Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 59

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์

พื้นฐาน
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
ภาคเรียนที่ 1
โดย คณาจารย์แม็ค

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อความใดต่อไปนีเ้ ป็ นเท็จ (มฐ. ค 3.1 ม.3/1)
1. รูปเรขาคณิตสองมิติเป็ นรูปที่มีความกว้างและความยาว
2. รูปเรขาคณิตสามมิติเป็ นรูปที่มีความกว้าง ความยาว และความหนา
3. รูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติ คือ พื้นที่ผิวของรูปเรขาคณิตสามมิติ
4. ภาพที่ได้จากการมองด้านข้างของรูปเรขาคณิตสามมิติเป็ นรูปสามมิติ
2. จากรูป เป็ นรูปคลี่ของรูปเรขาคณิตสามมิติชนิดใด (มฐ. ค 3.1 ม.3/1)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 2
1. กรวย 2. พีระมิด
3. ปริซึมสี่เหลี่ยม 4. ปริซึมสามเหลี่ยม
3. ปริซึมสามเหลี่ยมสูง 8 เซนติเมตร มีเส้นรอบรูปฐานยาว 3 เซนติเมตร 4
เซนติเมตร และ 5 เซนติเมตร พื้นที่ผิวของปริซึมเท่ากับกี่ตาราง
เซนติเมตร (มฐ. ค 2.1 ม.3/1)
1. 96 ตารางเซนติเมตร 2. 102 ตารางเซนติเมตร
3. 104 ตารางเซนติเมตร 4. 108 ตารางเซนติเมตร
4. ถ้าพื้นที่ผิวของลูกบาศก์เป็ น 96 ตารางนิว้ ลูกบาศก์นจ
ี ้ ะมีความยาวด้าน
ละกี่นว
ิ ้ (มฐ. ค 2.1 ม.3/1)
1. 4 นิว้ 2. 5 นิว้
3. 16 นิว้ 4. 25 นิว้
5. จากรูป พื้นที่ผิวข้างของปริซึมเท่ากับกี่ตารางเซนติเมตร (มฐ. ค 2.1
ม.3/1)

12 ซม.
20 ซม.
5 ซม.

1. 600 ตารางเซนติเมตร 2. 650 ตารางเซนติเมตร


3. 690 ตารางเซนติเมตร 4. 720 ตารางเซนติเมตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 3
6. แผ่นคอนกรีตรูปปริซึมสามเหลี่ยมมีด้านทัง้ สามยาว 50 เซนติเมตร 58
เซนติเมตร และ 72 เซนติเมตร หนา 10 เซนติเมตร จะมีปริมาตรกี่
ลูกบาศก์เซนติเมตร (มฐ. ค 2.1 ม.3/2)
1. 480 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2. 4,800 ลูกบาศก์
เซนติเมตร
3. 14,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. 14,400 ลูกบาศก์
เซนติเมตร
7. ถังเก็บน้ำทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกว้าง 10 เมตร เมื่อเทน้ำออกไป 300
ลูกบาศก์เมตร ระดับน้ำจะลดลงจากเดิม 2 เมตร ถังเก็บน้ำใบนีย
้ าวกี่
เมตร (มฐ. ค 2.1 ม.3/2)
1. 15 เมตร 2. 16 เมตร
3. 17 เมตร 4. 18 เมตร
8. นำอิฐบล็อกกว้าง 18 เซนติเมตร ยาว 40 เซนติเมตร หนา 6 เซนติเมตร
มาก่อกำแพงยาว 20 เมตร สูง 180 เซนติเมตร หนา 6 เซนติเมตร จะต้อง
ใช้อิฐบล็อกทัง้ หมดกี่ก้อน (มฐ. ค 2.1 ม.3/2)
1. 500 ก้อน 2. 650 ก้อน
3. 700 ก้อน 4. 750 ก้อน
9. ในการขุดบ่อน้ำยาว 540 เมตร ลึก 3.5 เมตร ความกว้างของปากบ่อ
เป็ น 24.20 เมตร และความกว้างของก้นบ่อเป็ น 15.80 เมตร ถ้าคนงาน
ขุดดินได้วันละ 200 ลูกบาศก์เมตร คนงานจะขุดคูเสร็จในเวลากี่วัน (มฐ.
ค 2.1 ม.3/2)
1. 123 วัน 2. 179 วัน
3. 187 วัน 4. 189 วัน

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 4
10. พีระมิดฐานสามเหลี่ยมที่มีด้านทัง้ สามยาว 25 เซนติเมตร 29 เซนติเมตร
และ 36 เซนติเมตร ถ้าพีระมิดนีม
้ ีปริมาตร 720 ลูกบาศก์เซนติเมตร
พีระมิดนีจ
้ ะสูงกีเ่ ซนติเมตร (มฐ. ค 2.1 ม.3/2)
1. 4 เซนติเมตร 2. 6 เซนติเมตร
3. 10 เซนติเมตร 4. 12 เซนติเมตร
11. พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอกใบหนึ่งเท่ากับ 484 ตารางเซนติเมตร ถ้า
ทรงกระบอกสูง 11 เซนติเมตร แล้วพื้นที่ฐานของทรงกระบอกเท่ากับกี่
ตารางเซนติเมตร (มฐ. ค 2.1 ม.3/1)
1. 130 ตารางเซนติเมตร 2. 140 ตารางเซนติเมตร
3. 144 ตารางเซนติเมตร 4. 154 ตารางเซนติเมตร
12. ท่อน้ำท่อหนึ่งยาว 1 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกยาว 52
เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลางภายในยาว 46 เซนติเมตร ถ้าใช้ซีเมนต์ทำ
ท่อน้ำนี ้ จะต้องใช้ซเี มนต์ประมาณกี่ลูกบาศก์เมตร (มฐ. ค 2.1 ม.3/2)
1. 0.01 ลูกบาศก์เมตร 2. 0.03 ลูกบาศก์เมตร
3. 0.05 ลูกบาศก์เมตร 4. 0.06 ลูกบาศก์เมตร

13. กรวยกลมมีรัศมีปากกรวยเป็ นครึ่งหนึ่งของความสูง เมื่อเทน้ำใส่กรวยจน


ได้ระดับน้ำสูง 4 นิว้ ถ้ากรวยสูง 14 นิว้ จะมีปริมาตรของน้ำที่ใส่ลงไปกี่
ลูกบาศก์นว
ิ ้ (มฐ. ค 2.1 ม.3/2)
8π 16π
1. 3 ลูกบาศก์นวิ ้ 2. 3 ลูกบาศก์นวิ ้
56π 64π
3. 3 ลูกบาศก์นว ิ้ 4. 3 ลูกบาศก์นวิ ้

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 5
14. กรวยกลมที่ถูกตัดส่วนยอดออกมีปริมาตร 9,152 ลูกบาศก์นว
ิ ้ เส้นผ่าน
ศูนย์กลางของหน้าตัดยาว 8 นิว้ เส้นผ่านศูนย์กลางของฐานล่างยาว 24
นิว้ กรวยยอดตัดนีส
้ ูงกี่นว
ิ ้ (มฐ. ค 2.1 ม.3/2)
1. 14 นิว้ 2. 36 นิว้
3. 42 นิว้ 4. 63 นิว้
15. โลหะทรงกระบอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 เซนติเมตร สูง 10 เซนติเมตร
เมื่อนำมาหลอมเพื่อทำพีระมิดตรงฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านยาวด้านละ
4 เซนติเมตร สูง 6 เซนติเมตร จะทำพีระมิดได้มากที่สุดกี่อัน (มฐ. ค 2.2
ม.3/1)
1. 12 อัน 2. 13 อัน
3. 14 อัน 4. 15 อัน
16. ถ้านำขันน้ำครึ่งทรงกลมรัศมี 3 นิว้ ตักน้ำใส่ถังทรงกระบอกรัศมี 8 นิว้
และลึก 18 นิว้ จะต้องตักน้ำกีค
่ รัง้ น้ำจึงจะเต็มถัง (มฐ. ค 2.1 ม.3/2)
1. 18 ครัง้ 2. 32 ครัง้
3. 64 ครัง้ 4. 72 ครัง้
17. ท่อน้ำคอนกรีตรูปทรงกระบอกอันหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม
วงนอก 18 เซนติเมตร และหนา 4 เซนติเมตร ถ้าท่อน้ำนีย
้ าว 1.40 เมตร
ปริมาตรของท่อน้ำนีเ้ ท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 2.2 ม.3/1)
1. 24,640 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2. 42,640 ลูกบาศก์
เซนติเมตร
3. 44,640 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. 64,240 ลูกบาศก์
เซนติเมตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 6
18. สนามรูปวงกลมมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 210 เมตร ถ้าขุดคูรอบสนามนี ้
ออกไปกว้าง 3 เมตร ลึก 2.80 เมตร จะต้องเสียค่าจ้างขุดคูกี่บาท ถ้า
อัตราค่าจ้างขุดคู 14 บาทต่อลูกบาศก์เมตร (มฐ. ค 2.2 ม.3/1)
1. 75,630 บาท 2. 76,510 บาท
3. 77,755 บาท 4. 78,725 บาท

