Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 100

ข้อสอบวิชาทฤษฎีเบื้องต้น หลักสูตร นายสิบอาวุโส เหล่าดุริยางค์

1. C เป็ นโน้ตโดมินันท์ในกุญแจเสียงใด

ก. G เมเจอร์ ข. C ไมเนอร์

ค. F ไมเนอร์ ง. D เมเจอร์

2. Ab เป็ นโน้ตซุปเปอร์โทนิกในกุญแจเสียงใด

ก. G เมเจอร์ ข. Gb เมเจอร์

ค. B ไมเนอร์ ง. Bb ไมเนอร์

3. F เป็ นโน้ตมีเดียนในกุญแจเสียงใด

ก. D เมเจอร์ ข. D ไมเนอร์

ค. A เมเจอร์ ง. A ไมเนอร์

4. E# เป็ นโน้ตลีดดิงในกุญแจเสียงใด

ก. F# เมเจอร์, F# ไมเนอร์ ข. F เมเจอร์, F ไมเนอร์

ค. F เมเจอร์, F# ไมเนอร์ ง. F# เมเจอร์, F ไมเนอร์

5. Eb เป็ นโน้ตซับมีเดียนในกุญแจเสียงใด

ก. G เมเจอร์, Gb ไมเนอร์ ข. Cb เมเจอร์, C ไมเนอร์


ค. Gb เมเจอร์, G ไมเนอร์ ง. C เมเจอร์, Cb ไมเนอร์

6. กุญแจเสียงใดเป็ นกุญแจเสียงคู่ขนาน (Parallel key) ของ F# เมเจอร์

ก. D ไมเนอร์ ข. F ไมเนอร์

ค. D# ไมเนอร์ ง. F# ไมเนอร์

7. ข้อใดเป็ นกุญแจเสียงคู่ขนาน

ก. E เมเจอร์, E ไมเนอร์ ข. F# เมเจอร์, A ไมเนอร์

ค. A เมเจอร์, F# ไมเนอร์ ง. F# เมเจอร์, F ไมเนอร์

8. กุญแจเสียงร่วม (Ralative key) หมายถึงอะไร

ก. กุญแจเสียงเมเจอร์และกุญแจเสียงไมเนอร์ที่มีโน้ตโทนิกเป็ นโน้ตตัวเดียวกัน

ข. กุญแจเสียงเมเจอร์และกุญแจเสียงไมเนอร์ที่มีโน้ตโดมินันท์เป็ นโน้ตตัวเดียวกัน

ค. กุญแจเสียงเมเจอร์และกุญแจเสียงไมเนอร์ที่มีเครื่องหมายประจำกุญแจเสียง
เหมือนกัน

ง. กุญแจเสียงเมเจอร์ที่มีเครื่องหมายประจำกุญแจเสียงต่างกันไม่เกิน 1 ชาร์ปหรือ
1 แฟล็ต

9. ข้อใดเป็ นกุญแจเสียงร่วม
ก. E เมเจอร์, E ไมเนอร์ ข. F# เมเจอร์, A ไมเนอร์

ค. A เมเจอร์, F# ไมเนอร์ ง. F# เมเจอร์, F ไมเนอร์

10. G# ไมเนอร์ เป็ นกุญแจเสียงร่วมของกุญแจเสียงใด

ก. G# เมเจอร์ ข. B เมเจอร์

ค. Ab เมเจอร์ ง. Ab ไมเนอร์

11. กุญแจเสียงใดมี 6 แฟล็ต

ก. Gb เมเจอร์, Eb ไมเนอร์ ข. Eb เมเจอร์, Gb ไมเนอร์

ค. Db เมเจอร์, Bb ไมเนอร์ ง. Bb เมเจอร์, Db ไมเนอร์

12. กุญแจเสียงใดมี 2 ชาร์ป

ก. B เมเจอร์, B ไมเนอร์ ข. D เมเจอร์, D ไมเนอร์

ค. B เมเจอร์, D ไมเนอร์ ง. D เมเจอร์, B ไมเนอร์

13. กุญแจเสียงใดมี 5 ชาร์ป

ก. G# ไมเนอร์ ข. B ไมเนอร์

ค. A# ไมเนอร์ ง. E ไมเนอร์
14. กุญแจเสียงใดมี 3 แฟล็ต

ก. Eb ไมเนอร์ ข. E ไมเนอร์

ค. Cb ไมเนอร์ ง. C ไมเนอร์

15. กุญแจเสียงใดมี 7 ชาร์ป

ก. C# ไมเนอร์ ข. C# เมเจอร์

ค. F# ไมเนอร์ ง. F# เมเจอร์

16. กุญแจเสียงใดเป็ นกุญแจเสียงที่ต่างจาก D เมเจอร์มากที่สุด

ก. C เมเจอร์ ข. E เมเจอร์

ค. Ab เมเจอร์ ง. Bb เมเจอร์

17. กุญแจเสียงใดเป็ นกุญแจเสียงที่ต่างจาก Eb เมเจอร์มากที่สุด

ก. G เมเจอร์ ข. F เมเจอร์

ค. C เมเจอร์ ง. A เมเจอร์

18. กุญแจเสียงใดเป็ นกุญแจเสียงที่ใกล้เคียงกับ C ไมเนอร์มากที่สุด

ก. B ไมเนอร์ ข. E ไมเนอร์

ค. G ไมเนอร์ ง. A ไมเนอร์
19. กุญแจเสียงใดเป็ นกุญแจเสียงที่ใกล้เคียงกับ Ab เมเจอร์มากที่สุด

ก. C เมเจอร์ ข. Bb เมเจอร์

ค. D ไมเนอร์ ง. F ไมเนอร์

20. กุญแจเสียงใดเป็ นกุญแจเสียงที่ใกล้เคียงกับ B เมเจอร์มากที่สุด

ก. E เมเจอร์ ข. C# เมเจอร์

ค. D เมเจอร์ ง. Bb เมเจอร์

21. ข้อใดเป็ นเครื่องหมายประจำกุญแจเสียงของคลาริเน็ต (Bb) ในเพลงที่อยู่ใน


กุญแจเสียง C ไมเนอร์

ก. ข.

ค. ง.

22. ข้อใดเป็ นเครื่องหมายประจำกุญแจเสียงของคลาริเน็ต (A) ในเพลงที่อยู่ใหนกุญ


แจเสียง B เมเจอร์

ก. ข.

ค. ง.

23. ข้อใดเป็ นการทดเสียง (Transposition) ของทำนองนี ้


ก.

ข.

ค.

ง.

24. ข้อใดเป็ นการทดเสียงของทำนองนี ้

ก.

ข.

ค.

ง.

25. ข้อใดเป็ นการทดเสียงของทำนองนี ้

ก.

ข.

ค.

ง.
26. ข้อใดเป็ นการทดเสียงของทำนองนี ้

ก.

ข.

ค.

ง.

27. ข้อใดเป็ นการทดเสียงของทำนองนี ้

ก.

ข.

ค.

ง.

28. ข้อใดเป็ นการทดเสียงของทำนองนี ้


ก.

ข.

ค.

ง.

29. ข้อใดเป็ นการทดเสียงของทำนองนี ้

ก.

ข.

ค.

ง.

30. ข้อใดเป็ นการทดเสียงของทำนองนี ้

ก.

ข.

ค.
ง.

31. ข้อใดเป็ นการทดเสียงที่ต่ำลงเป็ นคู่ 4 ออกเมนเทด

ก.

ข.

ค.

ง.

32. ข้อใดเป็ นการทดเสียงที่ต่ำลงเป็ นคู่ 11 เพอร์เฟค

ก.

ข.

ค.
ง.

33. ข้อใดเป็ นการทดเสียงที่สูงขึน


้ เป็ นคู่ 6 ดิมินิชท์

ก.

ข.

ค.

ง.

34. ข้อใดเป็ นการทดเสียงที่สูงขึน


้ เป็ นคู่ 9 เมเจอร์

ก.

ข.

ค.

ง.
35. ข้อใดเป็ นการทดเสียงที่สูงขึน
้ เป็ นคู่ 14 ไมเนอร์

ก.

ข.

ค.

ง.

36. โมด E โดเรียน ประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับในข้อใด

ก. E, F#, G#, A, B, C#, D, E ข. E, F#, G#, A, B, C#, D#, E

ค. E, F#, G, A, B, C#, D, E ง. E, F#, G, A, B, C, D, E

37. โมด G ฟริเจียน ประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับในข้อใด

ก. G, Ab, Bb, C, Db, Eb, F, G ข. G, Ab, Bb, C, D, Eb, F, G

ค. G, A, Bb, C, D, E, F, G ง. G, A, Bb, C, D, Eb, F, G

38. โมด Bb มิกโซลิเดียน ประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับในข้อใด

ก. Bb, C, D, Eb, F, G, Ab, Bb ข. Bb, C, Db, Eb, F, G, Ab, Bb

ค. Bb, C, D, E, F, G, A, Bb ง. Bb, C, D, Eb, F, G, A, Bb


39. โมด A ลิเดียน ประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับในข้อใด

ก. A, B, C#, D, E, F#, G, A ข. A, B, C#, D, E, F#, G#, A

ค. A, B, C#, D#, E, F#, G#, A ง. A, B, C, D, E, F#, G, A

40. โมด C ฟรีเจียน ประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับในข้อใด

ก. C, D, E, F, G, A, Bb, C ข. C, D, Eb, F, G, A, Bb, C

ค. C, D, Eb, F, G, Ab, Bb, C ง. C, Db, Eb, F, G, Ab, Bb, C

41. โมดใดประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับดับนี ้ Bb, C, D, E, F, G, A, Bb

ก. Bb มิกโซลิเดียน ข. Bb ลิเดียน

ค. Bb โดเรียน ง. Bb เอโอเลียน

42. โมดใดประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับดังนี ้ F, G, Ab, Bb, C, D, Eb, F

ก. F มิกโซลิเดียน ข. F ลิเดียน

ค. F โดเรียน ง. F เอโอเลียน

43. โมดใดประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับดังนี ้ G, A, B, C, D, E, F#, G

ก. G ไอโอเนียน ข. G ลิเดียน

ค. G มิกโซลิเดียน ง. G โดเรียน
44. โมดใดประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับดังนี ้ D, E, F#, G, A, B, C, D

ก. D ฟริเจียน ข. D ลิเดียน

ค. D เอโอเลียน ง. D มิกโซลิเดียน

45. โมดใดประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับดังนี ้ B, C#, D, E, F#, G, A, B

