โรคฉี่หนู

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 8

บทนำ

โรคฉี่หนู หรือเรียกอีกอย่างว่า โรคเลปโตสไปโรซิส(Leptospirosis)
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชื่อว่า เชื้อเลปโตสไปร่า (Leptospira)เป็ น
โรคติดเชื้อแบคทีเรียซึ่งติดต่อจากสัตว์สู่คนชนิดหนึง่ เชื้อก่อโรคจะปน
ออกมากับฉี่ของสัตว์ต่างๆที่เป็ นพาหะ โดยหนูจะเป็ นแหล่งแพร่เชื้อที่
สำคัญที่สุด จึงเรียกว่า โรคฉี่หนู แต่อย่างไรก็ตามสัตว์อ่ น
ื ๆอย่างเช่น สุนัข
วัว ควาย ก็สามารถมีเชื้อและแพร่เชื้อมาสูค
่ นได้เช่นเดียวกัน โดยเชื้อจะ
ถูกขับออกมากับฉีข
่ องสัตว์เหล่านีม
้ าอยู่ในที่ที่มีฝนตก น้ำท่วมขัง หรือ
ตามสวนไร่นาที่มีน้ำขัง และเชื้อก็จะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมเหล่านีไ้ ด้นาน
เป็ นเดือน เมื่อคนย่ำน้ำที่มีเชื้อฉี่หนูอยู่ เชื้อก็จะไชเข้าสูผ
่ ิวหนังและทำให้
คนป่ วยได้
สาเหตุ
สาเหตุของโรค มาจากการติดเชื้อแบคทีเรียรูปเกลียวขนาดเล็ก ชื่อ
เลปโตไปร่าอินเทอโรแกนส์ (Leptospira interrogans) ซึง่ เชื้อสามารถมี
ชีวิตได้นานหลายเดือนหลังจากถูกขับออกทางปั สสาวะจากสัตว์ที่มีเชื้อ
และเป็ นแหล่งรังโรคได้แก่ สุกร โค กระบือ สุนัข โดยที่สัตว์อาจจะไม่มี
อาการแต่สามารถปล่อยเชื้อได้เป็ นเวลาหลายสัปดาห์หรืออาจจะตลอด
ชีวิตสัตว์
กลไกการเกิดโรค
เชื้อ leptospires เป็ นแบคทีเรียชนิด spirochete มีลักษณะเป็ น
เส้นเกลียวบางยาว 6- 25 มคม. กว้าง 0.25 มคม. มี flagella ที่ปลาย
ข้างละ 1 เส้น เคลื่อนไหวโดยการหมุนและโค้งงอ เชื้อมีผนังหุ้ม 3-5 ชัน

และมีสาร lipopolysaccharide และโปรตีนหลายชนิดเป็ นส่วนประกอบ
ของผนังชัน
้ นอก ซึ่งเป็ นแอนติเจนสำคัญ ที่นำมาใช้ในการตรวจเพื่อ
วินิจฉัยโรคนี ้ เชื้อชนิดนีเ้ ป็ นแอโรบิกแบคทีเรีย ต้องอาศัย long chain
fatty acid และสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมในการเติบโต อาทิเช่น ต้องมี
ความเป็ นกรดและด่างปานกลาง (pH 6.8 – 7.6) อุณหภูมิที่เหมาะสม
ประมาณ 28 - 30 องศาเซลเซียส เป็ นต้นและเจริญเติบโตในอาหารเลีย
้ ง
เชื้อ ที่เป็ นของเหลวได้ดีกว่าในวุ้นที่เป็ นอาหารเลีย
้ งเชื้ออื่น ๆ ทั่วไป โดยมี
อัตราการเพิ่มจำนวน (doubling time) 6-8 ชั่วโมง
เชื้อ leptospires แบ่งเป็ น 2 species โดยวิธีทาง serotyping
ได้แก่ L. biflexa ซึง่ เป็ นเชื้อ leptospires ที่อยู่อย่างอิสระ ในสภาพ
แวดล้อม (free living saprophyte) พบทัง้ ในน้ำจืดและน้ำทะเล เชื้อ
ชนิดนีไ้ ม่ก่อโรคทัง้ ในคนและสัตว์ และ L. interrogans ซึ่งเป็ นเชื้อก่อโรค
เล็ปโตสไปโรสิส เชื้อ  L. interrogans ยังแบ่งเป็ น 24 serogroup ซึ่งแบ่ง
ย่อยเป็ น serovar ได้อีกมากกว่า 200 ชนิดโดยอาศัย agglutination-
