Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 62

หน่วยที่

2 สารบริสุทธิ์ ่ ทา้
ซา

ภาพทัง้ สามเป็นโลหะทีม่ ลี กั ษณะบางอย่างคล้ายกัน ซึง่ อาจจะเป็นโลหะชนิดเดียวกันหรือ

เป็นโลหะต่างชนิดกัน หากนักเรียนต้องการทราบว่าโลหะเหล่านีเ้ ป็นโลหะชนิดใด สามารถพิจารณา
แพ
ได้จากสมบัติและองค์ประกอบของโลหะนั้น
เ ผ ย
ห ม
้า น่าย
ท. จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง ผ ย
้หามเ นสารบริ
่าย สุทธิ์
ท . จมี้าสหมบัติ องค์ประกอบ
ภาพโลหะ
ส ว รือและนำ�ไปใช้ประโยชน์
องค์ประกอบของหน่วย ดย ส ง ห ได้อย่างไร
ธ ิ์โ ปล
บทที่ 1 สมบัติของสารบริสุทสธิิท์ ัด แ

จุดเดือดและจุงดวหลอมเหลว


ความหนาแน่น

บทที่ 2 การจ�ำแนกและองค์ประกอบของสารบริสุทธิ์
การจ�ำแนกสารบริสุทธิ์
โครงสร้างอะตอม
การจ�ำแนกธาตุและการใช้ประโยชน์
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
14 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

บทที่ 1 สมบัติของสารบริสุทธิ์
ซา

ร ่ ทา้
แ พ
เ ผ ย
สารบริสุทธิ์และสารผสม มีจุดเดือด
ห า
้ ม า
่ ย
จุดหลอมเหลว และความหนาแน่น . ห น
แตกต่างกันอย่างไร ว ท ือจ้า
ส ส หร
ด ย
ิธ์โ ทีป่ปลระกอบด้ ง ทองค�วยทองค�
ำที่ใช้ท�ำเครื่องประดับหรือทองรูปพรรณ ไม่ได้เป็นซสารบริ า
้ สุทธิ์
ิสท ัดแความเหนียว สามารถยืำเพีดขยาย ยงอย่างเดียว เนื่องจากทองค�ำบริสุทธิท
่ ้า แม้จะมี
์ 100%
ตีหรือรีดในทุกทิศทางได้แต่มคี รวามอ่อนตัวมากกว่า
ว น ด แพ
สง โลหะชนิ ด อื น
่ ๆ ท�
น�ำมาท�ำเป็นทองค�ำแท่ง
ำ ให้ ไ ม่ ส ามารถท� ำ เป็ น รู ป ทรงต่



เ ย
ง ย
ๆ ตามที ่ต้องการได้ จึงนิยม

ส่วนทองรูปพรรณเป็นสารผสมระหว่ ห า
้ างทองค�ำกันบ่าโลหะชนิดอื่น ๆ เช่น
เงิน ทองแดง ในอัตราส่วนที่เหมาะสม ท . ซึ่งจะท�ำให้จส้ามบัหติต่าง ๆ ของทองค�ำ เช่น
ส ว นเปลีร่ยือนไป นอกจากนั้นยังท�ำให้ทองค�ำ
ภาพทองค�ำแท่งและทองรูปพรรณ สี จุดหลอมเหลว จุดเดือด ความหนาแน่
ย สำเครื่องประดัหบได้งา่ ยขึ้น
แข็งและคงรูปดีขึ้น สามารถท�
สารผสมเป็นสารที่มีองค์ประกอบของสารตั้งแต่ 2 ธ ชนิิ์โดดขึ้นไปมารวมกั ล งเช่น ทองรูปพรรณ เป็นสารผสมระหว่าง

ทองค�ำและโลหะอืน่ น�ำ้ เกลือ เป็นสารผสมระหว่างน�ำ้ และเกลื ิสท อ ส่วนสารทีัดแม่ ปอี งค์ประกอบเพียงชนิดเดียวจัดเป็นสารบริสทุ ธิ์


เช่น ทองค�ำแท่ง น�ำ้ กลัน่ กลูโคส ออกซิเจน สมบัตขิ วองสารผสมและสารบริ
ง ด สทุ ธิ์ เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น
เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ส
จุดประสงค์ของบทเรียน เมื่อเรียนจบบทนี้แล้ว นักเรียนจะสามารถทำ�สิ่งต่อไปนี้ได้

1. อธิบายและเปรียบเทียบ จุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม


2. ค�ำนวณ อธิบายและเปรียบเทียบ ความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสม
3. ใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวลและปริมาตรของสารบริสุทธิ์และสารผสม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
15

เรื่องที่ 1 จุดเดือดและจุดหลอมเหลว
ค�ำส�ำคัญ
จุดเดือด จุดหลอมเหลว
ซา

สารบริสุทธิ์ สารผสม
ร ่ ทา้
แพ
เ ผ ย
ห ม
้า น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ้า ซ
ิสท ัดแ ภาพ 2.1 เครื่องยนต์ช�ำรุดรเนื่ ่อทงจากความร้อน
ว น ด แ พ
ง ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้มีความร้อนเกิดขึ้นขณะที่เครื่องยนต์ก�ำลังท�ำงานเผจึยงต้องมีระบบระบายความร้อน

รถยนต์
เพื่อไม่ให้ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ช�ำรุด เสียหาย หม้อน�้ำเป็นอุปกรณ์หนึ่งทีม่ช่วยระบายความร้อนด้วยของเหลว
ขณะที่เครื่องยนต์ท�ำงานความร้อนที่เกิดขึ้นอาจมีอุณหภูมิสูงพอที่จะท�ำให้น�้ำในหม้ห ้า อน�้ำเดือดนจึ่างยมีการเติมสารบางชนิด
ลงในหม้อน�้ำ เรียกว่า สารหล่อเย็น สารนี้จะส่งผลให้จุดเดือดของน�้ำเปลี ท .่ยนไป นักเรีจย้านคิหดว่าจุดเดือดของน�้ำบริสุทธิ์
ส ว รือ
และน�้ำที่ผสมสารอื่นต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
ย ส ห
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
เขียนเครื่องหมาย R หน้าข้อที่ถูกต้องงว
น ด

£ การเดือดเกิดขึ้นเมื่อของเหลวได้รับความร้อนแล้วเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส
£ การหลอมเหลวเกิดขึ้นเมื่อสารเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว

รู้อะไรบ้างก่อนเรียน เขียนสิ่งที่รู้เกี่ยวกับจุดเดือด จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
16 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

กิจกรรมที่ 2.1 จุดเดือดของสารบริสุทธิ์และสารผสมเป็นอย่างไร

จุดประสงค์ 1. วัดอุณหภูมแิ ละเขียนกราฟการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมขิ องน�ำ้ กลัน่ และสารละลายโซเดียมคลอไรด์


เมื่อได้รับความร้อน ซา


่ ทา้
2. ตีความหมายข้อมูลจากกราฟ เพือ่ เปรียบเทียบจุดเดือดของน�ำ้ กลัน่ และสารละลายโซเดียมคลอไรด์


แพ
วัสดุและอุปกรณ์ 1. สารละลายโซเดียมคลอไรด์ หรือน�้ำเกลือ
เ ผ ย


2. น�้ำกลั่น

3. เทอร์มอมิเตอร์สเกล 0 ้า- 200 C ่าย
หcm หน o

4. บีกเกอร์ ขนาด 100 .


ท ือจ้า
3


6. ขาตั้งพร้สอส

5. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์


ด ย
งแก้วคน ลง

มที่จับหลอดทดลอง





7. แท่
ิท

8. ธ นาฬิกาจับเวลา
ป ท้า ซ
แ ร ่

ว น ส 9. ไฟแช็คดัด แ พ
สง ผ ย
้หามเ น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ
ข้อควรระวัง
ย ส ห

์ ิ ด ล
ระวังตะเกียงแอลกอฮอล์ล้มและแอลกอฮอล์ที่ใช้เป็ธนเชื้อเพลิงหก หากมี



ิ แ ป ประกายไฟอาจท�ำให้เกิดเพลิงไหม้ได้

น ส ดให้มีอุปดกรณ์ัด ดับเพลิง เช่น กระบะทราย ผ้าเปียก หรือ
ควรเตรียมความพร้อมเมื่อเกิดเหตุดังกล่าว โดยจั
ถังดับเพลิง ง ว
ส ง ไม่ให้กระแทกกับวัสดุอุปกรณ์อื่น เพราะเทอร์มอมิเตอร์ท�ำด้วยแก้ว
• ควรใช้เทอร์มอมิเตอร์ด้วยความระมัดระวั
จึงแตกง่าย

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
17

วิธีการด�
วิธีกำารด�
เนินำกิเนิ
จกรรม
นกิจกรรม

1. เติมน�้ำกลั่นปริมาตร 50 cm3 ลงในบีกเกอร์

ซา

2. จัดอุปกรณ์เพือ่ วัดอุณหภูมขิ องน�ำ้ กลัน่ เมือ่ ให้ความร้อนดังภาพ โดยระวังกระเปาะของเทอร์มอมิเตอร์ไม่ให้สมั ผัสกับบีกเกอร์

ร ่ ทา้
3. ใช้แท่งแก้วคนน�ำ้ กลัน่ ในบีกเกอร์ขณะให้ความร้อน
แพ ขาตั้งพร้อมที่จับหลอดทดลอง
สังเกตการเปลี่ยนแปลง วัดอุณหภูมิของน�้ำทุก ๆ
เ ผ ย


30 วินาที จนกระทั่งน�้ำเดือดและวัดอุณหภูมิ
ห ม
้า น่าย
ต่ อไปอี ก 2 นาที พร้อมบันทึก ลงในตารางที่
ออกแบบไว้ .ท จ้าห เทอร์มอมิเตอร์

ส ว สารละลายรือ การอ่านค่าเทอร์มอมิเตอร์


4. ท� ำ เช่ น เดียวกับข้อ 1 - 3 โดยใช้
โซเดียมคลอไรด์แทนน�้ำกลัย่นในปริมาตรที่เท่หากัน
ให้อ่านที่ระดับสายตา



์ ิ ด ลง ้า ซ

ิ ธ นทึกผลมาเขี
5. น�ำข้อมูลที่ได้จากตารางบั
แ ป ยนกราฟ ่ ท
ความสัมพันนธ์รสะหว่างอุณหภูดมัดิกับเวลา พ ร
ส ง ว ยแ
ภาพการจัดเตรียมอุปม เ ผ
ในการหาจุดเดือห ้า น่าย
กรณ์
ดของสาร
ท . จ้าห
ส ว รือ
คำ�ถามท้ายกิจกรรม
ย ส ห

์ ิ ด
1. น�้ำกลั่นและสารละลายโซเดียมคลอไรด์ เมื่อได้รับธความร้อนมีการเปลี ล ง

ิ แ ป ่ยนแปลงอย่างไร

2. ทราบได้อย่างไรว่า น�้ำกลั่นและสารละลายโซเดีส ยมคลอไรด์ดกัด�ำลังเดือด
3. จากกราฟ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมงิของน�
ส ว ้ำกลั่นและสารละลายโซเดียมคลอไรด์เมื่อให้ความร้อนเป็นอย่างไร
4. การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของน�้ำกลั่นและสารละลายโซเดียมคลอไรด์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
5. อุณหภูมิขณะเดือดของน�้ำกลั่นและสารละลายโซเดียมคลอไรด์เป็นอย่างไร
6. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
18 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

น�้ำกลั่นและสารละลายโซเดียมคลอไรด์เมื่อได้รับความร้อนมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิต่างกัน โดยน�้ำกลั่น
จะมีอณุ หภูมเิ พิม่ ขึน้ จนกระทัง่ เดือดและอุณหภูมขิ ณะเดือดนัน้ จะคงที่ เรียกว่า จุดเดือด (boiling point) ในขณะทีส่ ารละลาย
โซเดียมคลอไรด์เมื่อให้ความร้อนจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนกระทั่งเดือด แต่อุณหภูมิขณะเดือดยังคงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ไม่คงที่
น�้ำกลั่นเป็นสารบริสุทธิ์มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียวจึงมีจุดเดือดคงที่ ส่วนสารละลายโซเดียมคลอไรด์เป็น
ซา

่ ทา้
สารผสมมีองค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด คือ โซเดียมคลอไรด์กับน�้ำ ขณะที่สารละลายโซเดียมคลอไรด์ได้รับความร้อน
โซเดียมคลอไรด์ไม่กลายเป็นไอ แต่น�้ำกลายเป็นไอ ท�ำให้อัตราส่วนผสมระหว่างโซเดียมคลอไรด์กับน�้ำในสารละลาย
เปลี่ยนแปลงไป อุณหภูมิขณะเดือดจึงไม่คงที่ พ ร

สารบริสทุ ธิอ์ นื่ ๆ ก็มจี ดุ เดือดคงทีเ่ ช่นเดียวกับน�ำ้ กลัผน่ ยเช่น ปรอทมีจดุ เดือด 356.7 C กลีเซอรอลมีจดุ เดือด 290 C
ม เ o o

้หา นยมคลอไรด์
ส่วนสารผสมอื่น ๆ ก็มีจุดเดือดไม่คงที่เช่นเดียวกับสารละลายโซเดี
่าย
ท . า
้ ห
เกร็ดน่ารู้
ส ว เซอรอลรือจ
การค้นพบกลี
ย ส ห า


์ ิ ด ล ง สุทธิ์ที่ถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2342 จากการทดลองสกั า
้ ซ


กลีเซอรอล (glycerol)

เป็นสารบริ
น�้ำมันมะกอก โดยนักิทเคมีชาวสวีเดน แชื่อ คาร์ล ดับบลิว ชีล (Carl W. Scheele) ปัจจุบันใช้กลีเซอรอลเป็ ่

ทนสารตั้งต้น
น ส ด

าง ๆดเช่น การผลิตสบู่ การผลิตยา การผลิตเครื่องส�ำอาง ลักษณะของกลี พ ร
ส ว
ที่ส�ำคัญในอุตสาหกรรมต่
ง น หนืด ไม่มสี ี มีรสหวาน มีจดุ หลอมเหลว 18 C และจุดเดือด 290 C ละลายในน� ย แ เซอรอล

้หา เ กริ นยิ าเคมี
เป็นของเหลวข้ o o
ำ้ และแอลกอฮอล์ได้
กลีเซอรอลสามารถผลิตได้จากกระบวนการผลิตน�ำ้ มันไบโอดีเซล นอกจากนีย้ งั ผลิตได้มจากปฏิ
่าย อนื่ ๆ อีกด้วย
ท . จ้าห
• พบของเหลวชนิดหนึ่ง ลักษณะใสไม่ ส ว มี หากต้อรงการทราบว่


ย ส ห างไร
าของเหลวชนิดนี้
เป็นสารบริสุทธิ์หรือสารผสม
ิ์โ ด ง
จะมีวิธีการตรวจสอบอย่

ธ ป
• ถ้ากิจกรรมทีน่ 2.1สิทใช้สารละลายเอทานอลแทนสารละลายโซเดี
ัดดแ ยมคลอไรด์
จะมีการเปลี
ส งว ่ยนแปลงอุณหภูมิอย่างไร เพราะเหตุใด

สารบริสุทธิ์มีจุดเดือดคงที่ ในขณะที่สารผสมจะมีอุณหภูมิขณะเดือดไม่คงที่
แล้วจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสมเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
19

กิจกรรมที่ 2.2 จุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสมเป็นอย่างไร


จุดประสงค์ วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อเปรียบเทียบช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลว และจุดหลอมเหลวของ
แนฟทาลีนและกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีน
ซา

่ ทา้

วิธีการด�ำเนินกิจกรรม
แ พ
เ ผ ย
จากตาราง ห ม
้า น่าย
1. สังเกตช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลวของแนฟทาลีนและสารผสมระหว่ างกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีนที่มีอัตราส่วนต่าง ๆ

2. หาจุดหลอมเหลวของแนฟทาลีนและสารผสมระหว่
ท . จา้างกรดเบนโซอิ
ห กในแนฟทาลีนที่มีอัตราส่วนต่าง ๆ จากตาราง
3. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างช่วสงอุวณหภูมทิ หี่ ลอมเหลวของแนฟทาลี


ที่มีอัตราส่วนต่าง ๆ ย ส ห ร นและสารผสมระหว่างกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีน

ด ล ง
4. อภิปรายเพื่อลงข้อธสรุิ์โปเกี่ยวกับจุดปหลอมเหลวของแนฟทาลี นและสารผสมระหว่างกรดเบนโซอิก้าในแนฟทาลีซ ้า นที่มี
อัตราส่วนต่างสๆิท ด
ั แ ร ่ ท
ว น ด
ง ณหภูมิที่หลอมเหลวของแนฟทาลีน แพ
ตาราง ช่สวงอุ
เ ผ ย
อุณหภูมิเมื่อเริ่มหลอมเหลว - อุณหภูมิที่หลอมเหลวหมด ้า( ม ่นาย
ครั้งที่ o

. จ้าห
C)
1 78.5 - 79.0

ว รือ
2 78.0 - 78.5 ส
ส ห
78.5 - 79.0ย
3
ิธ์โด ปลง
ตาราง ช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลวของกรดเบนโซอิสกิท ในแนฟทาลีนัดทีแ
น ด ่มีอัตราส่วนต่างกัน
สาร
1. กรดเบนโซอิกในแนฟทาลีน
สงวอัตราส่วน อุณหภูมเิ มือ่ เริม่ หลอมเหลว - อุณหภูมทิ ห่ี ลอมเหลวหมด ( C)
0.1 : 2 73.0 – 76.5
o

2. กรดเบนโซอิกในแนฟทาลีน 0.2 : 2 67.0 – 71.5


3. กรดเบนโซอิกในแนฟทาลีน 0.4 : 2 64.5 – 69.5

ช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลว คือ ผลต่างระหว่างอุณหภูมิที่สารหลอมเหลวหมดกับอุณหภูมิเมื่อสารเริ่มหลอมเหลว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
20 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

คำ�ถามท้ายกิจกรรม

1. ช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลวของแนฟทาลีนในแต่ละครั้งเป็นอย่างไร
2. จุดหลอมเหลวของแนฟทาลีนทั้งสามครั้งเป็นอย่างไร
ซา

่ ทา้
3. ช่วงอุณหภูมทิ หี่ ลอมเหลวของสารผสมระหว่างกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีนทีม่ อี ตั ราส่วนของสารต่างกันเป็นอย่างไร
4. ร
จุดหลอมเหลวของสารผสมระหว่างกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีนที่มีอัตราส่วนของสารต่างกันเป็นอย่างไร

5. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อย่างไร
ย แ
ม เ ผ
เมือ่ ให้ความร้อนกับของแข็ง โดยทัว่ ไปของแข็งจะไม่
ห ้า หลอมเหลวหมดที
น า
่ ย อ่ ณ
ุ หภูมเิ ดียว แต่จะเริม่ หลอมเหลวทีอ่ ณ ุ หภูมหิ นึง่
และหลอมเหลวหมดทีอ่ กี อุณหภูมหิ นึง่ เรียกอุณ.หภูมติ งั้ แต่สารเริห
ท า
้ ม่ หลอมเหลวจนหลอมเหลวหมดว่า ช่วงอุณหภูมทิ หี่ ลอมเหลว
ว น ซึร่งเป็ือนจสารบริสุทธิ์มีช่วงการหลอมเหลวแคบกว่าเมื่อเทียบกับสารผสม
ซึ่งสัมพันธ์กับความบริสุทธิ์ของสาร เช่นสแนฟทาลี
ระหว่างกรดเบนโซอิกในแนฟทาลีน ส สารบริสุทธิ์ที่มหีความบริสุทธิ์สูงมาก ๆ จะไม่มีช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลว โดยอุณหภูมิ

์ ิ ด ย ล ง นอุณหภูมเิ ดียวกัน แต่โดยทัว่ ไปสารบริสทุ ธิม์ กั มีสงิ่ ้าเจืซอปนอยู ้า บ่ า้ ง
ิสทธ ส่วัดนสารผสมจะมี แป ช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลวกว้างกว่าสารบริสุทธิ์ ร่ ท
ทีส่ ารเริม่ หลอมเหลวและอุณหภู มทิ สี่ ารหลอมเหลวหมดเป็
จึงมีช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลวแคบ
ว น ด แพ
สง เมื่ อ หาค่
ม เ ผ ยา เฉลี่ ย ของช่ ว งอุ ณ หภู มิ


ห point) หของสารนั
ที่ ห ลอมเหลวของสารจะได้
น า
่ ย จุ ด หลอมเหลว
.
(melting
มีทจุ ด หลอมเหลวต่ จ
น้ สารแต่ละชนิด
้า างกัน โดยสารบริสุทธิ์มี

ส จุดหลอมเหลวคงที รอ

ย ส ห ่ เพราะประกอบด้วยสาร
ิธ์โด ปเพีของแนฟทาลี ลยงอย่ง างเดียนว ซึส่ง่ วสันสารผสมมี
งเกตได้จากจุดหลอมเหลว
ิสท ัดแ ไม่คงที่ เพราะมีองค์ประกอบตัง้ แต่จุด2หลอมเหลว
ว น ด ชนิดขึน้ ไป
สง สังเกตได้จากจุดหลอมเหลวของกรดเบนโซอิก
ในแนฟทาลีนทีม่ อี ตั ราส่วนระหว่างกรดเบนโซอิก
กั บ แนฟทาลี น ต่ า งกั น จะมี จุ ด หลอมเหลว
ไม่เท่ากัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
21

• เกลือที่น�ำมาท�ำน�้ำเกลือให้ผู้ป่วย จะสามารถตรวจสอบ
ได้อย่างไรว่าเกลือนั้นบริสุทธิ์หรือไม่

ซา

ร ่ ทา้

นอกจากจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารจะขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์

เ ผ ย
ของสารแล้ว ยังขึ้นอยู่กับความดันบรรยากาศ เช่น ณ ความดันบรรยากาศ ความดันมีผลต่อจุดหลอมเหลว
ของสารอย่างไร
้หาม น่าย
ทีร่ ะดับทะเล ซึง่ มีคา่ เท่ากับ 1 บรรยากาศ (atm) หรือ 101.3 กิโลปาสกาล (kPa)
น�้ำบริสุทธิ์มีจุดเดือดที่อุณหภูมิ 100 oC แต่เมื่อความดันบรรยากาศเพิ่มขึ้น
. จ้าห
หรือลดลง จุดเดือดของน�้ำบริสุทธิ์ ก็จะมีค่าเปลี่ยนไป ดังตาราง

ส วนต่าง ๆ รือ
ย ส ห
ตาราง 2.1 จุดเดือดของน�้ำที่ความดั


ความดัน (kPa)ธ โ
์ ิ ด ล ง ้า ซ
ิสท ัดแปจุดเดือด ( C) เกร็ ด น่ า รู ้ ความดั
่ ท น บรรยากาศ
o

น ด พ ร
ง ว3.5
ส 13.8
26.4 ความดันบรรยากาศ (atmospheric ย แ pressure)

คือ ล�ำอากาศมวล 10เ กิโลกรัม (kg) กดลงบนพืน้ โลก
ม ย
4
52.2
ขนาด 1 ตารางเมตรห า
้ (m ) ด้่าวยแรงโน้
2
น มถ่วงในแนว
ตัง้ ฉาก ท�.ำให้พนื้ ผิวโลกมี้าคห
27.6 67.2

ว นบรรยากาศสามารถวั อ

วามดัน 1 บรรยากาศ (atm)
จ ดค่าได้ดว้ ยบารอมิเตอร์
48.3 80.4 ส
ความดั
สมีหน่วยเป็นบรรยากาศ
ห ร
69.0 89.6

์ ิ ด ย ล ง (atm) ซึ่งมีค่าเท่ากับ 101.3

94.4 ิท ธ แ ป
กิโลปาสกาล (kPa) หรือเท่ากับ 101,325 ปาสกาล (Pa)
82.7
น ส ด ด

101.3
งว
100.0

แรงโน้มถ่วง อากาศ 1 m
(มวล = 10 kg)
4
2

137.9 109.0
193.1 119.0
275.8 131.0 ความดัน 1 atm ที่พื้นผิว
303.4 134.0
358.5 140.0
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
22 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

จุดเดือด คือ อุณหภูมิที่ของเหลวเปลี่ยนสถานะเป็นแก๊ส

จุดหลอมเหลว คือ อุณหภูมิที่ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว


ซ า

้า ว เช่น จุดเดือดและ
สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีสมบัติบางประการที่เป็นค่าเฉพาะตั
่ ท
จุดหลอมเหลวคงที่ แต่สารผสมมีจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวไม่ครงที่ ขึน้ อยูก่ บั ชนิดและอัตราส่วน
แ พ
ขึ้นอยู่กับความดันบรรยากาศ เ ผ ย
ของสารที่ผสมอยู่ด้วยกัน นอกจากนี้จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารจะเปลี ่ยนแปลงไป

ห ม
้า น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ง 132.5 - 133 C ส่วนสาร B มีช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลว้าซ้า
สาร A มีช่วงอุิ์โณดหภูมิที่หลอมเหลว

ิสทธC สารใดควรเป็ ปนสารบริสุทธิ์และสารใดควรเป็นสารผสม เพราะเหตุใด ร่ ท
o

130 - 135 o
ัด แ
ว น ด แ พ
สง ผ ย
้หามเ น่าย
ความรู้เรื่องจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของสารบริสุทธิ์และสารผสมสามารถน�
ท . ำมาใช้ า
้ ปหระโยชน์ได้หลายประการ
เช่น การวิเคราะห์สารในอุตสาหกรรมเคมีต่าง ๆ อย่างเช่นในอุตสาหกรรมการผลิ ส ว ตยามีรือกจารวิเคราะห์จุดหลอมเหลวของ
สารบริสุทธิ์เพื่อตรวจสอบความบริสุทธิ์ของสารตั้งต้นที่น�ำมาผลิตยาให้สตรงตามสูตร ห
ด ย
ิธ์โผลิตหม้ออัดความดั ล ง น ที่ท�ำให้อาหารสุกเร็วขึ้น เนื่องจาก
การน�ำความรู้เรื่องความดันที่มีผลต่อจุดเดือดมาใช้
หม้ออัดความดันมีฝาปิดที่สนิท ดังนั้นไอน�้ำที่เกิดขึ้นเมืส่อน�ิท้ำเดือดจึงอัดัด

อยูแ่ในหม้อ ท�ำให้ความดันอากาศในหม้อเพิ่มสูงขึ้น
งว น
จุดเดือดของน�้ำจึงสูงกว่าจุดเดือดปกติและท�ำให้สามารถประกอบอาหารที ด ่อุณหภูมิสูงขึ้นได้ อาหารจึงสุกเร็วขึ้น

จุดเดือดและจุดหลอมเหลวเป็นสมบัตขิ องสารทีส่ ามารถใช้จำ� แนกสารบริสทุ ธิแ์ ละสารผสมได้ ยังมีสมบัตใิ ดอีกบ้าง
ที่ใช้ในการจ�ำแนกสารบริสุทธิ์และสารผสม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
23

เรื่องที่ 2 ความหนาแน่น
ค�ำส�ำคัญ
มวล
ซา
้ ปริมาตร
่ ทา้

ความหนาแน่น

แพ
เ ผ ย
ห ม
้า น่าย
ท . จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปล ่ในมหาสมุทร
ภาพ 2.2 เรื อ ด� ำ ง
น� ำ
้ อยู
้า ซ


มีกสารน�ำเทคโนโลยี
แ ่ ท
ัดมาสร้างเรือด�ำน�ำ้ เพือ่ ศึกษาสิง่ มีชวี ติ หรือลักษณะทางธรณีวทิ ยาใต้พทรอ้ งทะเล การทีเ่ รือด�ำน�ำ้
ปัจจุบนั น
ง ว ด
กได้นั้นต้องท�ำให้เรือทั้งล�ำมีความหนาแน่นมากกว่าความหนาแน่นของน�้ำยในทางกลั แ

ด�ำลงสู่ทะเลลึ
เรือลอยขึ้นมาได้นั้นเรือทั้งล�ำจะต้องมีความหนาแน่นน้อยกว่าน�้ำ ม ผ
เ ย
บกันถ้าต้องการให้

นักเรียนคิดว่าความหนาแน่นคืออะไร และสามารถหาค่าความหนาแน่นห


ของวัตถุได้อย่านงไร่า
ท . จ้าห
ส ว รือ
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
ย ส ห

์ ิ ด ล ง
เขียนเครื่องหมาย R หน้าข้อที่ถูกต้อง

ิ ธ แป
น ส ดัด
£ มวลมีหน่วยเป็นนิวตัน
£ วัตถุชนิดหนึ่ง เมื่อท�ำให้รูปร่างเปลี ส ง



น มวลจะเปลี่ยนด้วย
£ ปริมาตรคือความจุของวัตถุ มีหน่วยเป็นลูกบาศก์เซนติเมตร
£ ปริมาตรของของแข็งจะเท่ากับปริมาตรของน�้ำที่ของแข็งแทนที่

รู้อะไรบ้างก่อนเรียน เขียนสิ่งที่รู้เกี่ยวกับความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
24 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ทะเลสาบเดดซี (Dead Sea) ตั้งอยู่ระหว่าง


ประเทศจอร์แดนและอิสราเอล ทราบหรือไม่ว่า
ถ้าเราไปลอยน�้ำในทะเลสาบนี้ทั้ง ๆ ที่เราว่ายน�้ำ
ไม่เป็น เราจะสามารถลอยอยู่ในน�้ำทะเลนี้ได้ ทั้งนี้
เพราะน�้ำเค็มในทะเลสาบเดดซีนี้มีความหนาแน่น
ซา

มากกว่าน�้ำทะเลทั่วไป
ร ่ ทา้
แ พ
ความหนาแน่นเป็นสมบัติของสารที่บอกให้ทราบมวลของสารในหนึ
เ ย ่งหน่วยปริมาตรของสารนั้น โดยถ้าใช้มวล
ผ เซนติเมตร (cm ) เช่น ทองค�ำมีความหนาแน่น 19.4 กรัม
ของสารหน่วยกรัม (g) ปริมาตรของสารจะใช้หน่วยลูกบาศก์

3

ต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (g/cm ) หมายความว่า ทองค�้าำมีมวล 19.4่ากรัยม ในหนึ่งลูกบาศก์เซนติเมตร แต่ถ้าใช้มวลของสาร


3

ในหน่วยกิโลกรัม (kg) ปริมาตรของสารจะใช้ห.น่วยลู หกบาศก์เมตรหน(m ) เช่น ทองค�ำมีความหนาแน่น 19,390 กิโลกรัมต่อ


้ากิโลกรัม ในหนึ่งลูกบาศก์เมตร
3

ว ทำมีมวล 19,390

ื จ
ลูกบาศก์เมตร (kg/m ) หมายความว่า ทองค�
สg/cm ขณะที
3

ย ส ห ร
ถ้าปรอทมีความหนาแน่น 13.6
กัน มวลของสารใดมีคา่ มากกว่ิ์โด ล ง
3

่ 3


้ ซ า

องค�ำมีความหนาแน่น 19.4 g/cm เมื่อสารทั้งสองมีปริมาตรเท่า


ิ ธ ากัน
ความหนาแน่สนของสารเป็นความสั แ ป ่ ท
มพันธ์ระหว่างมวลของสารใน 1 หน่วยปริมาตรของสารนัร้น ซึ่งสามารถเขียน

ความสัมพันธ์ได้ดวังนี้ ด ด
ั พ
สง ยแ
ม ผ
เ ย
ความหนาแน่นของสาร =
มวล (g)
หรือ
หา

มวล (kg)
(m ) น่า
อ .กิโลกรัมต่อจ ห เมตร (kg/m )
ปริมาตร (cm ) 3
ปริมาตร 3

หน่วยของความหนาแน่นคือ กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร (g/cm ) หรืท ลูก้าบาศก์


3

ส ว รือ 3

ย ส ห
ตัวอย่างโจทย์ วัตถุชนิดหนึ่งมีมวล 150 กรัม ปริมิ์โาตร ด ล
300 ลูกบาศก์ งเซนติเมตร วัตถุชิ้นนี้
มีความหนาแน่นเท่าใด ิสทธ ัดมวลแป(g)
แนวคิด ความหนาแน่นนของสาร = ด
ส งว ปริมาตร (cm ) 3

= 150 (g)
300 (cm3)
= 0.5 g/cm3
ดังนั้น วัตถุนี้ปริมาตร 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีมวลหรือปริมาณเนื้อสาร
0.5 กรัม หรือวัตถุนี้มีความหนาแน่น 0.5 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
25

ชวนคิด

1. วัตถุ 2 ชิน้ มีลกั ษณะภายนอกคล้ายกัน ชิน้ ที่ 1 เป็นแท่งสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า มีความกว้าง 3 cm ยาว 8 cm สูง 2 cm



และมีมวล 480 g ชิ้นที่ 2 เป็นก้อนขรุขระไม่เป็นรูปทรงเรขาคณิต มีปริมาตร 50 cm3 และมีมวล 450 g

่ ทา้
วัตถุชิ้นใดมีความหนาแน่นมากกว่ากัน
2.

วัตถุชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 0.75 g/cm3 ถ้าวัตถุนี้ปริมาตร 250 cm3 จะมีมวลเท่าใด

ย แ ถ้วยยูรีกา
เกร็ดน่ารู้ เ
การหาปริมาตรของสารโดยใช้
ม ผ
ห ้า น่าย
การหาปริมาตรของของแข็งทีม่ .รี ปู ทรงไม่เป็นรูปหทรงเรขาคณิต ใช้หลักของอาร์คมิ ดี สิ โดยน�ำวัตถุนนั้ ไปแทนที่
ว จ ้า จะมีค่าเท่ากับปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมน�้ำ วิธีการใช้
ท ่หรือที่ลือ้นออกมา
ถ้วยยูรีกาท�ำได้ดังนี้ ส ส หร
น�้ำในถ้วยยูรีกา ปริมาตรน�้ำที่ถูกแทนที

ิธ์โด ย ล ง ซ า

ิสท ัดแป ่ ท ้า
น ด พ ร
ส งว ยแ
เ ผ
้หาม น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ
1. เตรียมอุปกรณ์ โดยวางบีกเกอร์ไว้บริเวณปลายท่อ
น�้ำล้นของถ้วยยูรีกา แล้วเติมน�้ำจนเต็ม รอให้น�้ำ ย
ส ห
หยุดไหลจากปลายท่อ ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
ว น ด
สง

2. เปลีย่ นบีกเกอร์ใบใหม่ น�ำวัตถุทตี่ อ้ งการหาปริมาตร 3. หาปริมาตรของน�ำ้ ทีอ่ ยูใ่ นบีกเกอร์โดยใช้กระบอกตวง


มาแทนที่น�้ำในถ้วยยูรีกา โดยหย่อนวัตถุให้ค่อย ๆ ปริมาตรของน�้ำจะเท่ากับปริมาตรของวัตถุ
จมลงในถ้วยยูรีกา รอให้น�้ำหยุดไหล
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
26 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

กิจกรรมที่ 2.3 ความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสมเป็นอย่างไร

จุดประสงค์ 1. วัดมวลและปริมาตรเพื่อค�ำนวณหาความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสม
ซา

2. วิเคราะห์และเปรียบเทียบความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์และสารผสม

่ ทา้

วัสดุและอุปกรณ์ 1. เหล็ก 2 ก้อนที่มีมวลต่างกัน
2. ทองแดง 2 ก้อนที่มีมวลต่างกัน ยแ
พ 7. บีกเกอร์ขนาด 100 cm
8. แก้วน�้ำ
3

3. สารละลายโซเดียมคลอไรด์คเวามเข้
ม ผ มข้นต่างกัน 2 ชุด 9. ถังใส่น�้ำ
4. สารละลายน�้ำตาลทรายความเข้
ห ้า มข้นนต่่าางกัยน 2 ชุด 10. เครื่องชั่ง
5. เชือกหรือด้าย . ห


ว 50 cmรือจ า
้ 11. ถ้วยยูรีกา
6. กระบอกตวงขนาด

ส ห
3


ิธ์โด ปลง ซ า

วิธีการด�ำเนินสกิจิทกรรม ัดแ ตอนที่ 1 ความหนาแน่นของสารบริสุทธิ์ ร่ ท
้า
ง ว น ด แ พ

1. ชั่งมวลของเหล็ ก ก้ อ นที ่ 1 และ 2 บั น ทึ ก ผล

เ ย ย
2. ชั่งมวลของทองแดง ก้อนที่ 1 และ 2 บันทึกผล

้ ม
ห ถ้วยยูรีกา ศึนก่าษาวิธีการหาปริมาตร
3. หาปริมาตรของก้อนเหล็ก ก้อนที่ 1 และ 2 ก้อนทองแดง ก้อนที่ 1 และ 2 โดยใช้
ท . จ้าห
ของสารโดยใช้ถ้วยยูรีกา ในเกร็ดน่ารู้
4. ค�ำนวณความหนาแน่นของเหล็กทั้ง 2 ก้อนและทองแดงทั้ง 2 ก้อส

น สบันทึกผล รือ
ด ย ง ห
ธ ิ์โ ป ล
คำ�ถามท้ายกิจกรรม ส ิท ัดแ
ง วน ด
1. ความหนาแน่นคืออะไร หาได้อย่างไร ส
2. ความหนาแน่นของเหล็ก ก้อนที่ 1 และ 2 เป็นอย่างไร
3. ความหนาแน่นของทองแดง ก้อนที่ 1 และ 2 เป็นอย่างไร
4. ความหนาแน่นของเหล็กและทองแดงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
5. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
27

วิธีการด�ำเนินกิจกรรม ตอนที่ 2 ความหนาแน่นของสารผสม


1. ชั่งมวลของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ชุดที่ 1 และ 2 บันทึกผล
2. ชั่งมวลของสารละลายน�้ำตาลทราย ชุดที่ 1 และ 2 บันทึกผล
ซา