ก. B โลเครียน ข. B เอโอเลียน

ค. B ลิเดียน ง. B โดเรียน

46. โมดใดประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับดังนี ้ F, G, A, Bb, C, D, Eb, F

ก. F ลิเดียน ข. F มิกโซลิเดียน

ค. F ฟริเจียน ง. F เอโอเลียน

47. โมดใดประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับดังนี ้ Bb, C, Db, Eb, F, G, Ab, Bb

ก. Bb ไอโอเนียน ข. Bb ฟริเจียน

ค. Bb โดเรียน ง. Bb มิกโซลิเดียน

48. โมดใดประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับดังนี ้ F, Gb, Ab, Bb, C, Db, Eb, F


ก. F โดเรียน ข. F ลิเดียน

ค. F เอโอเลียน ง. F ฟริเจียน

49. โมดใดประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับดังน้ี Db, Eb, F, G, Ab, Bb, C, Db

ก. Db ลิเดียน ข. Db โลเครียน

ค. Db มิกโซลิเดียน ง. Db ฟริเจียน

50. โมดใดประกอบด้วยโน้ตเรียงตามลำดับดังนี ้ B, C, D, E, F#, G, A, B

ก. B ลิเดียน ข. B ฟริเจียน

ค. B ไอโอเนียน ง. B มิกโซลิเดียน

51. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดเมเจอร์ ทัง้ ในกุญแจเสียงเมเจอร์และในกุญแจเสียงไมเนอร์

ก. II ข. III

ค. IV ่ง. V

52. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดดิมินิชท์ ทัง้ ในกุญแจเสียงเมเจอร์และในกุญแจเสียงไมเนอร์

ก. I ข. III

ค. V ง. VII

53. ในกุญแจเสียงเมเจอร์ คอร์ดใดเป็ นคอร์ดเมเจอร์

ก. I, IV, V ข. I, V, VI
ค. II, III, VI ง. III, V, VII

54. ในกุญแจเสียงไมเนอร์ คอร์ดใดเป็ นคอร์ดไมเนอร์

ก. V, VI ข. I, IV

ค. III, VI ง. IV, V

55. ในกุญแจเสียงเมเจอร์ คอร์ดใดเป็ นคอร์ดไมเนอร์

ก. I, IV, V ข. I, V, VI

ค. II, III, VI ง. III, V, VII

56. ในกุญแจเสียงไมเนอร์ คอร์ดใดเป็ นคอร์ดเมเจอร์

ก. V, VI ข. I, IV

ค. III, VI ง. IV, V

57. ในกุญแจเสียงไมเนอร์ คอร์ดใดเป็ นคอร์ดออกเมนเทด

ก. I ข. II

ค. III ง. IV

58. ในกุญแจเสียงไมเนอร์ คอร์ดใดเป็ นคอร์ดดิมินิชท์

ก. I, VII ข. III, IV
ค. II, III ง. II, VII

59. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดเมเจอร์

ก. คอร์ด VI ในกุญแจเสียงเมเจอร์ ข. คอร์ด II ในกุญแจเสียงไมเนอร์

ค. คอร์ด IV ในกุญแจเสียงเมเจอร์ ง. คอร์ด III ในกุญแจเสียงไมเนอร์

60. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดไมเนอร์

ก. คอร์ด IV ในกุญแจเสียงไมเนอร์ ข. คอร์ด VII ในกุญแจเสียงเมเจอร์

ค. คอร์ด II ในกุญแจเสียงไมเนอร์ ง. คอร์ด V ในกุญแจเสียงเมเจอร์

61. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดดิมินิชท์

ก. คอร์ด II ในกุญแจเสียงเมเจอร์ ข. คอร์ด II ในกุญแจเสียงไมเนอร์

ค. คอร์ด III ในกุญแจเสียงเมเจอร์ ง. คอร์ด III ในกุญแจเสียงไมเนอร์

62. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดออกเมนเทด

ก. คอร์ด III ในกุญแจเสียงเมเจอร์ ข. คอร์ด III ในกุญแจเสียงไมเนอร์

ค. คอร์ด VI ในกุญแจเสียงเมเจอร์ ง. คอร์ด VI ในกุญแจเสียงไมเนอร์

63. สัญลักษณ์ใดหมายถึง คอร์ด I ไมเนอร์

ก. ข.

ค. ง.
64. สัญลักษณ์ใดหมายถึง คอร์ด I ดิมินิชท์

ก. ข.

ค. ง.

65. สัญลักษณ์ใดหมายถึง คอร์ด I ออกเมนเทด

ก. ข.

ค. ง.

66. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดในรูปพลิกกลับขัน


้ ที่หนึง่

ก. ข.

ค. ง

67. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดในรูปพลิกกลับขัน


้ ที่สอง

ก. ข.

ค. ง.

68. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดทบเจ็ดในรูปพลิกกลับขัน


้ ที่หนึ่ง

ก. ข.

ค. ง.
69. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดทบเจ็ดในรูปพลิกกลับขัน
้ ที่สอง

ก. ข.

ค. ง.

70. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดทบเจ็ดในรูปพลักกลับขัน


้ ที่สาม

ก. ข.

ค. ง.

71. คอร์ดทบเจ็ดคอร์ดใดพบมากที่สุด

ก. ข.

ค. ง.

72. ในกุญแจเสียงเมเจอร์ คอร์ดทบเจ็ดคอร์ดใดมีที่ใช้น้อยที่สุด

ก. ข.

ค. ง.

73. ในกุญแจเสียงไมเนอร์ คอร์ด เป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. Major-minor seventh ข. Halfly-diminished seventh

ค. Minor-minor seventh ง. Fully-diminished seventh

74. เป็ นคอร์ดชนิดใด


ก. Major-minor seventh ข. Halfly-diminished seventh

ค. Minor-minor seventh ง. Fully-diminished seventh

75. ในกุญแจเสียงเมเจอร์ คอร์ด เป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. Major-minor seventh ข. Halfly-diminished seventh

ค. Minor-minor seventh ง. Fully-diminished seventh

76. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด E เมเจอร์

ก. E, G#, B# ข. E, G#, B

ค. E, G, B# ง. E, G, B

77. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด Bb เมเจอร์

ก. Bb, D, F# ข. Bb, Db, F

ค. Bb, D, F ง. Bb, Db, F#

78. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด Ab เมเจอร์

ก. Ab, C, E ข. Ab, C, Eb

ค. Ab, Cb, Eb ง. Ab, Cb, E

79. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด F# ไมเนอร์


ก. F#, A#, C# ข. F#, A, C

ค. F#, A#, C ง. F#, A, C#

80. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด Db ไมเนอร์

ก. Db, Fb, Ab ข. Db, F, Ab

ค. Db, Fb, A ง. Db, F, A

81. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด A# ไมเนอร์

ก. A#, CX, E# ข. A#, C#, E

ค. A#, CX, E ง. A#, C#, E#

82. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด G ไมเนอร์

ก. G, B, D ข. G, Bb, Db

ค. G, Bb, D ง. G, B, Db

83. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด D ดิมินิชท์

ก. D, F, A ข. D, Fb, Ab

ค. D, F, Ab ง. D, Fb, A

84. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด F ดิมินิชท์

ก. F, A, C ข. F, Ab, Cb
ค. F, A, Cb ง. F, Ab, C

85. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด C# ดิมินิชท์

ก. C#, E#, G# ข. C#, E, G#

ค. C#, E#, G ง. C#, E, G

86. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด G# ดิมินิชท์

ก. G#, B, D ข. G#, B, D#

ค. G#, B#, D# ง. G#, B#, D

87. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด Eb ออกเมนเทด

ก. Eb, G, B ข. Eb, G, Bb

ค. Eb, Gb, B ง. Eb, Gb, Bb

88. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด G ออกเมนเทด

ก. G, B#, D# ข. G, B, D#

ค. G, B, D ง. G, B#, D

89. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด A ออกเมนเทด

ก. A, C#, E ข. A, C, E

ค. A, C#, E# ง. A, C, E#
90. กลุ่มโน้ตในข้อใดประกอบกันเป็ นคอร์ด C ออกเมนเทด

ก. C, E, G# ข. C, E, G

ค. C, E#, G ง. C, E#, G#

91. กลุ่มโน้ต B, D#, G# ประกอบกันเป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ออกเมนเทด ง. ดิมินิชท์

92. กลุ่มโน้ต A, F, D ประกอบกันเป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ออกเมนเทด ง. ดิมินิชท์

93. กลุ่มโน้ต C#, A, F ประกอบกันเป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ออกเมนเทด ง. ดิมินิชท์

94. กลุ่มโน้ต A, C, E ประกอบกันเป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ออกเมนเทด ง. ดิมินิชท์
95. กลุ่มโน้ต Bb, F#, D ประกอบกันเป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ออกเมนเทด ง. ดิมินิชท์

96. กลุ่มโน้ต D#, F#, A ประกอบกันเป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ออกเมนเทด ง. ดิมินิชท์

97. กลุ่มโน้ต Db, Gb, Bb ประกอบกันเป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ออกเมนเทด ง. ดิมินิชท์

98. กลุ่มโน้ต F#, B, D ประกอบกันเป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ออกเมนเทด ง. ดิมินิชท์

99. กลุ่มโน้ต Eb, G, Bb ประกอบกันเป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ออกเมนเทด ง. ดิมินิชท์
100. กลุ่มโน้ต C, E, Ab ประกอบกันเป็ นคอร์ดชนิดใด

ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ออกเมนเทด ง. ดิมินิชท์

101. กลุ่มโน้ต Eb, Gb, A, C ประกอบกันเป็ นคอร์ดใดในกุญแจเสียง Bb ไมเนอร์

ก. ข.

ค. ง.

102. กลุ่มโน้ต G, B, D, F ประกอบกันเป็ นคอร์ดใดในกุญแจเสียง F ไมเนอร์

ก. ข.

ค. ง.

103. กลุ่มโน้ต C#, E, G, Bb ประกอบกันเป็ นคอร์ดใดในกุญแจเสียง C เมเจอร์

ก. ข.

ค. ง.

104. กลุ่มโน้ต A#, C#, FX ประกอบกันเป็ นคอร์ดใดในกุญแจเสียง E เมเจอร์

ก. N ข.

ค. ง.

105. กลุ่มโน้ต A, C#, E, FX ประกอบกันเป็ นคอร์ดใดในกุญแจเสียง C# ไมเนอร์


ก. ข.

ค. ง.

106. กลุ่มโน้ต C#, F#, A# ประกอบกันเป็ นคอร์ดใดในกุญแจเสียง E ไมเนอร์

ก. ข.

