Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 30

ในการศึกษาเรื่องเรขาคณิตวิเคราะห์ เราจะทาการศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของจุดและเส้นตรง

โดยอ้างอิงกับระบบพิกดั ฉากเป็นหลัก
ระบบพิกดั ฉาก ประกอบด้วย แกนพิกัดฉาก 2 แกนได้แก่เส้นจานวนที่อยูบ่ นแกนนอน
(แกน x) และเส้นจานวนที่อยู่บนแกนตั้ง (แกน y) แกนพิกัดฉากทั้งสองนี้จะแบ่งพื้นระนาบ
ออกเป็น 4 ส่วน เรียกพืน้ ที่ที่ถกู แย่งออกเป็นส่วนๆ นี้ว่า “ควอดรันต์” (Quadrant) ซึ่งมี
ลักษณะดังรูป
Y

Quadrant 2 Quadrant 1
(-, +) (+, +)

X
0
Quadrant 3 Quadrant 4
(-, -) (+, -)

แกน x และ แกน y ตัดกันเป็นมุมฉากที่จุด o เรียกจุดนี้ว่า “จุดกาเนิด” (Origin) และ


เขียนแทนตาแหน่งของจุดบนระบบพิกัดฉากด้วย (x, y) เมื่อ x เป็นค่าที่อา่ นได้จากเส้นจานวน
บนแกน x และ y เป็นค่าที่อ่านได้จากเส้นจานวนบนแกน y
1. ระยะห่างระหว่างจุดสองจุด พิจารณารูปที่กาหนดให้ต่อไปนี้
Y
P2(x2, y2)

P1 (x1,
P(x2, y1)
y1)
X
จากทฤษฏีบทปิทาโกรัส จะได้วา่
P1P2 = √P1 P2 +P2 P2
2 2
P1P2 = √|x1 -x2 | +|y1 -y2 |

2 2
∴ P1P2 = √(x1 -x2 ) +(y1 -y2 )

นั่นคือ ถ้า P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) เป็นจุดในระบบพิกัดฉากแล้ว

ระยะห่างระหว่างจุด P1 และ P2 = √(x1 -x2 )2 +(y1 -y2 )2


Ex1. กาหนด A(1, 2),B(4, 3) และ C(7, 4) จงแสดงว่าจุด A, B และ C อยู่บน
เส้นตรงเดียวกัน

Ex2. กาหนดให้ A(2, 3), B(9, 2) และ C(5, 6) เป็นจุดยอดมุมของรูปสามเหลีย่ ม


ABC จงแสดงว่ารูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
Ex3. กาหนด A(-1, -2), B(5, -2) และ C(2, 2) เป็นจุดยอดมุมของรูปสามเหลีย่ ม
ABC จงแสดงว่ารูปสามเหลี่ยม ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว

Ex4. กาหนด A(-2, -2),B(4, -2), C(4, 4) และ D(-2, 4) เป็นจุดยอดมุมของรูป


สี่เหลี่ยมรูปหนึ่ง จงหาความยาวของเส้นรอบรูปและพืน้ ที่รูปสี่เหลี่ยมรูปนี้
Ex5. วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (2, 3) และวงกลมนี้ผ่านจุด (5, 7) จงหาความ
ยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมนี้

Ex6. วงกลมหนึง่ มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (5, 4) และวงกลมนี้สัมผัสแกน x จงหาจุดสัมผัส


และความยาวของรัศมีของวงกลมนี้
2. จุดกึ่งกลางระหว่างสองจุด
พิจารณารูปที่กาหนดให้ต่อไปนี้
Y
P2(x2, y2)

P (𝑥̅ , 𝑦)

P1 (x1, y1)
P(x2, y1)
Q (𝑥̅ , 𝑦1 )

จากรูป ลาก P1R ขนานกับแกน x ดังนั้นพิกัดของจุด R เป็น (x2, y1)


ลาก PQ และ P2R ขนานกับแกน y ดังนั้นพิกัดของจุด Q เป็น (𝑥̅ , y1)
P1 Q P1 P
∵ =
P1 R P1 P2
∵ P เป็นจุดกึ่งกลางของ P1 P2
PP 1
∴ 1 =
P1 P2 2
P1 Q 1
∴ =
P1 R 2
1
∴P1 Q= P1 R
2
∴ P เป็นจุดกึ่งกลางของ P1 P2
∴ P1 Q=QR
|x̅-x1 |= |x2 -x̅|
∴ x̅-x1 =x2 -x̅
2x̅=x1 +x2
x1 +x2
∴ x̅=
2