่ ทา้
3. วัดปริมาตรสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ชุดที่ 1 และ 2 สารละลายน�้ำตาลทราย ชุดที่ 1 และ 2 โดยใช้กระบอกตวง
บันทึกผล
พ ร
4.
ย แ
ค�ำนวณความหนาแน่นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์ ทั้ง 2 ชุด และสารละลายน�้ำตาลทรายทั้ง 2 ชุด บันทึกผล

ม เ ผ
คำ�ถามท้ายกิจกรรม
ห ้า น่าย
ท .ยมคลอไรด์จ ชุ้าดหที่ 1 และ 2 เป็นอย่างไร
1. ความหนาแน่นของสารละลายโซเดี
ส ว รือ
ย ส ้ำตาลทรายชุ ห
ิธ์โด ปลยงมคลอไรด์และสารละลายน�้ำตาลทราย เหมือนหรือต่างกันทอย่้าาซงไร้า
2. ความหนาแน่นของสารละลายน� ดที่ 1 และ 2 เป็นอย่างไร
3. ความหนาแน่นของสารละลายโซเดี
ส ิท ่ 2 สรุปัดได้แวา่ อย่างไร
4. จากกิจกรรมตอนที ร ่

5. จากกิวจกรรมทั ้ง 2 ตอนดสรุปได้ว่าอย่างไร แ พ
สง ผ ย
้หามเ น่าย
ท . จ้าห
ส วเป็นสมบัตริของสาร


ความหนาแน่น (density)
ย สสารบริสุทงธิ์แห
ซึ่งค�ำนวณได้จากอัตราส่วน
ระหว่างมวลต่อปริมาตรของสาร
ด ล
หนึง่ หน่วยปริมาตรคงทีเ่ ป็ธนิ์โค่าเฉพาะของสารนั

ต่ละชนิดมีความหนาแน่น หรือมีมวลต่อ

อะลูมิเนียม 2 ก้อนสิท
น้ ณ สถานะ อุณหภูมิ และความดันหนึง่ เช่น

ั าแงกัน แต่เนื่องจากเป็นสารบริสุทธิ์ชนิดเดียวกันจึงมี
ความหนาแน่งนวเท่นากัน สารบริสุทดธิ์ต่างชนิดจะมีความหนาแน่นต่างกัน ส่วนสารผสมจะมี
แม้จะมีขนาดต่

ความหนาแน่ ส นไม่คงที่ แม้วา่ จะเป็นสารผสมชนิดเดียวกัน ความหนาแน่นจะขึน้ กับอัตราส่วน


ของสารที่น�ำมาผสมกัน เช่น น�้ำเกลือเค็มจัด จะมีความหนาแน่นมากกว่าน�้ำเกลือเจือจาง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
28 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ซา

ร ่ ทา้
แ พ
ภาพ 2.3 รถบรรทุกแท่งซีเมนต์ และรถบรรทุกท่อนไม้

เ ผ ย

จากภาพ 2.3 รถบรรทุก 2 คั้าน บรรทุกวัตถุ่าตย่างชนิดกัน แต่มวลของวัตถุที่บรรทุกไว้เท่ากัน
นักเรียนคิดว่าสิ.่งที่บหรรทุกบนรถคั
ห นนใดมีความหนาแน่นมากกว่า เพราะเหตุใด
ว ท ือจ้า
ส ส
ดที่อุณหภูมห

ความหนาแน่นของสารบางชนิ

เป็นอย่างไร พิจารณาตาราง ิ์โ2.2
ย ล ง า

ิและความดันเดียวกัน จะมีความหนาแน่นต่างกัน โดยมีความหนาแน่น


ิ ธ แป ่ ท ้า
ตาราง 2.2 ความหนาแน่น ส นของสารบางชนิ
ด ัด ด ที่ความดัน 1 บรรยากาศ พ ร
ง ว
สชนิดของสาร ยแ
สถานะ เ ผ
ความหนาแน่ น (g/cm )
3

ทอง ของแข็ง ้หาม น19.30 ่าย


ท . จ้าห 10.50
เงิน ของแข็ง
ของแข็ง ส ส ว รอ

น�้ำแข็งแห้ง
ย ง ห 1.56
ของแข็ิ์โด ล
น�้ำแข็ง

ิท ัดแ

ป 0.92
ปรอท
น สของเหลว
ด 13.60
คาร์บอนไดออกไซด์เหลว ง ว
ส ของเหลว 1.18
น�้ำ ของเหลว 0.99
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊ส 0.0019
แก๊สไนโตรเจน แก๊ส 0.0012
ไอน�้ำ (100 oC) แก๊ส 0.0006

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
29

สารในสถานะของแข็งมีความหนาแน่นมากกว่าของเหลว
เสมอไปหรือไม่ เพราะเหตุใด

า้ ซ า

โดยทั่วไปสารชนิดเดียวกัน เมื่อมีสถานะต่างกันที่อุณหภู่ มทิและความดันเดียวกัน ของแข็งจะมีความหนาแน่น
มากกว่าของเหลวและของเหลวจะมีความหนาแน่นมากกว่าแก๊พ ส รเช่น น�้ำแข็งแห้งหรือคาร์บอนไดออกไซด์สถานะของแข็ง
ยแ สตามล�ำดับ เนื่องจากสารในสถานะของแข็งอนุภาค
มีความหนาแน่นมากกว่าคาร์บอนไดออกไซด์สถานะของเหลวและแก๊
ม เ ผ ่ชิดกันมากกว่าอนุภาคของแก๊ส ความหนาแน่นของแก๊ส
จะเรียงชิดติดกันมากกว่าของเหลว และอนุภาคของเหลวจะอยู
จะเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิและความดันหได้ง่ายกว่าสารที
้า น่า่เป็ยนของเหลว แต่ในกรณีน�้ำแข็งกับน�้ำ พบว่า น�้ำแข็ง
ซึ่งเป็นของแข็งจะมีความหนาแน่นน้อยกว่ทา.น�้ำซึ่งเป็นของเหลว า
้ ห
ส ว อ
ื จ
สารต่างชนิดกันทีอ่ ณ มแิ ละความดันหเดีรยวกัน สารทีม่ สี ถานะของแข็งไม่จำ� เป็นต้องมีความหนาแน่นมากกว่าสาร
ุ หภูส

์ ิ ย
ที่มีสถานะของเหลวเสมอไปดของแข็งบางชนิ ล ้า 2.2
งดมีความหนาแน่นน้อยกว่าของเหลวบางชนิด พิจารณาจากข้้าอมูซลในตาราง
พบว่า น�้ำแข็งและเงินิทซึธ
่งเป็นของแข็งแ มีคปวามหนาแน่นน้อยกว่าปรอทซึ่งเป็นของเหลว ่ ท
น ส ด ด
ั พ ร
สง ว ย แ
ม ผ
เ ย


ถ้าน�ำอะลูมิเนียมที่มีมวล 54 กรัม ปริมาตร 20หลูกบาศก์เซนติเ่ามตร

ใส่ลงไปในน�ำ้ อะลูมิเนียมก้อนนี้จะลอยหรื. อจมน�้ำ เพราะเหตุ ห

ว รือจ า
้ ใด

ส ห

ิธ์โด เครืปล่องดืง ่มกระป๋องที่มีส่วนผสมต่างกัน
ส ิท ัดแ เมื่อน�ำมาลอยน�้ำจะเกิดอะไรขึ้น
ว น ด
สง
ภาพ 2.4 การน�ำเครื่องดื่มกระป๋องลอยน�้ำ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
30 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

เรือมีโครงสร้างทีท่ ำ� จากเหล็ก
ซึง่ เป็นวัตถุทมี่ คี วามหนาแน่นมากกว่า
น�้ำ หากต้องการท�ำให้เรือลอยน�้ำได้
ต้ อ งท� ำ ให้ มี ค วามหนาแน่ น น้ อ ยลง
โดยเปลี่ ย นรู ป ร่ า งของเหล็ ก ให้ มี
ซา

่ ทา้
ลักษณะโค้งงอและให้ภายในเรือเหล็ก
ส่วนใหญ่เป็นที่ว่าง เพื่อให้มีปริมาตร
พ ร
มากขึ้ น ท� ำ ให้ ค วามหนาแน่ น ของ
ย แ
เรือเหล็กน้อยกว่าความหนาแน่นของน�ำ้
ม เ ผ
เรือจึงลอยน�้ำได้
ห ้า นภาพ่าย2.5 เรือเดินสมุทรที่ท�ำจากเหล็ก
เรือด�ำน�้ำที่สามารถจมหรือลอยน�ว
. จ้าถหังน�้ำที่ติดตั้งภายในเรือ เพื่อช่วยในการ
้ำได้ทนั้น เนื่องจากใช้
เปลี่ยนความหนาแน่นของเรือทั้งล�ำ สเมืส่อสูบน�้ำทะเลเข้
ห รอ
ื าไปในถังเพื่อให้ความหนาแน่นของเรือทั้งล�ำ
มากกว่าน�้ำเรือจะจม และเมื่อต้ดอย ง า


์ ิ ล
งการให้เรือลอยขึ ้นมาต้องสูบน�้ำออกจากเรือพร้อมทั้งอัดอากาศเข้าสู่
้า ซ
ิสทธ้น ดังภาพัดแป
ถังน�้ำภายในเรือ เรือจะลอยขึ
่ ท
ร อากาศ
ง ว น ด แพ
ส อากาศอัด
เ ผ ย
ห า
้ ม ่า ย น�้ำ
อากาศออก อากาศออก

. าในถัง จ้าหอากาศเข้าในถัง

ว รือ
ถังที่มีแต่อากาศ
ส ส อากาศเข้

ห น�้ำออก
น�้ำเข้า น�้ำด
ิ์โ ย
เข้า น�ง้ำออก
ล ขึ้น
จม ธ ป
ลอยตัว
ส ิท ัดแ
ภาพ 2.6 น
ว ด
สง
การจมและลอยของเรื อด�ำน�ำ้
สารบริสทุ ธิแ์ ละสารผสมทุกชนิดประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย องค์ประกอบย่อยดังกล่าวเหมือนหรือต่างกันหรือไม่
อย่างไร นักเรียนสามารถศึกษาได้ในบทต่อไป

ตรวจสอบตนเอง

เขียนผังมโนทัศน์เกีย่ วกับจุดเดือด จุดหลอมเหลว และความหนาแน่นของสารบริสทุ ธิแ์ ละสารผสมทีไ่ ด้เรียนรู้


จากบทเรียนนี้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
31

กิจกรรมท้ายบท ทราบประเภทของพลาสติกได้อย่างไร

จุดประสงค์ 1. อภิปรายเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใช้ในชีวิตประจ�ำวัน

ซา

2. วิ เ คราะห์ แ ละอธิ บ ายแผนผั ง การจ� ำ แนกประเภทพลาสติ ก โดยใช้ ส มบั ติ เ กี่ ย วกั บ จุ ด เดื อ ด

่ ทา้
จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น และสมบัติอื่น ๆ เป็นเกณฑ์

แพ
วิธีการด�ำเนินกิจกรรม
เ ผ ย
ห ม
้า น่ายกที่พบในชีวิตประจ�ำวัน แล้วตอบค�ำถามท้ายกิจกรรม
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับลักษณะและประเภทของพลาสติ
ท . จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท ้า ซ
ิสท ัดแ ร ่
ง ว น ด แ พ
ส เ ผ ย
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
ว น ด
สง
การทดสอบประเภทของพลาสติก
พลาสติกเป็นวัสดุทนี่ ำ� มาท�ำผลิตภัณฑ์ตา่ ง ๆ ทีใ่ ช้ในชีวติ ประจ�ำวัน ซึง่ โดยมากจะอยูใ่ นรูปของบรรจุภณ
ั ฑ์ทใี่ ช้แล้วทิง้
ท�ำให้เกิดขยะพลาสติกจ�ำนวนมากซึ่งเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม ดังนั้นวิธีการที่ดีที่สุดที่จะช่วยลดปัญหาดังกล่าว คือ
การน�ำขยะพลาสติกกลับมาใช้ใหม่หรือการรีไซเคิลขยะพลาสติกตามประเภทของพลาสติก ในอุตสาหกรรมพลาสติกจะระบุ
หมายเลขที่แสดงถึงประเภทของพลาสติกไว้ 6 ประเภท ดังตาราง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
32 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ตารางประเภทของพลาสติก
ประเภทพลาสติก สมบัติ ตัวอย่างการใช้งาน

ค่อนข้างแข็งและเหนียว
ซา
้ ขวดบรรจุน�้ำดื่ม

่ ท้า
ไม่เปราะแตกง่าย น�้ำมันพืช
PETE
(Polyethylene Terephthalate)
และส่วนใหญ่จะใส
พ ร และน�้ำอัดลม

ค่อนข้างนิ่มแต่ย แยว
ทผ�ำให้มีสีสันสวยงาม
เหนี ขวดนม ขวดแชมพูสระผม
ม เ
้านอกจากนี้ยนังป้่าอยงกัน
ไม่แตกง่าย ส่วนใหญ่ ขวดแป้งเด็ก ขวดสบู่เหลว
HDPE ทนสารเคมี ห
. ผ่านความชื ห
ถุงพลาสติกทนร้อนชนิดขุ่น
(High-Density Polyethylene)

การแพร่
ว รือจ า
้ ้นได้ดี และถุงหูหิ้ว

ส มีสมบัห ติหลากหลาย ท่อน�้ำประปา สายยางใสแบบนิ่ม


์ ิ ด ย ทัล งง นิ่ม สามารถท�ำให้มี ซ
แผ่นฟิล์มส�ำหรับห่ออาหารา

ท้า
้งแข็
PVC ิทธ แ ป สีสันสวยงามได้ แผ่นพลาสติกปูโต๊ะอาหาร
ส ดัด ร ่

(Polyvinyl Chloride)
ง ว แ พ
ขวดใส่แชมพูสระผมชนิดใส

ส ฟิเลผ์มยส�ำหรับห่ออาหาร

LDPE
นิ่มกว่า HDPE
สามารถยืดตัวได้ในระดับหนึ่ง ใส ้หามอของส�ำหรัถุบงนใส่บรรจุข่านมปั
และห่ ยอาหาร งและถุงเย็น
(Low-Density Polyethylene)
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ดี กล่หอง ชาม จาน ถัง ตะกร้า กระบอก
ิธ์โด ปลง ส�ำถุหรังร้บอใส่นชนิน�้ำแช่ดใสเย็น
แข็งและเหนียวทนต่อแรงกระแทกได้
ท�ำให้มีสีสันสวยงามได้
PP
ส ิท ัดแ
(Polypropylene)
ว น ด
สงใส แข็งแต่เปราะ ภาชนะส�ำหรับบรรจุของใช้ เช่น
ซีดีเพลง ถาดโฟมบรรจุอาหาร
PS และแตกง่าย
โฟมกันกระแทก
(Polystyrene)

การระบุประเภทของพลาสติกข้างต้นนี้ อาจไม่ปรากฏบนพลาสติกทุกประเภทจึงยากต่อ
การคัดแยกพลาสติกก่อนน�ำไปรีไซเคิลในเบือ้ งต้น แต่มวี ธิ ที ดสอบเพือ่ คัดแยกประเภทของพลาสติก
ดังแผนผัง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
33

เริ่มต้นด้วย
ทดสอบด้วยน�ำ้ (water test)
แบ่งได้ 2 กลุ่ม
พลาสติกที่จมน�้ำ

้ ซ า

พลาสติ กที่ลอยน�้ำ

ร ่ท
PETE/PVC/PS
แพ HDPE/LDPE/PP
เ ผ ย
ห า
้ ม า
่ ย
ทดสอบโดยการเผาด้วยลวดทองแดง . ห น ทดสอบโดยการขูดด้วยเล็บ
(Copper wire test)
ว ท ือจ้า (scratch test)
ส ส หร
เปลวไฟสีเขียว ดย ง ส้ม า

ิธ์โ เปลวไฟสี
ป ล เกิดรอยขูดขีด
ท้า ซ ไม่เกิดรอยขูดขีด

PVC นส

ิ ัด แ ร ่ PP
ง ว ด
PETE/PS
แ พ
HDPE/LDPE
ส ผ
เ ย ย

้ ม
test) น่า
ทดสอบด้วยสารเมทิลเอทิลคีโตน ทดสอบโดยการอบ
(Methyl Ethyl Ketone/MEK test)
.
(ovenห ห

ว รือจ า

แช่ในสาร 20 นาที

สจุดหลอมเหลวห
ละลาย ไม่ละลาย
ด ย
ิ์โ ประมาณ ง
105ล- 115 C
จุดหลอมเหลว
PETE/พลาสติกประเภทอืิท่นธ ป ประมาณ 120 - 130 C
o o
PS
ส ด
ั แ ่ออบ
หลอมเหลวเมื ไม่หลอมเหลวเมื่ออบ

ทดสอบความร้งอวนด้วย

(heatสtest) LDPE HDPE
ใส่น�้ำเดือด

อ่อนตัวและบิดเบี้ยว ไม่อ่อนตัว

PETE พลาสติกอื่น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
34 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

คำ�ถามท้ายกิจกรรม

1. พลาสติกชิน้ หนึง่ ไม่มหี มายเลขระบุประเภทของพลาสติกไว้ น�ำไปทดสอบความหนาแน่น พบว่า มีความหนาแน่น


น้อยกว่าน�้ำ พลาสติกชิ้นนี้อาจเป็นพลาสติกประเภทใดได้บ้าง
ซา

่ ทา้
2. พลาสติกชิน้ หนึง่ ไม่มหี มายเลขระบุประเภทของพลาสติกไว้ น�ำไปทดสอบความหนาแน่น พบว่า มีความหนาแน่น

มากกว่าน�้ำ เมื่อน�ำลวดทองแดงเผาไฟไปแตะกับพลาสติกจะเห็นเปลวไฟสีส้ม และถ้าน�ำชิ้นพลาสติกไปแช่


สาร MEK พบว่าพลาสติกละลาย พลาสติกชิ้นนี้เป็นพลาสติกประเภทใด

3. เ ผ
การทดสอบพลาสติกวิธีใดใช้ความรู้เรื่องความหนาแน่น และสามารถแยกประเภทของพลาสติกได้อย่างไร

4.
ห ้า น่าย
การทดสอบพลาสติกวิธีใดใช้ความรู้เรื่องจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสามารถแยกประเภทของพลาสติกได้
อย่างไร
ท . จ้าห
สว รือ
ตรวจสอบตนเอง ย
ส ห า

ิธ์โด ปลง ท ้า ซ

ิ แ
ัด าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ได้ท�ำในบทเรียนนีพร้
เขียนเครื่องหมายสR ในช่องว่างหน้ ่
ง ว น ด แ
£ การสัส ง เกต £ การวั ด £ การจ�
เ ผ
ำ ย
แนกประเภท
£ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซและสเปซกับเวลา
ห า
้ ม า
่ ย
£ การใช้จ�ำนวน £ การจัดกระท�ำและสื่อ.ความหมายข้อมูหลน
£ การพยากรณ์ วท จ ้า
£ การลงความเห็นจากข้อมูล
ส สยามเชิงปฏิบหัติกรารือ
£ การตั้งสมมติฐาน £ การก�ำหนดนิ
ิธ์โ ด ย ล ง
£ การก�ำหนดและควบคุมตัวแปร £ การทดลอง
£ การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป £ส ิทการสร้างแบบจ� แ ป
น ด ัด ำลอง