ค. ง.

107. กลุ่มโน้ต Ab, Bb, D, F ประกอบกันเป็ นคอร์ดใดในกุญแจเสียง Bb เมเจอร์

ก. ข.

ค. ง.

108. กลุ่มโน้ต G, Bb, E ประกอบกันเป็ นคอร์ดใดในกุญแจเสียง Ab เมเจอร์

ก. ข.

ค. ง.

109. กลุ่มโน้ต C, E, G, A ประกอบกันเป็ นคอร์ดใดในกุญแจเสียง C เมเจอร์

ก. ข.

ค. ง.

110. กลุ่มโน้ต B#, D#, F#, A ประกอบกันเป็ นคอร์ดใดในกุญแจเสียง F# ไมเนอร์

ก. ข.
ค. ง.

111. กลุ่มโน้ต C#, E, G#, B ประกอบกันเป็ นคอร์ด ในกุญแจเสียงใด

ก. E เมเจอร์ ข. C# ไมเนอร์

ค. G เมเจอร์ ง. B ไมเนอร์

112. กลุ่มโน้ต F, G, B, D ประกอบกันเป็ นคอร์ด ในกุญแจเสียงใด

ก. F เมเจอร์ ข. C ไมเนอร์

ค. D เมเจอร์ ง. E ไมเนอร์

113. กลุ่มโน้ต B#, DX, FX ประกอบกันเป็ นคอร์ด ในกุญแจเสียงใด

ก. C# เมเจอร์ ข. A# ไมเนอร์

ค. E เมเจอร์ ง. G# ไมเนอร์

114. กลุ่มโน้ต A, C, D, F# ประกอบกันเป็ นคอร์ด ในกุญแจเสียงใด

ก. C เมเจอร์ ข. A ไมเนอร์

ค. G เมเจอร์ ง. B ไมเนอร์

115. กลุ่มโน้ต Cb, Ebb, Fb, Ab ประกอบกันเป็ นคอร์ด /N ในกุญแจเสียงใด

ก. Fb เมเจอร์ ข. Ab ไมเนอร์

ค. Ab เมเจอร์ ง. Cb ไมเนอร์
116. กลุ่มโน้ต Bb, Db, Fb ประกอบกันเป็ นคอร์ด ในกุญแจเสียงใด

ก. Ab ไมเนอร์ ข. Bb ไมเนอร์

ค. Db ไมเนอร์ ง. Eb ไมเนอร์

117. กลุ่มโน้ต D, F#, B# ประกอบกันเป็ นคอร์ด ในกุญแจเสียงใด

ก. G# ไมเนอร์ ข. D# ไมเนอร์

ค. F# เมเจอร์, F# ไมเนอร์ ง. C# เมเจอร์, C# ไมเนอร์

118. กลุ่มโน้ต F, Bb, D ประกอบกันเป็ นคอร์ด ในกุญแจเสียงใด

ก. Bb เมเจอร์ ข. Gb เมเจอร์

ค. F ไมเนอร์ ง. D ไมเนอร์

119. กลุ่มโน้ต D#, G#, B# ประกอบกันเป็ นคอร์ด ในกุญแจเสียงใด

ก. C# เมเจอร์ ข. F# ไมเนอร์

ค. B เมเจอร์, B ไมเนอร์ ง. A เมเจอร์, A ไมเนอร์

120. กลุ่มโน้ต E, C#, A, G# ประกอบกันเป็ นคอร์ด ในกุญแจเสียงใด

ก. G# ไมเนอร์ ข. F# ไมเนอร์

ค. C# ไมเนอร์ ง. D# ไมเนอร์
121. เป็ นคอร์ดในกุญแจเสียง Db เมเจอร์

ก. ข.

ค. ง.

122. เป็ นคอร์ดในกุญแจเสียง G เมเจอร์

ก. ข.

ค. ง.

123. เป็ นคอร์ดในกุญแจเสียง Ab เมเจอร์

ก. ข.

ค. ง.

124. เป็ นคอร์ดในกุญแจเสียง G ไมเนอร์

ก. ข.

ค. ง.

125. เป็ นคอร์ดในกุญแจเสียง C เมเจอร์

ก. ข.

ค. ง.
126. เป็ นคอร์ดในกุญแจเสียง Eb เมเจอร์

ก. ข.

ค. ง.

127. เป็ นคอร์ดในกุญแจเสียง Db เมเจอร์

ก. (Fr.) ข.

ค. ง.

128. เป็ นคอร์ดในกุญแจเสียง E เมเจอร์

ก. ข. N

ค. ง.

129. เป็ นคอร์ดในกุญแจเสียง Eb ไมเนอร์

ก. ข.

ค. ง.

130. เป็ นคอร์ดในกุญแจเสียง G ไมเนอร์


ก. ข.

ค. ง.

131. คอร์ด ในกุญแจเสียง B ไมเนอร์ ประกอบด้วยกลุ่มโน้ตใด

ก. B, F, D, A ข. D, F#, B, A

ค. A#, F#, B, D ง. F#, A, B, D#

132. คอร์ด ในกุญแจเสียง G เมเจอร์ ประกอบด้วยกลุ่มโน้ตใด

ก. C, E, A, G ข. G, A, C#, E

ค. E, C#, Bb, G ง. Eb, A, C, Gb

133. คอร์ด ในกุญแจเสียง C# ไมเนอร์ ประกอบด้วยกลุ่มโน้ตใด

ก. C#, D#, A, F# ข. B#, D#, F#, G#

ค. Ab, B#, F#, D# ง. G#, D#, B, F#

134. คอร์ด ในกุญแจเสียง A เมเจอร์ ประกอบด้วยกลุ่มโน้ตใด

ก. D#, F#, A, B ข. F#, C#, A#, E

ค. E, F#, A, C# ง. B, F#, D, A

135. คอร์ด N ในกุญแจเสียง G ไมเนอร์ ประกอบด้วยกลุ่มโน้ตใด

ก. Gb, Eb, Bb ข. C, Ab, Eb


ค. Bb, Eb, G ง. E, C#, A

136. คอร์ด ในกุญแจเสียง C ไมเนอร์ ประกอบด้วยกลุ่มโน้ตใด

ก. C, Bb, E, G ข. E, G, B, C

ค. Eb, C, B, G ง. Bb, G, C, Eb

137. คอร์ด ในกุญแจเสียง G เมเจอร์ ประกอบด้วยกลุ่มโน้ตใด

ก. G, A, C, E ข. C#, A, G, E

ค. A, Eb, G, C ง. Eb, A, G, C#

138. คอร์ด (Fr.) ในกุญแจเสียง A ไมเนอร์ ประกอบด้วยกลุ่มโน้ตใด

ก. B, G, E#, D ข. C#, E, A, G

ค. E, F, C, A# ง. B, F, A, D#

139. คอร์ด ในกุญแจเสียง Bb ไมเนอร์ ประกอบด้วยกลุ่มโน้ตใด

ก. Bb, F, D ข. F, Bb, Db

ค. Db, Fb, Bb ง. Fb, D, Bb

140. คอร์ด ในกุญแจเสียง D เมเจอร์ ประกอบด้วยกลุ่มโน้ตใด

ก. D, F#, A, C ข. A, C, D, F
ค. C#, F, D, A ง. D, C#, F#, A

141. คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต A, C#, E, G มีเสียงเหมือนกับกลุ่มโน้ตใด

ก. B, D, F#, A ข. F#, A, C, E

ค. Ab, C, E, G ง. Eb, G, Bb, Db

142. คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต F#, A, C# มีเสียงเหมือนกับกลุ่มโน้ตใด

ก. G, D, B ข. Bb, F#, D

ค. Eb, C, G ง. E, G, Bb

143. คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต A, F, C# มีเสียงเหมือนกับกลุ่มโน้ตใด

ก. G#, D, B ข. Eb, G, B

ค. B, E, G ง. D, Bb, F

144. คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต C, F, D, A มีเสียงเหมือนกับกลุ่มโน้ตใด

ก. D, G, E, B ข. B, C, E, G

ค. F, Eb, C, A ง. A, D#, C#, F#

145. คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต G, E, C#, Bb มีเสียงเหมือนกับกลุ่มโน้ตใด

ก. A, D, F, B ข. G#, F, B, D

ค. C#, A, G, E ง. Db, Bb, Ab, F


146. คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต Eb, A, C มีเสียงเหมือนกับกลุ่มโน้ตใด

ก. F, Db, A ข. D#, G, B

ค. A, D, F ง. C#, E, A#

147. คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต Db, Ab, C, F มีเสียงเหมือนกับกลุ่มโน้ตใด

ก. F#, B, G, D ข. A, Eb, C, Gb

ค. Db, Eb, Bb, G ง. E, C#, A#, G#

148. คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต G#, D, F#, B มีเสียงเหมือนกับกลุ่มโน้ตใด

ก. D#, E, G#, B ข. E, Bb, C#, G

ค. Ab, D, F, C ง. G, A, C, E

149. คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต G, B, E# มีเสียงเหมือนกับกลุ่มโน้ตใด

ก. C#, A#, E ข. Gb, Eb, C

ค. D#, G, B ง. Eb, G, C#

150. คอร์ดที่ประกอบด้วยโน้ต C#, A#, F# มีเสียงเหมือนกับกลุ่มโน้ตใด

ก. D, F, Bb ข. G, E, B

ค. E, G#, C ง. B, G#, D
151. เคเดนซ์มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับส่วนใดของดนตรี

ก. ทำนอง, จังหวะ ข. สีสันเสียง, จังหวะ

ค. ทำนอง, เสียงประสาน ง. สีสันเสียง, เสียงประสาน

152. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเคเดนซ์

ก. เป็ นจุดพักประโยคเพลง ข. เป็ นจุดจบของประโยคเพลง

ค. เป็ นจุดเปลี่ยนกุญแจเสียง ง. เป็ นคอร์ด 2 คอร์ดสุดท้ายของประโยคเพลง

153. Feminine cadence มีลก


ั ษณะอย่างไร

ก. คอร์ดหลังตกบนจังหวะเบา ข. คอร์ดแรกตกบนจังหวะเบา

ค. คอร์ดหลังอยู่ในรูปพลิกกลับ ง. คอร์ดแรกอยู่ในรูปพลิกกลับ

154. เคเดนซ์ชนิดใดมีน้ำหนักมากที่สุด

ก. Authentic ข. Deceptive

ค. Half ง. Plagal

155. เคเดนซ์ชนิดใดมีน้ำหนักน้อยที่สุด

ก. Authentic ข. Deceptive

ค. Half ง. Plagal

156. เคเดนซ์ชนิดใดมีช่ อ
ื เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Amen cadence
ก. Authentic ข. Deceptive