PQ P1 P
และเช่นเดียวกัน =
P2 R P1 P2
PQ 1
∴ =
P2 R 2
1
PQ= P2 R
2
1
|y̅=y1 |= (y2 -y1 )
2
1
∴ y̅-y1 = (y2 -y1 )
2
2y̅=2y1 =y2 -y1
2y̅=y1 +y2
y1 +y2
∴ y̅=
2
นั่นคือ ถ้า P(x̅, y̅) เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด P1(x1, y1) และ P2(x2, y2) แล้ว
x1 +x2 y1 +y2
x̅= และ y̅=
2 2
1. ถ้า C(2, 3) เป็นจุดกึ่งกลางระหว่างจุด A(-2, 0) และ B(x, y) จงหา B(x, y)

2. กาหนดจุด (-3, 2) และจุด (5, 8) เป็นจุดปลายเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมวงหนึ่ง จงหา


จุดศูนย์กลางของวงกลมนี้
3. วงกลมวงหนึ่งมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (-1, 2) ถ้าจุดปลายเส้นผ่านศูนย์กลางข้างหนึ่งของวงกลมนี้
อยู่ที่จุด (-3, 2) แล้ว จงหาจุดปลายเส้นผ่านศูนย์กลางอีกข้างหนึ่งของวงกลมนี้

4. กาหนด A(5, 6), B(-2, -2) และ C(4, 2) เป็นจุดยอดมุมของรูปสามเหลี่ยม ABC ถ้า
1
E และ F เป็นจุดกึ่งกลางของด้าน AB และ AC จงแสดงว่า EF= BC
2
5. ถ้าจุด D(1, 3), E(3, 6) และ F(-1, 5) เป็นจุดกึ่งกลางของด้าน AB, BC และ CA
ของรูปสามเหลี่ยม ABC แล้ว จงหาพิกัดของจุด A, B และ C
3. ความชันของเส้นตรง
พิจารณารูปที่กาหนดต่อไปนี้
Y
P2(x2, y2)

y2-y1
P1 (x1, y1)
P(x2, y1)
x2-x1
X

ถ้ากาหนดให้ m เป็นความชันของเส้นตรง L ที่ลากผ่านจุด P1(x1, y1) และ P2(x2,


y2) แล้ว
y2 -y1
ความชัน m=
x2 -x1
เราสามารถนาเอานิยามของความชันที่กล่าวมาข้างต้นไปใช้กับการอธิบายคุณสมบัติของ
เส้นตรงสองเส้นทีข่ นานและตัง้ ฉากกันได้ดังนี้
เส้นขนาน
กาหนดให้ เส้นตรง L1 ทามุมกับแกน x เท่ากับ θ1 และมีความชันเท่ากับ m1 และ
เส้นตรง L2 ทามุมกับแกน x เท่ากับ θ2 และความชันเท่ากับ m2 ถ้า m1 = m2 จะต้องพิสูจน์
ว่า θ1 = θ2 หรือ เส้นตรง L1 ขนานกับเส้นตรง L2
Y
L1
L2

P’1 (x2, 0) P’2 (x2, 0)

𝜃1 𝜃2
X
P1 (x1, P2 (x2, 0)
0)

รูปที่ 1
Y
L1
L2

P’2 (x3, y1) P’1 (x2, y1)

𝜃2 𝜃1
X
0 P3 (x3, 0) P2 (x2, 0) P1 (x1, 0)