19. ไอศกรีมมีลักษณะเป็ นทรงกลมบรรจุลงในกรวยสองกรวย โดยที่กรวยที่


หนึ่งมีไอศกรีม 3 ลูก แต่ละลูกมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 3 เซนติเมตร และ
กรวยที่สองมีไอศกรีม 2 ลูก แต่ละลูกมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 5
เซนติเมตร กรวยใดมีปริมาตรของไอศกรีมมากกว่ากัน (มฐ. ค 2.2 ม.3/1)
1. ทัง้ สองกรวยมีปริมาตรของไอศกรีมเท่ากัน
2. ไอศกรีมในกรวยที่หนึ่งมีปริมาตรมากกว่าไอศกรีมในกรวยที่สอง
3. ไอศกรีมในกรวยที่สองมีปริมาตรมากกว่าไอศกรีมในกรวยหนึ่ง
4. สรุปไม่ได้
20. ทรงกลมตัน 3 ลูก มีรัศมียาว 1 เซนติเมตร 2 เซนติเมตร และ 3
เซนติเมตร นำมาหลอมเป็ นทรงกระบอกที่มีความสูง 3 เซนติเมตร ทรง
กระบอกจะมีรัศมียาวกี่เซนติเมตร (มฐ. ค 2.2 ม.3/1)
1. 4 เซนติเมตร 2. 4.2 เซนติเมตร
3. 4.8 เซนติเมตร 4. 5 เซนติเมตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 7
21. เส้นตรงที่ผ่านจุด (–2, 5) และ (1, –2) มีความชันตรงกับข้อใดต่อไปนี ้
(มฐ. ค 4.2 ม.3/3)
5 5
1. 3 2. 3
7 7
3. 3 4.  3

22. ข้อความใดต่อไปนีไ้ ม่ถูกต้อง (มฐ. ค 4.2 ม.3/3)


3
1. 3x – 2y + 6 = 0 มีความชันเท่ากับ 2 2. 3x + 4y = –2 มี
3
ความชันเท่ากับ  4
4
3. 4x + 5y – 20 = 0 มีความชันเท่ากับ  5 4. 7x – 2y = 5
7
มีความชันเท่ากับ  2

23. กราฟของสมการ 2x – 5y + 7 = –4 ตัดแกน X ที่จุดใดต่อไปนี ้ (มฐ. ค


4.2 ม.3/3)
1. (5.5, 0) 2. (0, –2.2)
3. (0, 2.2) 4. (–5.5, 0)
24. กราฟของสมการ 4x – 5y – 12 = 0 ไม่ผ่านจุดในข้อใด (มฐ. ค 4.2
ม.3/3)
1. (–2, –4) 2. (3, 0)
3. (0.5, –2) 4. (0, 12)
25. ถ้ากราฟของสมการ 7x – 2y = 12, 2x + 3y = 2 และ ax – 10y = 6
ตัดกันที่จุดเดียวกัน แล้ว a มีค่าเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/3)
8 4
1. 5 2. 5
5 5
3. 8 4. 4

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 8
26. ถ้า (a, b) และ (a + 3, b + k) เป็ นจุดสองจุดบนเส้นตรง x = 3y – 7
แล้ว k มีค่าเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/3)
1
1. 3 2. 1

3. 3 4. 9
3
27. สมการในข้อใดต่อไปนีผ
้ ่านจุด (–2, 1) และมีความชันเป็ น 5 (มฐ. ค

4.2 ม.3/3)
1. 5y – 3x – 8 = 0 2. 15y = 9x + 3
3. 3x – 5y + 11 = 0 4. 9x – 15y = 3
4
28. สมการในข้อใดต่อไปนีผ
้ ่านจุด (–2, 5) และมีความชันเป็ น  3 (มฐ. ค

4.2 ม.3/3)
1. 3x + 4y = 7 2. 4x – 3y = 5
3. 4x + 3y = 7 4. 3x – 4y = 5
29. สมการเส้นตรงในข้อใดต่อไปนีผ
้ ่านจุด (–1, –3) และ (4, 0) (มฐ. ค 4.2
ม.3/3)
1. y – x + 4 = 0 2. 3x – 5y – 12 = 0
3. 5x – 3y – 12 = 0 4. 5y + 3x + 12 = 0
30. สมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (–4, 1) และ (–1, 3) จะขนานกับเส้นตรงในข้อ
ใด (มฐ. ค 4.2 ม.3/3)
1. 2x – 3y = 11 2. 3x – 2y = 11
3. 3x + 2y = 11 4. 6y – 4x – 22 = 0

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 9
3
31. สมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (x, 6) และ (–2, 9) และมีความชัน  4 ค่า x

เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/3)


1. –6 2. –2
3. 2 4. 6
32. สมการเส้นตรงที่ผ่านจุด (5, –12) และ (–3, 8) จะตัง้ ฉากกับเส้นตรงใน
ข้อใด (มฐ. ค 4.2 ม.3/3)
1. 2x – 5y = 15 2. 5y + 2x = 32
3. 2x + 5y = 10 4. 5y + 2x = 30
33. สมการของเส้นตรงคู่ใดต่อไปนีไ้ ม่ขนานกัน (มฐ. ค 4.2 ม.3/3)
1. 3x + 4y – 24 = 0 และ 3x + 4y + 24 = 0 2. 6x – 4y – 5 = 0
และ 3x – 2y – 1 = 0
3. 4x – 3y + 6 = 0 และ 12x – 9y – 12 = 0 4. 2x – 3y + 6
= 0 และ 4x – 9y – 6 = 0
34. สมการเส้นตรงในข้อใดต่อไปนีต
้ ัดแกน Y ที่จุด (0, 7) และตัดแกน X ที่
จุด (–3, 0) (มฐ. ค 4.2 ม.3/3)
1. 3x – 7y = 21 2. 3x + 7y = –21
3. 3y – 7x = 21 4. 3y + 7x = 21
35. สมการเส้นตรง 3x – 4y = 6 ตัดแกน X และแกน Y ที่จุดใดต่อไปนี ้
(ตอบตามลำดับ) (มฐ. ค 4.2 ม.3/3)
1. (3, 0) และ (0, 6) 2. (3, 0) และ (0, –6)
3. (2, 0) และ (0, –2.5) 4. (2, 0) และ (0, –1.5)

ใช้กราฟต่อไปนีต
้ อบคำถามข้อ 36-38

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 10
พนักงานขายสินค้าคนหนึ่งได้รับเงินเดือนจากบริษัทเดือนละ 20,000
บาท และได้รับอีก 500 บาทของยอดสินค้าที่ขายได้ทุก 10,000 บาท กราฟ
แสดงความสัมพันธ์ของรายได้ของพนักงานขายกับยอดขายสินค้าเป็ นดังนี ้

36. ถ้าในเดือนหนึ่งพนักงานขายสินค้ามีรายได้ 22,000 บาท เขาขายสินค้า


ได้ยอดขายสินค้าเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/2)
1. 30,000 บาท 2. 40,000 บาท
3. 50,000 บาท 4. 60,000 บาท
37. ถ้ายอดขายสินค้าในเดือนหนึ่งเป็ น 70,000 บาท เดือนนัน
้ พนักงานขายมี
รายได้กี่บาท (มฐ. ค 4.2 ม.3/2)
1. 22,000 บาท 2. 22,500 บาท
3. 23,000 บาท 4. 23,500 บาท
38. ถ้าเขาต้องการรายได้ในเดือนหนึ่งเป็ น 25,000 บาท พนักงานต้องขาย
สินค้าให้ได้ยอดขายเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/2)
1. 70,000 บาท 2. 80,000 บาท
3. 90,000 บาท 4. 100,000 บาท