ส งว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
35

สรุปท้ายบท

ซา

ร ่ ทา้
แพ
เ ผ ย
ห ม
้า น่าย
ท. จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง ผ ย
้หามเ น่าย
ท . จ้าห
ส วยม รือ
ย ส ห
ภาพการหล่อโลหะอะลู ม เ
ิ นี

ิธ์โด ว เช่น ปจุดลเดืงอด


สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมีสมบัติบางประการที่เป็นค่าเฉพาะตั
ส ิท คงที่ ัดขึน้ แอยูก่ บั ชนิด
และจุดหลอมเหลวคงที่ แต่สารผสมมีจดุ เดือดและจุดหลอมเหลวไม่
ว น ด
สง มพันธ์ระหว่างมวลของ
และอัตราส่วนของสารที่ผสมอยู่ด้วยกัน
ความหนาแน่นของสาร เป็นปริมาณแสดงความสั
สารในหน่วยกรัมกับปริมาตรของสารใน 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร หรือมวลของสารใน
หน่วยกิโลกรัมกับปริมาตรของสารใน 1 ลูกบาศก์เมตร สารบริสุทธิ์แต่ละชนิดมี
ความหนาแน่น เป็นค่าเฉพาะของสารนั้น ณ สถานะ อุณหภูมิ และความดันหนึ่ง
แต่สารผสมมีความหนาแน่นไม่คงทีข่ นึ้ อยูก่ บั ชนิดและอัตราส่วนของสารทีผ่ สมอยูด่ ว้ ยกัน
ในขณะที่สารบริสุทธิ์ชนิดเดียวกัน แต่สถานะต่างกัน มีความหนาแน่นไม่เท่ากัน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
36 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

แบบฝึกหัดท้ายบท

1. ในการหาอุณหภูมิขณะเดือดของของเหลว 2 ชนิด ได้แก่ สาร A และ B โดยให้ความร้อนกับของเหลวแล้ววัดอุณหภูมิ


ของของเหลวเมื่อเวลาผ่านไป ได้ผลดังตาราง *
ซา

ร ่ ทา้
อุณหภูมิของ
แพ เวลา (นาที)
ของเหลว
(oC) 1 1.30 2 2.30
เ3
ผ ย 3.30 4 4.30 5 5.30 6 6.30 7 7.30 8

A 44 55 66
ห 76

้า น่าย84 92 94 96 98 100 100 100 100 100 100
B 49 60

75 . จ้าห
81 86 88 89 90.5 91 93 94 94.5 95 96.5 98
ว รือ เพราะเหตุใด
จากตาราง สารใดเป็นสารบริสุทสธิ์ สสารใดเป็นสารผสม
ด ย ง ห า


์ ิ ล ซ
ธ นบรรจุแแปก๊สฮีเลียม ก่อนออกเดินทางได้บรรจุแก๊สฮีเลียมปริมาตร 500่ ทm้า และมีมวล
2. นักส�ำรวจเดินทางด้ิท
60 kg ในบอลลูนนสแก๊สฮีเลียมในบอลลู
วยบอลลู
ัด นขณะนั้นมีความหนาแน่นเท่าใด * ร
3

ง ว ด แพ
ส เ ผ ย
3. น�ำอักษรหน้าข้อความทางขวามือมาเติมลงในช่องว่างหน้าข้อความทางซ้ายมือที่ม้าีความสั
ห ม มพันธ์กันย*
่า

้ ห น
. ถุน้อยกว่าความหนาแน่

ว รือจ นของน�้ำ
.......... 1. ความหนาแน่นของวัตถุ

ก. ความหนาแน่นของวั ต
ส นของวัตถุเท่หากับความหนาแน่นของน�้ำ
.......... 2. วัตถุลอยในน�้ำ

์ ิ ด ย
ข. ความหนาแน่
ล ง
ค. ธ ป ตถุมากกว่าความหนาแน่นของน�้ำ
.......... 3. วัตถุจมในน�้ำ

ิ แ
ความหนาแน่นของวั
สฉ. มวลของวัดตัดถุต่อปริมาตรของวัตถุ
.......... 4. ความหนาแน่นของวัตถุน้อยลง
ง ว น
.......... 5. วัตถุลอยปริ่มในน�้ำ ส ซ. เพิ่มปริมาตรของวัตถุโดยมวลเท่าเดิม
.......... 6. วิธีการท�ำวัตถุที่จมน�้ำให้ลอยน�้ำได้ ญ. เพิ่มปริมาตรของวัตถุจนมีความหนาแน่นน้อยกว่า 1 g/cm3

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
37

ตารางแสดงความหนาแน่นของสาร
พลาสติก
ปิโตรเลียมเหลว้า ซ า

สาร
(โพลีเอทิลีน)
ร ่ ท น�้ำ นม
ความหนาแน่น (g/cm ) 3
0.93
แ พ
0.8 1 1.03
สถานะ ของแข็ง
เ ผ ย ของเหลว ของเหลว ของเหลว
้หาม น่าย
4. จากข้อมูลในตารางแสดงความหนาแน่.นของสารให้เขียห

และเขียนเครื่องหมาย Q ในกล่อวงสี่เหลี่ยมหน้าข้จ า
้ นเครือ่ งหมาย R ในกล่องสีเ่ หลีย่ มหน้าข้อความทีก่ ล่าวถูกต้อง

ส หรยมเหลว อ
ื อความที่กล่าวผิด **
£ แท่งพลาสติกลอยในน�

์ ิ ด ย ง
้ำแต่จมในปิโตรเลี
ล ซ า

£ แท่งพลาสติกธสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ ป มวล 50 g ลอยในน�้ำ ขณะที่แท่งพลาสติกสี่เหลี่ยมลูกบาศก์มทวล้า 1 kg
ส ท
ิ ด
ั แ ร ่
ไม่ลอยในน�
ว น ้ำ
ด แพ
£ ถ้งาเทปิโตรเลียมเหลวลงในน�้ำ ปิโตรเลียมเหลวจะแยกชั้นลอยอยู่ด้านบน แต่ถย้าเทลงในนม ปิโตรเลียมเหลว
ส เ ผ
จะแยกชั้นอยู่ดา้ นล่าง
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
ว น ด
สง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
38 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

บทที่ 2 การจ�ำแนกและองค์ประกอบของสารบริสุทธิ์
ซา

ร ่ ทา้
แ พ
เ ผ ย
ห ม
้า น่าย
ท . ภาพเพชรและแกรไฟต์

้ ห
สว รือจ
• นักวิทยาศาสตร์จ�ำแนกสารบริสสุทธิ์เป็นประเภทใดบ้


• องค์ประกอบของธาตุิ์โแดละสารประกอบเป็
ล ง นอย่างไร าง ใช้เกณฑ์อย่างไร
ซ า


ิ ธ บา้ ง แต่แลปะประเภทมีสมบัติอย่างไร ่ ท ้า
ส ประโยชน์
• ธาตุแบ่งเป็นประเภทใดได้
น ด ัด ในชีวิตประจ�ำวันได้อย่างไร พ ร
ส งว
• ธาตุและสารประกอบใช้
ย แ
ม เ ผ
เพชรและแกรไฟต์เป็นสารบริสุทธิ์ที่มีสมบัติเฉพาะตัวแตกต่างกัน เพชรมีสมบั า
้ า

ติโปร่งใส เมื่อเจีย ยระไนให้แวววาว
นิยมใช้เป็นเครื่องประดับ นอกจากนั้นเพชรยังมีความแข็ง ใช้ท�ำดอกสว่านเพื่อเจาะวัหสดุแข็ง ๆ ได้ นเช่น แก้ว คอนกรีต ฟัน
. จ้าห ำให้เพชรและแกรไฟต์
ส่วนแกรไฟต์มีสมบัติทึบแสงและมีความเปราะ ใช้เป็นส่วนประกอบในการท�วำทไส้ดินสอ ถ้าสามารถท�


มีขนาดเล็กลงเรื่อย ๆ จนกระทั่งได้อนุภาคที่เล็กที่สุดที่แบ่งต่อไปอีกไม่สได้สจะพบว่าอนุภราคที
ห ่เล็กที่สุดของเพชรกับแกรไฟต์

เหมือนกัน แต่การจัดเรียงตัวของอนุภาคแตกต่างกันท�ำให้เพชรและแกรไฟต์ย ล ง
มีสมบั ติแตกต่างกัน นักวิทยาศาสตร์สามารถ
เปลี่ยนแกรไฟต์ให้เป็นเพชรได้โดยใช้ความดันและอุณหภูมิทธี่สูงิ์โมาก
ิสท ัดแป
น ด
เมื่องเรีวยนจบบทนี้แล้ว นักเรียนจะสามารถทำ�สิ่งต่อไปนี้ได้
จุดประสงค์ของบทเรียน

1. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอะตอม ธาตุและสารประกอบ
2. อธิบายโครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน
3. อธิบายสมบัติทางกายภาพบางประการของธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะ รวมทั้งจัดกลุ่มธาตุเป็นโลหะ อโลหะ
และกึ่งโลหะ
4. วิเคราะห์และสรุปผลจากการใช้ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี
5. น�ำเสนอแนวทางการใช้ธาตุอย่างปลอดภัย คุ้มค่า
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
39

เรื่องที่ 1 การจ�ำแนกสารบริสุทธิ์
ค�ำส�ำคัญ
ซา
้ ธาตุ สารประกอบ

่ ท้า
สัญลักษณ์ธาตุ

พ ร สูตรเคมี

ย แ
ม เ ผ
ห ้า น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด 2.7 สารบริปสลุทธิง์ที่พบในชีวิตประจ�ำวัน
ภาพ
ท ้า ซ
สารบริน


สุทสธิ์มีจุดเดือด ด
แ ่
ร สุทธิ์แต่ละชนิด
จุดัดหลอมเหลว และความหนาแน่นคงที่ ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารบริ

รอบตัวเรามีงสารบริสทุ ธิอ์ ยูห่ ลายชนิด เช่น เอทานอล ผงตะไบเหล็ก ทองแดง ไอน�ำ้ นักเรียนคิดยว่าแ

ส ผ สารบริสทุ ธิแ์ บ่งเป็นกีป่ ระเภท

้หามเ น่าย
อะไรบ้าง และมีอะไรเป็นองค์ประกอบ

ท . จ้าห
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
ส ว รือ
ย ส ห
เขียนเครื่องหมาย R หน้าค�ำตอบที่เป็นสารบริสุทธิ์ ด

์ ิ ล ง
ธ ป
ิท£ น�้ำปลา ัดแ £ น�้ำเชื่อม
£ เกลือแกง £ น�้ำตาล
น ส ด
£ พริกกับเกลือ £ น�้ำ ว
สง £ อากาศ
£ แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์
£ แก๊สออกซิเจน £ แก๊สไนโตรเจน

รู้อะไรบ้างก่อนเรียน เขียนสิ่งที่รู้เกี่ยวกับประเภทและองค์ประกอบของสารบริสุทธิ์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
40 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

กิจกรรมที่ 2.4 สารบริสุทธิ์มีองค์ประกอบอะไรบ้าง

จุดประสงค์ แยกน�้ำด้วยไฟฟ้าและอธิบายผลที่ได้จากการแยกน�้ำด้วยไฟฟ้า
ซ า

5. ธูท ป ้า
วัสดุและอุปกรณ์ 1. เบคกิ้งโซดา

6. ร เครื่องแยกน�้ำด้วยไฟฟ้า
2. น�้ำ

แ 7. ช้อนตักสารเบอร์ 1
3. แบตเตอรี่ขนาด 9 โวลต์
เ ผ ย
4. ไฟแช็ก
ห ม
้า น่าย
8. สายไฟพร้อมคลิปปากจระเข้

ข้อควรระวัง
ท . จ้าห
สว รือ
ย ดสระวัง อย่าให้เหปลวไฟเข้าใกล้สิ่งที่อาจเป็นเชื้อเพลิง เช่น เส้นผม เสื้อผ้า กระดาษ
• ควรใช้ไฟแช็กด้วยความระมั

• ทดสอบสารที่เก็บได้ิ์โในหลอดทดลองทั ล ง้งสองด้วยความระมัดระวัง เนื่องจากสารเหล่านั้นอาจท�ำให้้าเซกิด้าเสียง
หรือเกิดเปลวไฟิท
ธ แป ่ ท
น ส ด ด
ั พ ร

ง จกรรม ยแ
เนิสนำกิเนิ เ ผ
วิธีการด�
วิธีกำารด� นกิจกรรม
้หาม น่าย
1. ใส่น�้ำในถ้วยพลาสติกของเครื่องแยกน�้ำด้วยไฟฟ้าจนเกือบเต็ม เติมเบคกิ้งโซดา
ท . า

1 ช้อนเบอร์ห 1 รอให้ละลายจนหมด
แล้วปิดฝาครอบที่มีหลอดแก้วและขั้วไฟฟ้า
ส ว รือจ
ย ส ห
ิธ์โด ปเกร็ลงดน่ารู้
ส ิท ัดแ
ว น น�ด
ส ง ้ำบริสุทธิ์น�ำไฟฟ้าได้น้อยมาก การเติมเบคกิ้งโซดา
ปริมาณเล็กน้อยช่วยให้กระแสไฟฟ้าเคลื่อนผ่านน�้ำ
ได้มากขึ้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
41

วิธีการด�ำเนินกิจกรรม

2. ใช้ปลายนิว้ ปิดรูระบายอากาศทีฝ่ าครอบแล้วคว�ำ่ ถ้วยพลาสติกเพือ่ ให้นำ�้ เข้าในหลอดแก้วจนเต็ม แล้วหงายถ้วยพลาสติก


ขึ้นโดยไม่มีฟองอากาศในหลอด
ซา

ร ่ ทา้
แพ
เ ผ ย
ห ม
้า น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ่ขนาดัดแ9 โวลต์ เข้ากับเครื่อง ร ่

3. ต่อสายไฟจากแบตเตอรี ด
แยกน�้ำงด้ววยไฟฟ้าให้ครบวงจร สังเกตการเปลี่ยนแปลง แพ
ส วทั้งสอง บันทึกผล ผ
เ ยย
ในหลอดแก้
หา
้ ม ่า
4. เมือ่ ระดับน�ำ้ ในหลอดใดหลอดหนึง่ ลดลงเกือบหมดหลอด
. จ้าห น
ถอดสายไฟออก ท�ำเครือ่ งหมายแสดงระดับน�ำ้ ทีเ่ หลืออยู่ ท
ว รือ
ในแต่ละหลอดและแสดงว่าแต่ละหลอดมาจากขั้วใด
ส ส ห
5. ระมัดระวังให้ปากหลอดยังคว�่ำอยู่ใต้น�้ำตลอดเวลา ด
ิ์โ ย ล ง
ิทา
จนกว่าจะทดสอบสารทีอ่ิ ยูใ่ นหลอด ค่อย ๆ ดันหลอดและ ธ แ ป
จุกยางออกทางด้านล่างของฝาครอบ เก็บขั้วไฟฟ้
น ส ด ด

สง ว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
42 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

วิธีการด�ำเนินกิจกรรม

6. ทดสอบสารในหลอดจากขั้ วบวก โดยใช้ ป ลายนิ้ ว ชี้





ปิ ด ปากหลอดให้ แ น่ น ตั้ ง แต่ ป ากหลอดยั ง อยู ่ ใ ต้ น�้ ำ

่ ทา้
หงายมือขึน้ โดยยังไม่เปิดปากหลอด แล้วใช้ธปู ทีล่ กุ เป็น

พ ร เปลวไฟจ่อลงในปากหลอดทันทีที่ปลายนิ้วขยับเปิด

ย แ ปากหลอด สังเกตการเปลี่ยนแปลง บันทึกผล

ม เ ผ
ห ้า น่าย
ท. จ้าห
สว รือ 7. ทดสอบสารในหลอดจากขัว้ ลบ โดยวิธเี ดียวกันกับข้อ 6
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง สังเกตการเปลี่ยนแปลง บันทึกผล
ท ้า ซ
ิสท ัดแ ร ่
งว น ด แพ
ส เ ผ ย
้หาม น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ำซ�ำ้ ตัง้ แต่ลขอ้ ง1 - 5 แล้วทดสอบสารในหลอดจากขัว้ บวก
ิธ์โ8. ด ท�และขั
ิสท ัดแ้วลบที ป ละหลอด โดยใช้ธูปที่เป็นถ่านแดงจ่อลง
ว น ด
ในหลอดทั นทีที่ปลายนิ้วขยับเปิดปากหลอด สังเกต
สง การเปลี่ยนแปลง บันทึกผล

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
43

คำ�ถามท้ายกิจกรรม

1. เมื่อต่อสายไฟจากแบตเตอรี่เข้ากับเครื่องแยกน�้ำด้วยไฟฟ้าให้ครบวงจร ในหลอดแก้วจากขั้วบวกและขั้วลบ
มีการเปลี่ยนแปลงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ซา

่ ทา้
2. เมื่อเปรียบเทียบปริมาณสารที่เกิดขึ้นในหลอดจากขั้วบวกและขั้วลบ มีอัตราส่วนประมาณเท่าใด
3.
พ ร
เมื่อทดสอบสารในหลอดจากขั้วบวกและขั้วลบโดยใช้ธูปที่ลุกเป็นเปลวไฟ และธูปที่เป็นถ่านแดง สังเกตเห็น
การเปลี่ยนแปลงแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
ย แ
ม เ ผ
4.
5. น�้ำเป็นสารบริสุทธิ์หรือสารผสม ทราบได้อย่างไร ห ้า น่าย
สารในหลอดจากขั้วบวกและขั้วลบเป็นสารชนิดเดียวกันหรือไม่ ทราบได้อย่างไร

ท . จ้าห
6. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อย่างไร
ส ว รือ
ย ส ห
สารบริสุทธิ์บางชนิิ์โดดสามารถแยกสลายเป็ ล ง นองค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด ที่มีสมบัติต่างจากเดิม เมื้า่อซได้้ารับพลังงานที่

ิ ธ้ำซึ่งเป็นสารบริแสปุทธิ์ด้วยไฟฟ้า จะได้แก๊สออกซิเจนและแก๊สไฮโดรเจนในอัตราส่วนคงที
่ ท ่ แสดงว่าน�้ำมีองค์

เหมาะสม เช่น เมื่อแยกน�
น ด ด
ั พ ร

ประกอบ 2 ชนิดมารวมตั วกัน สารบริ
ส่วนสารบริสงุทธิ์บางชนิดที่ไม่สามารถแยกสลายให้สารใหม่โดยวิธีทางเคมีได้ เพราะมีองค์ประกอบเพี
ส ย แ
สทุ ธิท์ สี่ ามารถแยกสลายเป็นองค์ประกอบมากกว่า 1 ชนิด เรียกว่า สารประกอบ (compound)
ผ ยงชนิดเดียว เช่น ออกซิเจน
และไฮโดรเจนเรียกว่า ธาตุ (element)
้หามเ น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ
อนุภาคออกซิเจน ไฟฟ้า
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
อนุภาคไฮโดรเจน
ว น ด
น�ำ้ สง แก๊ สไฮโดรเจน แก๊สออกซิเจน

