Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 76

ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.

com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ


บทที่ 8 ฟังก์ชน
ั ตรี โ กณมิ ติ
8.1 ฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
การก าหนดค่ าของฟั งก์ชัน ตรี โกณมิ ติ ท าได้โดยใช้วงกลมรั ศ มี ย าว 1 หน่ วย ซึ่ งมี จุด
ศูนย์กลางอยูท่ ี่จุด (0 , 0) ซึ่ งจะเรี ยกว่าวงกลมหนึ่งหน่ วย (The unit circle)
หากเราวัดความยาวเส้นโค้งจากจุดตัดแกน +X ทวนเข็มนาฬิกาไปจนครบ 1 รอบ จะได้ว่า
ความยาวเส้นโค้ง 1 รอบ = เส้นรอบวง = 2 R = 2 (1) = 2
ดังนั้น ความยาวเส้นโค้งครึ่ งรอบวงกลม = 
ความยาวเส้นโค้ง 41 รอบวงกลม = π2
ความยาวเส้นโค้ง 43 รอบวงกลม = 32π
และที่จุดน่าสนใจอื่นๆ ความยาวเส้นโค้งจะเป็ น
ดังรู ป ความยาวส่ วนโค้งดังกล่าวนี้จะมีหน่วย
เป็ นเรเดียน
ฝึ กทำ. จากรู ปที่กาหนด จงเติมความยาวเส้นโค้ง
ของวงกลมหนึ่งหน่วยซึ่ งวัดจากจุดตัดแกน +X
ทวนเข็มนาฬิกาไปจนถึงจุดที่กาหนดให้น้ นั

ความยาวส่ วนโค้งบนวงกลมหนึ่งหน่วย สามารถเทียบเป็ นมุมองศาได้ โดยถือหลักว่า


2  เรเดียน ( 1 รอบวงกลม ) มีขนาดเท่ากับ 360o
ดังนั้น  เรเดียน จึงมีขนาดเท่ากับ 180o
จากหลักการดังกล่าวเรานาไปใช้เปลี่ยนความยาวส่ วนโค้งเป็ นมุมองศา หรื อเปลี่ยนมุมองศา
เป็ นความยาวส่ วนโค้ง ได้ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่ำง จงหาว่าความยาวส่ วนโค้ง π6 เรเดียน มีขนาดเท่ากับกี่องศา
แนวคิด ให้เปลี่ยน  เรเดียน เป็ น 180o ได้โดยตรงดังนี้
π = 180 = 30o
6 6

1
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตัวอย่ำง จงหาว่า 150o มีค่าเท่ากับกี่เรเดียน
แนวคิด ให้คูณด้วย 180π  ดังนี้
150o = 150o x 180π  = 56π เรเดียน
ฝึ กทำ. จากรู ปที่กาหนด จงเติมความยาวเส้นโค้ง
ของวงกลมหนึ่งหน่วยซึ่ งวัดจากจุดตัดแกน +X
ทวนเข็มนาฬิกาไปจนถึงจุดที่กาหนดให้น้ นั
ทั้งในรู ปแบบ  เรเดียน และมุมเป็ นองศา

ฝึ กทำ. จงหาว่าความยาวส่ วนโค้งเป็ นเรเดียนต่อไปนี้ มีขนาดเท่ากับกี่องศา


1. 23π 2.  56π 3. 113π 4. 4 
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาเปลี่ยนมุมขนาดต่อไปนี้ให้เป็ นความยาวส่ วนโค้ง ( เรเดียน )


1. 300o 2. –315o 3. 120o 4. –510o
แนวคิด

เมื่อพิจารณาพิกดั ( x , y ) ของจุดซึ่ งมีความยาวส่ วนโค้ง  ใดๆ บนวงกลมหนึ่งหน่วย จะพบว่า


ในควอร์ดรันต์ที่ 1 0o <  < 90o และ ค่า x เป็ นบวก ค่า y เป็ นบวก
ในควอร์ดรันต์ที่ 2 90o <  < 180o และ ค่า x เป็ นลบ ค่า y เป็ นบวก
ในควอร์ดรันต์ที่ 3 180o <  < 270o และ ค่า x เป็ นลบ ค่า y เป็ นลบ
ในควอร์ดรันต์ที่ 4 270o <  < 360o และ ค่า x เป็ นบวก ค่า y เป็ นลบ
2
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงคาลงในช่องว่างให้ถูกต้องและสมบูรณ์
+Y
( , ) ( , )