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 11
ใช้กราฟต่อไปนีต
้ อบคำถามข้อ 39-40
โยนวัตถุชน
ิ ้ หนึ่งขึน
้ ไปในอากาศ กราฟแสดงความสัมพันธ์ของระยะที่
วัตถุอยู่สูงจากพื้นดินเป็ นเมตร (s) และเวลาเป็ นวินาที (t) เป็ นดังนี ้

39. เมื่อโยนวัตถุนาน 1 วินาที วัตถุอยู่สูงจากพื้นดินกี่เมตร (มฐ. ค 4.2


ม.3/2)
1. 10 เมตร 2. 15 เมตร
3. 20 เมตร 4. 25 เมตร
40. วัตถุอยู่สูงจากพื้นดินมากที่สุดกี่เมตร และใช้เวลานานเท่าไร (มฐ. ค 4.2
ม.3/2)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 12
1. 34 เมตร ในเวลา 3 วินาที 2. 35 เมตร ในเวลา 3
วินาที
3. 36 เมตร ในเวลา 4 วินาที 4. 37 เมตร ในเวลา 4
วินาที
41. คำตอบของระบบสมการ x – 3y = 17
y = 2x + 1
เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (มฐ. ค 4.2 ม.3/4)
1. (4, 7) 2. (–4, 7)
3. (4, –7) 4. (–4, –7)
42. ถ้าแทนค่า m = –2n – 8 ในสมการ 2m – 5n = 11 แล้ว n มีค่าเท่าไร
(มฐ. ค 4.2 ม.3/4)
1. –3 2. –2
3. 2 4. 3

43. ถ้า (a, b) เป็ นคำตอบของระบบสมการ 0.03x + 0.1y = 0.02


0.02x + 0.3y = 0.2
แล้ว ab เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/4)
8 5
1.  5 2.  8
5 8
3. 8 4. 5

44. ถ้า (p, q) เป็ นคำตอบของระบบสมการ y – 2 = 2(x + 3)


y + 1 = –3(x + 2)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 13
แล้ว p + q เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/4)
1. –5 2. –3
3. –2 4. –1
45. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. คำตอบของระบบสมการ 2x – 3y = 5 และ 4x – 6y = 10 มีคำตอบ
มากมายไม่จำกัด
ข. คำตอบของระบบสมการ x + 2y = 0 และ 2x – 10y = –6 ไม่มคำ

ตอบ
ค. คำตอบของระบบสมการ 2x – 5y = –3 และ 4x – 10y = –6 มีคำ
ตอบมากมายไม่จำกัด
ข้อความใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง (มฐ. ค 4.2 ม.3/4)
1. ข้อ ก และข้อ ข ถูกต้อง 2. ข้อ ก และข้อ ค ถูก
ต้อง
3. ข้อ ข และข้อ ค ถูกต้อง 4. ถูกทัง้ 3 ข้อ
46. ถ้าระบบสมการต่อไปนีไ้ ม่มีคำตอบ 5x – 10y = 40
–2x + ky = 30
แล้ว k มีค่าเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/4)
1. –4 2. –2
3. 2 4. 4
47. ถ้าระบบสมการต่อไปนีม
้ ีคำตอบมากมายไม่จำกัด 12x – 18y = 2
–18x + my = –3
แล้ว m มีค่าเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/4)
1. 9 2. 18
3. 27 4. 36

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 14
48. กำหนดให้ 12x – 18y = 2
3x + ay = 0
ถ้าระบบสมการมีคำตอบเป็ น (–2, –3) แล้ว a มีค่าเท่าไร (มฐ. ค 4.2
ม.3/4)
1. –3 2. –2
3. 2 4. 3
1x 1y  1
49. ถ้า (m, n) เป็ นคำตอบของระบบสมการ 3 4 6
1x 1y  1
3 2
แล้ว m : n เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/4)
1. 2 : 3 2. 2 : 5
3. 3 : 4 4. 3 : 5
50. ถ้า (a, b) เป็ นคำตอบของระบบสมการ 7x + 3y = 17
3x + 7y = 19
แล้วค่าเฉลี่ยของ a และ b เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/4)
31 41
1. 20 2. 20
9 18
3. 5 4. 5
3x y  x 2y 7
51. ถ้า 5 3
x y  x  y  5
6 2 3

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 15
2 2
แล้ว x + y เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/4)
1. 0 2. 10
3. 40 4. 50
52. ความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งเท่ากับ 48 เซนติเมตร ถ้า
ด้านยาวยาวกว่าสองเท่าของด้านกว้างอยู่ 3 เซนติเมตร ด้านกว้างของรูป
สี่เหลี่ยมผืนผ้านีย
้ าวกี่เซนติเมตร (มฐ. ค 4.2 ม.3/5)
1. 6 เซนติเมตร 2. 7 เซนติเมตร
3. 10 เซนติเมตร 4. 12 เซนติเมตร
53. วิภามีแสตมป์ ราคาดวงละ 5 บาท และราคาดวงละ 10 บาท รวม 25
ดวง ถ้าแสตมป์ ทัง้ หมดมีมูลค่า 180 บาท วิภามีแสตมป์ ราคาดวงละ 10
บาท กี่ดวง (มฐ. ค 4.2 ม.3/5)
1. 9 ดวง 2. 11 ดวง
3. 13 ดวง 4. 15 ดวง
54. ร้านเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึ่งมีผส
ู้ ั่งทำโต๊ะและเก้าอีจำ
้ นวน 100 ตัว เมื่อนับ
จำนวนขาโต๊ะและขาเก้าอีร้ วมกันได้ 340 ขา อยากทราบว่ามีผู้สั่งทำโต๊ะ
และเก้าอีอ
้ ย่างละกี่ตัว ถ้าเก้าอีม
้ ี 3 ขา และโต๊ะมี 4 ขา (ตอบตามลำดับ) (
มฐ. ค 4.2 ม.3/5)
1. 30 ตัว และ 70 ตัว 2. 40 ตัว และ 60 ตัว
3. 60 ตัว และ 40 ตัว 4. 70 ตัว และ 30 ตัว
55. จำนวนเต็มบวกสองหลัก โดยที่ผลบวกของเลขโดดทัง้ สองเท่ากับ 6 และ
ถ้าสลับหลักของเลขโดดแล้วจะเป็ นจำนวนที่มีค่ามากกว่าจำนวนเดิมอยู่
18 จำนวนดังกล่าวคือจำนวนในข้อใดต่อไปนี ้ (มฐ. ค 4.2 ม.3/5)
1. 15 2. 24
3. 42 4. 51

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 16
56. จำนวนเต็มบวกที่มีสองหลักโดยที่เลขโดดในหลักสิบมากกว่าเลขโดดใน
หลักหน่วยอยู่ 2 ถ้านำผลบวกของหลักทัง้ สองไปหารจำนวนนัน
้ จะได้
ผลลัพธ์เป็ น 6 เหลือเศษ 3 เลขจำนวนนัน
้ คือจำนวนใด (มฐ. ค 4.2
ม.3/5)
1. 75 2. 83
3. 91 4. 97
57. กาแฟผงสองชนิด ชนิดที่หนึ่งราคากิโลกรัมละ 180 บาท ผสมกับชนิดที่
สองราคากิโลกรัมละ 150 บาท จะต้องผสมกาแฟในอัตราส่วนเท่าไรจึงจะ
ได้ส่วนผสมราคากิโลกรัมละ 160 บาท (มฐ. ค 4.2 ม.3/5)
1. 1 : 2 2. 1 : 3
3. 2 : 3 4. 2 : 5
58. สารชนิดแรกมีแอลกอฮอล์อยู่ 8% สารชนิดที่สองมีแอลกอฮอล์อยู่ 40%
ถ้านำสารทัง้ สองมาผสมกันได้สารที่มีแอลกอฮอล์อยู่ 15% และมีปริมาตร
ทัง้ หมด 64 ลิตร อยากทราบว่านำสารทัง้ สองมาผสมอย่างละกี่ลิตร (ตอบ
ตามลำดับ) (มฐ. ค 4.2 ม.3/5)
1. 40 ลิตร และ 24 ลิตร 2. 44 ลิตร และ 20 ลิตร
3. 48 ลิตร และ 14 ลิตร 4. 50 ลิตร และ 14 ลิตร
59. ในการฝึ กซ้อมยกน้ำหนัก กนกยกน้ำหนัก 2 ครัง้ รวมกัน 750 ปอนด์ ถ้า
สองเท่าของน้ำหนักที่ยกได้ในครัง้ แรกมากกว่าครัง้ ที่สองอยู่ 300 ปอนด์
จงหาว่ากนกยกน้ำหนักครัง้ แรกได้กี่ปอนด์ (มฐ. ค 4.2 ม.3/5)
1. 300 ปอนด์ 2. 350 ปอนด์
3. 375 ปอนด์ 4. 400 ปอนด์