ภาพ 2.8 น�้ำมีองค์ประกอบเป็นอนุภาค 2 ชนิดแตกต่างกัน


เมื่อแยกน�้ำด้วยไฟฟ้าจะท�ำให้อนุภาคไฮโดรเจนและอนุภาคออกซิเจนแยกออกจากกัน
และรวมกันเป็นแก๊สไฮโดรเจน และแก๊สออกซิเจน
สารบริสทุ ธิร์ อบตัวบางชนิดเป็นธาตุ เช่น ทองค�ำ เพชร แกรไฟต์ ทองแดง ปรอท แก๊สไนโตรเจน บางชนิดเป็นสารประกอบ
เช่น เกลือแกง น�้ำตาล โปรตีน คาร์โบไฮเดรต
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
44 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ธาตุและสารประกอบที่พบในชีวิตประจ�ำวันมีอะไรอีกบ้าง ยกตัวอย่าง

ซ า

สารประกอบเป็นสารบริสทุ ธิท์ มี่ อี งค์ประกอบเป็นธาตุอย่างน้อย 2้าชนิดรวมตัวกันด้วยอัตราส่วนคงที่ สารประกอบ
แต่ละชนิดมีสมบัติเฉพาะตัวที่แตกต่างจากสมบัติของธาตุที่เป็นองค์ปรระกอบ ่ ท เช่น น�้ำ เป็นสารประกอบที่เป็นของเหลวใส
ไม่มีสี มีองค์ประกอบเป็นออกซิเจนและไฮโดรเจน โดยทั่วไปธาตุแอพ
เ ย อกซิเจนที่อยู่รวมกันโดยไม่มีธาตุอื่นอยู่ด้วย มีสมบัติเป็น
ผส ไม่มีสี และติดไฟได้ สารประกอบดังกล่าวมีอัตราส่วนของธาตุ

แก๊ส ไม่มีสี ช่วยให้ไฟติด ส่วนธาตุไฮโดรเจน มีสมบัติเป็นแก๊
ที่เป็นองค์ประกอบคงที่ เช่น น�้ำมีอัตราส่วนระหว่า้างออกซิเจนและไฮโดรเจน
ห า
่ ย
. า
้ ห น 1:2 สารประกอบที่พบในชีวิตประจ�ำวัน

อีกชนิดหนึ่ง คือ เกลือแกง หรือโซเดียมคลอไรด์ ประกอบด้วยโซเดี
ว โซเดียมเป็ อ

ยม และคลอรีน ในอัตราส่วน 1:1 โดยโซเดียมคลอไรด์
นจของแข็งที่มีสีเงินวาว ส่วนธาตุคลอรีนเป็นแก๊สสีเหลืองอ่อน
เป็นของแข็งสีขาว รับประทานได้ ส่วนธาตุ

ส หร
แกมเขียว มีพิษ

ิธ์โด ปลง ซ า

ิสท ัดแ ่ ท ้า
น ด พ ร
ส ง ว ยแ
เ ผ
้หาม น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
ว น ด
สง
ภาพ 2.9 สารประกอบเกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์ (ภาพซ้าย) มีองค์ประกอบ 2 ชนิด
ซึ่งมีสมบัติแตกต่างกันคือ โซเดียม (ภาพกลาง) และคลอรีน (ภาพขวา)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
45

ธาตุทุกชนิดเป็นสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอนุภาคขนาดเล็กเรียกว่า เกร็ดน่ารู้
อะตอม (atom) อะตอมคือหน่วยที่เล็กที่สุดของธาตุ อะตอมของธาตุแต่ละชนิด
มีสมบัติแตกต่างกัน ในธรรมชาติธาตุอาจอยู่เป็นอะตอมเดี่ยว หรืออาจมีอะตอม กลุ่มของอะตอมที่อยู่รวมกัน
ของธาตุชนิดเดียวกันหลาย ๆ อะตอมอยูร่ วมกัน เช่น แก๊สออกซิเจนประกอบด้วย ทางเคมี เรียกว่า โมเลกุล
อะตอมของออกซิเจน 2 อะตอม แก๊สไฮโดรเจนประกอบด้วยอะตอมของไฮโดรเจน
ซา

่ ทา้
โมเลกุลเป็นหน่วยที่เล็กที่สุด
2 อะตอม ของสารแต่ละชนิดที่อยู่ใน
พ ร

ส่วนสารประกอบเป็นสารบริสทุ ธิท์ ปี่ ระกอบด้วยอะตอมของธาตุตา่ งชนิด

ธรรมชาติ โดยโมเลกุลของธาตุ

เ ผ
กันรวมตัวกันในอัตราส่วนจ�ำนวนอะตอมคงที่ เช่น น�้ำ ประกอบด้วยอะตอมของ

อาจเป็นอะตอมเดี่ยว หรือมี
้า น่าย
ไฮโดรเจน 2 อะตอม และ อะตอมของออกซิเจน 1 อะตอม คงที่ โดยมีอัตราส่วน

อะตอมชนิดเดียวกันตั้งแต่
2 อะตอมขึ้นไป
มวลของออกซิเจนต่อไฮโดรเจน 1:8
ท . จ้าห
สว รือ
ย ส ห า


ิ1.ธ์โแก๊สไนโตรเจนเป็ง วยไนโตรเจน 2 อะตอม
แก๊สดไนโตรเจน ประกอบด้ ซ
ิสท2. วาดลูกศรชี แ ป นธาตุหรือสารประกอบ
ัด ้อะตอมไนโตรเจนในภาพ ร ท้า
่ แก๊สไนโตรเจน
งว น ด แพ
ส ผ
เ ยย
หา
้ ม และ ออกซิ่าเจน 2 อะตอม
.ท จ้าหน
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ประกอบด้วย คาร์บอน 1 อะตอม
1. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นธาตุหรือสารประกอบ

2. วาดลูกศรชี้อะตอมคาร์บอนและอะตอมออกซิว เจนในภาพ
รอ

แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ย ส ห
ิ์โ ด ลง

ิท ัดแ ป
น ส ด
สง ว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
46 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ตาราง 2.3 สารประกอบและธาตุที่เป็นองค์ประกอบ

ชื่อสาร ธาตุที่เป็นองค์ประกอบ อัตราส่วนจ�ำนวนอะตอมขององค์ประกอบ


น�้ำ ไฮโดรเจน และ ออกซิเจน
ซ า
้ 2:1
คาร์บอน และ ออกซิเจน ท้า
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ไนโตรเจน และ ออกซิเพ จนร
่ 1:2
แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์
กลูโคส คาร์บอน ไฮโดรเจนเผ และ

ย ออกซิเจน
1:2
6:12:6

โซเดียหม้าและ คลอรีน ่าย
เกลือแกง หรือโซเดียมคลอไรด์
.บอน และ จไฮโดรเจน

้ ห น 1:1
มีเทน
ว ท
คาร์ 1:4
ส ส ไนโตรเจนหรและือ ไฮโดรเจน
แอมโมเนีย

ิธ์โด ปลง
1:3
ซ า

ิสท ัดแ ่ ท ้า
น ด
สารบริสุทธิ์
พ ร
ส ง ว ธาตุ

สารประกอบ

เ ผ
้หาม น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
วยอะตอมเพียงงชนิดเดียว โดยธาตุอาจอยู่เป็นอะตอมเดี่ยว
ภาพ 2.10 สารบริสุทธิ์แบ่งได้เป็น ธาตุ และสารประกอบ ธาตุประกอบด้
ธ ิ์โ ด ป ล
ส ิท ัดแ
หรือมีตั้งแต่ 2 อะตอมขึ้นไปอยู่รวมกัน ส่วนสารประกอบประกอบด้ วยอะตอมต่างชนิดกันอยู่รวมกัน

สัญลักษณ์ของธาตุและสูตรเคมี
งว น ด
ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ค้นพบธาตุแส ล้วอย่างน้อย 118 ชนิด บางชนิดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ไฮโดรเจน
คาร์บอน ทองแดง บางชนิดเกิดจากการสังเคราะห์ เช่น ไอน์สไตเนียม รัทเทอร์ฟอร์เดียม นิฮอนเนียม เนือ่ งจากธาตุมหี ลายชนิด
นักวิทยาศาสตร์จึงก�ำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ (chemical symbol) แทนการเขียนชื่อธาตุ เพื่อให้เกิดความสะดวกและ
เข้าใจตรงกันเป็นสากล
การก�ำหนดสัญลักษณ์ของธาตุ ส่วนใหญ่มาจากชื่อธาตุในภาษาอังกฤษ โดยใช้ตัวอักษรตัวแรกของชื่อธาตุเป็นตัว
พิมพ์ใหญ่ ในกรณีที่ตัวอักษรตัวแรกของชื่อธาตุซ�้ำกันให้ตามด้วยตัวอักษรตัวพิมพ์เล็กตัวอื่น นอกจากนี้สัญลักษณ์ของธาตุ
บางชนิดก�ำหนดมาจากชื่อธาตุในภาษาละติน ดังตาราง 2.4
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
47

ตาราง 2.4 สัญลักษณ์ของธาตุบางชนิด

ชื่อภาษาไทย ชื่อภาษาอังกฤษ ชื่อภาษาละติน สัญลักษณ์ของธาตุ


ไฮโดรเจน Hydrogen - H
ฮีเลียม Helium า
้ ซา
้ - He
ร ่ท
คาร์บอน Carbon
แพ - C
Nitrogen ผย
ไนโตรเจน
ม เ - N
ออกซิเจน Oxygen้า
ห ่นาย - O

ท . จ้าห
อะลูมิเนียม
สวAluminium
ร อ

- Al
แคลเซียม
ย ส ห
Calcium - Ca


ิ์โด ปSulphur
ล ง ซ
ก�ำมะถัน
เงินนส

ิท ัดแ Silver
-
ร ่ Agท้า S

ง ว ด Argentum
แพ
สทองแดง Copper Cuprum
เ ผ ย Cu
Natriumห้า
ม ่าย Na
.ท จ้าหน
โซเดียม Sodium

ส ว รือ
ย ส หนีออน (Neon)
ด ล ง
ลัิ์โกษณ์ธาตุเป็ป
อาร์กอน (Argon) โคบอลต์ (Cobalt) และ

ิท ัดแ
ควรมีสัญ นอย่างไร
น ส ด
สูตรเคมี (chemical formula) งเป็วนกลุ่มสัญลักษณ์ที่เขียนแทนธาตุและสารประกอบ ประกอบด้วยสัญลักษณ์

ของธาตุและอัตราส่วนจ�ำนวนอะตอมของธาตุที่เป็นองค์ประกอบในสารนั้น เช่น น�้ำประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและธาตุ
ออกซิเจนในอัตราส่วนคงที่ 2:1 มีสูตรเคมี H2O

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
48 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ตาราง 2.5 สูตรเคมีของธาตุและสารประกอบ

ชื่อสาร สูตรเคมี
แก๊สไฮโดรเจน H2
แก๊สออกซิเจน
ซา
้ O2
โอโซน
ร ่ ทา้ O3
ไอโอดีน
แ พ I2
ก�ำมะถัน เ ผ ย S8
น�้ำ
ห ม
้า น่าย H2O
ท. จ้าห
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ CO2
ส ว รือ
ย ส ห
แก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ NO2


ิธ์โด ปลงกลูโคส C6H12O6
ท ้า ซ
ิสท ัดแ
เกลือแกงหรือโซเดียมคลอไรด์ NaCl
ร ่
งว น ด แ พ
ส สารประกอบชนิดหนึ่งประกอบด้วยอะตอมของก�ำมะถันและออกซิ เ ผ ย
ในอัตราส่วน 1:2 สูตรเคมีของสารนี้เขียนได้อย่าหงไร า
้ ม เจน
่นาย
ท . จ้าห
ส วใดเป็นองค์ปรระกอบบ้


สารประกอบแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ CO มีอะตอมของธาตุ
ย ส ห าง
ิธ์โ ดเท่าใดปลง
2
และมีอัตราส่วนของอะตอมแต่ละชนิ ด
ิท ัดางแ
สารรอบตัวเรามีนสสูตรเคมีอะไรบ้
กิจกรรมเสริม
ง ว ด

สืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เพื่อเขียนสัญลักษณ์ของธาตุ และสูตรเคมีของสารประกอบ
ที่พบได้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น เอทานอล กรดน�้ำส้ม

สารบริสทุ ธิจ์ ดั กลุม่ ตามองค์ประกอบได้เป็นธาตุและสารประกอบ ซึง่ ธาตุแต่ละชนิดมีอนุภาคทีเ่ ล็กทีส่ ดุ คือ อะตอม สารบริสทุ ธิ์
ที่ประกอบด้วยอะตอมเพียงชนิดเดียวเป็นธาตุ ส่วนสารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยอะตอมมากกว่า 1 ชนิดรวมกันในอัตราส่วนคงที่
เป็นสารประกอบ ชื่อธาตุและสารประกอบเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ของธาตุและสูตรเคมี อะตอมซึ่งเป็นอนุภาคที่เล็กที่สุด
ของแต่ละธาตุมีโครงสร้างอย่างไร
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
49

เรื่องที่ 2 โครงสร้างอะตอม
ค�ำส�ำคัญ


อนุภาค อะตอม

ร ่ ทา้
โครงสร้างอะตอม

แ พ นิวเคลียส โปรตอน

เ ผ ย นิวตรอน อิเล็กตรอน

ห ม
้า น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท จากกล้
วของแมลงวัน ัด
แ องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ร ่

ภาพ 2.11 ภาพส่วนหั
งว ด แ พ
ส แบบส่ อ งกราด

เ ย ย

้ ม
ปัจจุบนั นักวิทยาศาสตร์มเี ครือ่ งมือทีส่ ามารถตรวจสอบโครงสร้างของสารหรือสิง่ มีชวี ่าติ ได้ละเอียดจนถึงระดับ
หวยอะตอมจ�หำนนวนมาก ภาพของสารหรือ
อะตอมหรือระดับนาโนเมตร ในภาพ 2.11 ปุม่ ทีต่ าของแมลงวันแต่ละปุม่ ประกอบด้ . ้ากกว่าอะตอมลงบนสารหรือสิ่งมี
ทภาคที่มีขนาดเล็

สิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก ๆ ที่ได้จากกล้องจุลทรรศน์ชนิดนี้ ได้มาจากการฉายอนุ ว
ส หรือก ๆ เหมือนกันหรือไม่
ชีวิต อนุภาคที่เล็กกว่าอะตอมคืออะไรบ้าง และอะตอมของธาตุแต่ส
ิธ์โ ด ย ละชนิดมีอนุภาคเล็
ล ง
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน ิสท ัดแป
งว น ด
ถ้าแบ่งธาตุ เช่น ทองค�ำ ให้มีขนาดเล็สกลงเรื่อย ๆ จนมีขนาดเล็กที่สุดซึ่งมองไม่เห็น จะเป็นอย่างไร
ก. ทองค�ำจะหายไปทั้งหมด
ข. ทองค�ำกลายเป็นธาตุอื่น
ค. เหลืออะตอมของทองค�ำ ซึ่งเล็กจนมองด้วยตาเปล่าไม่เห็น

รู้อะไรบ้างก่อนเรียน เขียนสิ่งที่รู้เกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
50 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

เกร็ดน่ารู้ อะตอม

นั ก ปราชญ์ ช าวกรี ก โบราณเชื่ อ ว่ า สารต่ า ง ๆ




ประกอบขึ้นจากอนุภาคที่เล็กจนมองไม่เห็นเรียกว่า

่ ทา้
อะตอม (atom) หรือ atomos ในภาษากรีก (a แปลว่า

พ ร ไม่ และ atomos แปลว่า แบ่ง) จนกระทั่งปี พ.ศ.

ยแ 2351 - 2353 จอห์น ดาลตัน นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ

มเ ผ เสนอทฤษฎีอะตอม ซึ่งสรุปได้ดังนี้

ห ้า น่าย 1. ธาตุตา่ ง ๆ ประกอบไปด้วยอนุภาคเล็ก จ�ำนวนมาก

ท. จ้าห และอนุภาคเล็ก ๆ เหล่านี้ เรียกว่า อะตอม

สว รือ 2. อะตอมของธาตุต่าง ๆ มีน�้ำหนักเฉพาะของ

ย ส ห อะตอมของธาตุนั้น


ิธ์โด ปลง ท้า
3. สารประกอบเกิดจากการรวมตัวของอะตอม ซ
ส ิท ัดแ ่
ตัง้ แต่ 2 ชนิดขึน้ ไป โดยรวมตัวกันในอัตราส่วน

ว น ด ที่เป็นเลขลงตัว
แ พ
สง ผ ย
4. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งมีสารใหม่เกิดขึ้น
้หามเ น่าย
เกิดจากการเรียงตัวกันใหม่ของอะตอม

ท . จ้าห
ว แสงไม่รเห็ือน แต่นักวิทยาศาสตร์ได้ทดลอง
อะตอมมีขนาดเล็กมากจนมองด้วยตาเปล่าหรือกล้องจุลทรรศน์สแบบใช้
ย ส ห วยอนุภาคที่เล็กลงไปอีก
และวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างอะตอม จนท�ำให้ทราบว่าภายในอะตอมประกอบด้

์ ิ ด ล ง ถ้ามีข้อมูลจากการทดลองต่าง ๆ

ิ ธ อนุภาคเล็แปก ๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอะตอมมีอะไรบ้าง
นักวิทยาศาสตร์จึงใช้แบบจ�ำลองอะตอมเพื่อใช้ในการอธิบายองค์ ประกอบภายในอะตอม
ส ดัด
เพิ่มมากขึ้น นักวิทยาศาสตร์อาจเปลี่ยนแปลงแบบจ�ำลองอะตอม

และโครงสร้างอะตอมเป็นอย่างไร
ส งว
เกร็ดน่ารู้ อนุภาค

อนุภาค (particle) หมายถึงสิ่งที่มีขนาดเล็กมาก เช่น อะตอม โมเลกุล โปรตอน นิวตรอน หรืออิเล็กตรอน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
51

กิจกรรมที่ 2.5 โครงสร้างอะตอมเป็นอย่างไร

จุดประสงค์ 1. วิเคราะห์และอธิบายโครงสร้างอะตอมจากแบบจ�ำลอง
2. สืบค้นและสร้างแบบจ�ำลองอะตอม
ซา

่ ทา้

วิธีการด�
วิธีกำารด�
เนินำกิเนิ
จกรรม
นกิจกรรม
แพ
เ ย
ผ ำลองอะตอมของธาตุ ฮีเลียม คาร์บอน และอะลูมเิ นียม
บันทึกผล
ห ม
1. สังเกตชนิดและการจัดเรียงตัวของอนุภาคภายในอะตอมจากแบบจ�
้า น่าย
ท . จ้าห
สว รือ
ย ส ห
โปรตอน ประจุบวก



ิธ์โด ปลง
นิวตรอน เป็นกลางทางไฟฟ้า
ฮีเลียม ประกอบด้วย
2 โปรตอน 2 นิวตรอน 2 อิเล็กตรอน อิเล็กตรอน ประจุลบ
ท ้า ซ
ิสท ัดแ ร ่
งว น ด แพ
ส เ ผ ย
้หาม น่าย อะลูมิเนียม ประกอบด้วย

