Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

Atlas Copco

Mk5 Gateway Electronikon


คูมือผูใช
1. ขอมูลทั่วไป

โมดูล Mk5 Gateway ของ Electronikon

เลขที่เอกสาร : 9845 0187 00_TH


สิ่งที่เกี่ยวของ : ชุดอุปกรณที่ใชโมดูล Mk5 gateway ของ Elektronikon
หลักการทํางานเบื้องตน : –
คําแนะนําดานความปลอดภัย : ทั่วไป
จํานวนคนทีต
่ องการ : 1
เครื่องมือพิเศษ : –
วัสดุส้น
ิ เปลือง : –

2. ภาพรวมของเอกสาร
เอกสารนี้มีเนื้อหาครอบคลุมหัวขอตางๆ ดังตอไปนี้:
1. ขอมูลทั่วไป ....................................................................................................................................................................1
2. ภาพรวมของเอกสาร ........................................................................................................................................................1
3. คําประกาศเรื่องลิขสิทธิ์ ....................................................................................................................................................3
4. ขอมูลปจจุบน
ั และขอมูลเดิมของเอกสาร.............................................................................................................................3
5. ขอควรระวังดานความปลอดภัย..........................................................................................................................................4
5.1. ไอคอนความปลอดภัย .................................................................................................................................................4
5.2. ขอควรระวังดานความปลอดภัยในขณะที่ติดตั้ง ................................................................................................................4
5.3. ขอควรระวังดานความปลอดภัยในระหวางการใชงาน........................................................................................................5
5.4. ขอควรระวังดานความปลอดภัยในระหวางการบํารุงรักษาหรือการซอมแซม .........................................................................6
6. คํานํา .............................................................................................................................................................................7
7. การตั้งคาทางกายภาพ .....................................................................................................................................................7
7.1. Modbus และ/หรือ Profibus ในเครือขาย ......................................................................................................................7
7.2. โมดูล Gateway .........................................................................................................................................................7
8. การติดตั้งและการกําหนดคาซอฟตแวร ...............................................................................................................................8
8.1. โครงสรางโฟลเดอรเมนูที่แสดง ....................................................................................................................................8
8.1.1 โฟลเดอรหนาจอหลัก (Mainscreen) [ ].................................................................................................................8
8.1.2 โฟลเดอรการตั้งคาทั่วไป (General Settings) [ GE ] .................................................................................................8
8.1.3 โฟลเดอรคอมเพรสเซอร [ CP ]..............................................................................................................................13
9. คําอธิบายการแสดงผลของ Gateway..............................................................................................................................14
9.1. ไอคอน ....................................................................................................................................................................14
9.2. ไฟแสดง ..................................................................................................................................................................14
9.3. แปนพิมพ .................................................................................................................................................................14
9.4. รหัสผาน / รหัสเพื่อเขาสูระบบ ....................................................................................................................................15

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 1 จาก 22


1

10. การใช Modbus Protocol ..............................................................................................................................................16


10.1. ขอกําหนดเฉพาะของ Modbus ที่รองรับ ......................................................................................................................16
10.2. ฟงกช่น
ั Modbus ที่รองรับ .........................................................................................................................................16
10.3. รหัสฟงกช่น
ั - ชองขอมูล ............................................................................................................................................16
10.4. รหัสขอยกเวน ...........................................................................................................................................................17
10.5. ตัวอยาง ...................................................................................................................................................................17
10.5.1 ที่อยูขอมูลที่ไมอนุญาต .........................................................................................................................................17
10.5.2 แรงดันออกและสถานะแรงดันออก ..........................................................................................................................17
10.5.3 เปลี่ยนแปลงชวงแรงดันที่เปดใชงาน.......................................................................................................................18
10.5.4 สตารทเครื่องจักร..................................................................................................................................................18
11. การใช Profibus Protocol..............................................................................................................................................19
11.1. แนวคิดเรื่องมาสเตอร-สเลฟ .......................................................................................................................................19
11.2. โครงสรางของบัฟเฟอร ..............................................................................................................................................19
11.2.1 เฮดเดอร ..............................................................................................................................................................19
11.2.2 บันทึกของขอมูล ..................................................................................................................................................21
11.3. รหัสขอยกเวน ...........................................................................................................................................................21
11.4. ตัวอยาง ...................................................................................................................................................................22
11.4.1 ที่อยูขอมูลที่ไมอนุญาต .........................................................................................................................................22
11.4.2 แรงดันออกและสถานะแรงดันออก ..........................................................................................................................22
11.4.3 เปลี่ยนแปลงชวงแรงดันที่เปดใชงาน.......................................................................................................................22
11.4.4 สตารทเครื่องจักร..................................................................................................................................................22

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 2 จาก 22


1

3. คําประกาศเรื่องลิขสิทธิ์
หามใชหรือทําสําเนาเนื้อหานี้หรือสวนใดสวนหนึ่งของเนื้อหานี้โดยไมไดรบ
ั อนุญาต
ซึ่งบังคับใชเปนพิเศษกับเครื่องหมายการคา การกําหนดรุน หมายเลขอะไหล และภาพวาดแบบ

4. ขอมูลปจจุบันและขอมูลเดิมของเอกสาร

ฉบับที่ วันที่ คําอธิบาย ผูเขียน

00 29/11/2010 แกไขครั้งแรก CTE-KD

01 22/03/2011 ปรับปรุงเนื้อหาโดย Tine Lefebvre CTE-KD

02 10/05/2011 เปลี่ยนชื่ออุปกรณ ES เปน CRC ES CTE-KD

03 23/08/2011 รหัสผานของลูกคา / รหัสเพื่อเขาสูร ะบบ CTE-KD

04 23/08/2011 ปรับปรุงตามหมายเหตุจาก Guido Willems CTE-KD

05 01/09/2011 ตัวอยางที่เพิ่มเขามาสําหรับ Modbus และ Profibus CTE-KD

06 12/09/2011 ปรับปรุงตามหมายเหตุจาก SGS CTE-KD

07 11/04/2012 - เปลี่ยนแปลงจํานวนเครื่องจักร CTE-KD


- พารามิเตอรเครื่องจักร

08 24/05/2012 - พารามิเตอรเครื่องจักร CTE-KD


- รหัสขอยกเวนเพิ่มเติม

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 3 จาก 22


1

5. ขอควรระวังดานความปลอดภัย

5.1. ไอคอนความปลอดภัย

อันตรายตอชีวิต

คําเตือน

บันทึกยอที่สําคัญ

5.2. ขอควรระวังดานความปลอดภัยในขณะที่ตด
ิ ตัง

ผูผลิตจะไมรบ
ั ผิดชอบใดๆ ทัง้ หมดตอความเสียหายหรือการไดรบ
ั บาดเจ็บซึ่งเปนผลมาจากการละเลยคําเตือนเหลานี้
หรือเพิกเฉยตอขอควรระวังและการดูแลเอาใจใสเปนปกติในระหวางการติดตั้ง การทํางาน การบํารุงรักษาและการ
ซอมแซม แมไมไดระบุไวอยางชัดแจง