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 17
60. อนุภาค 2 ชิน
้ อยู่ห่างกัน 108 เซนติเมตร เริ่มเคลื่อนที่พร้อมกันเข้าหา
กัน จะพบกันเมื่อเวลาผ่านไป 9 วินาที ถ้าอนุภาคทัง้ สองวิ่งตามกันจะไป
ทันกันเมื่อเวลาผ่านไป 36 วินาที จงพิจารณาว่าข้อใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง (มฐ.
ค 4.2 ม.3/5)
1. อัตราเร็วของอนุภาคทัง้ สองต่างกัน 3 เซนติเมตรต่อวินาที
2. อนุภาคทัง้ สองพบกันเมื่ออนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ได้ 84 เซนติเมตร

3. ผลบวกของอัตราเร็วของอนุภาคทัง้ สองเท่ากับ 15 เซนติเมตรต่อ


วินาที
4. อนุภาคทัง้ สองเคลื่อนที่ตามกันและทันกันเมื่ออนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ได้
280 เซนติเมตร
61. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่เท่ากันทุกประการ จะเป็ นรูปสามเหลี่ยมที่
คล้ายกัน
ข. รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกัน จะเป็ นรูปสามเหลี่ยมที่เท่ากันทุก
ประการ
ค. รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีขนาดของมุมเท่ากันสองคู่ รูปสามเหลี่ยมสอง
รูปนีค
้ ล้ายกัน
ข้อความใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)
1. ข้อ ก และข้อ ข 2. ข้อ ก และข้อ ค
3. ข้อ ข และข้อ ค 4. ถูกต้องทุกข้อ

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 18
62. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก. รูปหกเหลี่ยมสองรูปมีมุมเท่ากันมุมต่อมุม รูปหกเหลี่ยมสองรูปนีค
้ ล้าย
กัน
ข. รูปหกเหลี่ยมสองรูปมีอัตราส่วนความยาวของด้านเท่ากันทุกคู่ รูปหก
เหลี่ยมสองรูปนีค
้ ล้ายกัน
ข้อความใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)
1. ข้อ ก ถูกต้อง 2. ข้อ ข ถูกต้อง
3. ถูกต้องทัง้ สองข้อ 4. ผิดทัง้ สองข้อ
63. ข้อความใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)
1. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทุกรูปคล้ายกัน 2. รูปสามเหลี่ยมหน้า
จั่วทุกรูปคล้ายกัน
3. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสทุกรูปคล้ายกัน 4. รูปสี่เหลี่ยมขนม
เปี ยกปูนทุกรูปคล้ายกัน
64. จากรูป ข้อใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)

A
D

B C E F

1. B
ˆ E
ˆ 2. C
ˆ F
ˆ

3. B
ˆ  C
ˆ 4. A
ˆ D
ˆ

65. จากรูป ข้อใดต่อไปนีถ


้ ูกต้อง (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)
A P

C Q
ข้อสอบวิชาคณิ
Bตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 19
R

BC AC AB AC
1. RP QP 2. PQ PR
AB AC AC BC
3. QR PR 4. PR QR

66. จากรูป ถ้า ABC ~ FDE แล้ว m + n เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 3.2


ม.3/1)
C E
1 n 1
3
A8 m B 0F
4m
D 12

1. 7 2 หน่วย 2. 10 2 หน่วย
3. 12 2 หน่วย 4. 13 2 หน่วย
67. PQR มีด้าน PQ = 1.8 เซนติเมตร, QR = 8 เซนติเมตร และ PR = 8.2
เซนติเมตร ถ้า PQR คล้ายกับ PQR และเส้นรอบรูปของ PQR ยาว
31.5 เซนติเมตร ด้านที่ยาวที่สุดของ PQR จะยาวกี่เซนติเมตร (มฐ. ค
3.2 ม.3/1)
1. 14 เซนติเมตร 2. 14.25 เซนติเมตร
3. 14.35 เซนติเมตร 4. 14.45 เซนติเมตร
68. จากรูป เส้นรอบรูปของ BDE ยาว 4 2  5 เซนติเมตร DEจะยาวกี่
C ม.3/1)
เซนติเมตร (มฐ. ค 3.2
ซม.
14 ซม.

A E B

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 20
D
1. 4 2 เซนติเมตร 2. 5 เซนติเมตร
3. 5 2 เซนติเมตร 4. 6 เซนติเมตร

69. จากรูป ABC ~ PBQ ค่าของ x + y เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)


C
2
P
y
3 4
A x Q2 B

1. 15 2. 17
3. 19 4. 21
ื ที่ 25.6 ตารางเซนติเมตร ลาก XYขนานกับ
70. รูปสามเหลี่ยม ABC มีพ้น
BCตัด ABและ ACที่จุด X และ
จุด Y ตามลำดับ ทำให้ AX : XB = 5 : 3 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม AXY
เท่ากับกี่ตารางเซนติเมตร (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)
1. 10 ตารางเซนติเมตร 2. 10.25 ตารางเซนติเมตร
3. 12 ตารางเซนติเมตร 4. 12.25 ตารางเซนติเมตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 21
71. รูปสามเหลี่ยม ABC มี AB
ˆC  90

, AB = 18 เซนติเมตร, BC = 9
เซนติเมตร X เป็ นจุดกึ่งกลางของ BCถ้า XYตัง้ ฉากกับ ACที่จุด Y
แล้ว XYยาวกี่เซนติเมตร (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)
9 9 5
1. 5 เซนติเมตร 2.
5 เซนติเมตร
9 9 5
3. 10 เซนติเมตร 4.
10 เซนติเมตร
72. มีที่ดินรูปสามเหลี่ยมสองแปลง ดังรูป ถ้าต้องการล้อมรัว้ รอบที่ดินรูป
สามเหลี่ยม ABC จะต้องใช้เชือกกี่เมตร (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)
A

C 12 E
B 24 8 ม.ม. 6 ม.
ม. D

1. 50 เมตร 2. 52 เมตร
3. 54 เมตร 4. 56 เมตร
73. เด็กคนหนึ่งสูง 5 ฟุต 4 นิว้ เงาของเขาทอดยาว 9 ฟุต 6 นิว้ ถ้าเสาธงต้น
หนึ่งมีเงายาว 38 ฟุต เสาธงสูงเท่าไร (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)
1. 21 ฟุต 4 นิว้ 2. 62 ฟุต
3. 68 ฟุต 3 นิว้ 4. 76 ฟุต

74. จากรูป เมื่อกำหนดให้ PC เป็ นความกว้างของคลอง มี AB = 100 เมตร,


AP = 80 เมตร, PQ = 60 เมตร และ A
ˆ  P
ˆ  90

แล้ว PCยาวกี่
เมตร (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 22
1. 100 เมตร 2. 120 เมตร
3. 140 เมตร 4. 150 เมตร
75. จากรูป แม็คยืนอยู่บนพื้นราบ มองเห็นยอดต้นสนและยอดเสาธงอยู่ใน
แนวเส้นตรงเดียวกัน ถ้าแม็คยืนห่างจากต้นสน 20 เมตร ต้นสนอยู่ห่าง
จากเสาธง 12 เมตร และเสาธงสูง 15 เมตร แล้วต้นสนสูงกี่เมตร (มฐ. ค
3.2 ม.3/1)

91 91
1.
4 เมตร 2.
2 เมตร
1 3
3. 9 เมตร 4. 9 เมตร
8 8
76. จากรูป แม่น้ำกว้างกี่ฟุต (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)

1. 45 2ฟุต 2. 45 3ฟุต
3. 50 2ฟุต 4. 50 3ฟุต

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 23
77. ปายเปิ ดร้านขายเครื่องประดับ จึงออกแบบอุปกรณ์แขวนเครื่องประดับ
เป็ นไม้กลึงกลม 5 อัน ให้ตอกติดกับแกนไม้ให้ขนานกันและห่างเท่ากัน ดัง
รูป ถ้าไม้กลึงกลมอันที่ยาวที่สุดยาว 12 นิว้ ปายจะต้องซื้อไม้กลึงกลมยาว
กี่ฟุต ถ้าต้องทำอุปกรณ์แขวนแบบนี ้ 3 ชิน
้ (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)

