Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 8

อ้อย

ข้าวเจ้า ข้าวสาลี - พืชพื้นเมืองของเอเชียใต้ปลูกได้ในเขตร้อนและ


- พืชเศรษฐกิจของทวีปเอเชีย - ปลูกได้ทั้งในฤดูใบไม้ผลิและฤดูหนาว เขตอบอุ่นค่อนข้างร้อน
- พืชหลักที่ประชากรชาวเอเชียบริโภค ที่มีความแห้งแล้งและหนาวเย็นได้ - ต้นอ้อยต้องการดินชื้นและอุดมสมบูรณ์
- พื้นทีป่ ลูกข้าวเจ้าส่วนใหญ่อยู่ในเขตร้อน - สภาพเเวดล้อมที่เหมาะสมคือ มีอุณหภูมิที่ - แหล่งปลูกอ้อยที่ส้าคัญเช่นบริเวณลุ่มแม่น้า
- ภูมิอากาศที่เหมาะแก่การปลูกข้าวเจ้ามากที่สุดคือ อบอุ่นพอเหมาะ มีปริมาณความชื้น12-40นิ้ว คงคา ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน ไทย คิวบา และ
เเบบมรสุมเพราะมีน้ามากในฤดูเพาะปลูกขึ้น - ประเทศที่ปลูกมากเช่นประเทศยูเครน ปลูกได้ทั่วไปในหมู่เกาะอินดีสตะวันตก
ได้ดีบริเวณที่ราบลุ่มเเม่น้า ซึ่งเป็นเขตทุ่งหญ้าสเตปป์ รัฐฮาวาย สหรัฐอเมริกาและในเขตร้อนของ
รัฐควีนส์แลนด์ประเทศออสเตรเลีย
ข้าวโพด ยางพารา ปาล์มน้า้ มัน
- เจริญเติบโตได้ดีบนพื้นที่ที่มีระดับเดียวกับ - พืชเขตร้อนชื้นขึ้นได้ดีในเขตอุณหภูมิสูงสม่้าเสมอ - พืชในเขตร้อนชื้นแถบศูนย์สูตรขึ้นได้ดีในเขตที่มี
น้้าทะเลจนถึงพื้นที่สูงกว่าระดับน้้าทะเล ปริมาณฝนเฉลี่ยไม่ต่้ากว่า 1,905 มิลลิเมตร ฝนตกชุกสม่้าเสมอเสมอตลอดปีมีความชื้นสูงและ
- แหล่งเพาะปลูกส้าคัญเช่น สหรัฐอเมริกาในเขต ต่อปี แสงแดดจัด
พื้นทีท่ ี่เรียกว่า Corn Belt เนื่องจากดินใน - ปลูกได้ดีบริเวณเนินเขาหรือที่ราบที่มีดินร่วนและ - ปลูกได้ดีในดินร่วนเหนียวถึงดินเหนียวอุ้มน้้าได้ดี
บริเวณดังกล่าวมีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างมาก ระบายน้้าได้ดี มีธาตุอาหารสูง
มีอากาศอบอุ่นและปริมาณฝนที่เหมาะสม - พื้นทีป่ ลูกยางพาราส่วนใหญ่เอเชียตะวันออก - แหล่งปลูกปาล์มน้้ามันส้าคัญเช่นประเทศมาเลเซีย
อินเดียและศรีลังกา อินโดนีเซีย ไนจีเรีย ภาคใต้ของประเทศไทย
ฝ้าย ชา กาแฟ
- ปลูกในเขตร้อนและเขตอบอุ่นที่มีปริมารฝนเฉลี่ย - พืชที่ปลูกตามเนินในเขตร้อนชื้นเขตอบอุ่นของ - ปลูกได้ในเขตร้อนที่มีปริมาณฝนเฉลี่ย
500 – 1020 มิลลิเมตรต่อปี ต้องการ ทวีปเอเชีย 1,143-1,524 มิลลิเมตรอุณหภูมิ 18-25