ขอควรระวังโดยทั่วไป
1. ผูปฏิบัติงานตองปฏิบัติตามหลักเกณฑดานความปลอดภัยในการทํางาน และอางอิงถึงขอกําหนดและกฎเกณฑดานความปลอดภัย
ในการทํางานที่เกี่ยวของทั้งหมด
2. หากมีขอความใดตอไปนี้ที่ไมสอดคลองกับขอกฎหมายที่นํามาใชบงั คับ ใหใชหลักเกณฑที่เขมงวดมากกวา
3. ตองใหเฉพาะเจาหนาที่ที่ไดรบ
ั อนุญาต ผานการฝกอบรมและมีความเชี่ยวชาญเทานั้นทําการติดตั้ง ใชงาน บํารุงรักษาและซอมแซม
4. กอนทําการบํารุงรักษา ซอมแซม ปรับเปลี่ยนหรือทํางานใดๆ ที่ไมใชก ารตรวจสอบที่ท ําเปนประจํา ให ปดเครื่อ งกอ น นอกจากนั้น
ตองเปดและล็อคสวิตชแยกกําลังไฟ

ขอควรระวังในระหวางการติดตัง

1. วางอุปกรณไวในอากาศภายนอกที่เย็นและสะอาดที่สุดเทาที่จะทําได
2. ในระหวางการติดตั้งหรือการขัดจังหวะการทํางานของเครือ ่ งใดเครื่องหนึ่งที่เชื่อมตออยู ตองปดเครื่อง คลายกําลังไฟ เปดและล็อค
สวิตชแยกกอนทําการบํารุงรักษาหรือซอมแซม และเพื่อเปนมาตรการปองกันเพิ่มเติม ผูปฏิบัติงานที่ควบคุมเครื่องจากระยะไกลจะตอ ง
ใชความระมัดระวังใหเพียงพอเพื่อตรวจสอบวา ไมมีใครกําลังตรวจสอบหรือใชเครื่องอยู และเพื่อใหผลดียิ่งขึ้น ควรติดปายประกาศที่
เหมาะสมบนเครื่องมือที่ใชสตารท
3. การตอไฟตองตรงกับรหัสในพื้นที่ ตองตอสายดินใหกับอุปกรณและปองกันการลัดวงจรโดยใชฟวสในทุกเฟส ตองติดตั้งสวิตชแยก
กําลังไฟแบบล็อคไดไวใกลๆ กับอุปกรณ
4. สําหรับเครื่องที่ควบคุมผานระบบควบคุมสวนกลาง ใหติดปายที่ระบุวา "เครื่องนี้อาจสตารทโดยไมมค
ี ําเตือน" ไวใกลๆ กับแผงอุปกรณ
5. ตองติดตั้งวาลวแบบปรับดวยมือไวเพื่อแยกแตละคอมเพรสเซอรสําหรับระบบคอมเพรสเซอรแบบหลายๆ ตัว ตองไมใชเฉพาะวาลว
ปองกันการยอนกลับ (เช็ควาลว) เพื่อแยกระบบแรงดัน
6. หามเคลื่อนยายหรือถอดประกอบอุปกรณนิรภัย

อางอิงถึงขอควรระวังดานความปลอดภัยดังตอไปนี้ดว ย: ขอควรระวังดานความปลอดภัยในระหวางการใชงาน
และขอ ควรระวัง ดานความปลอดภัยในระหวางการบํารุง รักษาและการซอมแซม ใชขอควรระวัง เหลานี้ก ับ
อุปกรณไฟฟา สําหรับขอควรระวังที่นํามาใชกับอุปกรณที่เชือ
่ มตอ ใหดท
ู ี่เอกสารคําแนะนําที่เกีย
่ วของ ขอควร
ระวัง บางอยางมีเนื้อหาทั่วๆ ไป และครอบคลุมเครื่อ งจัก รและเครื่อ งมือ หลายประเภท ดัง นั้น รายละเอีย ด
บางสวนอาจไมเกี่ยวของกับอุปกรณของคุณ

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 4 จาก 22


1

5.3. ขอควรระวังดานความปลอดภัยในระหวางการใชงาน
ขอควรระวังโดยทั่วไป
1. ผู  ปฏิ บั ต ิง านต อ งปฏิ บ ัต ิต ามหลัก เกณฑด  านความปลอดภั ยในการทํ างาน และอา งอิ งถึง ขอ กํ า หนดและกฎเกณฑ ด านความ
ปลอดภัยในการทํางานในพื้นที่ที่เกี่ยวของทั้งหมด
2. หากมีขอความใดตอไปนี้ที่ไมสอดคลองกับขอกฎหมายในพื้นที่ ใหใชหลักเกณฑที่เขมงวดมากกวา
3. ตองใหเฉพาะเจาหนาที่ที่ไดรบ
ั อนุญาต ผานการฝกอบรมและมีความเชี่ยวชาญเทานั้นทําการติดตั้ง ใชงาน บํารุงรักษาและซอมแซม
4. กอนทําการบํารุงรักษา ซอ มแซม ปรับเปลี่ยนหรือ ทํางานใดๆ ที่ไมใชก ารตรวจสอบที่ท ําเปนประจํา ให ปดเครื่องกอ น นอกจากนั้น
ตองเปดและล็อคสวิตชแยกกําลังไฟ

ขอควรระวังในขณะใชงานเครื่อง
1. ผูปฏิบต
ั งิ านทีค
่ วบคุมเครื่องจากระยะไกลจะตองใชความระมัดระวังใหเพียงพอเพื่อตรวจสอบวา ไมมใี ครกําลังตรวจสอบหรือใชเครื่องอยู
และเพื่อใหผลดียิ่งขึ้น ควรติดปายประกาศที่เหมาะสมบนเครื่องมือทีใ่ ชวิธส
ี ตารทเครื่องจากระยะไกล
2. หามใชเครื่องในบริเวณที่มีควัน ไอระเหยหรืออนุภาคที่ติดไฟหรือเปนพิษ
3. หามใชเครื่องต่ํากวาหรือสูงกวาคาพิกัดที่จํากัดไว
4. ป ดชอ งและแผงการทํ างานตา งๆ ทั้ง หมดบริ เ วณตั วเครื ่อ งในระหว า งการใชง าน อาจเป ด ชอ งต างๆ ได แคช  วงสั้ น ๆ เชน เพื่อ ทํ า
การตรวจสอบตามกําหนด ใสอุปกรณปอ  งกันเสียงดังในระหวางที่เปดชองเหลานั้นหากทําได
5. เจาหนาที่ที่อยูในสภาพแวดลอมหรือในหองที่มีระดับแรงดันเสียงที่หรือเกิน 90 dB(A) ควรสวมอุปกรณปอ
 งกันเสียงดัง
6. ตรวจสอบเปนประจําวา:
 ติดตั้งอุปกรณปอ
 งกันทั้งหมดไวในตําแหนงและยึดไวอยางแนนหนา
 ทอออนและ/หรือทอทั้งหมดภายในเครื่องตองอยูในสภาพที่ดี แนนหนาและไมติดขัด
 ไมมีรอยรั่วซึม
 อุปกรณยึดทั้งหมดตองแนน
 ขั้วไฟฟาทั้งหมดแนนหนาและอยูในลําดับที่ถก
ู ตอง
 วาลวนิรภัยและวาลวคลายแรงดันใดๆ ตองไมมส
ี ิ่งสกปรกหรือสีอด
ุ ตัน
 วาลวชองระบายอากาศและชองอากาศ เชน ทอ คลัปปง ทอรวม วาลว ทอออน ฯลฯ อยูในสภาพดี ไมมรี อ
 งรอยชํารุดหรือสึกหรอ
7. หามเคลื่อนยายหรือถอดประกอบอุปกรณนิรภัย