1. 3 ฟุต 2. 6 ฟุต
3. 9 ฟุต 4. 12 ฟุต
78. นาย ก ต้องการหาความสูงของอาคารหลังหนึ่ง เขาใช้ไม้เมตรปั กห่าง
จากตัวเขาเป็ นระยะทาง 1.5 เมตร และใช้ไม้เมตรปั กห่างจากอาคารเป็ น
ระยะทาง 43.5 เมตร ซึ่งเขาจะเล็งเห็นยอดของอาคารพอดี อาคารนีส
้ ูงกี่
เมตร (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)
1. 28 เมตร 2. 30 เมตร
3. 32 เมตร 4. 34 เมตร
79. ช่างฉาบปูนต้องการฉาบปูนของอาคารหลังหนึ่ง เขาใช้บันไดยาว 12
เมตร พาดกับผนังอาคารนัน
้ แล้วปี นบันไดขึน
้ ไปเพื่อฉาบปูน ขณะขึน

2
บันไดไปได้ระยะทาง 3 ของความยาวบันได เขาทำที่ฉาบปูนตกลงพื้น

จุดที่ที่ฉาบปูนตกอยู่ห่างจากผนังอาคาร 2 เมตร เชิงบันไดอยู่ห่างจากผนัง


อาคารกี่เมตร (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)
1. 3 เมตร 2. 4 เมตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 24
3. 5 เมตร 4. 6 เมตร
80. สมศิริต้องการหาความสูงของต้นไม้ต้นหนึ่ง เขาจึงใช้ไม้ไผ่อันหนึ่งปั กห่าง
จากต้นไม้ 18 เมตร ถ้าไม้ที่ปักสูงจากพื้นดิน 4 เมตร และเขายืนห่างจาก
ไม้ 2 เมตร เขาเล็งที่ปลายไม้อยู่ในแนวเดียวกับยอดไม้พอดี ถ้าสมศิริสูง
1.75 เมตร ต้นไม้สูงกี่เมตร (มฐ. ค 3.2 ม.3/1)

1. 24.25 เมตร
2. 25.25 เมตร
3. 26.25 เมตร
4. 27.25 เมตร

เฉลยละเอียดเฉพาะข้อยาก

3. ตอบข้อ 4
เหตุผล พื้นที่ผิวข้าง = ความยาวเส้นรอบฐาน × ความสูง
= (3 + 4 + 5) × 8
= 96 ตารางเซนติเมตร
หาพื้นที่ฐานของปริซึมสามเหลี่ยม
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = s(s a)(s
 b)(s
 c) เมื่อ

s  a b c
2
3 4 5
จาก s = 2

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 25
= 6
พื้นที่ฐาน = 6(6 3)(6
 4)(6
 5)

= 6 3 2 1
= 36
= 6 ตารางเซนติเมตร
พื้นที่ผิวทัง้ หมด = พื้นที่ผิวข้าง + 2(พื้นที่ฐาน)
= 96 + 2(6) ตารางเซนติเมตร
= 108 ตารางเซนติเมตร
ดังนัน
้ พื้นที่ผิวทัง้ หมดของปริซึม เท่ากับ 108 ตารางเซนติเมตร
4. ตอบข้อ 1
เหตุผล พื้นที่ผิวทัง้ หมด = พื้นที่ผิวข้าง + 2(พื้นที่ฐาน)
ให้ x แทนความยาวด้านของลูกบาศก์
2
พื้นที่ผิวทัง้ หมด = (x + x + x + x)x + 2(x )
2 2
96 = 4x + 2x
2
= 6x
x= 4 นิว้ (ใช้ค่า x = 4 เพราะ x เป็ นความยาว
ด้าน)
ดังนัน
้ ลูกบาศก์นจ
ี ้ ะมีความยาวด้านละ 4 นิว้

5. ตอบข้อ 1
เหตุผล

12 ซม. x
20 ซม.
ื 5 ฐาน
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น ซม. ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 26
จากรูป ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสหาความยาวของด้านของฐานที่
เหลือ
ให้ x แทนด้านที่เหลือ
2 2 2
จะได้ x = (12) + 5
= 169
x = 13 (ใช้ค่า x = 13 เพราะ x เป็ นความยาวด้าน)
พื้นที่ผิวข้าง = (12 + 13 + 5) × 20 ตารางเซนติเมตร
= 600 ตารางเซนติเมตร
6. ตอบข้อ 4
เหตุผล ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน × ความสูง
หาพื้นที่ฐานโดยหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = s(s a)(s b)(s
 c) เมื่อ

s  a b c
2
50 58 72
จาก s = 2
= 90
พื้นที่ฐาน = 90(90
 50)(90
 58)(90
 72)

= 1,440 ตารางเซนติเมตร
ปริมาตรของปริซึม = 1,440 × 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร
= 14,400 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ดังนัน
้ แผ่นคอนกรีตรูปปริซึมสามเหลี่ยมจะมีปริมาตร 14,400
ลูกบาศก์เซนติเมตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 27
7. ตอบข้อ 1
เหตุผล ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน × ความสูง
ให้ x แทนความยาวของถังเก็บน้ำ
300 = (10 × x) × 2
x = 15 เมตร
ดังนัน
้ ถังเก็บน้ำใบนีย
้ าว 15 เมตร

8. ตอบข้อ 1
เหตุผล ปริมาตรของอิฐบล็อก = 18 × 40 × 6
= 4,320 ลูกบาศก์เซนติเมตร
= 0.00432 ลูกบาศก์เมตร
ปริมาตรของกำแพง = 20 × 1.80 × 0.06
= 2.16 ลูกบาศก์เมตร
ดังนัน
้ จะต้องใช้อิฐบล็อกทัง้ หมด 2.16  0.00432 = 500 ก้อน
9. ตอบข้อ 4
เหตุผล ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน × ความสูง
1(24.20
 15.80)
 3.5 540
= 2
= 37,800 ลูกบาศก์เมตร
37800 189
คนงานขุดดินใช้เวลา 200 วัน

ดังนัน
้ คนงานจะขุดคูเสร็จในเวลา 189 วัน
10. ตอบข้อ 2
เหตุผล หาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 28
พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม= s(s a)(s b)(s
 c) เมื่อ

s  a b c
2
25 29 36
จาก s = 2
= 45
พื้นที่ฐาน = 45(45
 25)(45
 29)(45
 36)

= 45(20)(16)
(9)
= 360 ตารางเซนติเมตร
1
ปริมาตรของพีระมิด = 3 × พื้นที่ฐาน × สูงตรง
1
720 = 3 × 360 × สูง
สูง = 6
ดังนัน
้ พีระมิดสูง 6 เซนติเมตร

11. ตอบข้อ 4
เหตุผล พื้นที่ผิวข้างของทรงกระบอก = 2rh
22
484 = 2 × 7 × r × 11

r = 7 เซนติเมตร
2
พื้นที่ฐาน = r
22 2
= 7 ×7
= 154 ตารางเซนติเมตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 29
ดังนัน
้ พื้นที่ฐานของทรงกระบอกเท่ากับ 154 ตารางเซนติเมตร
12. ตอบข้อ 3
เหตุผล R = 0.26 เมตร, r = 0.23 เมตร
ปริมาตรของทรงกระบอกกลวง = h(R + r)(R – r)
22
= 7 × 1 × (0.26 + 0.23)(0.26 –
0.23)
22
= 7 × 0.49 × 0.03
= 0.0462 ลูกบาศก์เมตร
 0.05 ลูกบาศก์เมตร
ดังนัน
้ จะต้องใช้ซีเมนต์ในการทำท่อน้ำประมาณ 0.05 ลูกบาศก์
เมตร
13. ตอบข้อ 2
1 2
เหตุผล ปริมาตรของกรวย = 3r h
1 2
= 3 × × 2 × 4

16π
=
3 ลูกบาศก์นวิ ้
16π
ดังนัน
้ ปริมาตรของน้ำที่ใส่ลงไป
3 ลูกบาศก์นวิ ้

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 30
14. ตอบข้อ 3
1 2 2
เหตุผล ปริมาตรของกรวยยอดตัด = 3h(R + r + Rr)