ค. Half ง. Plagal

157. เคเดนซ์ชนิดใดมีช่ อ
ื เรียกในระบบอังกฤษว่า Interrupted cadence

ก. Authentic ข. Deceptive

ค. Half ง. Plagal

158. เคเดนซ์ชนิดใดมีช่ อ
ื เรียกในระบบอังกฤษว่า Imperfect cadence

ก. Authentic ข. Deceptive

ค. Half ง. Plagal

159. เคเดนซ์ชนิดใดมีช่ อ
ื เรียกทัง้ ในระบบอังกฤษและระบบอเมริกันเหมือนกัน

ก. Authentic ข. Deceptive

ค. Half ง. Plagal

160. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ Perfect authentic cadence

ก. มีคอร์ดสุดท้ายตกบนจังหวะหนัก

ข. เป็ นเคเดนซ์ที่มีน้ำหนักสมบูรณ์ที่สุด

ค. มีโน้ตในแนวบนของคอร์ด เป็ นโน้ตโทนิก

ง. มีการดำเนินคอร์ดจาก ไป ในรูปพื้นต้น
161. เคเดนซ์ชนิดใดจบด้วยคอร์ด

ก. Authentic ข. Deceptive

ค. Half ง. Plagal

162. เคเดนซ์ชนิดใดจบด้วยคอร์ด

ก. Authentic, Half ข. Authentic, Plagal

ค. Deceptive, Half ง. Deceptive, Plagal

163. เป็ นเคเดนซ์ชนิดใด

ก. Half ข. Perfect authentic

ค. Deceptive ง. Imperfect authentic

164. เป็ นเคเดนซ์ชนิดใด

ก. Plagal ข. Perfect authentic

ค. Deceptive ง. Imperfect authentic

165. เป็ นเคเดนซ์ชนิดใด

ก. Plagal ข. Authentic
ค. Deceptive ง. Half

166. เป็ นเคเดนซ์ชนิดใด

ก. Plagal ข. Half

ค. Deceptive ง. Imperfect authentic

167. เป็ นเคเดนซ์ชนิดใด

ก. Half ข. Deceptive

ค. Authentic ง. Plagal

168. เป็ นเคเดนซ์ชนิดใด

ก. Half ข. Plagal

ค. Perfect authentic ง. Imperfect authentic

169. เป็ นเคเดนซ์ชนิดใด

ก. Half ข. Plagal

ค. Deceptive ง. Imperfect authentic


170. เป็ นเคเดนซ์ชนิดใด

ก. Half ข. Authentic

ค. Plagal ง. Deceptive

171. เป็ นเคเดนซ์ชนิดใด

ก. Deceptive ข. Half

ค. Plagal ง. Imperfect authentic

172. เป็ นเคเดนซ์ชนิดใด

ก. Authentic ข. Plagal

ค. Half ง. Deceptive

173. ข้อใดเป็ นความหมายของ Allegro ma non Troppo

ก. เร็วสม่ำเสมอ ข. เร็ว แต่ไม่เร็วเกินไป

ค. เร็วแบบยืดหยุ่น ง. เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้

174. ข้อใดเป็ นความหมายของ Con fuoco

ก. ด้วยความอบอุ่น ข. ด้วยความพอใจ

ค. ด้วยความเศร้าใจ ง. ด้วยความเร่าร้อน
175. ข้อใดเป็ นความหมายของ Cantabile

ก. แนวร้องที่ไม่มีดนตรีประกอบ ข. เล่นไพเราะเหมือนเสียงร้อง

ค. เล่นและร้องไปพร้อมๆ กัน ง. แนวเครื่องสายที่เล่นประกอบการขับ


ร้อง

176. ข้อใดเป็ นความหมายของ

ก. เล่นดังแล้วเบาทันที ข. เล่นดังหรือเบาได้ตามใจชอบ

ค. เล่นสลับไปมาระหว่างดังกับเบา ง. เล่นดังปานกลาง แต่ไม่ถึงกับเบา

177. ข้อใดเป็ นความหมายของ Ad libitum

ก. ให้เร่งจังหวะ ข. ให้เล่นย้อนต้น

ค. ให้เปลี่ยนความเร็วทันที ง. ให้ปฏิบัติยืดหยุ่นได้ตามใจชอบ

178. ข้อใดเป็ นความหมายของ Attacca

ก. ให้หยุดพักเล็กน้อยระหว่างท่อน ข. ให้เล่นต่อไปทันที

ค. ให้หยุดหายใจระหว่างประโยค ง. ให้เล่นเสียงหนักแน่นและต่อเนื่อง

179. ข้อใดเป็ นความหมายของ Tutti

ก. ให้เล่นทีละคน ข. ให้เล่นทีละกลุ่ม

ค. ให้เล่นพร้อมกันทัง้ วง ง. ให้เล่นแนวทำนองหลัก
180. ข้อใดเป็ นความหมายของ a2

ก. ให้ทงั ้ 2 เครื่องเล่นพร้อมกัน ข. ให้ 2 เครื่องแยกแนวกันเล่น

ค. ให้ทงั ้ 2 เครื่องหยุดเล่น ง. ให้ 2 เครื่องสลับกันเล่น

181. ศัพท์ใดหมายถึง ให้เล่นแยกแนว

ก. Divisi ข. Double stops

ค. Prima volta ง. Con sordino

182. ศัพท์ใดหมายถึง ให้เล่นเน้นแนวซึ่งเป็ นทำนองสำคัญ

ก. En cedant ข. Au movement

ค. En dehors ง. Detache

183. ศัพท์ใดหมายถึง ให้กลับไปใช้ความเร็วเท่าเดิม

ก. Tempo giusto ข. Piu mosso

ค. Tempo primo ง. Teneramente

184. ศัพท์ใดไม่ใช้กับเครื่องสายประเภทคันชัก

ก. Una corda ข. Arco

ค. Pizzicato ง. Col legno


185. ศัพท์ใดใ่ช้คู่กับ Ripieno

ก. Concerto ข. Concertina

ค. Concertino ง. Concert

186. Presto มีความหมายใกล้เคียงกับศัพท์ใดมากที่สุด

ก. Vivace ข. Andante

ค. Grave ง. Largo

187. ศัพท์ใดเป็ นอัตราช้าที่สุดในกลุ่มนี ้

ก. Allegro ข. Largo

ค. Lento ง. Andantino

188. ศัพท์ใดเป็ นอัตราเร็วที่สุดในกลุ่มนี ้

ก. Grave ข. Larghetto

ค. Allegretto ง. Lento

189. ศัพท์ใดเป็ นอัตราช้าที่สุดในกลุ่มนี ้

ก. Prestissimo ข. Vivace

ค. Allegro ง. Presto

190. ศัพท์ใดเป็ นอัตราเร็วที่สุดในกลุ่มนี ้


ก. Lento ข. Largo

ค. Grave ง. Andante

191. ศัพท์ใดมีความหมายต่างจากศัพท์อ่ น

ก. Accelerando ข. Affrettando

ค. Stringendo ง. Allargando

192. ศัพท์ใดมีความหมายต่างจากศัพท์อ่ น

ก. Spiritoso ข. Ritardando

ค. Ritenuto ง. Sostenuto

193. ศัพท์ใดมีความหมายต่างจากศัพท์อ่ น

ก. Calando ข. Pesante

ค. Diminuendo ง. Decrescendo

194. ศัพท์ใดมีความหมายต่างจากศัพท์อ่ น

ก. Capriccioso ข. Agitato

ค. Flebile ง. Con anima

195. ศัพท์ใดมีความหมายต่างจากศัพท์อ่ น

ก. A piacere ข. A tempo

ค. A Battuta ง. Meme movement

196. ศัพท์ใดไม่เข้าพวก

ก. Crescendo ข. Forzando

ค. Druckend ง. Marcato

197. ศัพท์ใดไม่เข้าพวก

ก. Detache ข. Pizzicato

ค. Spiccato ง. Secco

198. ศัพท์ใดไม่เข้าพวก

ก. Slargando ข. Retenir

ค. Smorzando ง. Precuoutato

199. ศัพท์ใดไม่เข้าพวก

ก. Placabile ข. Lesto

ค. Scherzando ง. Giocoso

200. ศัพท์ใดไม่เข้าพวก

ก. Commodo ข. Furente
ค. Agevole ง. Facile

201. คอร์ดใดเป็ นคอร์แทนของคอร์ด

ก. ข.

ค. ง.

202. คอร์ดใดเป็ นคอร์แทนของคอร์ด

ก. ข.

ค. ง.

203. คอร์ดใดมีบทบาทเหมือนกับคอร์ด

ก. ข.

ค. ง.

204. คอร์ด ไม่ควรตามด้วยคอร์ดใด

ก. ข.

ค. ง.

205. คอร์ด ควรตามด้วยคอร์ดใด

ก. ข.
ค. ง.

206. คอร์ด ควรตามด้วยคอร์ดใด

ก. ข.

ค. ง.

207. คอร์ด ควรตามด้วยคอร์ดใด

ก. ข.

ค. ง.

208. คอร์ด ควรตามด้วยคอร์ดใด

ก. ข.

ค. ง.

209. คอร์ด ควรตามด้วยคอร์ดใด

ก. ข.

ค. ง.
210. คอร์ด ควรตามด้วยคอร์ดใด

ก. ข.

ค. ง.

211. คอร์ดใดมักอยู่ในรูปพลิกกลับขัน
้ ที่หนึ่ง

ก. Dominant ข. Nepolitan

ค. Augmented sixth ง. Secondeary dominant

212. โน้ตตัวใดไม่นิยมใช้ในการทบโน้ต ( Doubling )

ก. Leading tone ข. Submediant

ค. Subdominant ง. Supertonic

213. คอร์ดในรูปใดมีน้ำหนักมากที่สุด

ก. Root position ข. First inversion

ค. Second inversion ง. Third inversion

214. คอร์ดชนิดใดพบน้อยที่สุดในการเขียนเสียงประสาน

ก. เมเจอร์ ข. ออกเมนเทด

ค. ไมเนอร์ ง. ดิมินิชท์
215. คอร์ดใดเป็ นคอร์ดสำคัญในการเขียนเสียงประสาน

ก. , ข. ,

ค. , ง. ,

216. คอร์ดใดไม่นิยมใช้ใน Root position

ก. ข.

ค. ง.

217. คอร์ด นิยมตามด้วยคอร์ดใด

ก. ข.

ค. ง.