อางอิง ถึง ขอ ควรระวัง ดานความปลอดภัย ดัง ตอ ไปนี้ดวย: ขอ ควรระวัง ดานความปลอดภัย ในระหว า งการ
ติดตั้ง และขอควรระวังดานความปลอดภัยในระหวางการบํารุงรักษาหรือการซอมแซม ใชขอควรระวังเหลานี ้
กับอุปกรณไฟฟา สําหรับขอควรระวัง ที่นํามาใชกับอุปกรณที่เชื่อมตอ ใหดูท ี่เอกสารคําแนะนําที่เกี่ย วขอ ง
ข อ ควรระวั ง บางอย า งมี เ นื ้ อ หาทั ่ ว ๆ ไป และครอบคลุ ม เครื ่ อ งจั ก รและเครื ่ อ งมื อ หลายประเภท ดั ง นั ้ น
รายละเอียดบางสวนอาจไมเกี่ยวของกับอุปกรณของคุณ

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 5 จาก 22


1

5.4. ขอควรระวังดานความปลอดภัยในระหวางการบํารุงรักษาหรือการซอมแซม
ขอควรระวังโดยทั่วไป
1. ผูปฏิบัติงานตองปฏิบัติตามหลักเกณฑดานความปลอดภัยในการทํางาน และอางอิงถึงขอกําหนดและกฎเกณฑดานความปลอดภัย
ในการทํางานในพื้นที่ที่เกี่ยวของทัง้ หมด
2. หากมีขอความใดตอไปนี้ที่ไมสอดคลองกับขอกฎหมายในพื้นที่ ใหใชหลักเกณฑที่เขมงวดมากกวา
3. ตองใหเฉพาะเจาหนาที่ที่ไดรบ
ั อนุญาต ผานการฝกอบรมและมีความเชี่ยวชาญเทานั้นทําการติดตั้ง ใชงาน บํารุงรักษาและซอมแซม
4. กอนทําการบํารุงรักษา ซอมแซม ปรับเปลี่ยนหรือทํางานใดๆ ที่ไมใชก ารตรวจสอบที่ท ําเปนประจํา ให ปดเครื่อ งกอ น นอกจากนั้น
ตองเปดและล็อคสวิตชแยกกําลังไฟ

ขอควรระวังในระหวางการบํารุงรักษาหรือการซอมแซม
1. ใชเฉพาะเครื่องมือที่ถก
ู ตองสําหรับการบํารุงรักษาและการซอมแซม
2. ใชอะไหลแทเทานั้น
3. ควรติดปายเตือนที่แสดงขอ ความตางๆ เชน "กําลังทํางาน อยาสตารทเครื่อง" ไวบริเวณเครื่องที่ใชส ตารท รวมถึงเครื่อ งที่ส ตารท
จากระยะไกลทั้งหมด
4. ผูปฏิบต
ั งิ านทีค
่ วบคุมเครื่องจากระยะไกลจะตองใชความระมัดระวังใหเพียงพอเพือ ่ ตรวจสอบวา ไมมใี ครกําลังตรวจสอบหรือใชเครื่องอยู
และเพื่อใหผลดียิ่งขึ้น ควรติดปายประกาศที่เหมาะสมบนเครื่องมือทีใ่ ชวิธส
ี ตารทเครื่องจากระยะไกล
5. หามใชสารละลายโซลเวนทติดไฟหรือคารบอนเตตราคลอไรดทําความสะอาดชิ้นสวนตางๆ ใชขอควรระวังดานความปลอดภัยสําหรับ
ไอระเหยที่เปนพิษของน้ํายาทําความสะอาด
6. ตรวจสอบเรื่องความสะอาดใหถ่ถี วนในระหวางการบํารุงรักษาและการซอมแซม ขจัดสิ่งสกปรกดวยการคลุมชิ้นสวนและชองที่เปดโลง
ดวยผา กระดาษหรือเทปที่สะอาด
7. หามใชแหลงกําเนิดแสงที่มีเปลวไฟเพื่อตรวจสอบภายในอุปกรณ
8. ควรบํ า รุง รัก ษาอุ ปกรณน ิรภั ย และอุ ปกรณ ค วบคุมทั้ ง หมดเป นประจํ าเพื ่อ รั บประกัน ถึ งระบบการทํ างานที ่เ หมาะสม
อุปกรณเหลานี้ตองพรอมใชงานเสมอ
9. กอนลางอุปกรณเพื่อใชงานภายหลังจากการบํารุงรักษาหรือการซอมแซม ใหตรวจสอบแรงดันในการทํางาน รวมถึงการตั้งคาอุณหภูมิ
และเวลาที่ตองถูกตอง ตรวจสอบวาอุปกรณควบคุมและอุปกรณปด  ระบบทั้งหมดไดประกอบไวแลวและทํางานไดอยางถูกตอง
10. หามใชสารละลายโซลเวนทที่มีฤทธิ์กัดกรอนที่สามารถทําลายวัสดุของชองอากาศ

อางอิงถึงขอควรระวังดานความปลอดภัยดังตอไปนี้ดว ย: ขอควรระวังดานความปลอดภัยในระหวางการติดตั้ง
และขอ ควรระวัง ดานความปลอดภัย ในระหวางการใชง าน ใช ขอ ควรระวัง เหลานี้ก ับอุปกรณไฟฟา สําหรับ
ขอควรระวังที่นํามาใชกับอุปกรณที่เชือ
่ มตอ ใหดูที่เอกสารคําแนะนําที่เกี่ยวของ ขอควรระวังบางอยางมีเนื้อหา
ทั่วๆ ไป และครอบคลุมเครื่องจักรและเครื่องมือหลายประเภท ดังนั้นรายละเอียดบางสวนอาจไมเกี่ยวของกับ
อุปกรณของคุณ

ควรกําจัดตัวเครื่องและ/หรืออะไหลท ี่ใ ชง านแลวโดยคำนึง ถึง สภาพแวดลอ ม และในลักษณะที่ปลอดภัย