ท . จ้าห 13 โปรตอน 14 นิวตรอน


คาร์บอน ประกอบด้วย
ส ว รือ 13 อิเล็กตรอน
6 โปรตอน 6 นิวตรอน 6 อิเล็กตรอน
ย ส ห

์ ิ ด ล ง
ิสทธ ฮีเลียมัดคาร์แบปอน และอะลูมิเนียม
ภาพแบบจ�ำลองอะตอมของธาตุ

ง น
2. สืบค้นโครงสร้างอะตอมของธาตุที่สนใจ 1 วธาตุ ด
และสร้างแบบจ� ำลอง
3. น�ำเสนอแบบจ�ำลองอะตอมที่สร้างขึ้นสอธิบายโครงสร้างอะตอมของธาตุนั้น

คำ�ถามท้ายกิจกรรม

1. ชนิดและจ�ำนวนของอนุภาคภายในอะตอมของธาตุตา่ ง ๆ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
2. การจัดเรียงตัวของอนุภาคต่าง ๆ ภายในอะตอมของธาตุแต่ละชนิดเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร
3. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
52 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

อะตอมของธาตุประกอบด้วย โปรตอน (proton) นิวตรอน (neutron) และอิเล็กตรอน (electron) อนุภาค


ทั้ง 3 ชนิดนี้เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของอะตอมของธาตุทุกธาตุ โดยโปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันตรงศูนย์กลางของ
อะตอม เรียกว่า นิวเคลียส (nucleus) ซึง่ มีขนาดเล็กมากเมือ่ เทียบกับขนาดของอะตอม พืน้ ทีท่ เี่ หลือของอะตอมเป็นทีว่ า่ ง
อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีอ่ ยูใ่ นทีว่ า่ งโดยรอบนิวเคลียส ธาตุตา่ งชนิดกันจะมีจำ� นวนโปรตอนแตกต่างกัน เช่น ฮีเลียม มี 2 โปรตอน
ซา

คาร์บอน มี 6 โปรตอน และอะลูมเิ นียม มี 13 โปรตอน ดังนัน้ จ�ำนวนโปรตอนจะบอกชนิดของธาตุ นอกจากนี้ แต่ละอะตอม
อาจมีจ�ำนวนโปรตอนใกล้เคียงหรือเท่ากับจ�ำนวนนิวตรอนก็ได้
ร ่ ทา้
โปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าแตกต่างกัน โดยโปรตอนมีประจุไฟฟ้าบวก นิวตรอนเป็นกลางทาง
แพ
เ ผ ย
ไฟฟ้า และอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ อะตอมมีจำ� นวนโปรตอนเท่ากับจ�ำนวนอิเล็กตรอน ดังนัน้ อะตอมจึงมีจำ� นวนอนุภาค
ที่มีประจุไฟฟ้าบวกจะเท่ากับจ�ำนวนอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบ ท�ำให้อะตอมเป็นกลางทางไฟฟ้า
ห ม
้า น่าย
อะตอมหนึ่งมี 7 โปรตอน 7 นิวตรอน. ส่วนอะตอมทีห่สองมี 7 โปรตอน 8 นิวตรอน
ว ท ชนิือดเดีจย้าวกันหรือไม่ เพราะเหตุใด
ส หร
อะตอมทั้งสองนี้เป็นอะตอมของธาตุ

ิธ์โด ย ล ง ซ า

ิสท ัดแป
เกร็ดน่ารู้
่ ท ้า
ไฮโดรเจน

น ด พ ร
ง ว ย
อะตอมของไฮโดรเจน แ เป็นอะตอม
โปรตอนสมีประจุบวก เ ผ
นิวเคลียส
และเป็้านมอะตอมที่มีม่าวลน้
เพียงชนิดเดี ยวที่ไม่มีนิวตรอน
ห ย อยที่สุด
.ท จ้าหน
นิวตรอน เป็นกลางทางไฟฟ้า
อิเล็กตรอน มีประจุลบ
ส ว รือ
ภาพ 2.12 แสดงแบบจ�ำลองอะตอมที่มีอิเล็กตรอน
ย ส ห
อยู่รอบนิวเคลียส
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
• นิวเคลียสของธาตุแต่ว
ง น
ละชนิ ด
ดมีประจุไฟฟ้ ารวมเป็นอย่างไร เพราะเหตุใด
• ถ้าอะตอมของธาตุสฮีเลียมมี 2 โปรตอน 2 นิวตรอน และ 2 อิเล็กตรอน
อะตอมของธาตุฮีเลียมจะมีประจุไฟฟ้าอะไร เพราะเหตุใด

โครงสร้างอะตอมประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน โปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันในนิวเคลียส


ซึ่งอยู่ตรงกลางอะตอม โดยมีอิเล็กตรอนเคลื่อนที่อยู่โดยรอบนิวเคลียส โปรตอนมีประจุไฟฟ้าบวก นิวตรอนเป็นกลางทาง
ไฟฟ้า และอิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้าลบ อะตอมของแต่ละธาตุแตกต่างกันที่จ�ำนวนโปรตอน นักวิทยาศาสตร์จัดกลุ่มธาตุ
ซึ่งมีอยู่จ�ำนวนมากได้อย่างไร ธาตุแต่ละกลุ่มน�ำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
53

เรื่องที่ 3 การจ�ำแนกธาตุและการใช้ประโยชน์
ค�ำส�ำคัญ
โลหะ
ซา
้ อโลหะ

ร ่ ทา้ กึ่งโลหะ

แ พ ธาตุกัมมันตรังสี

เ ผ ย กัมมันตภาพรังสี

ห ม
้า น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ มิเนียม
ส ห
ภาพ 2.13 สายไฟทองแดงและสายไฟอะลู


สายไฟบางชนิดท�ำิ์โจากธาตุ ง ดท�ำจากอะลูมเิ นียม เนือ่ งจากธาตุทงั้ สองมีสมบัตกิ ารน�ำไฟฟ้้าซา ้าความแข็งแรง
ทองแดงลบางชนิ
นธ แต่แตกต่าแงกัปนที่ความหนาแน่นและราคา เมื่อขนาดหรือปริมาตรเท่ากั่ นทสายไฟอะลูมิเนียม



สนครึ่งหนึ่งของสายไฟทองแดง
และเหนียวใกล้เคียงกั
ัด ร
ว น
จะมีน�้ำหนักเบาเป็ ด และมีราคาถูกกว่า จึงนิยมใช้สายไฟอะลูมิเนียพมภายนอกอาคารที
สายไฟยาวสงๆ ส่วนสายไฟทองแดงนิยมใช้ในอาคาร ธาตุอื่น ๆ มีสมบัติเหมือนหรือแตกต่างกั แ ่ต้องใช้
ผ ย นอย่างไร สามารถน�ำมาใช้ใน
การจัดกลุ่มธาตุได้อย่างไร
้หามเ น่าย
ทบทวนความรู้ก่อนเรียน ท . จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห

ทองแดง มวลิ์โ89.6 กรัม ลงทองค�ำ มวล 193.2 กรัม
ิสทธ 1,083 ัดCแป จุดหลอมเหลว 1,063 C
เหล็ก มวล 78.9 กรัม
จุดหลอมเหลว 1,204 C o
จุดหลอมเหลว o o

จากภาพ แท่งเหล็ก แท่งทองแดง และแท่งวทองค�


ง น ด
ำ มีขนาดและปริ มาตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร เท่ากัน
เขียนเครื่องหมาย R หน้าข้อที่ถูกต้อสง
£ เมื่อต่อแท่งทองแดงในวงจรไฟฟ้า ท�ำให้หลอดไฟในวงจรสว่าง แสดงว่า ทองแดงน�ำไฟฟ้าได้
£ เหล็กมีความหนาแน่นสูงกว่าทองแดงและทองค�ำ
£ เมื่อให้ความร้อนจนมีอุณหภูมิสูงขึ้นเรื่อย ๆ แท่งทองค�ำจะหลอมเหลวก่อนแท่งทองแดงและแท่งเหล็ก

รู้อะไรบ้างก่อนเรียน เขียนสิ่งที่รู้เกี่ยวกับโลหะ และธาตุกัมมันตรังสี

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
54 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

กิจกรรมที่ 2.6 เราจ�ำแนกธาตุได้อย่างไร

จุดประสงค์ ทดสอบและเปรียบเทียบสมบัติทางกายภาพของธาตุ เพื่อใช้ในการจ�ำแนกธาตุ


า้ซ า

วัสดุและอุปกรณ์ 1. ตัวอย่างธาตุต่าง ๆ ได้แก่ อะลูมิเนียม เหล็กททองแดง
ร ่ 5. ค้อนยางขนาดเล็ก
สังกะสี ก�ำมะถัน ถ่านไม้
แ พ 6. ถุงพลาสติกขนาดเล็ก
2. หลอดไฟ 2.5 โวลต์
3. สายไฟ พร้อมคลิปปากจระเข้เผ
ย 7. แว่นตานิรภัย

4. แบตเตอรี่ 1.5 โวลต์ ้า
ห ม ่า ย 8. กระดาษทราย

. จ้าห น
ข้อควรระวัง ท
ว รือ
ส ห ส

์ ิ ด ย นตานิรภังย
ล ซ า

• ระหว่างท�ำกิจกรรมควรสวมแว่
• ระหว่างท�ำกิจกรรมที
่ ท ้า ง่
ิสทธเ่ กีย่ วข้องกััดบแก�ำปมะถัน ควรระมัดระวังไม่ให้ผงก�ำมะถันเข้าตา หรือเข้าสูร่ า่ งกายทางใดทางหนึ
น ด พ ร
ง ว ย แ
เนิสนำกิเนิ เ ผ
้หาม น่าย
วิธีการด�
วิธีกำารด� จกรรม
นกิจกรรม
1. สังเกตลักษณะภายนอกของธาตุ รวมทั้งความมันวาว โดยใช้กระดาษทรายขั
ท . ดพื้นผิวตัวอย่หางธาตุบริเวณเล็ก ๆ และ
จ ้า
บันทึกผลในตารางที่ออกแบบไว้
ส ว ือ
2. ทดสอบการน�ำไฟฟ้าของธาตุต่าง ๆ โดยต่อกับวงจรไฟฟ้าอย่างง่าส ย ดังภาพ บันทึหกรผล
ด ย ล ง ยวของธาตุ โดยบรรจุตัวอย่างธาตุ
คลิปปากจระเข้ ธิ์โ3. ทดสอบความเหนี ป
ส ท
ิ ในถุด
ั ง แ
พลาสติ กขนาดเล็กแล้วทุบด้วยค้อนยาง สังเกตการ
แบตเตอรี่
ง ว น
ตัวอย่างธาตุ เปลีด ่ยนแปลง บันทึกผล
ส 4. คัดลอกข้อมูลจุดเดือด จุดหลอมเหลว และการน�ำความร้อน
จากหนังสือเรียนลงในตารางบันทึึกผล
สายไฟ สายไฟ 5. เปรียบเทียบสมบัตทิ างกายภาพของธาตุตา่ ง ๆ ในตาราง
บันทึกผล

ภาพการต่อวงจรเพื่อทดสอบการน�ำไฟฟ้า

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
55

วิธีการด�ำเนินกิจกรรม (ต่อ)
ตารางจุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น และการน�ำความร้อนของธาตุต่าง ๆ
จุดเดือด จุด้าหลอมเหลว
ที่ ธาตุ
(oC)
ท า
้ ซ ( C)
o การน�ำความร้อน
่ ร
1 อะลูมิเนียม 2,467
แ พ 660 น�ำความร้อนได้ดี
2 เหล็ก เ
2,750 ผ ย 1,535 น�ำความร้อนได้ดี
ม ่าย 1,083
้หา2,567
3 ทองแดง
. 907จ้าห น น�ำความร้อนได้ดี

ว รือ
4 สังกะสี
ก�ำมะถัย น ส
ส ห
420 น�ำความร้อนได้ดี
5
ิ์โนไม้ด ปล - ง 445 113 า

ไม่น�ำความร้

้ ซ อน
6 ธ
ิสท ัดแ
ถ่ า 3,500 ่ ท
ไม่ น ำ
� ความร้อน
น ด พ ร
ส ง ว ย แ

้หามเ น่าย
6. จ�ำแนกธาตุ โ ดยใช้ ส มบั ต ท
ิ างกายภาพต่ อ ไปนี เ
้ ป็ น เกณฑ์ ร ว
่ มกั น ได้ แ ก่ ความมั น วาว การน� ำไฟฟ้า ความเหนียว จุดเดือด
จุดหลอมเหลว และการน�ำความร้อน บันทึกผล

ท . จ้าห
คำ�ถามท้ายกิจกรรม
ส ว รือ
ย ส ห

์ ิ ด ล งอนกัน
ร่วธมกัน ได้แก่ ความมั
1. ธาตุใดบ้างที่มีสมบัติความมันวาว การน�ำไฟฟ้า และความเหนี ยว เหมื
2. เมื่อจ�ำแนกธาตุโดยใช้สมบัติต่อไปนี้เป็นเกณฑ์ิท แ ป นวาว การน�ำไฟฟ้าความเหนียว จุดเดือด
น สผลการจ�ำแนกเป็ดัดนอย่างไร
จุดหลอมเหลว และการน�ำความร้อน จะได้
3. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อย่างไร สง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
56 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ธาตุแต่ละชนิดมีสมบัตบิ างประการทีเ่ หมือนกัน และบางประการแตกต่างกัน จึงสามารถใช้สมบัตเิ หล่านัน้ เป็นเกณฑ์


ในการจ�ำแนกธาตุได้ โดยธาตุที่มีสมบัติคล้ายกันจะจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกัน โดยทั่วไปธาตุที่มีพื้นผิวมันวาว น�ำไฟฟ้าและ
น�ำความร้อนได้ดี จุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง เหนียว สามารถตีแผ่เป็นแผ่นหรือยืดเป็นเส้นได้ จัดเป็นธาตุโลหะ (metal)
ส่วนธาตุที่มีพื้นผิวไม่มันวาว น�ำไฟฟ้าและน�ำความร้อนได้ไม่ดี จุดเดือดและจุดหลอมเหลวต�่ำ เปราะ ทุบแล้วแตก จัดเป็น
ธาตุอโลหะ (non-metal)
ซา

่ ทา้
การจ�ำแนกธาตุเป็นโลหะ และอโลหะ พิจารณาจากสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีอื่น ๆ ร่วมกัน อาจมี


ธาตุบางชนิดที่มีสมบัติส่วนมากเหมือนธาตุในกลุ่มหนึ่ง แต่มีสมบัติเพียงส่วนน้อยที่ต่างออกไป เช่น ปรอท มีความมันวาว

เ ผ ย
น�ำไฟฟ้าและการน�ำความร้อนได้ดีเหมือนธาตุโลหะ แม้จะมีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวต�่ำ และมีสถานะเป็นของเหลว
ณ อุณหภูมิห้อง ในขณะที่โลหะชนิดอื่นเป็นของแข็ง แต่นักวิทยาศาสตร์ยังจัดกลุ่มปรอทเป็นธาตุโลหะ ส่วนถ่านไม้
ห ม
้า น่าย
ซึ่งเป็นคาร์บอนรูปหนึ่ง ไม่มันวาว เปราะ ไม่น�ำไฟฟ้าและไม่น�ำความร้อนเหมือนธาตุอโลหะ แม้จะมีจุดเดือดและ
. จ้าห
จุดหลอมเหลวสูง แต่นักวิทยาศาสตร์ยังจัดคาร์บอนเป็นธาตุอโลหะ เช่นเดียวกันกับแกรไฟต์ ซึ่งเป็นคาร์บอนอีกรูปหนึ่ง

สว รือ
สามารถน�ำความร้อนและน�ำไฟฟ้าได้ นอกจากนี้ โลหะส่วนมากมีความหนาแน่นสูง และอโลหะมีความหนาแน่นต�ำ่ แต่โลหะ

ย ส ห
บางชนิดมีความหนาแน่นต�่ำ เช่น อะลูมิเนียม โซเดียม


โลหะ ธิ์โด ล ง อโลหะ ซ
ิสท ัดแป ร ่ กึ่งโลหะ
ท้า
ว น ด แ พ
สง ผ ย
้หามเ น่าย
อลูมิเนียม โบรมีน
ท. จ้าหซิลิคอน
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
วน ก�ำมะถัน ด
ทองแดง
ส ง พลวง

ปรอท คาร์บอน โบรอน

ภาพ 2.14 ภาพธาตุโลหะ อโลหะ และกึ่งโลหะบางชนิด


สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
57

ธาตุบางชนิดมีสมบัติบางอย่างเหมือนโลหะและสมบัติบางอย่างเหมือนอโลหะ เช่น พลวง มีความมันวาว น�ำไฟฟ้า


เหมือนโลหะ แต่เปราะ และน�ำความร้อนได้ไม่ดี เหมือนอโลหะ จึงจัดธาตุที่มีสมบัติก�้ำกึ่งระหว่างโลหะและอโลหะเป็น
กึ่งโลหะ (metalloid) นอกจากพลวงแล้ว ยังมีธาตุกึ่งโลหะอื่น ๆ อีก เช่น โบรอน ซิลิคอน เจอร์เมเนียม สารหนู และ
เทลลูเรียม ซึ่งธาตุเหล่านี้น�ำไฟฟ้าได้ดีกว่าอโลหะ แต่ไม่เท่าโลหะ เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นธาตุกึ่งโลหะจะน�ำไฟฟ้าได้ดีขึ้น
ซา

ในขณะที่โลหะน�ำไฟฟ้าได้ลดลง ธาตุกึ่งโลหะจึงน�ำไปใช้ประโยชน์ในการเป็นสารกึ่งตัวน�ำ ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์

่ ทา้


แ และกึ่งโลหะ โดยใช้เกณฑ์ข้างต้น จากข้อมูล
ถ้าจ�ำแนกธาตุ เป็นโลหะ อโลหะ
เ ย
ผ และข้อมูลจากตาราง แต่ละกลุ่มมีธาตุใดบ้าง
ห ม
การสังเกตลักษณะทางกายภาพ
้า น่าย
นอกจากการจ�ำแนกธาตุโดยใช้สทมบั. ตทิ างกายภาพเป็ า
้ ห
ส ว ร อ
ื จ นเกณฑ์แล้ว ยังสามารถจ�ำแนกธาตุโดยใช้สมบัติการแผ่รังสี

เป็นเกณฑ์ได้อีกด้วย ธาตุโลหะ อโลหะหรื
(radioactive element)ยเช่น ยูเรเนียม ห
อกึ่งโลหะบางชนิ ดสามารถแผ่รังสีได้ ธาตุเหล่านี้เรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี


ิธ์โด ปล
กัมมันตภาพรังสี (radioactivity) ง เรดอน พอโลเนียม และการที่ธาตุแผ่รังสีออกมาอย่างต่อเนื่องเรียกว่า
้า ซ
ิสท ัดแ ร ่ ท
ง ว น ด แ พ

