 จํานวณ 9.57/3.14 = 3.05 เสน

ƒ ใช 3 เสนเปนเหล็กลางตลอดคานรั้ง

85
ออกแบบแรงเฉือน

ออกแบบแรงเฉือน Vu = 61.96 ตัน พิจารณาเปนคานสี่เหลี่ยมผืนผา


ƒ คํานวณกําลังรับแรงเฉือนของคอนกรีตลวน Vc = 0.53 × 50 × 90 200 = 33,728.99

กก.

ƒ เมื่อ φ = 0.85 จะได φVc = 28.67 ตัน นอยกวา Vu ตองเสริมเหล็กรับแรงเฉือน


φVn ,max = 2.1 × 0.85 200 × 50 × 90 = 113,596.70
ƒ กําลังรับแรงเฉือนสูงสุด กก.

ƒ หรือ φVn,max = 113.60 ตัน มากกวา Vu ดังนั้นไมจําเปนตองขยายหนาตัด


V c1 = 1.1φ f c′ bd = 1.1 × 0.85 200 × 50 × 90 = 59,503.04
ƒ สําหรับ กก.

ƒ นั่นคือ Vu - φVc = 61.96-28.67 = 33.29 ตัน Av φf y d


s=
V u − φVc
ƒ พบวา φVc < Vu-φVc < φVc1 เสริมเหล็กรับแรงเฉือนเปนระยะ
86
ออกแบบแรงเฉือน

ƒ เลือก DB10 จํานวณ 2 เสน (4 ขา) เปนเหล็กเสริมตามขวาง จะได

3.14 × 0.85 × 4 × 90
s= = 28.86
61.96 − 28.67ซม.

ƒ ตองไมมากกวา 0.5d = 45 ซม. และ 60 ซม.

ƒ เพื่อความสะดวกในการกอสรางใช 2DB10@0.25 ม.

87
รายละเอียดเหล็กเสริม

1 .70

DB 16 @ 0 .15
1 . 70
0 . 50

6 DB 20
2 DB10 @ 0 .25 2 DB 20 ( special )

DB 12 @ 0 . 125 2 DB 20 ( special )
0 .95

DB12 @ 0 . 125 3 DB20 0 .45

DB16 @ 0 .15

0 . 22 x0 . 22 Square
Safe load 12 . 5 Ton /pile 88
รายละเอียดเหล็กเสริม

89
90

You might also like