สอดคลองกับขอแนะนําและกฎหมายในพื้นที่

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 6 จาก 22


1

6. คํานํา
เอกสารนี้อธิบายวิธีใชการเชื่อมตอ Modbus และ/หรือ Profibus กับเครือขายชุดควบคุมคอมเพรสเซอร MkIV และ/หรือ Mk5 ของ Elektronikon

7. การตั้งคาทางกายภาพ

7.1. Modbus และ/หรือ Profibus ในเครือขาย


ในระบบ Elektronikon คอมเพรสเซอรทั้งหมดในงานติดตั้งจะเชื่อมตอกันผานเครือขายขอมูลและ/หรือเครือขายควบคุม และดําเนินการ
ตามคําแนะนําในการวางสายเคเ บิลเครือขายสําหรับคอมเพรสเซอร (Compressor Network Cabling) (9820 3585 00) คําแนะนํานี้จะ
อธิบายถึงขั้วตอ และสายเคเบิลที่ควรนํามาใชเพื่อเชื่อมตอคอมเพรสเซอร/ชุดควบคุมที่แตกตางกันภายในเครือขาย ซึ่งโดยพื้นฐานแลวนี่
คือเครือขายบน CAN
หากตองการตั้งคาการเชื่อมตอ Modbus และ/หรือ Profibus เขากับคอมเพรสเซอรหนึ่งเครื่องหรือหลายๆ เครื่องในเครือขายนี้ ผูปฏิบัติงาน
ตองติดตั้งโมดูลพิเศษลงในเครือขายนี้
โมดูลพิเศษนี้จะทําหนาที่เปนพร็อ กซี่ของ Modbus/Profibus ที่จ ะอนุญาตใหเขาถึงคอมเพรสเซอรทั้งหมดในเครือ ขาย ในขณะที่แตละ
คอมเพรสเซอรจะมีทอี่ ยู Modbus ของตัวเอง (เปนการทํางานแบบพร็อกซี)่
นอกจากนั้น โมดูลยังจะทําหนาที่เปนสะพานเพื่อเขาถึงขอมูลที่จัดเก็บอยูใน Object Dictionary ของโหนด CAN เพื่อการทํางานที่เหมาะสม
ตองกําหนด ID โหนดสเลฟใหกับโมดูลสะพานนี้ และจากมุมมองของมาสเตอร สะพานนี้จะทําหนาที่เปนหนทางเพื่อเขาถึงขอมูลตางๆ ของ
เครือขาย CANBUS
หมายเหตุ: ผูผลิต profibus สําหรับโมดูลตองจัดทําสิ่งที่เรียกวา "แผนขอมูลอิเล็กทรอนิกส" (Electronic Datasheet) หรือไฟล GSD ที่แสดงขนาดและ
ประเภทของขอมูลที่มีการแลกเปลี่ยนกัน ไฟลนี้คือขอมูลสาธารณะที่จําเปนตอผูใช Profibus ที่ตองการเชือ
่ มประสานกับโมดูลสะพาน

7.2. โมดูล Gateway


จํ า เป น ต อ งใช โ มดู ลที ่ ช ื ่อ Gateway สํ า หรั บ การเชื ่ อ มต อ Modbus และ/หรื อ Profibus นี ่ ค ื อ โมดู ล การสื ่ อ สารแบบอนุ ก รมที ่ รองรั บ
วัตถุประสงคโดยทั่วไป เมื่อดาวนโหลดซอฟตแวรที่ถก ู ตอง โมดูลนี้จะทําหนาที่เปนพร็อกซี่และ/หรือสะพาน
จะมีการใชการเชื่อมตอตอไปนี:้
 6x36 : เพื่อตอแหลงจายไฟขนาด 24Vac
 6x20 : เพื่อตอเขากับเครือขายคอมเพรสเซอร (CAN)
 6x25 : เพื่อตอเขากับพีซส
ี ําหรับการดาวนโหลดแอปพลิเคชั่นลงในโมดูล
 6x22 : เพื่อตอสาย RS485 Modbus
 6x37 : เพื่อตอสาย Profibus
จะไมใชขั้วตอ 6x38 อื่นในแอปพลิเคชั่นนี้

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 7 จาก 22


1

8. การติดตั้งและการกําหนดคาซอฟตแวร
กอ นใชโ มดู ลสํ า หรั บการเชื่ อ มตอ Modbus และ/หรื อ Profibus ได ตอ งดาวนโ หลดแอปพลิเ คชั ่นซอฟต แวรแ ละการตั ้ง ค าที่ ถูก ตอ ง
ซึ่งทําไดผา นเจาหนาที่บริการ AC โดยใช AC Speci5
เมื่อติดตั้งซอฟตแวรแลว เจาหนาที่ Atlas Copco ที่เหมาะสมสามารถกําหนดคาไดโดยใช AC Modi5

8.1. โครงสรางโฟลเดอรเมนูทแ
ี่ สดง
เมื่อดาวนโหลดโมดูลแลว การตั้งคาเริ่มตนจะอยูในโมดูล สิ่งสําคัญในตอนนี้คือ ตั้งคาโมดูลใหถก
ู ตองตามความตองการสวนบุคคลของคุณ
โครงสรางเมนูที่แสดงจะอยูในลักษณะดังตอไปนี้:

แตละโฟลเดอรมีโฟลเดอรยอยหนึ่งหรือหลายโฟลเดอรที่เขาถึงไดโดยใชแปน Enter บนแปนพิมพ ออกจากโฟลเดอรไดดวยการใชแปน


Cancel เรียกดูผา นโฟลเดอรตางๆ ไดดวยการกดปุม Left และ Right
เมื่อการตั้งคาเขาไปอยูในโฟลเดอรที่ระบุแลว คาของการตั้งคาปจ จุบันจะปรากฏขึ้น เมื่อกด Cancel ผูปฏิบัติงานจะออกจากเมนูปจ จุบัน
การกด Enter จะอนุญาตใหผูใชเปลี่ยนแปลงการตั้งคา (คาจะเริ่มกะพริบ) ไดดวยการกดปุม Up หรือ Down ณ จุดนี้ ผูใชจะสามารถเลิก
ทําการเปลี่ยนแปลงการตั้งคาปจจุบนั ไดดวยการคลิก Cancel ในกรณีนี้ คาของการตั้งคาปจจุบน ั จะแสดงอีกครั้ง อยางไรก็ดี เมื่อคลิก Enter
คาของการตั้งคาจะถูกจัดเก็บไว และโมดูลจะทํางานตามการตั้งคานั้น

8.1.1 โฟลเดอรหนาจอหลัก (Mainscreen) [ ]


โฟลเดอรหน าจอหลัก ไมม ีโฟลเดอรยอ ย และนํามาใชเพื่อ แสดงขอ มูลทั่วๆ ไปเทานั้น โมดู ล มัก จะกลับ มาที ่โ ฟลเดอร นี ้ห ากไม ไดก ด
ปุมใดภายในระยะเวลาที่กําหนด