218. คอร์ดใดมักพบในรูปของ Fully diminished

ก. ข.

ค. ง.

219. คอร์ดใดทำหน้าที่เหมือน Appoggiatura ของ

ก. ข.

ค. ง.

rd
220. Picardie 3 หมายถึงคอร์ดชนิดใด
ก. เมเจอร์ ข. ไมเนอร์

ค. ดิมินิชท์ ง. ออกเมนเทด

221. โน้ตนอกคอร์ดชนิดใดอยู่บนจังหวะหนัก

ก. Suspension, Appoggiatura ข. Suspension, Passing tone

ค. Passing tone, Escape tone ง. Neighboring tone, Appoggiatura

222. โน้ตนอกคอร์ดชนิดใดอยู่บนจังหวะเบา

ก. Appoggiatura, Suspension ข. Suspenision, Passing tone

ค. Passing tone, Escape tone ง. Neighboring tone, Appoggiatura

223. โน้ตนอกคอร์ดชนิดใดมีมากกว่า 1 ตัวติดต่อกันได้

ก. Appoggiatura ข. Passing tone

ค. Anticipation ง. Suspension

224. Changing tones มีความสัมพันธ์กับโน้ตนอกคอร์ดชนิดใด

ก. Appoggiatura ข. Passing tone

ค. Suspension ง. Neighboring tone

225. โน้ตนอกคอร์ชนิดใดอาจพบอยู่บนจังหวะหนักได้

ก. Anticipation ข. Neighboring tone


ค. Passing tone ง. Escape tone

226. โน้ตในวงกลมเป็ นโน้ตนอกคอร์ดชนิดใด

ก. Appoggiatura ข. Passing tone

ค. Anticipation ง. Suspension

227. โน้ตในวงกลมเป็ นโน้ตนอกคอร์ดชนิดใด

ก. Suspension ข. Passing tone

ค. Escape tone ง. Neighboring tone

228. โน้ตในวงกลมเป็ นโน้ตนอกคอร์ดชนิดใด


ก. Appoggiatura ข. Anticipation

ค. Neighboring tone ง. Passing tone

229. โน้ตในวงกลมเป็ นโน้ตนอกคอร์ดชนิดใด

ก. Appoggiatura ข. Anticipation

ค. Suspension ง. Neighboring tone

230. โน้ตในวงกลมเป็ นโน้ตนอกคอร์ดชนิดใด

ก. Passing tone ข. Neighboring tone

ค. Suspension ง. Appoggiatura

231. คอร์ดใดมีบทบาทอยู่ในกุญแจเสียงทัง้ เก่าและใหม่

ก. Secondary chord ข. Altered chord

ค. Primary chord ง. Pivot chord

232. ข้อใดมีบทบาทใกล้เคียงกับ Modulation


ก. Tonicization ข. Improvisation

ค. Extemporization ง. Prolongation

233. ทำนองใดไม่เปลี่ยนกุญแจเสียง
ก.

ข.

ค.

234. ทำนองใดไม่เปลี่ยนกุญแจเสียง
ก.

ข.

ค.

235. ทำนองใดเปลี่ยนกุญแจเสียง
ก.

ข.

ค.

ง.
236. ทำนองต่อไปนีเ้ ริ่มและจบในกุญแจเสียงใด

ก. A ไมเนอร์, Eb เมเจอร์ ข. C เมเจอร์, C ไมเนอร์


ค. C เมเจอร์, Ab เมเจอร์ ง. A ไมเนอร์, Bb เมเจอร์

237. ทำนองต่อไปนีเ้ ริ่มและจบในกุญแจเสียงใด

ก. G เมเจอร์, G ไมเนอร์ ข. E ไมเนอร์, E เมเจอร์


ค. G เมเจอร์, E ไมเนอร์ ง. E ไมเนอร์, G ไมเนอร์

238. ทำนองต่อไปนีเ้ ริ่มและจบในกุญแจเสียงใด

ก. C เมเจอร์, F เมเจอร์ ข. C เมเจอร์, C ไมเนอร์


ค. F เมเจอร์, F ไมเนอร์ ง. F เมเจอร์, C เมเจอร์

239. ทำนองต่อไปนีเ้ ริ่มและจบในกุญแจเสียงใด


ก. G เมเจอร์, D เมเจอร์ ข. G เมเจอร์, D ไมเนอร์
ค. E ไมเนอร์, A ไมเนอร์ ง. E ไมเนอร์, G เมเจอร์

240. ทำนองต่อไปนีเ้ ริ่มและจบในกุญแจเสียงใด

ก. A ไมเนอร์, D ไมเนอร์ ข. C เมเจอร์, F ไมเนอร์


ค. C เมเจอร์, F เมเจอร์ ง. A ไมเนอร์, C เมเจอร์

241. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับ Species counterpoint


ก. Compound time ข. J.J, Fux
ค. Modality ง. คริสต์ศตวรรษที่ 16

242. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ Nota cambiata


ก. พบใน Species counterpoint ข. เป็ นโน้ตนอกคอร์ด
ค. เกลาห้วยขัน
้ คู่กระโดด ง. ประกอบด้วยกลุ่มโน้ต 3 ตัว

243. Species ใดใช้ Suspension เป็ นหลัก


ก. II ข. III
ค. IV ง. V

244. ขัน
้ คู่ใดห้ามขนานในการเขียน Counterpoint
ก. 3, 4 ข. 5, 6
ค. 5, 8 ง. 6, 8
th
245. Hidden 8 หมายถึง
ก. การใช้คู่ 8 เพอร์เฟคบนจังหวะที่ 1
ข. การดำเนินทำนองแบบสวนทางเพื่อเข้าสู่คู่ 8 เพอร์เฟค
ค. การดำเนินทำนองในทิศทางเดียวกันเพื่อนเข้าสูค
่ ู่ 8 เพอร์เฟค
ง. การใช้คุ่ 8 เพอร์เฟคบนจังหวะที่ 4 แล้วตามด้วยคู่ 8 เพอร์เฟคบนจังหวะที่ 1

246. ข้อใดเป็ น Counterpoint แนวล่างที่ดีที่สุดของ Cantus Firmus แนวบนที่


กำหนดให้

ก.

ข.

ค.

ง.

247. ข้อใดเป็ น Counterpoint แนวล่างที่ดีที่สุดของ Cantus firmus แนววบนที่


กำหนดให้

ก.
ข.

ค.

ง.

248. ข้อใดเป็ น Counterpoint แนวล่างที่ดีที่สุดของ Cantus firmus แนวบนที่


กำหนดให้

ก.

ข.

ค.

ง.

249. ข้อใดเป็ น Counterpoint แนวบนที่ดีที่สุด

ก.

ข.

ค.
ง.

250. ข้อใดเป็ น Counterpoint แนวบนที่ดีที่สุด

ก.

ข.

ค.

ง.

251. เครื่องดนตรีชนิดใดจัดอยู่ในประเภทเครื่องลมทองเหลือง
ก. Trombone ข. Clarinet
ค. Flute ง. Oboe

252. เครื่องดนตรีชนิดใดจัดอยู่ในประเภทเครื่องลมไม้
ก. Tuba ข. Trumpet
ค. Horn ง. Piccolo

253. Fagotto หมายถึงเครื่องดนตรีชนิดใด


ก. Flute ข. French horn
ค. Bassoon ง. Viola

254. Trombe หมายถึงเครื่องดนตรีชนิดใด


ก. Trumpet ข. Tremolo
ค. Trombone ง. Tambourine
255. เครื่องดนตรีชนิดใดไม่เข้าพวก
ก. Vibraphone ข. Xylophone
ค. Marimba ง. Sousaphone

256. เครื่องดนตรีชนิดใดไม่เข้าพวก
ก. Violin ข. Guitar
ค. Lute ง. Sitar

257. เครื่องดนตรีชนิดใดไม่เข้าพวก
ก. Timpani ข. Cymbals
ค. Triangle ง. Clockenspiel

258. เครื่องดนตรีชนิดใดไม่เข้าพวก
ก. Clarinet ข. Saxophnoe
ค. Castanets ง. Celesta

259. เครื่องดนตรีชนิดใดไม่เข้าพวก
ก. English horn ข. French horn
ค. Trumpet ง. Trombone
260. เครื่องดนตรีชนิดใดไม่เข้าพวก
ก. harp ข. Guitar
ค. Piano ง. Organ

261. เครื่องดนตรีชนิดใดเป็ นเครื่องดนตรีทดเสียง


ก. Clarinet ข. Bassoon
ค. Oboe ง. Trombone

262. เครื่องดนตรีชนิดใดมีระดับเสียงต่ำกว่าโน้ตที่เขียนเป็ นคู่ 5 เพอร์เฟค


ก. Trumpet ข. French horn
ค. Trombone ง. Bassoon

263. เครื่องดนตรีชนิดใดมีช่วงเสียงกว้างที่สุด
ก. Cello ข. Flute
ค. Violin ง. Clarinet

264. เครื่องดนตรีชนิดใดมีระดับเสียงต่ำที่สุด
ก. Tuba ข. Double bass
ค. Bassoon ง. Trombone

265. สายใดเป็ นสายต่ำสุดของไวโอลิน


ก. สาย G ข. สาย A
ค. สาย D ง. สาย E
266. เครื่องดนตรีชนิดใดไม่รวมอยู่ในกลุ่ม Woodwind quintet
ก. Clarinet ข. Flute
ค. French horn ง. Turmpet

267. วงดนตรีที่ประกอบด้วยเครื่องดนตรี 6 ชิน


้ เรียกว่าอะไร
ก. Trio ข. Sextet
ค. Quinter ง. Septet

268. String quartet ประกอบด้วยกลุ่มเครื่องดนตรีใด


ก. ไวโอลิน 2 คัน วิโอลา เชลโล ข. ไวโอลิน วิโอลา 2 คัน เชลโล
ค. ไวโอลิน วิโอลา เชลโล 2 คัน ง. ไวโอลิน วิโอลา เชลโล ดับเบิลเบส

269. วงดนตรีชนิดใดประกอบด้วยเปี ยโน ไวโอลิน 2 คัน วิโอลา และเชลโล


ก. Piano quartet ข. Piano quintet
ค. String quintet ง. String combo

270. วงดนตรีชนิดใดไม่เข้าพวก
ก. String orchestra ข. Brass band
ค. Symphony orchestra ง. Woodwind quintet

271. ข้อใดไม่ใช่สังคีตลักษณ์สามตอน
ก. Rounded binary form ข. Composite ternary form
ค. ABA form ง. Song form