ให้ R แทนรัศมีของฐานล่าง
ให้ r แทนรัศมีของหน้าตัด
1 22 2 2
9,152 = ×
3 7 × h × (12 + 4 + (12)(4))
4576
9,152 = h × 21
9152
 21
h= 4576
= 42 นิว้
ดังนัน
้ กรวยยอดตัดนีส
้ ูง 42 นิว้
15. ตอบข้อ 1
2
เหตุผล ปริมาตรของทรงกระบอก = r h

22  7 2  10
=  
7  2
= 385 ลูกบาศก์เซนติเมตร
1
ปริมาตรของพีระมิด = 3 × พื้นที่ฐาน × สูงตรง
1
= 3 × (4 × 4) × 6
= 32 ลูกบาศก์เซนติเมตร
385
จะทำพีระมิดได้ = 32 = 12.03

ดังนัน
้ จะทำพีระมิดได้มากที่สุด 12 อัน
16. ตอบข้อ 3

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 31
เหตุผล ทรงกระบอกมี r = 8 นิว้ , h = 18 นิว้
ขันน้ำครึ่งทรงกลมมี r = 3 นิว้
ปริมาตรของ น้ำในถังงกระบอก
ทร
ปริมาตรของ น้ำในขัน งทรงกลม =
ึ่คร
π  82  18
2 π  3 3 3
3
3 8 8 18
= 2 3 3 3
= 64
ดังนัน
้ จะต้องตักน้ำ 64 ครัง้ น้ำถึงจะเต็มถัง

17. ตอบข้อ 1
18
เหตุผล รัศมีวงนอกของท่อ = 2 = 9 เซนติเมตร

และท่อหนา 4 เซนติเมตร
จะได้รัศมีวงในของท่อน้ำ 5 เซนติเมตร
ท่อยาว = 1.40 × 100
= 140 เซนติเมตร
22 140(9  5)(9
 5)
ปริมาตรของท่อน้ำคอนกรีต = 7
22 140 4 14
= 7
= 24,640 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ดังนัน
้ ท่อน้ำคอนกรีตรูปทรงกระบอกจะมีปริมาตร 24,640
ลูกบาศก์เซนติเมตร
18. ตอบข้อ 4
เหตุผล พื้นที่ของคูรอบสนาม = พื้นที่ทงั ้ หมด – พื้นที่สนาม

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 32
รัศมีของสนาม = 105 เมตร
รัศมีของพื้นที่ทงั ้ หมด = 105+3 = 108 เมตร
2 2
พื้นที่ของคูรอบสนาม = (108) – (105)
22 (639)
= 7
= 2,008.29 ตารางเมตร
ปริมาตรของคูรอบสนาม = 2,008.29 × 2.80
= 5,623.212 ลูกบาศก์เมตร
จะต้องเสียค่าจ้างในการขุดคู = 5,623.212 × 14
= 78,724.968
 78,725 บาท
ดังนัน
้ จะต้องเสียค่าจ้างในการขุดคู 78,725 บาท
19. ตอบข้อ 3
4πr3
เหตุผล ปริมาตรของทรงกลม = 3
 4  33
ปริมาตรของไอศกรีมในกรวยที่หนึ่ง = 3 π  

3  2 

= 13.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร

 4  53
ปริมาตรของไอศกรีมในกรวยที่สอง = 2 π  

3  2 

= 41.67 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ดังนัน
้ ไอศกรีมในกรวยที่สองมีปริมาตรมากกว่าไอศกรีมในกรวย
ที่หนึ่ง
20. ตอบข้อ 1
4πr3
เหตุผล ปริมาตรของทรงกลม = 3

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 33
4π (1)3
ปริมาตรของทรงกลมตันลูกที่หนึ่ง = 3
4π ลูกบาศก์เซนติเมตร
=
3
4π (2)3
ปริมาตรของทรงกลมตันลูกที่สอง = 3
= 32π ลูกบาศก์เซนติเมตร
3
4π (3)3
ปริมาตรของทรงกลมตันลูกที่สาม = 3
= 36 ลูกบาศก์เซนติเมตร

ปริมาตรของทรงกลมตันทัง้ สามลูก = 4π + 32π +


3 3
36

= 144π ลูกบาศก์เซนติเมตร
3
2
ปริมาตรของทรงกระบอก = r h
144π 2
3 = r (3)

r = 4 เซนติเมตร
21. ตอบข้อ 4
y2  y1
เหตุผล ความชัน m = x2  x1
(2) 5
= 1 (2)
7
= 
3
23. ตอบข้อ 4
เหตุผล จากสมการ 2x – 5y + 7 = –4 หาจุดตัดแกน X โดยให้ y = 0
2x – 5(0) + 7 = –4

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 34
x = –5.5
ดังนัน
้ จุดตัดแกน X คือ (–5.5, 0)

25. ตอบข้อ 4
เหตุผล 7x – 2y = 12 …..(1)
2x + 3y = 2 …..(2)
(1) × 3; 21x – 6y = 36
…..(3)
(2) × 2; 4x + 6y = 4
…..(4)
(3) + (4); 25x = 40
8
x = 5
แทนค่า x = 8 ใน (2) จะได้
5
2 8  3y = 2
 5
2
y = 
5
แทนค่า x = 8 และ y =  2 ใน ax – 10y = 6
5 5
 2
a 8  10   = 6
 5  5
8a 4
5 = 6
10
a = 8
5
= 4

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 35
26. ตอบข้อ 2
เหตุผล แทน (a, b) ใน x = 3y – 7 จะได้
a = 3b – 7 …..(1)
แทน (a + 3, b + k) ใน x = 3y – 7 จะได้
a+3 = 3(b + k) – 7 …..(2)
แทน a = 3b – 7 ใน (2) จะได้
(3b – 7) + 3 = 3(b + k) – 7
3b –4 = 3b + 3k – 7
–4 = 3k – 7
3k = 3
k = 1

30. ตอบข้อ 1
เหตุผล เส้นตรงสองเส้นจะขนานกันได้เมื่อความชันเท่ากัน
y2  y1
ความชัน m = x2  x1
ความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด (–4, 1) และ (–1, 3)
3 1
m = (1) (4)
2
= 3
พิจารณาข้อ 1
สมการ 2x – 3y = 11
2x 11
y = 3 3
2
จะได้ ความชัน (m) = 3
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 36
ดังนัน
้ เส้นตรงที่ผ่านจุด (–4, 1) และ (–1, 3) จะขนานกับเส้น
ตรง 2x – 3y = 11
31. ตอบข้อ 3
y2  y1
เหตุผล ความชัน m = x2  x1
3 9 6
4 =

(2) x
3 3
4 =

 2 x
–2 –x = –4
x = 2
32. ตอบข้อ 1
เหตุผล เส้นตรงสองเส้นจะตัง้ ฉากกันเมื่อความชันคูณกันได้ –1
y2  y1
ความชัน m = x2  x1
ความชันของเส้นตรงที่ผ่านจุด (5, –12) และ (–3, 8)
8 (12)
m1 = (3) 5
20
= 8
5
= 
2