absorption pattern ที่ต่างกัน การจำแนกเชื้อโดยวิธีนีย
้ ังเป็ นที่นิยมและ
มีประโยชน์ในการ ศึกษาทางระบาดวิทยา แม้ว่าในปั จจุบันมีการจำแนก
เชื้อ leptospires โดย genotyping ด้วยเทคนิค DNA hybridization
ซึ่งเป็ นวิธีซึ่งใช้ในการจำแนกเชื้อแบคทีเรียโดยทั่วไปในขณะนี ้ การจำแนก
เชื้อโดยวิธีนพ
ี ้ บว่า เชื้อใน genus นีม
้ ีอย่างน้อย 10 genospecies
เชื้อ leptospires สามารถมีชีวิตอยู่ในน้ำหรือในดินที่มีความชื้น
และความเป็ นกรดด่าง พอเหมาะดังกล่าวแล้วได้นานเป็ นชั่วโมงหรือวัน
โดยเฉพาะน้ำที่ไหลนิ่งเอื่อยๆ สัตว์ที่เป็ นแหล่งรังโรคมีทงั ้ สัตว์ป่าอาทิเช่น
กระรอก กวาง สุนัขจิง้ จอก และสัตว์เลีย
้ งต่าง ๆ เช่น สุกร หนู สุนัข โค
กระบือและแมว เป็ นต้น สัตว์เหล่านีอ
้ าจไม่แสดงอาการใด ๆ แต่จะมีการ
ติดเชื้อที่ท่อไตและปล่อยเชื้อออกมากับปั สสาวะได้เป็ นเวลานาน หลาย
สัปดาห์ หลายเดือนหรืออาจตลอดชีวิต ทำให้เชื้อนีส
้ ามารถแพร่กระจาย
ในฝูงสัตว์จากการเลียกินปั สสาวะ การผสมพันธุ์หรือการสัมผัสปั สสาวะที่
ปนเปื้ อนในสิ่งแวดล้อมและมีการติดต่อมายังคนได้ เชื้อ leptospires
แต่ละชนิดมีสัตว์ที่เป็ นแหล่งรังโรคหลักๆต่างกัน เช่น เชื้อ serovar
icteroheamorrhagiae และ copenhageni พบได้ในหนู ส่วนเชื้อ
serovar pomona พบได้ในสุกร เชื้อ serovar hardjo พบได้ในโค
กระบือ และเชื้อ serovar canicola พบได้บ่อยในสุนัข เป็ นต้น (สัตว์จะ
ไม่แสดงอาการป่ วยถ้าติดเชื้อสายพันธ์ประจำชนิดของ สัตว์นน
ั ้ ๆ แต่ถ้า
ติดเชื้อต่างสายพันธ์จะป่ วยได้)

ลักษณะทางคลินิกที่สำคัญ
โรคนีม
้ ีระยะฟั กตัวโดยเฉลี่ย 5-14 วัน ผู้ที่ได้รับเชื้อ leptospires
จำนวนหนึ่งไม่มีอาการทางคลินิก (subclinical infection) โดยมีรายงาน
จากต่างประเทศพบผู้ซึ่งเคยติดเชื้อแต่ไม่แสดงอาการทางคลินิกได้ ตัง้ แต่
ร้อยละ 37- 70 ส่วนผู้ป่วยที่มีอาการทางคลินิกอาจแบ่งเป็ น 2 ระยะตาม
พยาธิกำเนิด
ระยะแรก (leptospiremicphase)
เป็ นระยะ 4-7 วันแรก ของการดำเนินโรคซึ่งสามารถแยกเชื้อได้
จากเลือดและน้ำไขสันหลัง ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงแบบทันทีทันใด ปวด
ศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อมากโดยเฉพาะกล้ามเนื้อหลัง น่องและต้นคอ
และมีคลื่นไส้ อาเจียน อาการตาแดงซึ่งเป็ นผลจากการที่เส้นเลือดในเยื่อ
บุตาขยายตัว โดยไม่มีการอักเสบเป็ นหนองมักพบใน 3 วันแรกของโรค
และเป็ นอยู่ได้นานถึง 1 สัปดาห์ อาจพบมีอาการคอแข็ง ความดันโลหิต
ต่ำ การตรวจร่างกายอื่น ๆ ที่อาจพบได้แต่ไม่บ่อยได้แก่ ผื่นแดง ต่อมน้ำ
เหลืองโต ตับม้ามโต เป็ นต้น
ระยะที่ 2 (immune phase)
ระยะที่ 2 เป็ นระยะหลังจากเริ่มมีอาการไข้ประมาณ 1 สัปดาห์ ซึ่ง