เกร็ ด น่ า รู ้ รั ง สี
เ ผ ย
รั ง สี หมายถึ ง พลั ง งานที่ แ ผ่ อ อกมาจาก ้หาม น่าย
ต้นก�ำเนิด รังสีมีทั้งที่มองเห็นได้ เช่น แสงสีต่าง ๆ
ท . า
้ ห
และที่ ม องไม่ เ ห็ น เช่ น รั ง สี อั ล ตราไวโอเลต
ส ว รือจ
อินฟราเรด คลื่นวิทยุ และไมโครเวฟ แหล่งรังสี
ย ส ห
ที่ส�ำคัญคือ ดวงอาทิตย์ ซึ่งแผ่รังสีมายังโลกเป็น ิ์โด ล ง
แสงสีตา่ ง ๆ รังสีอลั ตราไวโอเลต และรังสีอนิ ฟราเรดิทธ แ ป
ส่วนกัมมันตภาพรังสี เป็นการแผ่รังสีที่มีต้นก�น ำเนิสด ด ัด
จากอะตอมของธาตุกัมมันตรังสี ส ง ว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
58 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ในชีวิตประจ�ำวันมีการน�ำธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสีใช้ประโยชน์ด้านต่าง ๆ ดังนี้

ธาตุ การใช้ประโยชน์

ซา

• ใช้ในเครื่องจักร อาคาร ภาชนะหุงต้ม เครื่องใช้ไฟฟ้า
โลหะ
่ ทา้
• อาจใช้เป็นโลหะผสม เช่น เหล็กกล้าไร้สนิม หรือสเตนเลส สตีลล์ สำ�ริด

ทองเหลือง
แพ

เผ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส เป็นส่วนประกอบสำ�คัญของ
• คาร์้าบมอน ออกซิเจน ย
อโลหะ
ห สิ่งมีชีวิต และเป็น
่า
ท . จ้าห นส่วนประกอบของปุ๋ย

ส ว รือ
ย ส • ใช้หในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะซิลิคอน ้า

์ ิ ด ล • ง เป็น สารกึ่งตัวนำ� (semiconductor) ซึ่งนำ�ไฟฟ้าได้ไม่ดีที่อุณ้าหภูซมิห้อง
กึ่งโลหะ ิสทธ ัดแป แต่นำ�ไฟฟ้าได้ดีเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ร ่ ท
ว น ด • ใช้ในแบตเตอรี่รถยนต์ สารดับเพลิง แผงเซลล์แสงอาทิ
แ พ ตย์ แผ่นซีดี ดีวีดี
สง และบลูเรย์
ม ผ
เ ย ย

• ใช้ทางการแพทย์ เช่น ใช้ในการรักษาโรคมะเร็ า
้ น ่า ยวะภายใน
ง การถ่ายภาพอวั
เพือ่ วินจิ ฉัยโรค
ท . จ้าห
ธาตุกัมมันตรังสี ส ว งสีอาหารเพื รอ

ย ส
• ใช้ทางการเกษตร เช่น การฉายรั

่อทำ�ลายแมลงหรือจุลินทรีย์

ิธ์โด่มมูลค่า ปล
เพื่อให้มีสีสวยเพิ ง
• ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น การตรวจสอบรอยร้ าวในโลหะ การฉายรังสีอัญมณี

ส ท
ิ ด
ั แ
ดยังอาจเป็นอัดนตรายต่อสิง่ มีชวี ติ และสิง่ แวดล้อมได้ เช่น โลหะบางชนิด
นอกจากประโยชน์ในด้านต่าง ๆ แล้ว ธาตุบางชนิ
ว น
สงถ้าปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมแล้วเข้าสู่รา่ งกายในปริมาณมาก อาจก่อให้เกิด
ที่ใช้ในอุตสาหกรรม เช่น ตะกั่ว แคดเมียม ปรอท
อันตรายต่อ ตับ หัวใจ ไต และธาตุกงึ่ โลหะบางชนิดอาจก่ออันตรายต่อร่างกาย เช่น สารหนูมพี ษิ รุนแรงถึงชีวติ การสูดหายใจ
เอาฝุน่ ซิลกิ าซึง่ ประกอบด้วยธาตุซลิ คิ อนเป็นสาเหตุของอาการปอดอักเสบทีพ่ บในคนงานเหมืองหินทีไ่ ม่สวมหน้ากากป้องกัน
ขณะปฏิบัติงาน
สืบค้นการใช้ประโยชน์จากธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะและธาตุกัมมันตรังสี อย่างละ 1 ชนิด
วิเคราะห์ผลจากการใช้ธาตุเหล่านั้นที่มีต่อสิ่งมีชีวิต สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคม น�ำเสนอ
ผลการวิเคราะห์ในรูปแบบต่าง ๆ ที่น่าสนใจ เช่น การ์ตูน อินโฟกราฟิก ผังมโนทัศน์ บทความ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
59

เกร็ดน่ารู้ ธาตุกัมมันตรังสี

ธาตุกมั มันตรังสีแต่ละชนิดให้รงั สีทมี่ พี ลังงานแตกต่างกัน บางชนิด


มีพลังงานสูงสามารถผ่านโลหะได้ บางชนิดไม่สามารถผ่านโลหะแต่สามารถ
ซา

่ ทา้
ผ่านร่างกายของสิ่งมีชีวิตได้ บางชนิดไม่สามารถผ่านร่างกายของสิ่งมีชีวิต
หรือแผ่นกระดาษบาง ๆ ได้ ผูเ้ ชีย่ วชาญทางรังสีจะควบคุมปริมาณของรังสี
พ ร

ด้วยความระมัดระวัง และมีการติดสัญลักษณ์เตือนภัยเกีย่ วกับกัมมันตรังสี

เ ผ
ในกรณีที่พบวัตถุหรือสถานที่ที่มีสัญลักษณ์ดังกล่าว ควรอยู่ให้ห่างจาก

้า น่าย
บริเวณทีม่ กี ารแผ่รงั สี หรือก�ำบังด้วยวัสดุทกี่ นั รังสี เช่น แผ่นตะกัว่ คอนกรีต

ท .ระโยชน์ให้จถูก้าต้หอง โดยใช้แต่ละตัวเลือกเพียงครั้งเดียว
จับคู่ธาตุและการใช้
ส ว รือ

ย ส งบางชนิ
..... 1. รักษาโรคมะเร็ ห ด ก. ทองแดง (โลหะ)


ล ง กส์ ข. โพแทสเซียม (อโลหะ)
.....ธิ์โ2.ดชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิ ้า ซ
แ ป
ิสท..... 3. สายไฟภายในอาคาร ร ่ ท
น ด ัด ค. ซิลิคอน (ธาตุกึ่งโลหะ)

ส ง ว ง. เรเดียม (ธาตุกัมมันตรังสี) ยแ
….. 4. ปุ๋ยเคมี
เ ผ
นักวิทยาศาสตร์จัดกลุ่มธาตุตามสมบัติทางกายภาพเป็น โลหะ อโลหะ ้หามและกึ่งโลหะน่ายธาตุโลหะ มีผิวมันวาว
ท . ความหนาแน่จ า
้ ห
น�ำความร้อนและน�ำไฟฟ้าได้ดี เหนียว มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง อาจมี
ส ว ่ำ และมีคือ

นสูงหรือต�่ำ ธาตุอโลหะ มีผิว
ไม่มันวาว ไม่น�ำความร้อน ไม่น�ำไฟฟ้า เปราะ มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวต�
บางประการเหมือนโลหะ และสมบัติบางประการเหมือนอโลหะย ส ห
วามหนาแน่นต�่ำ ธาตุกึ่งโลหะมีสมบัติ

ธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ และธาตุกัมมันตรังสีธสามารถน� ด ง


ิ์โ ำไปใช้ปปลระโยชน์ได้แตกต่างกัน และการใช้ธาตุบางชนิด
อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งแวดล้อม สิท ด
ั แ
จากหน่วยนี้ นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยงวกั ว นบสารและหน่วยทีด ่เล็กที่สุดของสาร แล้วหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต
มีลักษณะอย่างไร ส
กิจกรรมเสริม การใช้ธาตุมีผลอย่างไรบ้าง ตรวจสอบตนเอง

สืบค้นเกีย่ วกับการใช้ประโยชน์ธาตุในประเทศไทย โดยระบุวา่ เขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผังมโนทัศน์


ธาตุนั้นเป็นธาตุโลหะ อโลหะ กึ่งโลหะ หรือธาตุกัมมันตรังสี สิ่งที่ได้เรียนรู้จากบทเรียนนี้
และบอกผลจากการใช้ธาตุนั้น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
60 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

กิจกรรมท้ายบท การน�ำธาตุไปใช้มีผลอย่างไรบ้าง
จุดประสงค์ รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล และน�ำเสนอผลจากการใช้ธาตุบางชนิด
ซา

วิธีการด�
วิธีกำารด�
เนินำกิเนิ
จกรรม
นกิจกรรม
่ ทา้

แพ
1. อ่านข้อมูลการท�ำเหมืองแร่โพแทชเพื่อน�ำธาตุโพแทสเซียมไปใช้ในการผลิตปุ๋ยเคมีในแผนภาพ

2. รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อสรุปและน�ำเสนอแนวทางการใช้ธาตุอย่างปลอดภัย คุ้มค่า ผ ย
ห ม
้า น่าย
การท�ำเหมืองแร่โพแทชเพื่อน�ำธาตุโพแทสเซี
ท . ยมไปใช้จในการผลิ า
้ ห ตปุ๋ยเคมี
1. ถ้าบริษัทได้รับอนุญาตให้ท�ำเหมือส ส ว ร อ

ให้รัฐบาลเพื่อไปใช้พัฒนาท้ด ย งบริษัทจะต้องจ่ายเงิ
ง ห น


ธ แปโ
์ ิ องถิ่น
ล ท้า ซ


ข้อดี ........................................................................
ส ดัด ร ่
ว น
ข้อเสีย ........................................................................
ง แ พ
ส 1 2
เ ยผ ย

้ ม ่าเครื่องจักรจ�ำนวนมาก
บริษัทเหมื.องแร่หจ้างคนงานและใช้
2. การขุดเหมืองและจ้ างงาน

เพื่อขุว ท องและล�ำือเลีจยงแร่้าหออกมาจากป่าไม้
ข้สอส
ดเหมื
ห ร
ดี ........................................................................
ด ย ข้อเสีย ........................................................................

ิธ์โ ล
ิสท ัดแป
วน ด
สง

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
61

3
ซา

ร ่ ทา้
แ4พ
เ ผ ย
ห ม
้า น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ 4. การใช้นำ�้ และพลังงานไฟฟ้า
3. การใช้ดิน
ย ส ห เหมืองแร่ใช้น�้ำและพลังงานไฟฟ้าในการล้้าางแร่ และใช้
เหมืองแร่อาจใช้วิธีขุดเปิด ดหน้าดิน หรือขุดงอุโมงค์ ควรมี ซ

์ ิ
การจัดการที่ดี เพื่อป้ธองกันการเกิดฝุ่นปละอองในอากาศ
ล ในที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของคนงาน ควรมี้าก ารจั ด การน�้ ำ ใช้

ส ท
ิ ด
ั แ ร ่
น ด
ข้อดี ........................................................................
ข้อเสีย งว
ก่ อ นปล่ อ ยคื น สู แ
่ หล่ ง น� ำ


และการวางแผนการจ่

ายไฟฟ้า

ส ........................................................................
ให้เพียงพอ
เ ผ ย
้หาม น่าย
ข้อดี .........................................................................
ข้อเสีย .........................................................................

ท . จ้าห
ส ว รือ
เมื่อแร่มาถึงโรงงาน จะถูกน�ำไปผลิตเป็นปุ๋ยเคมี ท�ำให้ ย ส
5. โรงงาน

ด ง ห
เกษตรกรได้ใช้ปุ๋ยดีราคาถูก และปุ๋ยบางส่วนอาจส่งออกิ์โ
ธ ป ล
ไปขายต่างประเทศ
ส ิท ัดแ
ว น ด
สง
ข้อดี .......................................................................
ข้อเสีย .......................................................................
5
คำ�ถามท้ายกิจกรรม

1. จากข้อมูลข้างต้น จะเสนอแนะแนวทางการใช้ธาตุอย่างปลอดภัย คุ้มค่าได้อย่างไรบ้าง


2. จากกิจกรรม สรุปได้วา่ อย่างไร

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
62 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ตรวจสอบตนเอง

เขียนเครื่องหมาย R ในช่องว่างหน้าทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ได้ท�ำในบทเรียนนี้
£ การสังเกต £ การวัด
ซา

£ การจ�ำแนกประเภท
£ การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซและสเปซกับเวลา
ร ่ ทา้
£ การใช้จ�ำนวน พ
£ การจัดกระท�ำและสื่อความหมายข้อมูล

£ การลงความเห็นจากข้อมูล
เ ผ ย£ การพยากรณ์
£ การตั้งสมมติฐาน
ห ม
้า น่าย £ การก�ำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
£
. จ้าห
การก�ำหนดและควบคุมตัวแปร

£ การทดลอง
£ ว รือ
การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป £ การสร้างแบบจ�ำลอง

ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ิท
สรุปท้นาสยบท ดัด
แ ร ่
ง ว แพ
ส ผ ย
้หามเ น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
งวน ด

อะตอม คือหน่วยย่อยที่เล็กที่สุด สารบริสุทธิ์ที่ประกอบขึ้น สารบริสุทธิ์ที่ประกอบขึ้นจาก
ของธาตุที่แสดงสมบัติของธาตุนั้น จากอะตอมเพียงชนิดเดียวรวมกัน อะตอมตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปรวมกัน
เรียกว่า ธาตุ เรียกว่า สารประกอบ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
63

สรุปท้ายบท
โครงสร้างอะตอม โปรตอน มีประจุบวก

ซา
้ นิวตรอน เป็นกลางทางไฟฟ้า

่ ทา้

อิเล็กตรอน มีประจุลบ

แพ
เ ผ ย นิวเคลียสประกอบด้วย โปรตอน
้หาม น่าย และนิวตรอน ซึ่งกระจุกตัวรวม
อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ .
ท ือจ้า ห กันหนาแน่น
และอยู่รอบนิวเคลียส ว
ส หร
ย ส อะตอมประกอบด้วยที่ว่างเป็นส่วนใหญ่


ิธ์โด ปลง ท ้า ซ
สมบันตสิ

ิ แ
ัด โลหะ ่
ร กึ่งโลหะ
ง ว ด อโลหะ
แ พ
ส ำไฟฟ้าและ
การน� น�ำไฟฟ้าและ น�ำไฟฟ้าและ เผ ย
น�ำความร้อนไม่้าดมี ่นาย
น�ำความร้อน น�ำความร้อนได้ดี
ต�. ่ำ
ห ห
จุดเดือด จุดหลอมเหลว
สูง

ว น คาร์บอน)รือจ า

(ยกเว้น ปรอท)
ส ส
(ยกเว้

ความเปราะ เหนียว ไม่เปราะ ด
ิธ์โ ย ล
เปราะ ง
สมบัติบางอย่างเหมือนโลหะ
บางอย่างเหมือนอโลหะ
มันวาว สิท แ ปไม่มันวาว
ความมันวาว
น ด ัด
ความหนาแน่น งว ่ำ
สูสงและต� ต�่ำ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
64 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

แบบฝึกหัดท้ายบท

1. น�ำข้อความต่อไปนี้ ใส่ในช่องว่างของผังมโนทัศน์ให้ถูกต้องและครบถ้วน *
ซา

่ ทา้
ธาตุ สารประกอบ อโลหะ โลหะ กึ่งโลหะ สารบริสุทธิ์

พ ร
จ�ำแนกตามองค์ประกอบ ยแ
ม เ ผ จ�ำแนกตามองค์ประกอบ

ห ้า น่าย
ท . จ้าห
ส ว ติทางกายภาพ


ส หร
จ�ำแนกตามสมบัติทางกายภาพ จ�ำแนกตามสมบั จ�ำแนกตามสมบัติทางกายภาพ


ิธ์โด ปลง ซ า

ิสท ัดแ ่ ท ้า
น ด พ ร
ส ว
2. ธาตุในแต่ลงะกลุ ่มมีสมบัติทางกายภาพเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เขียนอธิบายโดยใช้แยผนผั แ งเวนน์ดังภาพ **

้หามเ น่าย
สมบัติของโลหะ
ท . จ้าห
สมบัติของอโลหะ
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ติทิของกึ่งโลหะ ัดแ
ว น
สมบั

สง

3. ในยุคกลางของยุโรป (คริสต์ศตวรรษที่ 5 - 15) นักเล่นแร่แปรธาตุค้นคว้าหาวิธีเปลี่ยนปรอทหรือตะกั่วให้เป็นทองค�ำ


นักเรียนคิดว่าพวกเขาน่าจะท�ำได้ส�ำเร็จหรือไม่ เพราะเหตุใด *
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
65

4. นักเรียนเขียนเครือ่ งหมาย R หน้าข้อความทีถ่ กู และเครือ่ งหมาย Q หน้าข้อความทีผ่ ดิ และแก้ไขข้อความทีผ่ ดิ ให้ถกู ต้อง *


£ 4.1 ธาตุต่างกันรวมตัวกันเป็นสารประกอบท�ำให้ได้สารใหม่ที่มีสมบัติแตกต่างจากธาตุเดิม
..........................................................................................................................................................................
£ 4.2 ธาตุที่สามารถแผ่รังสีได้ เรียกว่า ธาตุกัมมันตรังสี
ซา

่ ทา้
..........................................................................................................................................................................

พ ร
£ 4.3 คาร์บอน ไฮโดรเจน ไนโตรเจน เป็นสารบริสุทธิ์ที่ไม่สามารถแยกโดยวิธีทางเคมีได้อีก
ยแ
..........................................................................................................................................................................
มเ ผ
้า น่าย
£ 4.4 มลพิษทางอากาศ ได้แก่ แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SO2) แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO)


. จ้าห
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นสารประกอบทั้งสิ้น


สว รือ
..........................................................................................................................................................................

ย ส ห
£ 4.5 นิกเกิลมีความมันวาว แข็ง สามารถน�ำไฟฟ้าและน�ำความร้อนได้ดี จัดเป็นธาตุโลหะ


ิธ์โด ปลง ท้า ซ
..........................................................................................................................................................................
ส ิท ัดแ
£ 4.6 ปรอทเป็นโลหะ เพราะปรอทไม่มคี วามมันวาว ไม่นำ� ความร้อน และไม่นำ� ไฟฟ้า ร ่
ว น ด แพ

สง ย
..........................................................................................................................................................................