X +X
( , ) ( , )

Y
ฟังก์ชนั โคไซน์ คือเซตของคู่อนั ดับ ( , x )
ฟังก์ชนั ไซน์ คือเซตของคู่อนั ดับ ( , y )
เขียนแทนด้วย x = cos  และ y = sin 
เมื่อ ( x , y ) เป็ นจุดปลายส่ วนโค้งที่ยาว  หน่วย บนวงกลมหนึ่งหน่วย

เช่นจากรู ปจะได้วา่
sin 0o = 0 cos 0o = 1
sin 90o = 1 cos 90o = 0
sin 180o = 0 cos 180o = –1
sin 270o = –1 cos 270o = 0
sin 30o = 12 cos 30o = 23
3
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
sin 45o = 22 cos 45o = 22
sin 60o = 23 cos 60o = 12
ฝึ กทำ. จงคาลงในช่องว่างให้ถูกต้องและสมบูรณ์

ฝึ กทำ. จงหาค่าตรี โกณมิติต่อไปนี้


sin 0o = cos 0o =
sin 90o = cos 90o =
sin 180o = cos 180o =
sin 270o = cos 270o =
sin 30o = cos 30o =
sin 45o = cos 45o =
sin 60o = cos 60o =
โปรดสั งเกต
Y
1) เนื่องจำกวงกลมหนึ่งหน่ วยมีรัศมียำว 1 หน่ วย 1

ดังนั้น – 1  x  1 จึงได้ ว่ำ – 1  cos   1


–1 1 X
และ – 1  y  1 จึงได้ ว่ำ – 1  sin   1 –1
2) จำกสมกำรกลมซึ่งมีรัศมียำว 1 หน่ วย จุดศูนย์ กลำงอยู่ทจี่ ุด (0 , 0)
x2 + y 2 = 1
จึงได้ ว่ำ cos2 + sin2 = 1
4
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.2 ค่ำของฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
วิธีกำรหำค่ ำ sin  และ cos  ทัว่ ไป
ขั้นที่ 1 ถ้า  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตรต่อไปนี้
sin ( – ) = – sin  และ cos ( – ) = cos 
ขั้นที่ 2 ถ้า  มีค่ามากกว่า 360o ให้นา  ลบออกด้วย 360o ซ้ าเรื่ อยๆ จนกว่า  จะมี
ค่าน้อยกว่า 360o แล้วจึงนาค่าที่เหลือไปคิดต่อ
ขั้นที่ 3 ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 2 ให้ใช้สูตร
sin  = sin ( 180o –  ) และ cos  = – cos ( 180o –  )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 3 ให้ใช้สูตร
sin  = – sin (  – 180o ) และ cos  = – cos (  – 180o )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 4 ให้ใช้สูตร
sin  = – sin ( 360o –  ) และ cos  = cos ( 360o –  )
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ cos (–690o)
แนวคิด ขั้นที่ 1  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตร
cos (–) = cos 
cos (–690o ) = cos 690o
ขั้นที่ 2 ทอน  ให้นอ้ ยลงโดยลบออกด้วย 360o
cos (690o ) = cos ( 690o – 360o ) = cos 330o
ขั้นที่ 3 330o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 4
จะได้วา่ cos 120o = cos ( 360o– 330o ) ] = cos 30o = 23
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ sin (–570o)
แนวคิด ขั้นที่ 1  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตร
sin (–) = – sin 
sin (–570o ) = – sin 570o
ขั้นที่ 2 ทอน  ให้นอ้ ยลงโดยลบออกด้วย 360o
–sin (570o ) = – sin ( 570o – 360o ) = – sin 210o
ขั้นที่ 3 210o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3
จะได้วา่ – [sin 210o ] = – [ –sin ( 210o–180o ) ] = sin 30o = 12
5
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ cos 150o
แนวคิด 150o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 2
ดังนั้น cos 150o = – cos ( 180o – 150o ) = – cos 30o = – 23
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ sin 240o
แนวคิด 240o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3
ดังนั้น sin 240o = – sin ( 240o – 180o ) = – sin 60o = – 23
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sin 120o 2. sin 210o 3. sin 315o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. cos 120o 2. cos 210o 3. cos 315o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sin 495o 2. cos 510o 3. cos 540o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. cos (–315o) 2. sin (–120o) 3. sin (–690o)
แนวคิด