272. เป็ นโครงสร้างของสังคีตลักษณ์ใด


ก. Rounded binary ข. Simple binary
ค. Rounded ternary ง. Simple ternary

273. สังคีตลักษณ์โซนาตา พัฒนามาจากสังคีตลักษณ์ใด


ก. Rounded binary ข. Simple binary
ค. Rounded ternary ง. Simple ternary

274. สังคีตลักษณ์รอนโด พัฒนามาจากสังคีตลักษณ์ใด


ก. Rounded binary ข. Simple binary
ค. Rounded ternary ง. Simple ternary

275. สังคีตลักษณ์ใดไม่มีแนวคิดในเรื่องการกลับมาของทำนองหลัก
ก. Simple ternary ข. Simple binary
ค. Sonata ง. Rondo

276. ข้อใดไม่ใช่โครงสร้างของสังคีตลักษณ์รอนโด
ก. ABBA ข. ABACADA
ค. ABACA ง. ABACABA

277. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของเพลงที่อยู่ในสังคีตลักษณ์รอนโด
ก. ทำนองหลักอยู่ในกุญแจเสียงโทนิก ข. เป็ นท่อนสุดท้ายของคอนแชร์โต
ค. มีชีวิตชีวา ง. อยู่ในอัตราช้า
278. ในสังคีตลักษณ์โซนาตา ถ้าทำนองหลักที่หนึ่งอยู่ในกุญแจเสียง G เมเจอร์
ทำนองหลักที่สองในตอนนำเสนอ ( Exposition ) มักอยู่ในกุญแจเสียง
ใด
ก. G เมเจอร์ ข. D เมเจอร์
ค. G ไมเนอร์ ง. D ไมเนอร์

279. ในสังคีตลักษณ์โซนาตา ตอนนำเสนอและตอนย้อนความ ( Recapitulation )


แตกต่างกันในแง่ใด
ก. ความยาว ข. ทำนองหลัก
ค. กุญแจเสียง ง. การพัฒนาจังหวะ

280. ข้อใดหมายถึง หน่วยย่อยสำคัญที่เล็กที่สุดของทำนอง


ก. Motif ข. Phrase
ค. Melody ง. Period

281. ข้อใดหมายถึง ประโยคเพลง 2 ประโยคที่มีความสัมพันธ์กัน


ก. Sentence ข. Motif
ค. Period ง. Phrase group

282. ช่วงใดไม่ปรากฏในสังคีตลักษณ์โซนาตินา
ก. Transition ข. Development
ค. Recapitulation ง. Exposition

283. สังคีตลักษณ์โซนาตินา เป็ นส่วนย่อของสังคีตลักษณ์ใด


ก. Rondo ข. Sonata
ค. Ternary ง. Binary

284. ช่วงใดเป็ นส่วนท้ายสุดของเพลง


ก. Recapitulation ข. Bridge
ค. Retransition ง. Coda

285. ช่วงใดไม่มีหน้าที่เชื่อมส่วนสำคัญ
ก. Codetta ข. Link
ค. Transition ง. Bridge

286. การเกิด Dominant prolongation มักพบในช่วงใดมากที่สุด


ก. Introduction ข. Development
ค. Retransition ง. Conclusion

287. หลักจากการเกิด Dominant prolongation มักพบคอร์ดใดในกุญแจเสียงใด


ก. คอร์ด I ในกุญแจเสียงโดมินันท์ ข. คอร์ด I ในกุญแจเสียงโทนิก
ค. คอร์อ V ในกุญแจเสียงโดมินันท์ ง. คอร์ด V ในกุญเจเสียงโทนิก

288. ช่วงเดี่ยวเครื่องดนตรีในเพลงประเภทคอนแชร์โต มีบทบาทอย่างไร


ก. เป็ นช่วงขยายโดมินันท์ ข. เป็ นช่วงขยายโทนิก
ค. เป็ นจุดย้ำกุญแจเสียงเดิม ง. เป็ นจัดย้ำกุญแจเสียงใหม่

289. ข้อใดหมายถึง ช่วงเดี่ยวเครื่องดนตรีในเพลงประเภทคอนแชร์โต


ก. Cantata ข. Canzona
ค. Cadenza ง. Cantus

290. Double exposition เกิดขึน


้ ในเพลงประเภทใด
ก. Sonata ข. Symphone
ค. String quartet ง. Concerto

291. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคที่มีการช้ำทำนอง
ก. Repetition ข. Imitation
ค. Sequence ง. Modulation

292. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับกุญแจเสียง
ก. Augmentation ข. Transposition
ค. Modulation ง. Tonicization

293. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการแปรทำนอง
ก. Variation ข. Prolongation
ค. Embellishment ง. Diminution

294. ช่วงใดในฟิ วก์ที่ไม่มีทำนองเอกปรากฏอยู่


ก. Episode ข. Exposition
ค. Middle entry ง. Final entry

295. ทำนองเอกตอบในฟิ วก์ที่มีระยะห่างจากทำนองเอกเป็ นคู่ 5 เพอร์เฟคทุกตัว


เรียกว่าอะไร
ก. Tonic answer ข. Real answer
ค. Tonal answer ง. Dominant answer

296. ปรากฏการณ์ใดที่โน้ตตัวสุดท้ายของประโยคแรกเป็ นโน้ตตัวเดียวกับโน้ตตัว


แรกของประโยคถัดไป
ก. Phrase elision ข. Phrase grouping
ค. Phrase overlapping ง. Phrase exchange

297. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ Double fugue


ก. มี Exposition 2 ครัง้ ข. มี Episode 2 ครัง้
ค. มี Modulation 2 ครัง้ ง. มี Subject 2 ครัง้

298. ข้อใดเป็ นข้อแตกต่างสำคัญระหว่างตอน Exposition และ Recapitulation


ในสังคัตลักษณ์โซนาตา
ก. ความยาว ข. การพัฒนาในส่วนเชื่อม
ค. กุญแจเสียงอขงทำนองหลักที่หนึ่ง ง. กุญแจเสียงของทำนองหลักที่สอง

rd
299. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ Picardie 3
ก. เป็ นคอร์ด V ที่ถูกปรับ ข. นิยมในยุคบาโรก
ค. เป็ นคอร์ดสุดท้ายของเพลง ง. มักพบในเพลงที่อยู่ในกุญแจเสียง
ไมเนอร์

300. นักแต่งเพลงคนใดใช้เทคนิค Motivic development ได้ดีที่สุด


ก. Haydn ข. Mozart
ค. Schubert ง. Beethoven
ตัวอย่างเพลงหมายเลข 1 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 301-305

301. เพลงนีน
้ ่าจะแต่งในยุคใด
ก. คลาสสิกตอนต้น ข. คลาสสิกตอนปลาย
ค. โรแมนติกตอนต้น ง. โรแมนติกตอนปลาย

302. ช่วงที่ตัดตอนมานีม
้ ีเนื้อดนตรีแบบใด
ก. Homophony ข. Dodecaphony
ค. Heterophony ง. Monophony

303. โน้ตตัวใดถูกเน้นเป็ นพิเศษ


ก. ซับโดมินันท์ ข. โดมินันท์
ค. ซับโทนิก ง. โทนิก

304. โน้ตสามพยางค์ในห้องที่ 2 และ 4 มีค่าเท่ากับโน้ตตัวใด


ก. โน้ตตัวกลม ข. โน้ตตัวดำ
ค. โน้ตตัวขาว ง. โน้ตเขบ็ตหนึ่งชัน

305. ช่วงที่ตัดตอนมานีม
้ ีช่วงเสียงกว้างเท่าใด
ก. 1 ช่วงคู่แปด ข. 2 ช่วงคู่แปด
ค. 3 ช่วงคูแ
่ ปด ง. 4 ช่วงคู่แปด

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 2 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 306-310

306. เทคนิคใดเป็ นเทคนิคสำคัญของเพลงนี ้


ก. Serialism ข. Chromaticism
ค. Diatonicism ง. Pandiatonicism

307. ทำนองหลักอยู่ในแนวใด
ก. คลาริเน็ต ข. โอโบ
ค. เชลโล ง. บาสซูน

308. ทำนองหลักจบในห้องใด
ก. 36 ข. 37
ค. 38 ง. 40

309. เครื่องดนตรีชนิดใดไม่ปรากฏในเพลงนี ้
ก. อิงลิชฮอร์น ข. ฮาร์ปซิคอร์ด
ค. ฮาร์ป ง. ฮอร์น

310. ใครน่าจะเป็ นผู้แต่งเพลงนี ้


ก. Vivaldi ข. Brahms
ค. Haydn ง. Schoenberg

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 3 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 311-315


311. เพลงนีเ้ ป็ นผลงานประเภทใด
ก. Woodwing sextet ข. String sextet
ค. Piano quintet ง. Brass quintet

312. เทคนิคใดไม่พบในที่นี ้
ก. Inversion ข. Sequence
ค. Repetition ง. Transformation

313. Perfect authentic cadence พบในห้องใด


ก. 23-24 ข. 25-26
ค. 28-29 ง. 29-30

314. การเน้นเสียงในห้องที่ 26, 27, 28, 30 ทำให้เกิดปรากฎการณ์ใด


ก. Hemiola ข. Syncopation
ค. Anacrusis ง. Punctuation
315. เทคนิคใดทำให้ประโยคเพลงนีดำ
้ เนินไปข้างหน้าเร็วขึน

ก. Diminution ข. Augmentation
ค. Fragmentation ง. Compression

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 4 ใช้ตอบคำถามที่ 316-320

316. m.d. ในห้องที่ 127 หมายถึงอะไร


ก. ให้ใช้มือซ้าย ข. ให้ใช้มือขวา
ค. ให้เล่นไขว้มือ ง. ให้ใช้มือเดียว
317. ช่วงที่ตัดตอนมานีม
้ ีช่วงเสียงกว้างเท่าใด
ก. 3 ช่วงคู่แปด + คู่ 6 ไมเนอร์ ข. 4 ช่วงคู่แปด + คู่ 6 ไมเนอร์
ค. 4 ช่วงคูแ
่ ปด + คู่ 6 เมเจอร์ ง. 5 ช่วงคู่แปด + คู่ 6 เมเจอร์