8.1.2 โฟลเดอรการตั้งคาทัว
่ ไป (General Settings) [ GE ]
โฟลเดอรการตั้งคาทั่วไปประกอบดวยโฟลเดอรยอย 4 โฟลเดอรที่มีคําอธิบายอยูในยอหนาถัดไป

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 8 จาก 22


1

โฟลเดอรการสื่อสาร (Communication) [ Co ]
โดยพื้นฐานแลว โฟลเดอรการสื่อสารจะเปดโอกาสใหแกไขพารามิเตอรที่นํามาใชเพื่อการสื่อสารไดอยางเหมาะสมบนชองสัญญาณ CAN
(พรอมโมดูล Elektronikon ที่ติดตั้งไวบนเครือขาย CAN) ชองสัญญาณ RS485 Modbus และชองสัญญาณ Profibus
ยังสามารถใชโฟลเดอรนี้เพื่อตั้ง/เปลี่ยนแปลงการตั้งคา EtherNet

Modbus Engine
สตารท/หยุด Modbus Engine ไดจากที่นี่
หมายเหตุ: ในกรณีที่เปดใชงาน Modbus Engine ผูปฏิบัติงานจะไมสามารถเขาถึงการตั้งคาสําหรับ Modbus Baudrate, Modbus Parity และ Modbus
Stopbits ได

Modbus Baudrate
ตารางดานลางนี้แสดงอัตราการรับสงที่เปนไปไดของ Modbus ซึ่งแสดงไวดังนี้:

คาที่แสดง อัตราการรับสง

0 9600 bps
1 19200 bps
2 38400 bps
3 57600 bps
4 115200 bps
5 230400 bps
6 460800 bps

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 9 จาก 22


1

Modbus Parity
ตารางดานลางนี้แสดงพาริตี้ที่เปนไปไดของ Modbus ซึ่งแสดงไวดังนี้:

คาที่แสดง พาริตี้

0 ไมมี
1 คู
2 คี่

Modbus Stopbits
เลือกจํานวนของบิตหยุดที่นํามาใช (1 หรือ 2)

Profibus Engine
สตารท/หยุด Profibus Engine ไดจากที่นี่
หมายเหตุ: ในกรณีที่เปดใชงาน Profibus Engine ผูปฏิบัติงานจะไมสามารถเขาถึงการตั้งคาสําหรับ Profibus SlaveAddress และ Profibus DataRecords ได

Profibus SlaveAddress
สตารท/หยุด Profibus SlaveAddress ไดจากที่นี่

คาที่แสดง

1 .. 255

บันทึกขอมูล Profibus
มีการตั้งคาที่เปนไปไดรวม 4 การตั้งคาซึ่งแสดงไวดังนี้:

คาที่แสดง #

1 1 ระเบียนขอมูล
2 2 ระเบียนขอมูล
4 4 ระเบียนขอมูล
8 8 ระเบียนขอมูล

EtherNet Engine
สตารท/หยุด EtherNet Engine ไดจากที่นี่

ที่อยู IP ของ EtherNet


ตั้ง/เปลี่ยนแปลงที่อยู IP ของ EtherNet ไดจากที่นี่

มาสกเครือขาย EtherNet
ตั้ง/เปลี่ยนแปลงมาสกเครือขายของ EtherNet ไดจากที่นี่

EtherNet Gateway
ตั้ง/เปลี่ยนแปลง EtherNet Gateway ไดจากที่นี่

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 10 จาก 22


1

CAN Engine
สตารท/หยุด CAN Engine ไดจากที่นี่
หมายเหตุ: ในกรณีที่เปดใชงาน CAN Engine จะไมสามารถเขาถึงการตั้งคาสําหรับ CAN Channel ได

CAN Channel
ตารางดานลางนี้แสดงชองสัญญาณ CAN ที่เปนไปไดซึ่งแสดงไวดังนี้:

คาที่แสดง ชองสัญญาณ

1 หลัก
2 รอง

โฟลเดอร CAN [ CA ]
โฟลเดอร CAN รวมการตั้งคาตางๆ ที่ CAN Engine ภายในใชและประกอบดวยโฟลเดอรยอยดังตอไปนี้:

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 11 จาก 22


1

สามารถตั้งแตละรายการเปนคาใดคาหนึ่งดานลางนี้:

คาที่แสดง ลําดับความสําคัญ

0 ปด
1 ปกติ
1 สูง
2 คําขอ

การตั้งคารหัสผาน (Password Settings) [ PW ]


โฟลเดอรรหัสผานที่มีอยูหลายๆ โฟลเดอรจะชวยใหเปดใชงาน/ปดใชงานและเปลี่ยนแปลงรหัสผานของลูกคา

ขอมูลโปรแกรม (Program Information) [ PI ]


โฟลเดอรขอมูลโปรแกรมแสดงขอมูลที่เชื่อมโยงกับแอปพลิเคชั่นปจจุบน

หมายเลขโปรแกรม
โฟลเดอรหมายเลขโปรแกรมแสดงหมายเลขโปรแกรมที่เชื่อมโยงกับแอปพลิเคชั่นปจจุบน

การทบทวนโปรแกรม
โฟลเดอรการทบทวนโปรแกรมแสดงหมายเลขการทบทวนโปรแกรมที่เชื่อมโยงกับแอปพลิเคชั่นปจจุบน

ระบบปฏิบต
ั ิการ
โฟลเดอรระบบปฏิบต
ั ิการแสดงหมายเลขระบบปฏิบต
ั ิการที่เชื่อมโยงกับแอปพลิเคชั่นปจจุบน

ซอฟตแวรสําหรับบูตเครื่อง
โฟลเดอรซอฟตแวรสําหรับบูตเครื่องแสดงหมายเลขซอฟตแวรสําหรับบูตเครื่องที่เชื่อมโยงกับแอปพลิเคชั่นปจจุบน

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 12 จาก 22


1

8.1.3 โฟลเดอรคอมเพรสเซอร [ CP ]
โฟลเดอรคอมเพรสเซอรประกอบดวยโฟลเดอรยอย 31 โฟลเดอร ([CP01] ถึง [CP31]) โดยแตละโฟลเดอรยอยประกอบดวยโฟลเดอรยอย
2 โฟลเดอรที่อธิบายถึงพารามิเตอรของคอมเพรสเซอร

โฟลเดอรโหนด Modbus (Modbus Address) [ MA01 ]


พารามิเตอรนี้เปนตัวกําหนดชุดควบคุมในการสื่อสารดวย Modbus

โฟลเดอรสถานะ CAN (CAN Status) [ MA02 ]