พิจารณาข้อ 1
สมการ 2x – 5y = 15
2x 15
y = 5 5

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 37
2x 3
y = 5
2
จะได้ ความชัน (m2) = 5
 5 2
ซึ่ง m1 ×m2 =  
 2 5
= –1
ดังนัน
้ เส้นตรงที่ผ่านจุด (5, –12) และ (–3, 8) จะตัง้ ฉากกับเส้น
ตรง 2x – 5y = 15
34. ตอบข้อ 3
เหตุผล พิจารณาข้อ 3
จากสมการ 3y – 7x = 21 หาจุดตัดแกน X โดยให้ y = 0
3(0) – 7x = 21
x = –3
จะได้ จุดตัดแกน X ที่จุด (–3, 0)
หาจุดตัดแกน Y โดยให้ x = 0
3y – 7(0) = 21
y = 7
จะได้ จุดตัดแกน Y ที่จุด (0, 7)
ดังนัน
้ สมการ 3y – 7x = 21 มีจุดตัดแกน X ที่จุด (–3, 0) และ
มีจุดตัดแกน Y ที่จุด (0, 7)
35. ตอบข้อ 4
เหตุผล จากสมการ 3x – 4y = 6 หาจุดตัดแกน X โดยให้y = 0
3x – 4(0) = 6
x = 2
จะได้ จุดตัดแกน X ที่จุด (2, 0)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 38
หาจุดตัดแกน Y โดยให้ x = 0
3(0) – 4y = 6
6
y = 4
= –1.5
จะได้ จุดตัดแกน Y ที่จุด (0, –1.5)
ดังนัน
้ สมการ 3x – 4y = 6 มีจุดตัดแกน X ที่จุด (2, 0) และมี
จุดตัดแกน Y ที่จุด (0, –1.5)
41. ตอบข้อ 4
เหตุผล x – 3y = 17
.....(1)
y = 2x + 1
.....(2)
แทน (2) ใน (1) จะได้ x – 3(2x + 1) = 17
x – 6x – 3 = 17
–5x = 20
x = –4
แทน x = –4 ใน (2) จะได้ y = 2(–4) + 1
y = –7
ดังนัน
้ คำตอบของระบบสมการ คือ (–4, –7)
42. ตอบข้อ 1
เหตุผล m = –2n – 8
.....(1)
2m – 5n = 11
.....(2)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 39
แทน (1) ใน (2) จะได้ 2(–2n – 8) – 5n = 11
–4n – 16 – 5n = 11
–9n = 27
n = –3
43. ตอบข้อ 1
เหตุผล 0.03x + 0.1y = 0.02
.....(1)
0.02x + 0.3y = 0.2
.....(2)
(1) × 3; 0.09x + 0.3y = 0.06
.....(3)
(3) – (2); 0.07x = –0.14
x = –2
แทน x = –2 ใน (1) จะได้ 0.03(–2) + 0.1y = 0.02
–0.06 + 0.1y = 0.02
y = 0.8
จะได้ (a, b) = (–2, 0.8)
16 8
ดังนัน
้ ab = (–2) × 0.8 = –1.6 =  10 =  5

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 40
44. ตอบข้อ 4
เหตุผล จัดรูป y–2 = 2(x + 3)
ได้ y = 2x + 8
.....(1)
จัดรูป y+1 = –3(x + 2)
ได้ y = –3x – 7
.....(2)
(1) – (2); 2x + 8 = –3x – 7
5x = –15
x = –3
แทน x =–3 ใน (1) จะได้ y = 2(–3) + 8
y = 2
จะได้ (p, q) = (–3, 2)
ดังนัน
้ p + q = –3 + 2 = –1
46. ตอบข้อ 4
เหตุผล ระบบสมการไม่มีคำตอบ หมายถึงเส้นตรงทัง้ สองเส้นนัน
้ ขนาน
กันและเส้นตรงทัง้ สองจะขนานกันเมื่อความชันเท่ากัน
5x – 10y = 40
5 x 40
y = 10 10
1x 4
y = 2
1
จะได้ ความชัน (m1) = 2
–2x + ky = 30
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 41
2x 30
y = k k
2
จะได้ ความชัน (m2) = k
m1 = m2
1 2
2 = k
k = 4

47. ตอบข้อ 3
เหตุผล ระบบสมการมีคำตอบมากมายไม่จำกัด หมายถึงสมการเส้นตรง
ทัง้ สองสมการนัน
้ เป็ นสมการเดียวกัน ซึ่งมีความชันเท่ากัน
12x – 18y = 2
12x 2
y = 18 18
2x 1
y = 3 9
2
จะได้ ความชัน (m1) = 3
–18x + my = –3
18x 2
y = m 18
18
จะได้ ความชัน (m2) = m
m1 = m2

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 42
2 18
3 = m
m = 27
48. ตอบข้อ 2
เหตุผล พิจารณา 3x + ay = 0
เนื่องจาก (–2, –3) เป็ นคำตอบของสมการ
จะได้ 3(–2) + a(–3) = 0
a = –2
49. ตอบข้อ 4
1x 1y 1
เหตุผล 3 4 = 6 .....(1)
1x 1y
3 2 = 1 .....(2)

(1) × 12; 4x – 3y = 2 .....(3)


(2) × 6; 2x – 3y = 6
.....(4)
(3) – (4); 2x = –4
x = –2
แทน x = –2 ใน (3) จะได้ 4(–2) – 3y = 2
10
y = 
3
จะได้ (m, n) =
10
  2, 

 3

m
ดังนัน
้ m:n = n
2
 10
=  

 3 
3
= 5
= 3:5

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 43
50. ตอบข้อ 3
เหตุผล 7x + 3y = 17
.....(1)
3x + 7y = 19
.....(2)
(1) × 3; 21x + 9y = 51
.....(3)
(2) × 7; 21x + 49y = 133
.....(4)
(4) – (3); 40y = 82
41
y = 20
41  41
แทนค่า y = 20ใน (1) จะได้ 7x + 3 20 =
 
17
31
x = 20
 31 41
จะได้ (a, b) =  20, 
20

 31 41 9
้ ค่าเฉลี่ยของ a และ b =  20 20  2 
ดังนัน 2
 
51. ตอบข้อ 4
3x y  x 2y
เหตุผล 5 3 = 7 .....(1)
x y  x y 5
6 2 = 3
.....(2)
(1) × 15; 9x + 3y + 5x – 10y = 105

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 44
14x – 7y = 105
2x – y = 15
.....(3)
(2) × 6; x – y – 3x – 3y = 10
–2x – 4y = 10
.....(4)
(3) + (4); –5y = 25
y = –5

แทนค่า y = –5 ใน (3) จะได้


2x – (–5) = 15
x = 5
2 2 2 2
ดังนัน
้ x + y = 5 + (–5) = 50
52. ตอบข้อ 2
เหตุผล ให้ x แทนด้านยาวของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
y แทนด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
จะได้ 2x + 2y = 48 .....(1)
x – 2y = 3 .....(2)
(1) + (2); 3x = 51
x = 17
แทน x = 17 ใน (2) จะได้
17 – 2y = 3
y = 7
ดังนัน
้ ด้านกว้างของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว 7 เซนติเมตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 45
53. ตอบข้อ 2
เหตุผล ให้ x แทนจำนวนของแสตมป์ ราคาดวงละ 5 บาท
y แทนจำนวนของแสตมป์ ราคาดวงละ 10 บาท
จะได้ x+y = 25
.....(1)
5x + 10y = 180
หรือ x + 2y = 36 .....(2)
5x + 10y = 180
(2) – (1); y = 11
ดังนัน
้ วิภามีแสตมป์ ราคาดวงละ 10 บาท 11 ดวง
54. ตอบข้อ 2
เหตุผล ให้ x แทนจำนวนของเก้าอี ้
y แทนจำนวนของโต๊ะ
จะได้ x+y = 100 .....(1)
3x + 4y = 340 .....(2)
(1) × 3; 3x + 3y = 300
.....(3)
(2) – (3); y = 40

แทน y = 40 ใน (1) จะได้ x + 40 = 100


x = 60
ดังนัน
้ มีผส
ู้ ั่งทำโต๊ะ 40 ตัว และเก้าอี ้ 60 ตัว
55. ตอบข้อ 2
เหตุผล ให้ x แทนเลขโดดที่อยู่ในหลักสิบ

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 46
y แทนเลขโดดที่อยู่ในหลักหน่วย
จะได้ x+y = 6 .....(1)
(10y + x) – (10x + y) = 18
–9x + 9y = 18
หรือ y–x = 2 .....(2)
(1) + (2); 2y = 8
y = 4
แทนค่า y = 4 ใน (2) จะได้
4–x = 2
x = 2
ดังนัน
้ จำนวนเต็มบวกนัน
้ คือ 24
56. ตอบข้อ 1
เหตุผล ให้ x แทนเลขโดดที่อยู่ในหลักสิบ
y แทนเลขโดดที่อยู่ในหลักหน่วย
จะได้ x–y = 2 .....(1)
จำนวนนัน
้ คือ 10x + y
10x y
= 6 3
x y x y
.....(2)
(2) × (x + y); 10x + y = 6(x + y) + 3
10x + y = 6x + 6y + 3
4x – 5y = 3
.....(3)
(1) × 5; 5x – 5y = 10
.....(4)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 47
(4) – (3); x = 7
แทนค่า x = 7 ใน (1) จะได้
7–y = 2
y = 5
ดังนัน
้ จำนวนเต็มบวกนัน
้ คือ 75