318. เครื่องหมายขีด 3 เส้นระหว่างตัวโน้ต หมายถึงอะไร


ก. ให้โน้ตคู่แรกมีค่าเท่ากับโน้ตเขบ็ตสามชัน

ข. ให้โน้ตคู่หลังมีค่าเท่ากับโน้ตเขบ็ตสามชัน

ค. ให้เล่นโน้ต 2 คู่สลับไปมาอย่างรวดเร็วเท่ากับโน้ตเขบ็ตสามชัน

ง. ให้เล่นโน้ตตัวแรกซ้ำๆ เท่ากับจำนวนโน้ตเขบ็ตสามชัน

319. ช่วงนีน
้ ่าจะอยู่ในอัตราจังหวะใด
ก. 6/8 ข. 9/8
ค. 6/16 ง. 9/16

320. ใครน่าจะเป็ นผู้แต่งเพลงนี ้


ก. Sciabin ข. Mozart
ค. Tchaikovsky ง. Schumann

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 5 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 321-325


321. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับช่วงที่ตัดตอนมานี ้
ก. C# ไมเนอร์ ข. Fugue
ค. Stretto ง. Modulation

322. เนื้อดนตรีเป็ นแบบใด


ก. Heterophony ข. Monophony
ค. Homophony ง. Polyphony

323. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับอัตราจังหวะนี ้
ก. โน้ตตัวขาวเท่ากับ 1 จังหวะ ข. โน้ตตัวขาวเท่ากับ 2 จังหวะ
ค. โน้ตตัวขาวเท่ากับ 4 จังหวะ ง. โน้ตตัวขาวเท่ากับครึ่งจังหวะ

324. ทำนองหลักยาวกี่ห้อง
ก. 2 ข. 3
ค. 4 ง. 5
325. ใครน่าจะเป็ นผู้แต่งเพลงนี ้
ก. Corelli ข. Liszt
ค. Beethoven ง. Mahler

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 6 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 326-330

326. เครื่องดนตรีชนิดใดไม่ปรากฎในที่นี ้
ก. เชลโล ข. บาสซูน
ค. ออร์แกน ง. คลาริเน็ต

327. ช่วงนีอ
้ ยู่ในกุญแจเสียงใด
ก. A ไมเนอร์ ข. A เมเจอร์
ค. C ไมเนอร์ ง. C เมเจอร์

328. ในกลุ่มเครื่องดนตรีประกอบด้วยแนวที่ต่างกันทัง้ สิน


้ กี่แนวเสียง
ก. 3 ข. 4
ค. 5 ง. 7

329. เครื่องดนตรีแนวใดใช้กุญแจรูปเดิมเป็ นกุญแจโซปราโน


ก. ไวโอลิน I ข. ไวโอลิน II
ค. วิโอลา I ง. วิโอลา II

330. ใครน่าจะเป็ นผู้แต่งเพลงนี ้


ก. Bach ข. Franck
ค. Haydn ง. Ockeghem

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 7 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 331-335

331. Singstimme หมายถึงอะไร


ก. แนวประาน ข. แนวดนตรี
ค. แนวร้อง ง. แนวพูด

332. ประโยคแรกจบบนจังหวะที่ 1 ของห้องใด


ก. 2 ข. 3
ค. 4 ง. 5

333. ในห้องที่ 2 คอร์ดสุดท้ายที่มีโน้ตเบสเป็ น E# คือคอร์ดใด


ก. ข.
ค. ง.

334. เคเดนซ์ที่พบเป็ นเคเดนซ์ชนิดใด


ก. Half ข. Authentic
ค. Deceptive ง. Plagal

335. เพลงนีเ้ ป็ นผลงานประเภทใด


ก. Lied ข. Mass
ค. Opera ง. Motet
ตัวอย่างเพลงหมายเลข 8 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 336-340

336. ทำนองสำคัญที่โต้ตอบกันอยู่ในแนวใด
ก. ไวโอลิน I, ไวโอลิน II ข. ไวโอลิน II, วิโอลา
ค. ไวโอลิน I, เชลโล ง. ไวโอลิน II, เชลโล

337. ในห้องแรก คอร์ดสำคัญคือคอร์ดใด


ก. G ข. Gm
ค. Bb ง. Cm

338. ช่วงนีน
้ ่าจะเป็ นจุดเริ่มต้นของตอนใด
ก. ตอนพัฒนา ข. ตอนนำเสนอ
ค. ตอนย้อนความ ง. ตอน A

339. แนวใดมีเนื้อดนตรีหนาแน่นที่สุด
ก. วิโอลา ข. เชลโล
ค. ไวโอลิน I ง. ไวโอลิน II
340. เพลงนีเ้ ป็ นผลงานประเภทใด
ก. String trio ข. Trio sonata
ค. String quartet ง. Wodwind quartet

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 9 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 341-345

341. a2 หมายถึงอะไร
ก. ทัง้ 2 เครื่องเล่นแนวเดียวกัน ข. ทัง้ 2 เครื่องหยุดเล่น
ค. เครื่องที่ 1 เล่นแนวนัน
้ ง. เครื่องที่ 2 เล่นแนวนัน

342. เครื่องลมทองเหลืองที่พบในช่วงนีเ้ ป็ นชนิดใด


ก. ทรัมเป็ ต ข. ทรอมโบน
ค. ฮอร์น, ทรอมโบน ง. ทรัมเป็ ต, ทรอมโบน

343. ระยะขัน
้ คู่ใดกว้างที่สุดระหว่าง 2 แนวบน
ก. A8 ข. A11
ค. P12 ง. P15

344. ระยะขัน
้ คู่ใดแคบที่สุดระหว่าง 2 แนวบน
ก. m3 ข. P4
ค. M6 ง. m7

345. แนวล่างสุดเป็ นแนวของเครื่องดนตรีชนิดใด


ก. ไวโอลิน ข. ดับเบิลเบส
ค. เชลโล ง. วิโอลา

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 10 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 346-350


346. เพลงนีเ้ ป็ นเพลงสำหรับวงประเภทใด
ก. วงสตริงควอร์เท็ต ข. วงเครื่องลมไม้
ค. วงนักร้องประสานเสียงสี่แนว ง. วงนักร้องประสานเสียงหญิงล้วน

347. เพลงนีน
้ ่าจะแต่งในยุคใด
ก. คลาสสิก ข. บาโรก
ค. โรแมนติก ง. เรอเนสซองส์

348. เพลงนีเ้ ป็ นเพลงประเภทใด


ก. Mass ข. Round
ค. Motet ง. Canon

349. เนื้อร้องเป็ นภาษาอะไร


ก. ละติน ข. ฝรั่งเศส
ค. อิตาลี ง. สเปน
350. แนวใดมีระดับเสียงต่ำกว่าโน้ตที่เขียนเท่ากับ 1 ช่วงคู่แปด
ก. เบส ข. โซปราโน
ค. อัลโต ง. เทเนอร์

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 11 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 351-355

351. แนวร้องในลักษณะนีเ้ รียกว่าอะไร


ก. Aria ข. Arietta
ค. Sprechstimme ง. Recitative

352. ช่วงนีอ
้ ยู่ในกุญแจเสียงใด
ก. Eb เมเจอร์ ข. Eb ไมเนอร์
ค. C เมเจอร์ ง. C ไมเนอร์

353. โน้ต Db ทำให้เกิดคอร์ดใด


ก. Sccondary dominant ข. Neapolitan
ค. Augmented sixth ง. Dominant seventh

354. ช่วงนีจ
้ บด้วยเคเดนซ์ชนิดใด
ก. Half ข. Plagal
ค. Imperfect authentic ง. Perfect authentic

355. ใครน่าจะเป็ นผู้แต่งเพลงนี ้


ก. Josquin des Prez ข. Gluck
ค. Schumann ง. Rachmaninov

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 12 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 356-360


356. Trio sonata บทนีป
้ ระกอบด้วยเครื่องดนตรีกี่ชน
ิ้
ก. 2 ข. 3
ค. 4 ง. 5

357. ใครน่าจะเป็ นผู้แต่งเพลงนี ้


ก. Corelli ข. Beethoven
ค. Chopin ง. Schubert

358. สิ่งใดไม่ปรากฎในเพลงนี ้
ก. Continuo ข. Figured bass
ค. Tonality ง. Cadenza

359. อัตราจังหวะนีจ
้ ัดอยู่ในประเภทใด
ก. Compound duple ข. Compound quadruple
ค. Simple duple ง. Simple quadruple

360. ช่วงนีเ้ ริ่มด้วยกุญแจเสียงใด และจบด้วยกุญแจเสียงใด


ก. B ไมเนอร์, A เมเจอร์ ข. D เมเจอร์, A ไมเนอร์
ค. A เมเจอร์, D เมเจอร์ ง. D เมเจอร์, A เมเจอร์
ตัวอย่างเพลงหมายเลข 13 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 361-365
361. เครื่องดนตรีชนิดใดไม่ปรากฎในที่นี ้
ก. ทรัมเป็ ต ข. ทรอมโบน
ค. ฮอร์น ง. บาสซูน

362. เพลงนีเ้ ป็ นผลงานประเภทใด


ก. Symphony ข. Concerto
ค. Opera ง. Oratorio

363. zu2 หมายถึงอะไร


ก. ทัง้ 2 เครื่องเล่นแนวเดียวกัน ข. ทัง้ 2 เครื่องหยุดเล่น
ค. เครื่องที่ 1 เล่นแนวนัน
้ ง. เครื่องที่ 2 เล่นแนวนัน

364. Timpani in Es-B หมายถึง ให้ปรับระดับเสียงเท่ากับโน้ตตัวใด


ก. Eb-B ข. Eb-Bb
ค. E-B ง. E-Bb

365. เครื่องดนตรีกลุ่มใดในที่นต
ี ้ ้องทดเสียง
ก. ฮอร์น คลาริเน็ต ข. วิโอลา ฮอร์น
ค. ดับเบิลเบส โอโบ ง. คลาริเน็ต บาสซูน
ตัวอย่างเพลงหมายเลข 14 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 366-370

366. เทคนิคใดไม่พบในที่นี ้
ก. Polyrhythm ข. Syncopation
ค. Prolongation ง. Chromaticism

367. คอร์ดใดไม่พบในที่นี ้
ก. Cm ข. Gm
ค. Bb7 ง. F# ํ

368. poco a poco หมายถึงอะไร


ก. อย่างรวดเร็ว ข. อย่างรุนแรง
ค. อย่างค่อยเป็ นค่อยไป ง. อย่างฉับพลัน

369. ช่วงที่ตัดตอนมานีเ้ ล่นโดยกลุ่มเครื่องดนตรีใด


ก. เครื่องลมทองเหลือง ข. เครื่องลมไม้
ค. เครื่องตี ง. เครื่องสาย

370. เพลงนีน
้ ่าจะแต่งในยุคใด
ก. คลาสสิก ข. โรแมนติก
ค. เรอเนสซองส์ ง. บาโรก

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 15 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 371-375