พารามิเตอรนี้เปนตัวกําหนดวามีการอานชุดควบคุมผาน CAN หรือไม
หมายเหตุ:ในกรณีที่ตั้งไมใหสถานะ CAN ทํางานสำหรับชุดควบคุมเฉพาะ แสดงวาจะไมมีก ารกูคืน ขอมูลใด ทําใหการลงทะเบียนที่เกี่ย วของกลายเปน
0 ในการสื่อสารดวย Modbus และ/หรือ Profibus

โฟลเดอรขอมูล (Information) [ Info ]


ผูปฏิบต
ั งิ านจะมองเห็นระยะเวลาในการทํางานหนึง่ รอบของ CAN ปกติและ CAN สูง รวมถึงความเร็วในการตอบของ Modbus ในโฟลเดอรนี้

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 13 จาก 22


1

9. คําอธิบายการแสดงผลของ Gateway

9.1. ไอคอน

ไอคอน คําอธิบาย

กะพริบ: เมนูที่เกี่ยวของกับคอมเพรสเซอร: เครื่องมีขอผิดพลาดที่ CAN

ติด: CAN engine หยุดทํางาน


ติดตอเนื่อง: CAN engine กําลังทํางาน

ดับ: Modbus engine หยุดทํางาน


ติด: Modbus engine กําลังทํางาน

ดับ: Profibus engine หยุดทํางาน


ติด: Profibus engine กําลังทํางาน

ดับ: ไมไดระบุ/เปดใชงานเครื่อง
ติด: ระบุ/เปดใชงานเครื่องแลวและเครือ
่ งสามารถแจงขอขอมูล
กะพริบ: ระบุ/เปดใชงานเครื่องแลวและเครื่องสามารถแจงขอการตัง้ คา

ดับ: การสื่อสารดวย CAN กับเครื่องนี้ถก


ู ปดใชงาน
ติด: การสื่อสารดวย CAN กับเครื่องนี้ถก
ู เปดใชงานแลว

9.2. ไฟแสดง

ไฟแสดง คําอธิบาย

ติด: เปดโมดูล Gateway แลว

หมายเหตุ: ไมไดใชไฟแสดงอื่นในระหวางการใชแอปพลิเคชั่น

9.3. แปนพิมพ

แปน คําอธิบาย

ขึ้น
แกไขพารามิเตอรการตัง้ คา
ลง

ซาย
เรียกดูผานเมนูตางๆ
ขวา

เริ่มตน เมนูที่เกี่ยวของกับคอมเพรสเซอร: เปดใชงานการสื่อสารกับเครื่องนี้

หยุด เมนูที่เกี่ยวของกับคอมเพรสเซอร: ปดใชงานการสื่อสารกับเครื่องนี้

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 14 จาก 22


1

9.4. รหัสผาน / รหัสเพื่อเขาสูระบบ


โปรดศึกษาตารางดานลางเพื่อดูประเภทของรหัสผานที่ตองปอนเขาสูเมนูที่ให
กําหนดประเภทของรหัสผานของลูกคา และ/หรือรหัสเพื่อเขาสูระบบไดจากลักษณะที่ปรากฎบนหนาจอ

ปุมกะพริบ ปุมไมกะพริบ คําอธิบาย

1 หลัก เครื่องหมายขีดสั้น 3 ขีด ปอนรหัสผานของลูกคา

เครื่องหมายขีดสั้น 3 ขีด 1 หลัก ปอนรหัสเพื่อเขาสูระบบที่นํามาใชบังคับ

1 หลัก 3 หลัก ปอนรหัสผานใหมของลูกคา

3 หลัก 1 หลัก ยืนยันรหัสผานใหมของลูกคา

Atlas Copco ตองแจงขอรหัสเพื่อเขาสูระบบ

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 15 จาก 22


1

10. การใช Modbus Protocol

10.1. ขอกําหนดเฉพาะของ Modbus ที่รองรับ


โมดูล Gateway รองรับตัวแปร Modbus ตอไปนี้:
 โหมดการรับสงขอมูล: RTU
 ระบบการโคด: ไบนารี
 โหมด: RS485
 จํานวนของบิตเริ่มตน: 1
 จํานวนของบิตขอมูล: 8
 อัตราการรับสง: 9600, 19200, 38400, 57600, 115200, 230400, 460800
 การควบคุมพาริตี้: คู คี่ ไมมี
 จํานวนของบิตหยุด: 1, 2
 การตรวจสอบขอผิดพลาด: CRC16

ทําการซิงโครไนซเฟรมในโหมด RTU ไดดวยการจําลองขอความซิงโครนัส อุปกรณสเลฟจะควบคุมเวลาที่ใชระหวางการรับอักขระตางๆ


หากเวลาสําหรับอักขระสามตัวผานไปโดยไมมีอักขระตัวใหม อุปกรณจะตั้งสมมุติฐานวา ขอความนั้นสมบูรณแลวและไบตถด
ั ไปจะเปนที่อยู

รูปแบบเฟรมของขอความจะเปนดังนี้:

T1 T2 T3 ที่อยู ตัวเนื้อหา CRC T1 T2 T3

10.2. ฟงกชั่น Modbus ที่รองรับ


Elektronikon Mk5 Modbus รองรับขอความในประเภทตอไปนี้ โดยขึ้นอยูกับประเภทของขอมูลที่เกี่ยวของ (ดูรายละเอียดดานลาง)
 ฟงกช่น
ั 01 : อานการลงทะเบียนคอยล
 ฟงกช่น
ั 03 : อานการลงทะเบียนที่รออยู
 ฟงกช่น
ั 06 : ตั้งคาการลงทะเบียนเดี่ยวๆ ลวงหนา

หมายเหตุ: สําหรับชุดควบคุม Mk5 ของ Elektronikon นันจะไม


้ สามารถเปลี่ยนแปลงพารามิเตอรได

10.3. รหัสฟงกชน
ั่ - ชองขอมูล
ในการตอบสนองปกติ สเลฟจะสะทอนรหัสฟงกช่น
ั ของคิวรีดั้งเดิม
ในการตอบสนองทีเ่ ปนขอยกเวน ตัวเลข 0x80 จะถูกเพิม
่ ลงในรหัสฟงกชั่นดัง้ เดิม และในเวลาเดียวกัน รหัสขอยกเวนจะถูกเพิ่มลงในชองขอมูล