รูปที่ 2
ให้เส้นตรง L1 และ L2 ตัดแกน x ที่จุด P1(x1, 0) และ P2(x2, 0) ตามลาดับ ลาก
P2P1’ ตั้งฉากกับแกน x ตัดเส้นตรง L1 ที่ P1’(x2, y1) ลาก P1’ P2’ ขนานกับแกน x ตัด
เส้นตรง L2 ที่จุด P2(x3, y1) ลาก P2’ P3 ตั้งฉากกับแกน x ตัดแกน x ที่จุด P3(x3, 0)
∵ P1’P2 = P2’P3 = |y1 -0| = y1
y1 -0 y1 -0
และ ∵ m1 = ; m2 =
x2 -x1 x3 -x2
y1 y1
∵ m1 = m2 ∴ =
x2 -x1 x3 -x2

x2 -x1 = x3 -x
2
∴ P1P2 = P2P3
△P1P2P’1 = △P2P3P’2
(∵ P1P2 =P2P3, P2P’1 = P3P’2 = y1 และ P1P̂2 P’1 = P2P̂3 P’2 = 90°)
∴ P2P̂1 P’1 = P3P̂2 P’2
หรือ θ1 = θ2 จากรูปที่ 1
และ 180°- θ1 = 180°- θ2 จากรูปที่ 2
∴ θ1 =θ2
จะเห็นว่า ถ้าเส้นตรง L1 และ L2 มีความชันเท่ากันแล้ว จะได้มุมเอียงเท่ากัน
นั่นคือ เส้นตรงที่มีความชันเท่ากันย่อมขนานกัน หรือเส้นตรงที่ขนานกันย่อมมีความชัน
เท่ากัน
ทฤษฏีบท ∶ เส้นตรงสองเส้นที่ไม่ขนานกันกับแกน y จะขนานกัน ก็ต่อเมื่อ ความชันของเส้นตรงทั้งสองเท่ากัน
เส้นตัง้ ฉาก
กาหนดให้เส้นตรง L1 และ L2 มีความชันเท่ากับ m1 และ m2 ตามลาดับ จะต้องพิสูจน์
ว่า m1m2 = -1 แล้วเส้นตรง L1 และ L2 ตั้งฉากกัน
L2
R(0, c)
L1
T
(x, y)

Q(0, b)
P S(x, b)
(a, b)

ให้เส้นตรง L1 และ L2 ตัดกันที่จุด P(a, b) และเส้นตรง L2 ตัดแกน y ที่จุด R(o,


c) ลากเส้นตรงให้ขนานแกน x และผ่านจุด P(a, b) ตัดแกน y ที่จุด Q(0, b) ต่อเส้นตรง
QP ถึง S โดยให้ PS = QR ลาก ST ให้ขนานแกน ตัดเส้นตรง L2 ที่จุด T
ให้ S และ T มีโคออร์ดิเนทเป็น (x, b) และ (x, y) ตามลาดับ
PS = QR
x-a = c-b
a = a+c-b
y-b y-b c-b c-b
และ m1 = = , m2 = =
a+c-b-a c-b o-a -a
m1m2 = -1
y-b c-b y-b
∙ =-1→ -1
c-b -a -a
y – b = a หรือ ST =PQ
∴ △PQR= △PST
(QR = PS, PQ̂ R = PŜT, PQ=ST)
QP̂ R = PT̂ S และ PR̂Q = SP̂ T
แต่ QP̂ R + PR̂Q = 90°
QP̂ R + SP̂ T = 90°
RP̂ T= 90°
∴ เส้นตรง L1 กับ L2 ตั้งฉากกัน
ดังนั้น ถ้าผลคูณของความชันของเส้นตรงสองเส้นมีค่าเท่ากับ -1 แล้วเส้นตรงสองเส้นนั้นตั้ง
ฉากกัน
ในทานองเดียวกัน ถ้าเส้นตรงสองเส้นที่ไม่ขนานกับแกน y ตั้งฉากกันแล้ว ผลคูณของ
ความชันของเส้นตรงทั้งสองเท่ากับ -1
ทฤษฏีบท : เส้นตรงสองเส้นที่ไม่ขนานกับแกน y จะตัง้ ฉากกัน
ก็ตอ่ เมือ่ ผลคูณของความชันของเส้นตรงทัง้ สองเท่ากับ-1
1
1. ถ้าเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (x, 5) และ (-2, 8) มีความชันเท่ากับ - จงหา x
2

2. ถ้าเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (-4, -4) และ (2, y) มีความชันเท่ากับ 2 แล้วจงหา y


3. จงแสดงว่าจุด (2, 3), (4, 5), (6, 7) อยู่บนเส้นตรงเดียวกัน

4. ถ้าเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (2, k) และ (5, 6) มีความชันเท่ากับเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (-2,