อุณหภูมสิ ูง องศาเซลเซียสไม่ชอบน้้าขัง
- ปลูกได้ดีในพื้นที่ที่มีความสูงกว่าระดับน้้าทะเล
- แหล่งเพราะปลูกส้าคัญ เช่น สหรัฐอเมริกาในเขต แหล่งเพาะปลูกส้าคัญ เช่น อินเดียมบริเวณหุบ - แหล่งเพาะปลูกส้าคัญ เช่น บราซิล ในทวีปเอเชีย
cotton belt ทวีปเอเชียปลูกมากในที่ราบสูง ปลูกมากทางตอนใต้ของคาบสมุทรอาหรับ ใน
เขาพรหมบุตร จีนปลูกได้มากที่สุดในโลก
เดกกันในประเทศอินเดีย ในจีนปลูกในบริเวณ ประเทศเยเมน ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปลูก
ญี่ปุ่นศูนย์กลางการผลิตที่ส้าคัญคือเมืองชิซุโอะกะ
แม่น้าฉางเจียงและลุ่มแม่น้าหวางเหอ มากที่เกาะชวา เกาะสุมาตรา
ไม้ผล
- ผลไม้ปลูกได้ดีในเขตภูมิอากาศแบบอบอุ่นและแบบชุ่มชื้น
โดยเฉพาะในเขตภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน
- ดินแดนในแถบเมดิเตอร์เรเนียนได้ชื่อว่าเป็น “ดินแดนสวน
ผลไม้ของโลก“ (orchard lands of the world)
โคนม โคเนือ้
- เลี้ยงในไร่นาผสม - สายพันธุ์ที่นิยมเลี้ยง ได้แก่ พันธุ์เฮียร์ฟอร์ดเป็นสาย
- เขตเลีย้ งโคนมและผลิตอาหารจากนมโคที่ส้าคัญเช่น พันธุ์ที่เลี้ยงมากที่สุดในสหรัฐอเมริกา พันธุ์ลองฮอร์น
ทวีปอเมริกาเหนือเลี้ยงบริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของ พันธุ์บราห์มัน พันธุ์ชอร์ตฮอร์น
สหรัฐอเมริกาและตะวันออกเฉียงใต้ของแคนาดา ทวีป
ออสเตรเลียและโอเชียเนีย นิวซีแลนด์เลี้ยง
โคนมในเกาะเหนือ
- บริเวณที่มีความชื้นเพียงพอท้าให้หญ้า
อุดมสมบูรณ์ในฤดูร้อน
อากาศไม่ร้อนมากท้าให้โคนมที่
เลี้ยงมีคุณภาพดีมาก
ประมงเค็ม
- ลักษณะของพื้นทะเลแหล่งที่มีปลาชุกชุม
ได้แก่ พื้นที่ของท้องทะเลนับจากบริเวณชายฝั่ง
ไปถึงเขตที่มีน้าลึกไม่เกิน 200 เมตร
- มีการผสมกันระหว่างน้้าจืดที่ไหลลงทะเลท้า
ให้น้าทะเลได้รับอินทรียวัตถุซึ่งเป็นอาหารของสัตว์น้า
- เขตน้้าตื้นแสงสว่างส่องลงไปใต้น้าท้าให้เกิดแพลงก์ตอนซึ่งเป็นอาหาร
ของปลา
- ลักษณะชายฝั่ง ฝั่งทะเลที่เว้าแหว่งมีอ่าวใหญ่น้อยและน้้าไม่ลึกมากเป็นที่อาศัยของปลาและ
ที่วางไข่ขยายพันธุ์ของสัตว์น้า
สมาชิก
นางสาวชญานิศ ประดิษแจ้ง เลขที่ 4
นางสาวณัฐณิชา ทองวิจิตต์ เลขที่ 5
นางสาวศศิกานต์ แสงสุวรรณ เลขที่ 16
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

You might also like