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 16 จาก 22


1

10.4. รหัสขอยกเวน

รหัส ชื่อ คําอธิบาย

01 ฟงกชั่นที่ไมอนุญาต รหัสฟงกชน
ั่ ที่ไดรับในคิวรีคือการกระทําที่ไมอนุญาตสําหรับสเลฟ
02 ที่อยูขอมูลที่ไมอนุญาต ที่อยูขอมูลที่ไดรบ
ั ในคิวรีคือทีอ
่ ยูที่ไมอนุญาตสําหรับสเลฟ
03 คาขอมูลที่ไมอนุญาต คาที่รวมอยูในชองขอมูลคิวรีคือคาที่ไมอนุญาตสําหรับสเลฟ
06 การตั้งโปรแกรมใหมถก
ู ปฏิเสธ คําสั่งถูกปฏิเสธเนื่องจากยังไมไดดําเนินการตามคําสั่งกอนหนา
07 คําสั่งถูกปฏิเสธ คําสั่งถูกปฏิเสธเนื่องจากยังไมไดดําเนินการตามคําสั่งกอนหนา
08 ไมมีขอมูล ตรวจสอบสายสื่อสารระหวาง Elektronikon และโมดูล Gateway
09 คําสั่งที่ไมอนุญาต กําลังสงคําสั่งที่ไมรูจัก
0A เช็คซัม CRC ไมถูกตอง เช็คซัม CRC16 ที่ไดรับไมถูกตอง
0B การเขียนถูกปฏิเสธ การเปลี่ยนแปลงพารามิเตอรถูกปฏิเสธ

10.5. ตัวอยาง
ตัวอยางดานลางใชพารามิเตอรตอไปนี้:
 โมดูลที่เชื่อมตอ : Mk5 – LU – GA30P_08
 ID โหนด : 5

10.5.1 ที่อยูข
 อมูลทีไ
่ มอนุญาต
หากอุปกรณสเลฟถามถึงพารามิเตอรที่อุปกรณไมสามารถประมวลผล อุปกรณสเลฟจะตอบคําถามนี้ดวยรหัสขอผิดพลาด "ที่อยูขอ
 มูลที่ไมอนุญาต"
ในกรณีนี้ จะมีการแจงขอความเร็วมอเตอรที่จําเปน
 คําขอ : 16#05 16#03 16#03 16#20 16#00 16#01 16#84 16#00
 คําตอบ : 16#05 16#83 16#02 16#81 16#30

10.5.2 แรงดันออกและสถานะแรงดันออก
โปรดดูทเี่ อกสารการแมปทีอ
่ ยูทส
ี่ รางจาก Speci5 หากตองการขอมูลการลงทะเบียนทีถ
่ ก
ู ตองของแรงดันออกและความหมายของแรงดันออก
ในกรณีนี้ จะพบสถานะแรงดันออกไดจากการลงทะเบียนคาอินพุทอะนาล็อกคาแรก และดูคาแรงดันออกไดจ าก การลงทะเ บียนคาอินพุท
อะนาล็อกคาที่สอง
 คําขอ : 16#05 16#03 16#00 16#00 16#00 16#02 16#C5 16#8F
 คําตอบ : 16#05 16#03 16#04 16#00 16#80 16#19 16#64 16#B4 16#60

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 17 จาก 22


1

10.5.3 เปลีย
่ นแปลงชวงแรงดันที่เปดใชงาน
โปรดดูที่เอกสารการแมปที่อยูที่สรางจาก Speci5 หากตองการขอมูลการลงทะเบียนที่ถก
ู ตองและคาสําหรับการปรับการเลือกชวงแรงดัน
ในกรณีนี้ การลงทะเบียนที่ถก
ู ตองคือ 16#03 16#5C ตองใชคา 16#00 16#02 หากตองการสลับจากชวงแรงดัน 1 ไปเปนชวงแรงดัน 2
หมายเหตุ: ตองแนใจวาไดใชชวงแรงดัน 1 กอนสงคําขอจริงๆ

 คําขอ : 16#05 16#06 16#03 16#5C 16#00 16#02 16#C9 16#D9


 คําตอบ : 16#05 16#06 16#03 16#5C 16#00 16#02 16#C9 16#D9

10.5.4 สตารทเครือ
่ งจักร
โปรดดูที่เอกสารการแมปที่อยูที่สรางจาก Speci5 หากตองการขอมูลการลงทะเบียนที่ถก
ู ตองและคาเพื่อสตารทเครื่องจักร
ในกรณีนี้ การลงทะเบียนที่ถก
ู ตองคือ 16#07 16#D0 และคาที่ถก
ู ตองคือ 16#00 16#01
หมายเหตุ: ตองแนใจวา เครื่องจักรอยูใ นการควบคุมดวย LAN กอนสงคําขอจริงๆ

 คําขอ : 16#05 16#06 16#07 16#D0 16#00 16#01 16#49 16#03


 คําตอบ : 16#05 16#06 16#07 16#D0 16#00 16#01 16#49 16#03

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 18 จาก 22


1

11. การใช Profibus Protocol

11.1. แนวคิดเรื่องมาสเตอร-สเลฟ
โปรไฟลจะอิงอยูก
 ับหลักเกณฑมาสเตอร-สเลฟ ซึง่ หมายความวาการสื่อสารทั้งหมดจะเริม
่ ตนจากมาสเตอรและคําตอบจะสรางจากสเลฟ
บัฟเฟอรทั้งหมดควรยาวเต็มที่เหมือนๆ กัน

11.2. โครงสรางของบัฟเฟอร
ใชโปรไฟลกบ
ั บัฟเฟอรที่มีความยาวที่แตกตางกันได: 8, 16, 32 และ 64 ไบต บัฟเฟอรนี้จะแบงออกเปน 2 สวน:
 เฮดเดอร : 1 ไบต
 สวนของขอมูล : n * บันทึกของขอมูล (7 ไบต)

ความยาวของบัฟเฟอรกําหนดไดดังนี้:

จํานวนบันทึกของขอมูล (n) ความยาวโดยรวมของบัฟเฟอร ความยาวโดยรวมของบัฟเฟอรทน


ี่ า
ํ มาใช

1 8 8
2 16 15
4 32 29
8 64 57

หมายเหตุ: ไมใชทุกฟงกชั่นที่อนุญ าตใหสงบันทึกขอมูลเกิน 1 ระเบียน โดยพื้นฐานแลว รอบการทํางาน 1 รอบจะสามารถรองรับการอานระเบียนขอมูล


ไดหลายระเบียน แตจะสามารถเขียนบันทึกขอมูลไดครัง้ ละหนึ่งระเบียนเทานั้น

11.2.1 เฮดเดอร
เฮดเดอรคือคาหนึ่งบิตที่เขารหัส 1 ไบต การตีความจะแตกตางกันสําหรับการสื่อสารจากมาสเตอร > สเลฟและจากสเลฟ > มาสเตอร

มาสเตอร > สเลฟ


เฮดเดอรจะแบงออกเปน 3 พื้นที่:

ซิงค ฟงกช่น
ั หมายเลขพารามิเตอร

 ซิงค
บิตการซิงโครไนซจะนํามาใชเพื่อซิงคคําขอของมาสเตอรและคําตอบของสเลฟ สเลฟมักจะแสดงลําดับบิตเดียวกันกับที่ปรากฏ
ในคําตอบ ทั้งนี้เพื่อแยกแยะคําตอบ ‘เกา’ ออกจากคําตอบใหม

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 19 จาก 22


1

 ฟงกช่น
ั :