ผู้ป่วยเริ่มสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อกำจัดเชื้อดังกล่าวแล้ว โดยจะมีช่วงที่ไข้ลง
ประมาณ 1-2 วันแล้วกลับมีไข้ขน
ึ ้ ใหม่เข้าสู่ระยะที่ 2 นี ้ ทำให้ไข้อาจมี
ลักษณะเป็ น biphasic ในระยะนีผ
้ ู้ป่วยมักมีอาการปวดศีรษะ ซึง่ ไม่ค่อย
ตอบสนองต่อยาแก้ปวด อาจมีอาการสับสน ไข้ต่ำๆ คลื่นไส้ อาเจียนแต่
ไม่รุนแรง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ม่านตาอักเสบ ผื่นและหน้าที่ของตับและ
ไตผิดปรกติ ระยะนีอ
้ าจกินเวลาตัง้ แต่ 4 ถึง 30 วัน และจะพบเชื้อใน
เลือดและน้ำไขสันหลังได้ใน 1-2 วันแรกและหลังจากนัน
้ เชื้อจะออกมาใน
ปั สสาวะนาน 1-3 สัปดาห์ ผู้ป่วยซึ่งมี อาการรุนแรงจะมีไข้สูงลอยและมี
อาการหรืออาการแสดงของระยะนีต
้ งั ้ แต่ปลายสัปดาห์แรกของโรค โดย
ไม่มีช่วงที่ไข้ลดลง
การวินิจฉัยโรค
การวินิจฉัยทางคลินิก แบ่งเป็ น
- ผู้ป่วยที่สงสัยทางคลินิก (possible case หรือ suspected case)
- ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยที่แน่นอน (confirmed case)
       ผู้ป่วยที่สงสัยทางคลินก
ิ ได้แก่ ผู้ป่วยที่มีอาชีพ หรือประวัติสัมผัส
หรือเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ซึ่งมีอาการไข้ฉับพลันและอาการอื่นๆที่พบบ่อย
ในโรคเล็ปโตสไปโรสิสดังกล่าวแล้ว โดยไม่มีอาการซึ่ง บ่งชีส
้ าเหตุของโรค
ติดเชื้ออื่น ๆ เช่น การติดเชื้อทางเดินหายใจ หรือปอดอักเสบ หรือการติด
เชื้อในระบบอื่น ๆ เนื่องจากอาการทางคลินก
ิ ของโรคเล็ปโตสไปโรสิสเกิด
จากภาวะ leptospiremia ร่วมกับภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ซึ่งเกิดได้ทั่ว
ร่างกาย ทำให้พบว่าผู้ป่วยโรคนีม
้ ีอาการทางคลินิกเป็ นกลุ่มอาการต่างๆ
มากมาย อาทิเช่น
      1. กลุ่มอาการไข้ฉับพลัน (acute febrile illness)ได้แก่ ผู้ป่วยที่มี
อาการไข้ร่วมกับอาการปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ตาแดง ฯลฯ โดย
ไม่มีอาการตัวและตาเหลือง หรืออาการซึ่งเกิดจากภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ
       2. กลุ่มอาการไข้ฉับพลันร่วมกับอาการตัวและตาเหลือง (acute
acalculous cholecystitis) อาจพบว่ามีตับโต กดเจ็บร่วมด้วย โดยไม่
พบความผิดปรกติของการทำงานของไต
       3. กลุ่มอาการไข้ฉับพลันร่วมกับความผิดปรกติของการทำงานของ
ไต เช่น การตรวจปั สสาวะพบความผิดปรกติ หรือพบการเพิ่มขึน
้ ของระ
ดับยูเรีย หรือ ครีอะตินิน โดยไม่พบอาการตัวและตาเหลือง
       4. กลุ่มอาการไข้ฉับพลันร่วมกับอาการตัวและตาเหลือง และความ
ผิดปรกติ ของการทำงานของไตร่วมด้วย (Weil ’s syndrome)
       5. กลุ่มอาการไข้ฉับพลันร่วมกับความผิดปรกติทางระบบประสาท