£ 4.7 โบรมีนมีสมบัติน�ำความร้อนและน�ำไฟฟ้าไม่ดี มีสถานะของเหลว จัดเป็นธาตุโลหะ
้หามเ น่าย
..........................................................................................................................................................................
ท . า
้ ห
5. จากสูตรเคมีต่อไปนี้ จัดกลุ่มว่าสารใดเป็นธาตุ สารใดเป็นสารประกอบ
ส ว เพราะเหตุรือใจด *
H O ดย CO
ส NOห NaCl HCl I
O HO H N
ิธ์โ ล ง
แปำถาม
3 2 2 2 2 2 2 2 4

6. อ่านบทความเรื่อง กัมมันตภาพรังสีในสิ่งแวดล้ส อมิทต่อไปนี้ แล้วัดตอบค�


เราอาศัยอยู่บนโลกที่มีกัมมันตภาพรังสีงอว
น ด
เกิดขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย์ ต้นก�ำส
ยู่ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม ส่วนใหญ่เป็นรังสีที่มีอยู่ตามธรรมชาติ และบางส่วน
เนิดของกัมมันตภาพรังสีในสิ่งแวดล้อม แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. กัมมันตภาพรังสีจากพืน้ โลก ซึง่ มาจากแร่และธาตุตา่ ง ๆ ทีเ่ ป็นองค์ประกอบ
ของโลกที่มีมาตั้งแต่โลกถือก�ำเนิดขึ้นมา ธาตุกัมมันตรังสีที่พบในธรรมชาติ
หลายชนิดเป็นต้นก�ำเนิดที่ส�ำคัญของรังสีที่เราได้รับในแต่ละวัน
2. กัมมันตภาพรังสีจากรังสีคอสมิก หรือรังสีที่มาจากนอกโลก
3. กัมมันตภาพรังสีที่เกิดขึ้นเนื่องจากกิจกรรมของมนุษย์ ซึ่งมีสัดส่วนที่
ค่อนข้างต�่ำ เมื่อเทียบกับปริมาณรังสีทั้งหมดในธรรมชาติ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
66 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

จากการศึกษาวิจัยและปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับพลังงานนิวเคลียร์ รังสี และวัสดุกัมมันตรังสี ตลอดช่วงเวลา 100 ปี


ที่ผ่านมาได้มีการสรุปผลความเสี่ยงและอันตรายของรังสีต่อมนุษย์ ดังนี้
ตารางระดับความแรงรังสีและอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น

ซา

่ ทา้ อันตรายที่อาจเกิดขึ้น
ระดับความแรงรังสี
(หน่วยเป็นมิลลิซีเวิร์ท)
พ ร
ย แ เกิดการบาดเจ็บทางรังสีทันทีและ
10,000 มิลลิซีเวิร์ท ในระยะเวลาสั้น ๆ
ม เ ผ ทำ�ให้ถึงแก่ความตายใน 2 - 3 สัปดาห์
ห ้า น่าเกิยดการบาดเจ็บทางรังสี เช่น คลื่นไส้อาเจียน
1,000 มิลลิซีเวิร์ท ในระยะเวลาสั้น. ๆ ห
ว ท จ า
้ แต่ไม่ถึงตายและอาจเกิดเป็นมะเร็งในภายหลัง
ส ส หรือ
20 มิลลิซีเวิรย์ทต่อปี
เกณฑ์ความปลอดภัยทางรังสี
ิธ์โด ปลง ซง้าสี
ิ2สมิทลลิซีเวิร์ทต่อัดปี แ
สำ�หรับผู้ปฏิบัติการในสถานปฏิบัติงานทางรั
่ ท ้า
น ด พ ร
ส งว ระดับรังสีปกติในธรรมชาติ
ย แ
ระดับรังสีมสูงเสุผดที่อนุญาต
0.05 มิลลิซีเวิร์ท
ห ้า บัติงานนิน่าวยเคลียร์
ณ บริเวณสถานปฏิ
ท . จ้าห
จากค�ำกล่าวที่ว่า “หากใครได้รับธาตุกัมมันตรังสี จะท�ำให้เป็สนวอันตรายถึงรแก่ือชีวิต” นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่
เพราะเหตุใด โดยใช้ข้อมูลจากบทความมาอธิบายประกอบ * ย ส

ด ง ห
ธ โ
์ ิ
7. การผลิตกระป๋องน�ำ้ อัดลมโดยการรีไซเคิลอะลูมเิ นียมิทใช้พลังงานน้อยกว่ ป ล
ส ด
ั แ าการผลิตกระป๋องจากแร่ทสี่ กัดใหม่ถงึ 20 เท่า
นผลดีต่อมนุษดย์อย่างไร *
แนวทางการใช้ธาตุอะลูมิเนียมโดยการรีไซเคิล เป็
ว น
สง
8. อะตอมของธาตุชนิดหนึ่งมีองค์ประกอบ คือ 8 โปรตอน 8 นิวตรอน และ 8 อิเล็กตรอน วาดภาพแบบจ�ำลองอะตอมนี้
ให้ถูกต้อง *

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
67

วิทยาศาสตร์กับชีวิต ธาตุโลหะหายาก
ธาตุโลหะหายาก เช่น อิตเทรียม สแกนเดียม แลนทานัม นีโอดิเมียม


เป็ น โลหะที่ มี ป ริ ม าณน้ อ ยเกิ น กว่ า จะมี ก ารลงทุ น ท� ำ เหมื อ งเพื่ อ สกั ด แร่

่ ทา้
เหล่านี้โดยเฉพาะ ส่วนมากพบธาตุโลหะหายากอยู่ร่วมกับโลหะอื่นหรือ
ธาตุกัมมันตรังสี การสกัดแร่โลหะหายากมาใช้มักมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
พ ร

ในปัจจุบัน เริ่มมีการใช้ธาตุโลหะหายากมากขึ้นในอุปกรณ์สื่อสาร เช่น จอสี

เ ผ
วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ล�ำโพง ระบบสั่นของสมาร์ตโฟน แม่เหล็กส�ำหรับกังหัน

้า น่าย
ลมที่ผลิตกระแสไฟฟ้า สายไฟเบอร์ออพติกส�ำหรับอินเทอร์เน็ต โทรทัศน์

. จ้าห
คอมพิวเตอร์ เลเซอร์ ขีปนาวุธ เลนส์กล้อง หลอดไฟฟลูออเรสเซนส์ หลอด

LED รถยนต์ไฮบริด
ส ว รือ


เนื่องจากใช้ธาตุโลหะหายากในปริส มาณมากขึ ห า

้น อาจเกิดการขาดแคลนธาตุเหล่านี้ในอนาคต นักเทคโนโลยีจึงได้
พัฒนาอุปกรณ์สื่อสารให้ใิ์โช้ธดาตุโลหะหายากในปริ ล ง มาณน้อยลง ปรับปรุงกระบวนการน�ำกลับมาใช้ใหม่ (recycle)

้ ซ ประกอบ
กับมีการเปิดเหมืองแร่ิทเพิธ่มขึ้น เพื่อหลีแกป ่ ท
น ส ด ด
ั เลี่ยงวิกฤตการขาดแคลนธาตุโลหะหายาก
พ ร
สง ว ย แ

้หามเ น่าย
ท . จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
วน ด
สง

ภาพ สมาร์ตโฟนใช้ธาตุโลหะหายากอย่างน้อย 8 ธาตุ เป็นส่วนประกอบส�ำคัญของจอสี ล�ำโพงและระบบสั่น

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
68 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

แบบฝึกหัดท้ายหน่วย
goo.gl/QFsYWn
1. พบขวดสารเคมีที่ไม่ติดฉลากบรรจุสารที่มีสถานะของแข็ง สีขาว ไม่มีกลิ่น เมื่อน�ำไปทดสอบ
ซา

่ ทา้
โดยหาจุดหลอมเหลว พบว่าสารเริม่ หลอมเหลวที่อณ ุ หภูมิ 156 oC และหลอมเหลวหมดที่อณ
ุ หภูมิ
156.5 C ข้อสรุปใดถูกต้อง
o

พ ร
ก. สารนี้เป็นสารผสมเพราะมีจุดหลอมเหลวไม่คงที่
ย แ

เ ผ
ข. สารนี้เป็นสารผสมเพราะจุดหลอมเหลวสูงกว่า 100 oC


ห ้า น่าย
ค. สารนี้เป็นสารบริสุทธิ์เพราะเป็นของแข็ง สีขาว ไม่มีกลิ่น
. จ้าห
ง. สารนี้เป็นสารบริสุทธิ์เพราะมีช่วงอุณหภูมิที่หลอมเหลวแคบ

ส ว รือ
ย สอนและบันทึกหผลอุณหภูมิทุก ๆ 3 นาที จากนั้นน�ำข้อมูลมาเขียนกราฟความสั้า มพันธ์
2. น�ำของเหลว 3 ชนิดไปให้ความร้
ล งบเวลา ได้ดังนี้
ิธ์โดณหภูมิของสารกั า
้ ซ
ระหว่างการเปลี่ยนแปลงอุ
อุณหภูมิ ( C) สิท แ ป ร ่ ท

ด ด
ั พ
80

สง ว ย แ
70
ม เ ผ
60
ห ้า น่าย สาร A
50

ท. จ้าห สาร B
40
ส ว รือ
30

ย ส ห สาร C

ิธ์โด ปลง
20

ิท ัดแ
10
0
น ส ด เวลา (นาที)
1 2 3 4 5

สง ว 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก. สาร A เป็นสารผสม ส่วนสาร B และ C เป็นสารบริสุทธิ์
ข. สาร C เป็นสารบริสุทธิ์ ส่วนสาร A และ B เป็นสารผสม
ค. สารทั้ง 3 ชนิด เป็นสารบริสุทธิ์
ง. สารทั้ง 3 ชนิด เป็นสารผสม

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
69

พิจารณากราฟแล้วตอบค�ำถามข้อ 3 - 4
อุณหภูมิ (๐C)

100

ซา
้ จุดเดือด

่ ท้า
80
60
พ ร จุดหลอมเหลว
40
ย แ
20
ม เ ผ
0
A
ห ้า B น่า C ย D
สาร

3. สาร D มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวกีท ่อ. งศาเซลเซียส้า*ห


ส ว 40 C รือจ ข. จุดเดือด 40 C และจุดหลอมเหลว 0 C

ก. จุดเดือด 0 C และจุดหลอมเหลว
o o o

ค. จุดเดือด 60 C และจุยดหลอมเหลวง80หC ง. จุดเดือด 80 C และจุดหลอมเหลว 60 C ้า


o

ิ์โด ปล ซ
o o o o


ิ ธ แ ่ ท า

น ส
้ถูกต้อง ** ด ด
ั พ ร
ก. ส

4. ข้อใดต่อไปนี

สารง A มีจุดหลอมเหลวสูงกว่าสาร C และสาร D ข. สาร A มีจุดเดือดต�่ำกว่ผายสาร B สาร C และสาร D
้หามเ งกว่นา่าสารย B และต�่ำกว่าสาร D
ค. สาร C มีจุดเดือดต�่ำกว่าสาร B และสูงกว่าสาร D ง. สาร C มีจุดหลอมเหลวสู

ท . จ้าห
5. พิจารณาข้อมูลจากกราฟแล้วตอบค�ำถาม
ส ว รือ
ย ส ห
ปริมาตร (cm )

3



ธ แปิ ด ล
5 ท

ส C ดัด
4
ง วน
2
3 ส B
1 A
0
1 2 3 4 5 มวล (g)

ถ้าน�ำวัตถุทั้ง 3 ชนิดหย่อนลงในน�้ำมันพืชที่มีความหนาแน่น 0.90 g/cm3 วัตถุชนิดใดลอยในน�้ำมันพืชได้ **


ก. A และ B ข. A และ C ค. B และ C ง. A B และ C
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
70 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

6. ตารางมวลและปริมาตรของวัตถุ 4 ชิ้น

วัตถุ มวล (g) ปริมาตร (cm3)


A 20 20
ซา

่ ทา้
B 75 25
C

50 ร 25
70ยแ
D
ม เ ผ 20

ห ้า น่าย
. มิแท่งจข้อ้าใดสอดคล้
เมื่อหาความหนาแน่นของวัตถุทั้ง 4 ชิ้น แผนภู
ท ห องกับข้อมูลในตาราง
ส ว รือ
ก.
ย ส ห ข. า

ิธ์โด ปลง
ความหน่าแน่น (g/cm3) ความหน่าแน่น (g/cm3)
4 4
ท ้า ซ
ิสท ัดแ ร ่
3

ง ว น ด 3
แ พ
ส2 2
เ ผ ย
1 1 ้หาม น่าย
0 0
ท. จ้าห
A B C D ชนิดของวัตถุ
ส ว รือ A B C D ชนิดของวัตถุ

ย ส ห
ค. ิธ์โดง. ปลง
ความหน่าแน่น (g/cm3)
ส ิท ัดแ ความหน่าแน่น (g/cm3)
4
ว น ด 4

3 สง 3

2 2

1 1

0 0
A B C D ชนิดของวัตถุ A B C D ชนิดของวัตถุ

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
71

7. แก๊ส A มีความหนาแน่น 0.80 g/cm3 แก๊ส B มีความหนาแน่น 1.14 g/cm3 และ แก๊ส C มีความหนาแน่น 0.07 g/cm3
หากบรรจุแก๊สแต่ละชนิดมวล 50 กรัม ในลูกโป่งที่อุณหภูมิห้องและความดันบรรยากาศ ให้เรียงล�ำดับขนาดลูกโป่งที่
บรรจุแก๊สจากเล็กไปใหญ่ **
ก. B A C ข. C A B ค. C B A ง. B C A
ซา

8. ตารางมวลและปริมาตรของวัตถุที่เป็นสารบริสุทธิ์ 4 ชิ้น ่ ทา้


มวลแ (g)
วัตถุ
เ ย
ผ 50
ปริมาตร (cm ) 3

A
ห า
้ ม ่า ย 25
B .ท จ้าห น
100 25
C ส ว รือ 100 50
D ย
ส ห า

ิธ์โด ล ง 25 50
้า ซ
จากตาราง วัตสถุิท

ชิ้นใดเป็นวัตถุัดชนิแดเดียวกัน ร ่ ท
น ด พ
ก. วัตงถุวA และ C ข. วัตถุ A และ D ค. วัตถุ B และ C ง. วัยตแถุ B และ D
ส ม เ ผ
ห า
้ ต โดยส่น ่าย่กว้างที่สุดของวัตถุยาว
อ. ใดในการหามวลและปริ

9. ต้องการหาค่าความหนาแน่นของวัตถุช้ินหนึ่ง ที่มีรูปทรงไม่เป็นรูปทรงเรขาคณิ วนที
3.5 cm และส่วนที่ยาวของวัตถุยาว 8.0 cm ควรเลือกใช้อุปกรณ์ในข้
ว ท จ า
้ มาตรของวัตถุ
ส ส หรือ
อุปกรณ์วัดมวล
ิ์โ ด ย ล ง อุปกรณ์วัดปริมาตร
ก. เครื่องชั่งสปริง ธ
ิสท ัดแป กระบอกตวงขนาด 10 ml
ข. ถ้วยยูรีกา วน
ง ด บีกเกอร์ขนาด 50 ml
ค. ส
เครื่องชั่งคานสามแขน ถ้วยยูรีกา
ง. ถ้วยยูรีกา เครื่องชั่งคานสามแขน

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
72 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ใช้ข้อมูลในตาราง ตอบค�ำถาม ข้อ 10 - 11


ชื่อสาร ชื่อธาตุที่เป็นองค์ประกอบ สูตรเคมี
กรดน�้ำส้ม คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน CH3COOH
ซา

่ ทา้
โอโซน ออกซิเจน O3
แก๊สคลอรีน พ ร
คลอรีน Cl2
ย แยม
แก๊สฮีเลียม
มเ ผ ฮี เ ลี He
แมกนีเซียมคลอไรด์ ห ้าแมกนีเซียมนคลอรี่ายน MgCl2
ท. จ้าเงิหน
เงิน
สว รือ Ag

ย ส หแคลเซียม ออกซิเจน า

ิธ์โด ปลง
ปูนขาว หรือ แคลเซียมออกไซด์ CaO
ท้า ซ
ส ิท ้งหมด * ัดแ ร ่
ว น
10. ข้อใดเป็นสารประกอบทั ด แพ
ส ้ำงส้ม โอโซน ย

้หามเ น่าย
ก. กรดน� ข. ฮีเลียม เงิน
ค. แก๊สคลอรีน แมกนีเซียมคลอไรด์ ง. กรดน�้ำส้ม ปูนขาว

ท. จ้าห
11. ข้อใดเป็นธาตุทั้งหมด *
ส ว รือ
ข. ฮีเลียม เงิน ส ห
ก. กรดน�้ำส้ม โอโซน

ง. กรดน�ิ์โ้ำส้ดม ปูนขาว ลง
ิสทธ ัดแป
ค. แก๊สคลอรีน แมกนีเซียมคลอไรด์

12. ข้อใดไม่ใช่สมบัติของธาตุโลหะ *
งวน ด
ก. เปราะ ส ข. ดึงเป็นเส้นได้
ค. น�ำไฟฟ้าและน�ำความร้อนได้ดี ง. มีความมันวาว

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์
73

N N O O O C O Ar
1 2 3 4 5
ซา

่ ทา้
13. จากภาพด้านบนแสดงอะตอม ข้อใดถูกต้อง *
ก. 1, 2, 3 เป็นธาตุ ข. 1, 2, 4 เป็นธาตุ
พ ร
ค. 2, 3, 5 เป็นสารประกอบ ย แ
ง. 3, 4, 5 เป็นสารประกอบ
ม เ ผ
14. อะตอมของธาตุลิเทียมมี 3 โปรตอน 4 นิวตรอน
ห ้า และ 3 อินเล็่ากยตรอน แบบจ�ำลองอะตอมในข้อใด แสดงอะตอมของ
ธาตุลิเทียมได้เหมาะสม *
ท . า
้ ห
ก�ำหนดให้
ส ว รือจ
โปรตอน มีประจุบวก ส ห

ิธ์โด ปล ง นิวตรอน เป็นกลางทางไฟฟ้า


อิเล็กตรอน มีประจุลบ

ิสท ัดแ ่ ท ้า
น ด พ ร
ส ง ว ยแ
เ ผ
้หาม น่าย
ท . จ้าห
ส ว ค. รือ
ก. ข.
ย ส ห ง.


์ ิ ด ล ง

ิท ัดแ ป
15. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการน�ำธาตุไปใช้ *
น ส ำไฟฟ้าได้ดดี
ก. ทองแดง เป็นโลหะที่ใช้ท�ำสายไฟฟ้า เพราะน�

ข. ซิลิคอน เป็นโลหะที่ใช้ในอุปกรณ์สองิเล็กทรอนิกส์ เพราะมีสมบัติเป็นสารกึ่งตัวน�ำ
ค. เหล็ก เป็นโลหะที่ใช้ท�ำเครื่องจักร เพราะรับน�้ำหนักได้และคงทนต่อการสึกหรอ
ง. ไนโตรเจน เป็นอโลหะที่ใช้ในปุ๋ยเร่งผลผลิตทางการเกษตร เพราะเป็นส่วนประกอบที่ส�ำคัญของพืช

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารบริสุทธิ์
74 หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์

ซา

ร ่ ทา้
แพ
เ ผ ย
ห ม
้า น่าย
ท. จ้าห
สว รือ
ย ส ห า

ิธ์โด ปลง ท้า ซ
ส ิท ัดแ ร ่
ว น ด แพ
สง ผ ย
้หามเ น่าย
ท. จ้าห
ส ว รือ
ย ส ห
ิธ์โด ปลง
ส ิท ัดแ
งวน ด

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

You might also like