371. ใครน่าจะเป็ นผู้แต่งซิมโฟนีบทนี ้


ก. Stravinsky ข. Mahler
ค. Webern ง. Schoenberg

372. m.Dpf. หมายถึงอะไร


ก. With mute ข. Without mute
ค. With bow ง. Without bow

373. Gg. หมายถึงอะไร


ก. คีย์บอร์ด ข. เชลโล
ค. วิโอลา ง. ไวโอลิน

374. Br. หมายถึงอะไร


ก. คีย์บอร์ด ข. เชลโล
ค. วิโอลา ง. ไวโอลิน

375. เทคนิคใดเป็ นเทคนิคสำคัญของเพลงนี ้

ก. Diatonicism ข. Serialism

ค. Pandiatonicism ง. Chromaticism

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 16 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 376-380


376. เพลงนีเ้ ป็ นผลงานประเภทใด

ก. Violin duet ข. Violin concerto

ค. Piano sonata ง. Piano concerto

377. ผลงานชิน
้ นีม
้ ีช่ อ
ื เล่นว่าอะไร

ก. Tempest ข. Waldstein

ค. Moonlight ง. Appassionata

378. ใครน่าจะเป็ นผู้แต่งเพลงนี ้

ก. Bach ข. Beethoven

ค. Prokofiev ง. Chopin

379. เพลงนีอ
้ ยู่ในกุญแจเสียงใด

ก. F ไมเนอร์ ข. F เมเจอร์

ค. D ไมเนอร์ ง. D เมเจอร์

380. คอร์ดสุดท้ายในห้องที่ 12 น่าจะเป็ นจุดเปลี่ยนไปกุญแจเสียงใด

ก. A ข. B
ค. C ง. D

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 17 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 381-385


381. ช่วงนีเ้ ริ่มจากกุญแจเสียงใดและเปลี่ยนไปยังกุญแจเสียงใด

ก. Db, Abm ข. Db, Ab

ค. Dbm, Abm ง. Dbm, Ab

382. ประโยคแรกจบในห้องใด

ก. 83 ข. 85

ค. 87 ง. 91
383. โน้ตตัวใดทำหน้าที่เป็ น Drone

ก. Bb ข. C

ค. Db ง. Eb

384. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ Trio ในที่นี ้

ก. เป็ นช่วงที่คู่กับ Minuet ข. เป็ นช่วงที่มีเนื้อดนตรีเบาบาง

ค. เป็ นช่วงที่อยู่ในสังคีตลักษณ์สองตอน ง. เป็ นช่วงที่ใช้นักดนตรี 3 คนเล่น 4 แนว

385. การย้ำเคเดนซ์ในกุญแจเสียง Ab เมเจอร์เกิดขึน


้ กี่ครัง้

ก. 1 ข. 2

ค. 3 ง. 4

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 18 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 386-390

386. ผลงานในลักษณะนีน
้ ่าจะเป็ นผลงานประเภทใด

ก. Chanson ข. Lied
ค. Chorus ง. Trio sonata

387. เพลงนีม
้ ีเสียงของโมดใด

ก. Major mode ข. Minor mode

ค. Dorian mode ง. Phrygian mode

388. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับเพลงน้ี

ก. Polyphony ข. Counterpoint

ค. Modality ง. Tonality

389. เนื้อร้องเป็ นภาษาอะไร

ก. ละติน ข. ฝรั่งเศส

ค. เยอรมัน ง. อิตาลี

390. ใครน่าจะเป็ นผู้แต่งเพลงนี ้

ก. Handel ข. Ockeghem

ค. Torelli ง. Bach

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 19 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 391-395


391. กุญแจโซแฝดในแนวเทเนอร์หมายถึงอะไร

ก. ให้อ่านโน้ตพร้อมกัน 2 แนว ข. ให้อ่านโน้ตเหมือนกุญแจเทเนอร์

ค. ให้อ่านโน้ตสูงขึน
้ 1 ช่วงคู่แปด ง. ให้อ่านโน้ตต่ำลง 1 ช่วงคูแ
่ ปด

392. แนวใดมีการเคลื่อนทำนอนแบบขนาน

ก. Cantus, Quintus ข. Sextus, Quintus

ค. Cantus, Altus ง. Sextus, Altus

393. ผลงานในลักษณะนีน
้ ่าจะเป็ นผลงานประเภทใด

ก. Chanson ข. Mass

ค. Motet ง. Madrigal
394. แนวใดมีโน้ตที่มีระดับเสียงสูงสุด

ก. Cantus ข. Quintus

ค. Altus ง. Sextus

395. ใครน่าจะเป็ นผู้แต่งเพลงนี ้

ก. Bach ข. Perotin

ค. Ockeghem ง. Wilbye

ตัวอย่างเพลงหมายเลข 20 ใช้ตอบคำถามข้อที่ 396-400


396. เพลงนีเ้ ป็ นผลงานประเภทใด

ก. Piano concerto ข. Trumpet concerto

ค. Symphony ง. Symphonic poem

397. คอร์ดสุดท้ายก่อนเริ่ม Cadenza คือคอร์ดใด

ก. ข.

ค. ง.

398. ช่วงใดไม่ปรากฎในโน้ตเพลงที่ตัดตอนมา

ก. ช่วงเดี่ยวเครื่องดนตรี ข. ช่วงหยุดของวงดนตรี

ค. ช่วงหางเพลง ง. ช่วงโหมโรง

399. คำว่า Cadenza มาจากคำว่าอะไร

ก. Senza ข. Cadence

ค. Ritardando ง. Cedendo

400. ใน 4 ห้องสุดท้ายใช้เทคนิคอะไร

ก. Sequence ข. Fragmentation

ค. Repetition ง. Motivic development


เฉลยคำตอบ หลักสูตร นายสิบอาวุโส เหล่าดุริยางค์
1. ค 11. ก 21. ง 31. ก 41. ข 51. ง
2. ข 12. ง 22. ก 32. ง 42. ค 52. ง
3. ข 13. ก 23. ข 33. ข 43. ก 53. ก
4. ก 14. ง 24. ค 34. ค 44. ง 54. ข
5. ค 15. ข 25. ค 35. ก 45. ข 55. ค
6. ง 16. ค 26. ข 36. ค 46. ข 56. ก
7. ก 17. ง 27. ง 37. ข 47. ค 57. ค
8. ค 18. ค 28. ค 38. ก 48. ง 58. ง
9. ค 19. ง 29. ก 39. ค 49. ก 59. ค
10. ข 20. ก 30. ก 40. ง 50. ข 60. ก
61. ข 71. ก 81. ง 91. ข 101. ก
111. ก
62. ข 72. ค 82. ค 92. ข 102. ค 112. ข
63. ก 73. ข 83. ค 93. ค 103. ข 113. ข
64. ข 74. ก 84. ข 94. ข 104. ง 114. ก
65. ง 75. ค 85. ง 95. ค 105. ก 115. ค
66. ค 76. ข 86. ก 96. ง 106. ก 116. ก
67. ก 77. ค 87. ก 97. ก 107. ค 117. ค
68. ค 78. ข 88. ข 98. ข 108. ง 118. ข
69. ข 79. ง 89. ค 99. ก 109. ค 119. ค
70. ง 80. ก 90. ก 100. ค 110. ง 120. ค

121. ง 131. ง 141. ง 151. ค 161. ค


171. ข
122. ก 132. ข 142. ค 152. ค 162. ข
172. ก
123. ข 133. ข 143. ข 153. ก 163. ง
173. ข
124. ง 134. ค 144. ก 154. ก 164. ค
174. ง
125. ค 135. ค 145. ข 155. ข 165. ก
175. ข
126. ข 136. ค 146. ง 156. ง 166. ข
176. ก
127. ง 137. ก 147. ก 157. ข 167. ค
177. ง
128. ค 138. ง 148. ค 158. ค 168. ข
178. ข
129. ง 139. ข 149. ง 159. ง 169. ง
179. ค
130. ก 140. ก 150. ก 160. ก 170. ง
180. ก

181. ก 191. ง 201. ค 211. ข 221. ก


231. ง
182. ค 192. ก 202. ข 212. ก 222. ค
232. ก
183. ค 193. ข 203. ข 213. ก 223. ข
233. ข
184. ก 194. ค 204. ก 214. ข 224. ง
234. ก
185. ค 195. ก 205. ค 215. ค 225. ค
235. ข
186. ก 196. ก 206. ง 216. ง 226. ง
236. ข
187. ข 197. ง 207. ง 217. ค 227. ค
237. ค
188. ค 198. ง 208. ก 218. ง 228. ค
238. ง
189. ค 199. ก 209. ข 219. ก 229. ข
239. ข
190. ง 200. ข 210. ข 220. ก 230. ง
240. ค

241. ก 251. ก 261. ก 271. ก 281. ค


291. ง
242. ง 252. ง 262. ข 272. ก 282. ข
292. ก
243. ค 253. ค 263. ก 273. ก 283. ข
293. ข
244. ค 254. ก 264. ข 274. ง 284. ง
294. ก
245. ค 255. ง 265. ก 275. ข 285. ก
295. ข
246. ค 256. ก 266. ง 276. ก 286. ค
296. ก
247. ง 257. ง 267. ข 277. ง 287. ข
297. ง
248. ค 258. ค 268. ก 278. ข 288. ก
298. ง
249. ก 259. ก 269. ข 279. ค 289. ค
299. ก
250. ข 260. ง 270. ค 280. ก 290. ง
300. ง

301. ก 311. ค 321. ค 331. ค 341. ก


351. ง
302. ง 312. ก 322. ง 332. ค 342. ง
352. ง
303. ง 313. ค 323. ก 333. ก 343. ข
353. ข
304. ข 314. ข 324. ค 334. ก 344. ข
354. ง
305. ข 315. ง 325. ค 335. ก 345. ง
355. ข
306. ก 316. ข 326. ง 336. ค 346. ค
356. ค
307. ค 317. ง 327. ก 337. ข 347. ง
357. ก
308. ค 318. ค 328. ข 338. ก 348. ค
358. ง
309. ข 319. ข 329. ค 339. ง 349. ก
359. ง
310. ง 320. ก 330. ก 340. ค 350. ง
360. ง

361. ข 371. ค 381. ข 391. ง


362. ก 372. ก 382. ข 392. ง
363. ก 373. ง 383. ค 393. ง
364. ข 374. ค 384. ง 394. ข
365. ก 375. ข 385. ง 395. ง
366. ก 376. ค 386. ก 396. ก
367. ข 377. ก 387. ค 397. ค
368. ค 378. ข 388. ง 398. ง
369. ง 379. ค 389. ข 399. ข
370. ข 380. ก 390. ข 400. ค

You might also like