1) และ (1, 5) จงหาค่า k
5. กาหนด A(2, 3), B(4,-1) และ C(7, 6) และให้ D และ E เป็นจุดกึ่งกลางของด้าน
AB และ AC ตามลาดับ จงแสดงว่า DE ขนานกับ BC

6. ถ้าจุด A(1, -1), B(2, 2), และ C(4, t) อยู่บนเส้นตรงเดียวกันแล้ว จงหาค่า t


4. สมการของกราฟเส้นตรง
1. สมการของกราฟเส้นตรงที่ขนานกับแกน x
กาหนดให้ L เป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน x ดังนั้น เส้นตรง L ย่อมตั้งฉากกับ
แกน y และกาหนดให้เส้นตรง L ตัดแกน y ที่จุด (0, b)
ถ้า b>0 เส้นตรง L จะอยู่เหนือแกน x และห่างจากแกน x เป็นระยะ l b l
หน่วย
ถ้า b=0 เส้นตรง L จะทับแกน x
ถ้า b<0 เส้นตรง L จะอยู่ใต้แกน x และห่างจากแกน x เป็นระยะ l b l
หน่วย
สมการของกราฟเส้นตรงที่ขนานกับแกน x คือ y = b
ตัวอย่างเช่น
(1) เส้นตรงที่ขนานกับแกน x และอยู่เหนือแกน x เป็นระยะ 5 หน่วย มีสมการเป็น y
=5
(2) เส้นตรงที่ขนานกับแกน x และทับแกน x มีสมการเป็น y = 0
(3) เส้นตรงที่ขนานกับแกน x และอยู่ใต้แกน x เป็นระยะ 5 หน่วย มีสมการเป็น y =
-5
Y Y
Y
y=5

y=0
X X
0 0 X
0

y = -5

(1) (2) (3)


2. สมการของกราฟเส้นตรงที่ขนานกับแกน y
กาหนดให้ L เป็นเส้นตรงที่ขนานกับแกน y ดังนั้น เส้นตรง L ย่อมตั้งฉากกับ
แกน x และกาหนดให้เส้นตรง L ตัดแกน x ที่จุด (a, 0)
ถ้า a>0 เส้นตรง L จะอยู่ทางขวาของแกน y และห่างจากแกน y เป็นระยะ l
a l หน่วย
ถ้า a=o เส้นตรง L จะทับแกน y
ถ้า a<0 เส้นตรง L จะอยู่ทางซ้ายของแกน y และห่างจากแกน y เป็นระยะ l
a l หน่วย
สมการของกราฟเส้นตรงที่ขนานกับแกน y คือ x=a
ตัวอย่างเช่น
(1) เส้นตรงที่ขนานกับแกน y และอยู่ทางขวาของแกน y เป็นระยะ 5 หน่วยมีสมการ
เป็น x=5
(2) เส้นตรงที่ขนานกับแกน y และทับแกน y มีสมการเป็น x=0
(3) เส้นตรงที่ขนานกับแกน y และอยูท่ างซ้ายของแกน y เป็นระยะ 5 หน่วยมี
สมการเป็น x=-5
Y Y Y

5 -5
X X X
0 0 0
x=0
x=5 x = -5

(1) (2) (3)

3. สมการของกราฟเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน x และไม่ขนานกับแกน y
กาหนดให้ L เป็นเส้นตรงที่ไม่ขนานกับแกน x และไม่ขนานกับแกน y มีความ
ชันเท่ากับ m และผ่านจุด (x1, y1)
L

(x , y)

(x1 , y1)