57. ตอบข้อ 1
เหตุผล ให้ x แทนจำนวนของกาแฟผงชนิดที่หนึ่ง
y แทนจำนวนของกาแฟผงชนิดที่สอง
จะได้ 180x + 150y = (x + y)160
18x + 15y = 16x + 16y
2x = y
x 1
y = 2
x:y = 1:2
58. ตอบข้อ 4
เหตุผล ให้ x แทนปริมาตรของสารชนิดแรก
y แทนปริมาตรของสารชนิดที่สอง
จะได้ 8x + 40y = 15(x + y)
หรือ –7x + 25y= 0 .....(1)
x+y= 64 .....(2)
(2) × 7; 7x + 7y = 448
.....(3)
(1) + (3); 32y = 448
y = 14

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 48
แทนค่า y = 14 ใน (2) จะได้
x + 14 = 64
x = 50
ดังนัน
้ มีปริมาตรสารชนิดแรก 50 ลิตร และปริมาตรสารชนิดที่
สอง 14 ลิตร
59. ตอบข้อ 2
เหตุผล ให้ x แทนน้ำหนักที่ยกในครัง้ แรก
y แทนน้ำหนักที่ยกในครัง้ ที่สอง
จะได้ x+y = 750 .....(1)
2x – y = 300 .....(2)
(1) + (2); 3x = 1,050
x = 350
ดังนัน
้ กนกยกน้ำหนักครัง้ แรกได้ 350 ปอนด์

66. ตอบข้อ 4
เหตุผล เนื่องจาก ABC ~ FDE
AC CB AB
FE = ED= FD
18 n 4m
3m= 10 = 12
AC AB
พิจารณา FE = FD
18 4m
3m= 12
6 m
m = 3
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 49
2
m = 18
m = 3 2
CB AB
พิจารณา ED= FD
n 4(3 2)
10 = 12
n = 10 2
้ m n  3 2  10 2  13 2 หน่วย
ดังนัน
67. ตอบข้อ 3
เหตุผล เนื่องจาก PQR  PQR

ความยาวเส้นรอบรูป PQR = 1.8 + 8 + 8.2


= 18 เซนติเมตร
ความยาวเส้
นรอบรูΔป
PQR PR
ความยาวเส้
นรอบรู PQR =
Δป PR
18 8.2
31.5 = PR
PR = 14.35
68. ตอบข้อ 2
2 2 2
เหตุผล AEC; AE = CE – AC
= (10 2)2  142
= 200 – 196
= 4
AE = 2

AEC มีความยาวรอบรูปสามเหลี่ยม = AE + EC + AC
= 2 + 10 2 + 14

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 50
= 16 + 10 2 เซนติเมตร
เนื่องจาก BDE  AEC จะได้
ความยาวเส้
นรอบรู
ΔปBDE DE
ความยาวเส้
นรอบรู
ΔปAEC= EC
4 2 5 DE
16 10 2 = 10 2
(4 2  5)102
16 10 2 = DE
80  50 2
16  10 2 = DE
10(8  5 2)
2(8  5 2) = DE
DE = 5 เซนติเมตร
69. ตอบข้อ 3
เหตุผล จากรูป ABC  PBQ
CA CB
จะได้ QP= QB
y 6
3= 2
y = 9
AB CA
PB= QP
x 2 9
4 = 3
x+2 = 12
x = 10
ดังนัน
้ ค่าของ x + y = 10 + 9 = 19

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 51
70. ตอบข้อ 1
เหตุผล
A

5a
X Y
3
B C
a

ABC  AXY
พื้นที่ขΔ
อง
ABC AB2
พื้นที่ขΔ
องAXY = AX2
25.6 2
(8a)
AXY =
พื้นที่ขΔอง 2
(5a)
พื้นที่ของ AXY = 10 ตารางเซนติเมตร
71. ตอบข้อ 2
เหตุผล A

18ซม
Y
.
B X C
9 ซม.

2 2 2
ABC; AC = AB + BC
2 2
= 18 + 9
= 405

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 52
AC = 9 5 เซนติเมตร
เนื่องจาก ABC  XYC

AB= AC
XY XC
18 9 5
แทนค่า XY =
4.5
XY = 9 5 เซนติเมตร
5

72. ตอบข้อ 2
เหตุผล จากรูป ABC  DEC

AC= BC
DC EC
AC 24
แทนค่า 8 = 12
AC = 16
AB= BC
DE EC
AB 24
6 = 12
AB = 12
จะได้ ความยาวเส้นรอบรูปของ ABC = 24 + 16 + 12 = 52
เมตร
ดังนัน
้ ถ้าต้องการล้อมรัว้ รอบที่ดินรูปสามเหลี่ยม ABC ต้องใช้
เชือก 52 เมตร
73. ตอบข้อ 1 F

C
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 53
5 ฟุต 4
A Bนิว้ D E
9 ฟุต 6 38 ฟุต
เหตุผล

1 19ฟุต
ABยาว 9 ฟุต 6 นิว้ = 9 ฟุต =
2 2
1 16ฟุต
BCยาว 5 ฟุต 4 นิว้ = 5 ฟุต =
3 3
DEF  ABC

จะได้ EF = DE
BC AB
EF 38
แทนค่า 16 = 19
3 2
38 2 16
EF = 19 3
64
= 3
= 211
3
= 21 ฟุต 4 นิว้
ดังนัน
้ เสาธงสูง 21 ฟุต 4 นิว้
74. ตอบข้อ 2
เหตุผล 100 ม.
A B
80
60 ม.
ม. P Q
x

C
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 54
จากรูป ให้ PC = x เมตร
PCQ  ACB จะได้
x 60
x 80 = 100
x 3
x 80 = 5
5x = 3x + 240
2x = 240
x = 120
้ PCยาว 120 เมตร
ดังนัน
75. ตอบข้อ 4
เหตุผล
A
D
15
ม. B
12 E 20 C

ม. ม.

เนื่องจาก ABC  DEC

AB= BC
DE EC
15 = 32
DE 20
DE = 93 เมตร
8
ดังนัน
้ ต้นสนสูง 93 เมตร
8
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 55
76. ตอบข้อ 4
2 2 2
เหตุผล ADE; ED = AE – AD
2 2
= 8 –4
= 48
ED = 4 3 ฟุต
เนื่องจาก CBA  ADE

CB= AB
AD ED
CB= 150
4 4 3
CB = 50 3 ฟุต
ดังนัน
้ เเม่น้ำกว้าง 50 3 ฟุต
77. ตอบข้อ 3
A
เหตุผล
K J
I H
G F
E D
a
C 12 B

นิว้

BC= AB
DE AD

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 56
12 = 5a
DE 4a
DE = 9.6 นิว้
จากทฤษฎีบทจะได้ HI DE 9.6 4.8 นิว ้
2 2
จากทฤษฎีบทจะได้ JK HI 4.8 2.4 นิว

2 2
BC= AB
FG AF
12 = 5a
FG 3a
FG = 7.2
จะได้BC + DE + FG + HI + JK = 12 + 9.6 + 7.2 + 4.8 +
2.4 = 36 นิว้
ต้องทำ 3 ชิน
้ จะได้ 36 × 3 = 108 นิว้ หรือ 9 ฟุต
ดังนัน
้ ปายต้องซื้อไม้กลึงกลมยาว 9 ฟุต
78. ตอบข้อ 2
เหตุผล A

C
B 43.5 E 1.5ม.
ม.

จากรูป ให้ความสูงของอาคาร เท่ากับ x เมตร


ไม้เมตรสูง 1 เมตร
ABC  DEC จะได้
x 43.5
 1.5
1 = 1.5

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 57
x = 45
1.5
x = 30
ดังนัน
้ อาคารนีส
้ งู 30 เมตร
79. ตอบข้อ 4
เหตุผล
A
12ม.
D
8

B 2ม E ม. C
x
.

จากโจทย์ 2 ของความยาวบันได = 2 × 12 = 8 เมตร


3 3
ให้เชิงบันไดอยู่ห่างจากผนังอาคาร = BC = x เมตร
ABC  DEC จะได้
x 12
x 2 = 8
x 3
x 2 = 2
2x = 3x – 6
x = 6
ดังนัน
้ เชิงบันไดอยู่ห่างจากผนังอาคาร 6 เมตร
80. ตอบข้อ 1
เหตุผล เนื่องจาก ABC  AED

BC= AC
ED AD
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 58
BC = 2 18
4 1.75 2

BC = 20
2.25 2
BC = 22.5 เมตร
ดังนัน
้ ต้นไม้สงู 22.5 + 1.75 = 24.25 เมตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 59

You might also like