6
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sin ( 176π ) 2. cos ( 294π ) 3. sin ( 43π )
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. cos 43π 2. sin 53π 3. cos 116π
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาจานวนจริ ง  มาห้าจานวนที่ทาให้ sin  = 1

8.3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอนื่ ๆ
ฟังก์ ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ทีค่ วรรู้ จักได้ แก่
tangent  = tan  = cos sin θ เมื่อ cos   0
θ
cotangent  = cot  = tan1 θ = cos θ
cin θ เมื่อ sin  และ cos   0
secant  = sec  = cos1 θ เมื่อ cos   0
cosecant  = cosec  = sin1 θ เมื่อ sin   0
ค่ ำ tan  ทีค่ วรจดจำ
tan 0o = 0 , tan 90o = หาค่าไม่ได้ , tan 180o = 0 , tan 270o = หาค่าไม่ได้
tan 30o = 1 , tan 45o = 1 , tan 60o = 3
3
วิธีกำรหำค่ ำ tan  ทัว่ ไป
ขั้นที่ 1 ถ้า  มีค่าเป็ นลบ ให้ใช้สูตรต่อไปนี้
tan ( – ) = – tan 
ขั้นที่ 2 ถ้า  มีค่ามากกว่า 360o ให้นา  ลบออกด้วย 360o ซ้ าเรื่ อยๆ จนกว่า  จะมี
ค่าน้อยกว่า 360o แล้วจึงนาค่าที่เหลือไปคิดต่อ
7
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ขั้นที่ 3 ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 2 ให้ใช้สูตร
tan  = – tan ( 180o –  )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 3 ให้ใช้สูตร
tan  = tan (  – 180o )
ถ้า  อยูใ่ นควอร์ ดรันต์ 4 ให้ใช้สูตร
tan  = – tan ( 360o –  )
ตัวอย่ำง จงหาค่าของ tan ( –570o )
แนวคิด ขั้นที่ 1 เนื่องจาก  มีค่าเป็ นลบ จึงใช้สูตร tan ( – ) = – tan 
ดังนั้น tan ( –570o ) = – tan (570o )
ขั้นที่ 2 ทอน  ให้นอ้ ยลงโดยลบออกด้วย 360o
จะได้ 570o – 360o = 210o
ขั้นที่ 3 210o อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3
ดังนั้น tan (150o ) = – tan ( 180o – 150o ) ] = – tan 30o = – 1
3
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. tan 120o 2. tan 210o 3. tan 315o
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. tan 480o 2. tan (–570o) 3. tan (–675o)
แนวคิด

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. sec 150o 2. sec (–240o) 3. sec (–330o)

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1. csc 120o 2. csc (–210o) 3. csc (–315o)

8
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
1(แนว มช) sin ( π6 ) – cos ( 56π ) tan ( 76π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 33

2(แนว มช) cosec 76π sec 103π cot 254π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 4 3. 8 4. 0

ควำมเกีย่ วพันธ์ ของฟังก์ชันตรีโกณที่ควรทรำบ


cos2  + sin2  = 1
cos2  = 1 – sin2 
cos  =  1  sin 2θ
sin2  = 1 – cos2
sin  =  1  cos2θ
sec2  = 1 + tan2 
csc2  = 1 + cot2 
sin (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคู่
sin ( n   ) =
– sin (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคี่
cos (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคู่
cos ( n   ) =
– cos (  ) เมื่อ n เป็ นจานวนเต็มคี่
Co – Function
sin A = cos ( 90o – A ) เช่น sin 20o = cos 70o
tan A = cot ( 90o – A ) เช่น tan 10o = cot 80o
sec A = cosec ( 90o – A ) เช่น sec75o = cosec15o
tan A . tan( 90o – A ) = 1 เช่น tan 20o tan70o = 1
cot A . cot( 90o – A ) = 1 เช่น cot 10o cot 80o = 1
9
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงเติมคาตอบที่ถูกต้อง
cos2  + sin2  =
cos2  =
cos  =
sin2  =
sin  =
sec2  =
csc2  =
3. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.6 แล้ว ค่าของ sin (–) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –0.8 2. –0.6 3. 0.6 4. 0.8

4. จากข้อที่ผานมา ค่าของ tan  + sec  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0.33 2. 0.50 3. 2 4. 3

5. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 0.6 แล้ว ค่าของ cos  + sin (–) เท่ากับข้อใด
1. –0.2 2. 0.2 3. 0.6 4. 0.8

10
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้
cos (2 + π2 ) =
sin (4 + π6 ) =
cos (3 + π2 ) =
sin (7 + π4 ) =
cos (6 – π2 ) =
cos (8 – π4 ) =
cos (7 – π4 ) =
sin (180o + 50o ) =
cos (360o + 25o ) =
6. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.20 แล้ว ค่าของ sin (3 – ) + cos ( – ) มี
ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –0.98 2. –0.78 3. 0.20 4. 0.78

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
1 sin 40o = cos …… 2 tan 40o = cot ….. 3 sec 40o = cosec…….
4 cos 10o = ..…. 80o 5 cot 20o = ….. 70o 6 cosec30o = …. …60o

7. cos ( π2  B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. sin B 2. –sin B 3. cos B 4. –cos B

11
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ tan (90o – A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. cos A 2. sec A 3. cosec A 4. cot A

9. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.6 แล้ว ค่าของ sin ( π2 – ) + cos ( π2 + ) มี
ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –0.8 2. –0.6 3. –0.2 4. 0.2

10. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ cosec (270o + A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – cos A 2. – sec A 3. – cosec A 4. – cot A

8.4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรู ปสำมเหลีย่ มมุมฉำก


พิจารณารู ปสามเหลี่ยมมุมฉากดังรู ป
กาหนดให้ ความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก = ฉาก
ความยาวด้านตรงข้ามมุม  = ข้าม
ความยาวด้านตรงประชิดมุม  = ชิด ข้ าม ฉาก
จะได้วา่ ข้าม
sin  = ฉาก

ชิด
cos  = ฉาก ชิด
tan  = ข้า ม
ชิด
12
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
11(แนว มช) ถ้า น.ส. ก้อยยืนอยู่ที่จุด A ห่ างจากต้นไม้ 150 เมตร แล้วสังเกตเห็ นว่ามุมระหว่าง
พื้นดินและยอดของต้นไม้
ที่มีความสู ง h คือ 30o
(ดังรู ป) ข้อใดคือความสู ง h
h ของต้นไม้
30o
1. 50 2. 50 3 A ต้ นไม้
3. 150 3 4. 450 3 150 ม.

12. ตึกสองหลังที่มีหลังคาเรี ยบตั้งอยูห่ ่างกัน 60 ฟุต


จากหลังคาของตึกที่เตี้ยกว่า ซึ่ งสู ง 40 ฟุต มุมที่
วัดจากหลังคาของตึกที่เตี้ยกว่าไปยังหลังคาของ 40o
ตึกที่สูงกว่ามีขนาด 40o ดังรู ป ตึกที่สูงกว่าจะ 60 ฟุต
40 ฟุต
มีความสู งเท่ากับกี่ฟุต (tan40o = 0.8391 )
1. 80.2 2. 85.5 3. 90.3 4. 95.8

13(แนว O–Net) ถ้ารู ปสามเหลี่ ยมด้านเท่ารู ปหนึ่ งมีความสู ง 1 หน่ วย แล้วความยาวเส้ นรอบรู ป
ของสามเหลี่ยมรู ปนี้ยาวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 23 หน่วย 2. 2 3 หน่วย 3. 3 3 หน่วย 4. 3 หน่วย

13
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
14. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 45 แล้ว sec  + cosec  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 35 2. 45 3. 75 4. 1235

15. กาหนดให้ sin  = 35 และ π2 <  <  แล้วค่าของ cos  . tan  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 35 2. – 45 3. 2031 4. 12
20

16. กาหนดให้ cos  = – 45 และ  <  < 3π2 แล้วค่าของ sin  . tan  เท่ากับข้อใด
1. – 35 2. 15 3. – 12
20 4. 12
20

17. กาหนดให้ 3π2 <  < 2 และ tan  = – 13 แล้ว 2 cos  + cot  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 3 10  15 2. 3 10  15 3. 3 10  15 4. 3 10  15
5 5

14
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
18. กาหนดให้ sin  > 0 โดยที่ cos  = – 35 แล้ว ค่าของ sec  + cosec  เท่ากับข้อใด
1. – 124 2. 124 3. – 125 4. 125

19. กาหนดให้ sin  < 0 โดยที่ cos  = 45 แล้ว ค่าของ 4 cot  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 5 2. –3 3. – 163 4. 125