0 X

จากรูป ให้ (x, y) เป็นจุดใดๆ บนเส้นตรง L


y-y1
ความชันของเส้นตรง L ที่ลากผ่านจุด (x1, y1) และ (x, y) เท่ากับ
x-x1
y-y1
∴ =m
x-x1
y-y1 = m(x-x1 )
ดังนั้น สมการของกราฟเส้นตรงที่มีความชัน m และผ่านจุด (x1, y1) คือ
y-y1 = m(x-x1)
ตัวอย่างเช่น
2
(1) สมการของกราฟเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ และผ่านจุด (1, 2) คือ
3
2
y-2 = (x-1)
3
หรือ 2x -3y +4 = 0
4
(2) สมการของกราฟเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ − และตัดแกน y ที่จุด (0, 5) คือ
5
4
y-5 = - (x-0)
5
หรือ 4x +5y -25 = 0
(3) จงเขียนสมการของกราฟเส้นตรงที่ลากตัดแกน x ที่จุด (4, 0) และตัดแกน y ที่จุด
(0, 3)
3-0 3
เส้นตรงที่ผ่านจุด (0, 3) และมีความชัน = - มีสมการเป็น
0-4 4
3
y – 3 = - (x-0)
4
หรือ 3x + 4y -12 = 0
(4) จงเขียนสมการของกราฟเส้นตรงที่ลากผ่านจุด (1, 2) และ (4, 3)
3-2 1
เส้นตรงที่ผ่านจุด (1, 2) และมีความชัน = = มีสมการเป็น
4-1 3
1
y – 2 = (x-1)
3
หรือ x -3y +5 = 0
จะเห็นได้วา่ จากสมการ y-y1 = m(x-x1)
จะได้ y-y1 = mx=mx1
Y = mx – mx1 +y1
M, x1 และ y1 เป็นค่าคงที่
ดังนั้นถ้าให้ c = -mx1 +y1 จะได้สมการใหม่คอื
y = mx + c
ถ้า x = 0 ถ้า y = c แสดงว่าเส้นตรงนี้ผ่านจุด (o, c)
ดังนั้น สมการ y=mx+c จึงมีกราฟเป็นเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ m และตัดแกน y ที่
จุด(0, c)
โดยทั่วไปเราเขียนสมการเส้นตรงในรูป Ax+by+x = 0 เมื่อ A, B และ C เป็น
จานวนจริง และ A, B ไม่เป็นศูนย์พร้อมกัน
พิจารณาสมการเส้นตรง Ax+By+C=0
𝐶
1. เมื่อ A = 0 และ B ≠ 0 จากสมการ Ax+by+c = 0 จะได้ y = - ซึ่ง
𝐵
เป็นกราฟเส้นตรงที่ขนานกับแกน x
𝐶
2. เมื่อ A≠0 และ B=0 จากสมการ Ax+By+C = 0 จะได้ x = - ซึ่งเป็น
𝐴
เส้นตรงซึ่งขนานกับแกน y
A C
3. เมื่อ A≠0 และ B≠0 จากสมการ Ax+by+c = 0 จะได้ y - x- ซึ่งเป็น
B B
A C
กราฟเส้นตรงที่มีความชันเท่ากับ - และผ่านจุด (0, - )
B B
1. จงหาสมการของกราฟเส้นตรงตามสมบัติที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1) ขนานกับแกน x และอยู่เหนือแกน x เป็นระยะ 5 หน่วย
2) ขนานกับแกน y และอยู่ทางซ้ายมือ เป็นระยะ 3 หน่วย
3) ขนานกับแกน x และอยู่ห่างจากจุด(0, -1) เป็นระยะ 4 หน่วย
4) ขนานกับแกน y และอยู่ห่างจากจุด(2, 0) เป็นระยะ 5 หน่วย
2. จงบอกความชันและจุดที่เส้นตรงต่อไปนี้ตัดแกน x และ แกน y
1) x+2y+3=0
ความชัน =
ตัดแกน x ที่จุด
ตัดแกน y ที่จุด
2) 4x-3y-5=0
ความชัน =
ตัดแกน x ที่จุด
ตัดแกน y ที่จุด
3) 5y-x=10
ความชัน =
ตัดแกน x ที่จุด
ตัดแกน y ที่จุด
2
4) y= x – 6
3
ความชัน =
ตัดแกน x ที่จุด
ตัดแกน y ที่จุด
5) 2x=4y-5
ความชัน =
ตัดแกน x ที่จุด
ตัดแกน y ที่จุด
3. จงแสดงว่าเส้นตรง 3x-4y+5 = 0 ขนานกับเส้นตรง 6x-8y-5 = 0