เช่น ความรู้สึกตัวผิดปรกติ (encephalopathy) หรือเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
(aseptic meningitis) เป็ นต้น
       6. กลุ่มอาการไข้ฉับพลันร่วมกับอาการทางระบบหายใจ เช่น ไอ
เป็ นเลือด หอบเหนื่อย การหายใจล้มเหลว เป็ นต้น
       ผู้ป่วยที่ตรวจพบกลุ่มอาการต่าง ๆ เหล่านีจ
้ ะให้การวินิจฉัยเบื้องต้น
ว่าเป็ นโรคเล็ปโตสไปโรสิส ได้โดยการซักประวัติและตรวจร่างกายแล้วพบ
ว่า ผู้ป่วยมีปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ leptospires และไม่พบสาเหตุการ
ติดเชื้อชนิดอื่น ๆ หรือสาเหตุอ่ น
ื ที่พบบ่อยกว่า เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการไข้ฉับ
พลัน ร่วมกับอาการตัวและตาเหลือง แต่ไม่พบนิ่วในถุงน้ำดีหรือไม่มี
ประวัติด่ ม
ื สุราจัด หรือเป็ นโรคตับเรื้อรัง ซึง่ เป็ นสาเหตุของโรคทางเดิน
น้ำดีหรือถุงน้ำดีอักเสบเฉียบพลันทีพ
่ บบ่อย หรือผู้ป่วยที่อาการไข้ฉับพลัน
ร่วมกับอาการหอบเหนื่อย หรือไอเป็ นเลือด แต่ภาพรังสีปอดไม่พบ
ลักษณะปอดอักเสบที่กลีบใดกลีบหนึ่ง และตรวจเสมหะไม่พบเชื้อก่อโรค
เป็ นต้น
       ดังนัน
้ จะเห็นได้ว่า การวินิจฉัยโรคเล็ปโตสไปโรสิสทางคลินิกจำเป็ น
ต้องวินิจฉัยแยกโรคจากการติดเชื้อต่าง ๆ หลายชนิด ขึน
้ กับกลุ่มอาการที่
ผู้ป่วยมาพบแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรายที่มีอาการรุนแรงต้องวินิจฉัย
แยกโรค จากภาวะ community-acquired septicemia ซึง่ เชื้อก่อโรคที่
พบบ่อยได้แก่ เชื้อแบคทีเรียกรัมลบ เช่น Escherichia coli, Klebsiella
spp. หรือเชื้อกรัมบวก เช่น Staphylococcus aureus เป็ นต้น ในรายที่
มีอาการรุนแรงมากต้องวินิจฉัยแยกโรคจาก septicemic melioidosis
ด้วยเสมอ เนื่องจากโรคเหล่านีม
้ ีอัตราตายสูงและรักษาด้วยยาต้านจุลชีพ
ที่ต่างกัน ข้อสังเกตซึ่งอาจช่วยในการ วินิจฉัยแยกโรคได้แก่ ผู้ป่วยโรคเมลิ
ออยด์โดสิสส่วนใหญ่เป็ นชาวนา และมักจะมีโรคประจำตัว โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง โรคเบาหวานและนิ่วในไตร่วมด้วย และภาพรังสีปอดที่ผิดปรกติ
ในรายที่ เกิดจากภาวะ community-acquired septicemia มักเป็ น
ลักษณะของ bacteremic pneumonia คือ เป็ น patchy infiltration
หรือ cotton ball appearance และเป็ นทัง้ สองปอด นอกจากนีย
้ ังมี
โรคหลายโรคซึ่งมีอาการและอาการแสดงไม่แตกต่างจากโรคเล็ปโตสไปโร
สิสเลย เช่น โรคไข้รากสาดใหญ่หรือ scrub typhus ไข้เลือดออกที่มี
อาการรุนแรง เป็ นต้น ดังนัน
้ จึงต้องตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัย
โรคเล็ปโตสไปโรสิสเสมอ
การรักษา
ผู้ป่วยโรคเล็ปโตสไปโรสิสส่วนใหญ่มีการพยากรณ์โรคดีถ้าได้รับการ