คา ฟงกชน
ั่

0 ไมมีงาน
1 คําขอคาพารามิเตอร (อาน)
3 เปลี่ยนคาพารามิเตอร (เขียน)
หมายเหตุ: เขียนไดเพียงหนึ่งพารามิเตอรในวงรอบ
และหมายเลขพารามิเตอรตองเปน 1
หมายเหตุ: สําหรับชุดควบคุม Mk5 ของ Elektronikon
นั้นจะไมสามารถเปลี่ยนแปลงพารามิเตอรได
2,4,5,6,7 สํารองไว

 หมายเลขพารามิเตอร:
หมายเลขพารามิเตอรตองนอยกวาหรือเทากับหมายเลขบันทึกของขอมูล

คา

1 000
2 001
3 010
4 011
5 100
6 101
7 110
8 111

สเลฟ > มาสเตอร


เฮดเดอรจะแบงออกเปน 3 พื้นที่:

ซิงค ฟงกช่น
ั รหัสขอผิดพลาด

 ซิงค
บิตการซิงโครไนซจะถูกตั้งใหเหมือนกับบิตจากมาสเตอร > สเลฟ

 ฟงกช่น
ั :

คา ฟงกชน
ั่

0 ไมมีงานหรือยังไมมีขอมูล
2 สงคาพารามิเตอร
7 ไมสามารถทํางานได
1,3,4,5,6 สํารองไว

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 20 จาก 22


1

 รหัสขอผิดพลาด

คา คําอธิบาย

0 ไมมีขอผิดพลาด
1 จํานวนบันทึกของขอมูลไมถูกตอง
2 ฟงกชั่นไมถก
ู ตอง
3 จํานวนบันทึกของขอมูลสําหรับการเขียนไมถูกตอง

11.2.2 บันทึกของขอมูล
บันทึกของขอมูลแตละบันทึกยาว 7 ไบตและประกอบดวยขอมูลตอไปนี้:
 ที่อยูของโหนด : 1 ไบต ที่อยู CAN ของสเลฟที่จะเชื่อมตอ
 ID พารามิเตอร : 2 ไบต ID ของพารามิเตอรเพื่ออาน/เขียน
 ขอมูล : 4 ไบต

ที่อยูของโหนด
นี่คือที่อยู CAN ของ Elektronikon MkIV หรือ Mk5
หมายเหตุ: ในกรณีที่เกิดขอผิดพลาด บิต 7 จะถูกกําหนดขึ้น

11.3. รหัสขอยกเวน
มีขอผิดพลาดในคําขอเมื่อกําหนดบิตสูงที่สุดของทีอ
่ ยูโหนด ดูประเภทของขอผิดพลาดไดในบิตต่ําที่สุดของคําตอบสเลฟ

รหัสขอผิดพลาด คําอธิบาย

01 ไมพบที่อยูโหนด
02 ไมพบพารามิเตอร Profibus
05 ขอมูลคอมเพรสเซอรไมถูกตอง
06 ยังไมไดทําตามคําสั่ง
07 คําสั่งถูกปฏิเสธ
08 การเขียนถูกปฏิเสธ

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 21 จาก 22


1

11.4. ตัวอยาง
ตัวอยางตอไปนี้ใชพารามิเตอรตอไปนี้:
 โมดูลที่เชื่อมตอ : Mk5 - LU - GA30P_08
 ID โหนด : 5
 ที่อยูสเลฟของ Profibus : 1
 บันทึกขอมูล Profibus : 1

11.4.1 ที่อยูข
 อมูลทีไ
่ มอนุญาต
ในกรณีท ี่อ ุป กรณส เลฟถามถึง พารามิ เตอรท ี ่อ ุปกรณ ไมส ามารถประมวลผล อุ ปกรณส เลฟจะตอบคํ าถามนี ้ ด ว ยรหัส ขอ ผิด พลาด
"ที่อยูขอมูลที่ไมอนุญาต"
ในกรณีนี้ จะมีการแจงขอความเร็วมอเตอรที่จําเปน
B1 B2 B3 B4 B5 B6 B7 B8
 คําขอ : 16#08 16#05 16#03 16#20 16#00 16#00 16#00 16#00
 คําตอบ : 16#10 16#85 16#03 16#20 16#00 16#00 16#00 16#02

11.4.2 แรงดันออกและสถานะแรงดันออก
โปรดดูที่เอกสารการแมปที่อยูที่สรางจาก Speci5 หากตองการขอมูลการลงทะเบียนที่ถก
ู ตองของแรงดันออกและความหมายของแรงดัน
ออก
ในกรณีนี้ จะพบสถานะแรงดันออกไดจากการลงทะเบียนคาอินพุทอะนาล็อกคาแรก และดูคาแรงดันออกไดจาก การลงทะเบียนคาอินพุท
อะนาล็อกคาที่สอง
B1 B2 B3 B4 B5 B6 B7 B8
 คําขอ : 16#48 16#05 16#00 16#00 16#00 16#00 16#00 16#00
 คําตอบ : 16#50 16#05 16#00 16#00 16#19 16#64 16#00 16#80

11.4.3 เปลีย
่ นแปลงชวงแรงดันที่เปดใชงาน
โปรดดูที่เอกสารการแมปที่อยูที่สรางจาก Speci5 หากตองการขอมูลการลงทะเบียนที่ถก
ู ตองและคาสําหรับการปรับการเลือกชวงแรงดัน
ในกรณีนี้ การลงทะเบียนที่ถก
ู ตองคือ 16#03 16#5C ตองใชคา 16#00 16#02 หากตองการสลับจากชวงแรงดัน 1 ไปเปนชวงแรงดัน 2
หมายเหตุ: ตองแนใจวาไดใชชวงแรงดัน 1 กอนสงคําขอจริงๆ

B1 B2 B3 B4 B5 B6 B7 B8
 คําขอ : 16#D8 16#05 16#03 16#5C 16#00 16#00 16#00 16#02
 คําตอบ : 16#D0 16#06 16#03 16#5C 16#00 16#00 16#00 16#02

11.4.4 สตารทเครือ
่ งจักร
โปรดดูที่เอกสารการแมปที่อยูที่สรางจาก Speci5 หากตองการขอมูลการลงทะเบียนที่ถก
ู ตองและคาเพื่อสตารทเครื่องจักร
ในกรณีนี้ การลงทะเบียนที่ถก
ู ตองคือ 16#07 16#D0 และคาที่ถก
ู ตองคือ 16#00 16#01
หมายเหตุ: ตองแนใจวา เครื่องจักรอยูใ นการควบคุมดวย LAN กอนสงคําขอจริงๆ

B1 B2 B3 B4 B5 B6 B7 B8
 คําขอ : 16#98 16#05 16#07 16#D0 16#00 16#00 16#00 16#01
 คําตอบ : 16#90 16#05 16#07 16#D0 16#00 16#00 16#00 16#01

31/05/2012 PM 9845 0187 00_TH หนา 22 จาก 22


PM B7+/ 2012-05 - Printed in BelgiumB

www.atlascopco.com

You might also like