8.5 กรำฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = sin x

จากลักษณะของกราฟ y = sin x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟเป็ นลูกคลื่น ผ่านจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ [ –1 , 1 ] นัน่ คือ –1  sin x  1
4. คาบมีความยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั = 1
(แอมปลิจูด อาจจะเรี ยกว่าเป็ นความสู งของคลื่นไซน์ก็ได้ )
15
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = cos x

จากลักษณะของกราฟ y = cos x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟเป็ นลูกคลื่น ไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ [ –1 , 1 ] นัน่ คือ – 1  cos x  1
4. คาบมีความยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั = 1

พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = tan x

จากลักษณะของกราฟ y = tan x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟเป็ นลูกคลื่น ผ่านจุด (0 , 0)
2. โดเ มนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n + π2 เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง นัน่ คือ –  < tan x < 
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี เพราะฟังก์ชนั ไม่มีค่าสู งสุ ด และต่าสุ ด

16
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = cosec x

จากลักษณะของกราฟ y = cosec x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ y  1 หรื อ y  – 1
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี

พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = sec x

จากลักษณะของกราฟ y = sec x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n + π2 เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ y  1 หรื อ y  – 1
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 2
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี
17
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
พิจำรณำกรำฟฟังก์ชัน y = cot x

จากลักษณะของกราฟ y = cot x เราสรุ ปได้ดงั นี้


1. กราฟไม่ผา่ นจุด (0 , 0)
2. โดเมนของฟังก์ชนั คือ { x | x  R และ x  n เมื่อ n  I }
3. เรนจ์ของฟังก์ชนั คือ เซตของจานวนจริ ง นัน่ คือ –   cot x  
4. คาบของฟังก์ชนั ยาว = 
5. แอมปลิจูดของฟังก์ชนั ไม่มี เพราะฟังก์ชนั ไม่มีค่าสู งสุ ดและต่าสุ ด
ฟั งก์ชนั ตรี โกณมิติทุกฟั งก์ชนั เป็ นฟั งก์ชนั ที่เป็ นคาบ คือสามารถแบ่งแกน X ออกเป็ นช่ วง
ย่อย โดยที่ความยาวของแต่ละช่วงย่อยเท่ากัน และกราฟในแต่ละช่วงย่อยมีลกั ษณะเหมือนกัน
คำบ ( period ) ของฟังก์ ชัน คือความยาวของช่ วงย่อยที่ส้ ันที่สุดซึ่ งแต่ละช่วงย่อยนั้นมีกราฟ
เหมือนกัน
แอมพลิจูด ( amplitude ) ของฟั งก์ชันคื อค่าที่ เท่ากับครึ่ งหนึ่ งของค่าสู งสุ ดลบด้วยค่าต่ าสุ ด
ของฟังก์ชนั
การหาคาบและแอมปลิจูด ของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ
กาหนดให้ a , b , c และ d เป็ นค่าคงที่ใดๆ และ b > 0
ลาดับ รู ปทัว่ ไปอย่างง่าย สู ตรหาคาบ สู ตรหาแอมปลิจูด
1. y = a sin bx 2π a
b
2. y = a cos bx 2π a
b
3. y = a cosec bx 2π ไม่มี
b
4. y = a sec bx 2π ไม่มี
b
5. y = a tan bx π ไม่มี
b
6. y = a cot bx π ไม่มี
b
18
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
20. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 4 sin x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

21. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 4 cos ( 2x – 2 ) + 4 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้


1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

22. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = –3 tan 1 x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้


2
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

23. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 41 cosec ( 13 x + π6 ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ต่อไปนี้


1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 2 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ = 6 , แอมปลิจูด = 2 4. คาบ = 6 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

19
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
24. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 12 sec ( 2x – π3 ) + 1 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ต่อไปนี้
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