วินิจฉัยที่ถูกต้องอย่างรวดเร็วและ การรักษาที่เหมาะสม ผู้ป่วยที่เสียชีวิต
เกิดจากมีอาการแทรกซ้อนที่รุนแรงเช่น ไอเป็ นเลือดที่รุนแรง การหายใจ
ล้มเหลว หรือไตวาย เป็ นต้น
       การศึกษาเกี่ยวกับปั จจัยที่มีผลต่ออัตราตายในผู้ป่วยโรคเลปโตสไป
โรสิสโดย Dupont และคณะพบว่า ผู้ป่วยซึ่งมีภาวะหายใจลำบาก หรือ
ภาวะไตวายที่มีปัสสาวะออกน้อย หรือภาพรังสีปอดผิดปกติแบบ
alveolar infiltration หรือคลื่นไฟฟ้ าหัวใจผิดปกติ หรือมีจำนวนเม็ด
เลือดขาวเพิ่มขึน
้ มากกว่า 12,900 /มคล. อย่างใดอย่างหนึ่งมีอัตราตายสูง
กว่ารายที่ไม่มีความผิดปกติดังกล่าว การศึกษาจากประเทศบราซิลพบว่า
ผู้ป่วยที่มีภาวะภาวะไตวายที่มีปัสสาวะออกน้อยมีอัตราตายสูง ส่วนการ
ศึกษาในผู้ป่วยกลุ่มที่อาการไอเป็ นเลือด และการหายใจล้มเหลวพบว่า ผู้
ที่มีภาวะความดันโลหิตต่ำ หรือระดับ creatinine สูง หรือระดับสาร โป
แตสเสียม ในเลือดสูงกว่า 4 มิลลิโมล/ลิตรร่วมด้วยมีอัตราตายสูงกว่าผู้ที่
ไม่มีความผิดปกติดังกล่าวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การศึกษาในประทศ
ไทยจากโรงพยาบาลขอนแก่น และโรงพยาบาลแพร่ พบว่า ผู้ป่วยกลุ่มที่มี
อาการไอเสมหะปนเลือด หรืออัตราการหายใจ >24 ครัง้ /นาที หรือความ
ดันโลหิตต่ำ หรือภาวะ oliguria หรือระดับโปแตสเสียมในเลือด สูงกว่า 5
มิลลิโมล/ลิตร หรือจำนวนเกร็ดเลือด <100, 000/มคล. อย่างใดอย่าง
หนึ่งมีอัตราเสี่ยงต่อการ เสียชีวิตสูงกว่ากลุ่มที่ไม่มีอาการและการตรวจ
พบดังกล่าวตัง้ แต่ 1.1 – 18 เท่า

การป้ องกันและรักษา
1. การให้ยาป้ องกันการติดเชื้อเลปโตสไปโรซิส
       จากการศึกษาของ Takafuji และคณะ พบว่า ยาด็อกซี่ซัยคลิน
200 มก/สัปดาห์ก่อนสัมผัส , ระหว่างการสัมผัส 200 มก/สัปดาห์ และ
4- 6 สัปดาห์ หลังการสัมผัส ลดอัตราการติดเชื้อจาก 4.2 % เหลือ 0.2
% (95% protective)
2. การป้ องกันการติดเชื้อเลปโตสไปโรซิสโดยไม่ใช้ยา
2.1 กำจัดหนู หรือสัตว์พาหะอื่น ๆ
2.2 หลีกเลี่ยงการสัมผัสเชื้อ เช่น หลีกเลี่ยงการย่ำน้ำท่วมขัง,ใส่รองเท้าบู้

2.3 รักษาอย่างรวดเร็วหลังมีอาการทางคลินิก
       2.4 วัคซีน ยังมีข้อจำกัดอยู่เนื่องจาก เชื้อมีความหลากหลาย และ
ภูมิคุ้มกันจากการติดเชื้อป้ องกันเฉพาะสายพันธุ์
เอกสารอ้างอิง
http://www.ronghosp.org/hosmain/pps-xls-word-show/Leptospirosis/lepto_21.htm#:~:text=
%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%9E
%E0%B8%9A
%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7,%E0%B8%
97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%AA
%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD
%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94

You might also like