4. จงแสดงว่าเส้นตรง 5x+2y-3 = 0 ตั้งฉากกับเส้นตรง 4x-10y+5 = 0


5. ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุด และระยะระหว่างเส้นคูข่ นาน
ระยะห่างระหว่างเส้นตรงกับจุด
ถ้ากาหนดให้ระยะทางจากจุด P(x1, y1) ไปยังเส้นตรง Ax+By+c = 0 เท่ากับ d
เราจะสามารถหาค่า d ได้ดังนี้
ให้ L เป็นเส้นตรง Ax+By+c = 0
ลากเส้นตรง L1 ผ่านจุด P(x1, y1) มาตั้งฉากกับเส้นตรง L ที่จุด P’(x, y) ดังรูป

PP’ = d
d = (x-x1)2 + (y-y1)2
2

จากสมการ Ax+By+c = 0
A C
y = - x- ------- (1)
B B
A
ความชันเส้นตรง L = - (B≠0)
B
B
ความชันเส้นตรง L1 = (เส้นตรง 2 เส้นตั้งฉากกัน ผลคูณของความชัน
A
= -1)
แต่เส้นตรง L1 ผ่านจุด (x1, y1) และ (x, y)
y-y1
ความชันของเส้นตรง L1 =
x-x1
y-y1 B
=
x-x1 A
B
y - y1 = (x – x1) ------- (2)
A
B
y = y1 + (x – x1) ------- (3)
A
A C B
(1) – (3) ได้ - x- = y1 + (x – x1)
B B A
B A C
(x – x1) + x = -y1 -
A B B
B A A A C
(x – x1) + x - x1 = - x1 - y1 -
A B B B B
B A A C
(x – x1) + (x-x1 ) = - x1 - y1 -
A B B B
B A A C
( + ) (x – x1) = - x1 - y1 -
A B B B
A2 B2 A By1 C
(x – x1) = - x1 - -
AB B B B
A
(x – x1) = - ( 2 2 )(Ax1 +By1+C) ------- (4)
A +B
จาก d = (x-x1) + (y-y1)2
2 2

แทน y-y1 จาก (2) ได้


B2
d = (x-x1) + 2 (x-x1)2
2 2
A
A2 +B2
= 2 (x-x1)2
A
แทน x-x1 จาก (4) ได้
2 A2 +B2 A
d = ∙( )2 (Ax1+By1+C)2
A2 A2 +B2
|Ax1 +By1 +C|
d=
√A2 +B2
ระยะห่างระหว่างเส้นตรง Ax+By+C=0 คือ
|Ax1 +By1 +C|
d=
√A2 +B2
ระยะระหว่างเส้นคูข่ นาน
กาหนดเส้นตรง AX +By +C1 = 0 และเส้นตรง Ax+By+C2=0 จะเห็นว่าเส้นตรง
สองเส้นนี้ขนานกัน การหาระยะห่างระหว่างเส้นตรงทั้งสองทาได้โดยเลือกจุดจุดหนึ่งบนเส้นตรง
Ax+By+C2 = 0 ให้เป็น (x1, y1) จะได้ Ax1+By1+C2 = 0 หรือ Ax1+By1=-C2
ให้ d เป็นระยะห่างระหว่างจุด (x1, y1) กับเส้นตรง Ax+By+c1 = 0 จะได้
|Ax1 +By +C|
1
d=
√A2 +B2
Ax1 + By1 = -C2
|-c2 +c1 |
d=
√A2 +B2
ระยะห่างระหว่างเส้นตรง Ax+By+C1 =0 และเส้นตรง Ax+By+C2 =คือ
|C1 -C2 |
d=
√A2 +B2
1. จงหาสมการเส้นตรงที่ขนานกับเส้นตรง 3x+4y+10 = 0 และอยู่ห่างจากจุด (3, 4) เท่ากับ
6 หน่วย

2. จงหาสมการเส้นตรงที่ตั้งฉากกับเส้นตรง 5x+12y+15 = 0 และห่างจากจุด (1, 1) เท่ากับ 2


หน่วย
3. จงหาสมการเส้นตรงที่ขนานกับเส้นตรง 6x+8y+30 = 0 และห่างจากจุดกาเนิดเท่ากับ 2.5
หน่วย

4. ถ้าเส้นตรง 5x-12y+17 = 0 เป็นเส้นตรงที่อยู่กึ่งกลางระหว่างเส้นคู่ขนานคู่หนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างกัน


4 หน่วย จงหาสมการของเส้นคู่ขนานคูน่ ี้

You might also like