8.6 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่ ำงของจำนวนจริงหรือมุม


ฟังก์ชันของผลบวกหรือผลต่ ำง
cos (A + B) = cos A cos B – sin A sin B
cos (A – B) = cos A cos B + sin A sin B
sin (A + B) = sin A cos B + sin B cos A
sin (A – B) = sin A cos B – sin B cos A
tan (A + B) = 1tan A  tan B
 tan A tan B
tan (A – B) = 1tan A  tan B
 tan A tan B
cot (A + B) = cot A cot B  1
cot B  cot A
cot (A – B) = cot A cot B  1
cot B  cot A
ฟังก์ ชันทีใ่ ช้ เปลีย่ นผลคูณเป็ นผลบวก
2 sin A cos B = sin (A + B) + sin (A – B)
2 cos A sin B = sin (A + B) – sin (A – B)
2 cos A cos B = cos (A + B) + cos (A – B)
2 sin A sin B = cos (A – B) – cos (A + B)
ฟังก์ ชันทีใ่ ช้ เปลีย่ นผลบวกเป็ นผลคูณ
sin A + sin B = 2 sin A2B . cos A2 B
sin A – sin B = 2 cos A2B . sin A2 B
cos A + cos B = 2 cos A2B . cos A2 B
cos A – cos B = – 2 sin A2B . sin A2 B
20
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฟังก์ ชันทีม่ ีมุมเป็ น 2A
sin 2A = 2 sin A cos A
sin 2A = 2 tan 2A
1  tan A
cos 2A = cos2A – sin2A
cos 2A = 2 cos2A – 1
cos 2A = 1 – 2 sin2A
tan 2A = 2 tan 2A
1  tan A
cot 2 A = cot2 cot 2 A 1
A
ฟังก์ ชันทีม่ ีมุมเป็ น A2
sin A2 =  1  cosA 2
cos A2 =  1  2cosA
tan A2 =  11  cos cosA
A
ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
cos(A + B ) = =
cos(A – B ) = =
sin(A + B ) = =
sin(A – B ) = =
25. sin 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 1. 64 2 2. 64 2
3. 34 2 4. 34 2

26. cos 75o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 64 2 2. 64 2 3. 34 2 4. 34 2

21
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
27. sin 105o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 64 2 2. 64 2 3. 34 2 4. 34 2

28. ค่าของ cos( π9 ) cos ( 18π ) – sin ( π9 ) sin ( 18π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. 0 3. 12 4. 23

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2) คาตอบ (รอบ 3)

tan(A + B ) = = =

tan (A – B ) = = =

cot(A + B ) = = =

cot (A – B ) = = =

29. tan 75o มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 + 3 2. 2 – 3 3. 2 2 3 4. 2 2 3

22
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
30. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. tan (45o + A) = 11  tanA
tanA ข. 1tan20 o  tan25o = 1
 tan20 o tan25o
ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูก
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
2 sinA cosB = …...…(A + B) + ……..(A – B) = …...…(A + B) + ……..(A – B)
2 cosA sinB = …...…(A + B) – ……..(A – B) = …...…(A + B) – ……..(A – B)
2 cosA cosB = …...…(A + B) + ……..(A – B) = …...…(A + B) + ……..(A – B)
2 sinA. sinB = …...…(A – B) – ……..(A + B) = …...…(A – B) – ……..(A + B)

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
2 sinA . cosB = ……………………………………. = ……………………………………….
2 cosA. sinB = ……………………………………. = ……………………………………….
2 cosA. cosB = ……………………………………. = ……………………………………….
2 sinA. sinB = ……………………………………. = ……………………………………….
31. ค่าของ 2 sin75ocos15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2 3 2. 1 2 3 3. 2 2 3 4. 2 2 3

23
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
32. ค่าของ 2 cos75o sin15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2 3 2. 1 2 3 3. 2 2 3 4. 2 2 3

33. ค่าของ 2 cos75o cos15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 23 2. – 12 3. 23 4. 12

34. ค่าของ 2 sin75o sin15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 23 2. – 12 3. 23 4. 12

35. ค่าของ 2 cos10o cos40o – cos50o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 23 2. – 12 3. 23 4. 12

36. ค่าของ sin 45o cos 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 3 4 1 2. 3 4 1 3. 3 2 1 4. 3 2 1

24
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2)
sinA + sinB = 2…….. A2B ……… A2 B =
sinA – sinB = 2…….. A2B ……… A2 B =
cosA + cosB = 2…….. A2B ……… A2 B =
cosA – cosB = –2…….. A2B ……… A2 B =

37. ค่าของ sin 75o + sin 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 22 2. 22 3. – 26 4. 6
2

38. ค่าของ sin 75o – sin 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 22 2. 22 3. – 26 4. 6
2

39. ค่าของ cos 75o + cos 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 22 2. 22 3. – 26 4. 6
2

40. ค่าของ cos 80o + sin 50o – cos 20o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 22 4. 3
2

25
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2) คาตอบ (รอบ 3)
sin2A
sin2A
cos2A
cos2A
cos2A
tan2A
cot2A
41. ถ้า cos x = 73 แล้ว cos 2x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
31
1. – 49 2. – 257 31
3. 49 4. 257

42. ถ้า sin x = 4


5
แล้ว cos 2x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
31
1. – 49 2. – 257 31
3. 49 4. 257

43. ถ้า tan x = 12 แล้ว tan 2x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 43 2. – 43 3. 43 4. 43

26
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
44. 1 sincos2x2x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. sin x 2. cos x 3. tan x 4. cot x

ฝึ กทำ. เติมคาลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
คาตอบ (รอบ 1) คาตอบ (รอบ 2) คาตอบ (รอบ 3)
sin A2 = = =
cos A2 = = =
tan A2 = = =

45. ค่าของ cos 15o เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 3 2. 2 3 3. 2 3 4. 2 3
2 2

46(แนว มช) ถ้า cos 70o = k เมื่อ k เป็ นค่าคงตัว แล้ว sin 35o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. k 2 1 2. – k 2 1 3. 1 2 k 4. – 1 2 k

27
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
47. กาหนดให้ π2  A  π และ sin A = 35 แล้ว tan A2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 12 3. 1 4. 3

8.7 เอกลักษณ์ และสมกำรตรีโกณมิติ


8.7.1 เอกลักษณ์
เอกลักษณ์ตรี โกณมิติ คือสมการตรี โกณมิติซ่ ึงเป็ นจริ งเสมอ
เช่น cos2  + sin2  = 1
สมการนี้เป็ นจริ งเสมอไม่วา่  จะมีค่าเป็ นเท่าใดก็ตาม สมการนี้จึงเรี ยกเอกลักษณ์ตรี โกณมิติ
48. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) csc cos = cot  b) sin  cot  = cos  c) cot  sec  sin  = 0
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

49. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) sec θ sin θ
csc θ  cos θ = 2 tan 
b) cos
sec xx  csc
sin xx  1
c) cot  cos  + sin  = csc 
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

28
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
50. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) tan  cot  – cos2  = sin2 
b) cos  ( tan + cot ) = csc 
c) csc x – sin x = cos x cot x
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

51. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) 3 sin2  + 4 cos2  = 3 + cos2 
b) (sin  + cos )2 + (sin  – cos )2 = 1
c) sin2  cot2  + tan2  cos2  = 1
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

52. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) 3 sin2  + 4 cos2  = 3 + cos2 
b) (sin  + cos )2 + (sin  – cos )2 =1
c) sin2  cot2  + tan2  cos2  = 1
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

29
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
53. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) sec  – sec  sin2 = cos  (ข) 2 sin2  – 1 = 1 – 2 cos2 
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

54. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) tan2  – sin2  = tan2  sin2 
(ข) sin2  tan  + cos2  cot  + 2 sin  cos  = tan  + cot 
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

55. ถ้า A + B + C = 180o จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้


(ก) sin A = sin (B + C) (ข) cos A = – cos(B + C)
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

30
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
56. ถ้า A + B + C = 180o จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) cos2A + cos2 (60o+A) + cos2 (60 o – A) = 12
(ข) cos 20o cos 40 o cos 80 o = 12
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

8.7.2 สมกำรตรีโกณมิติ
สมการตรี โกณมิติ คือสมการที่มีฟังก์ชนั ตรี โกณมิติปรากฏอยู่
ขั้นตอนการแก้สมการตรี โกณมิติเบื้องต้น
ขั้นที่ 1 หาว่าคาตอบจะอยูใ่ นควอดรันต์ที่เท่าใด
ขั้นที่ 2 หาคาตอบพื้นฐาน โดยไม่ตอ้ งสนใจค่าบวกและลบของฟังก์ชนั ตรี โกณมิติ
ขั้นที่ 3 หาคาตอบจริ งในควอดรันต์ที่หาไว้จาก
ในควอร์ดรันต์ 1 = ที่ได้จากขั้น 2
ในควอร์ดรันต์ 2 = 180o – ที่ได้จากขั้น 2
ในควอร์ดรันต์ 3 = 180o + ที่ได้จากขั้น 2
ในควอร์ดรันต์ 4 = 360o – ที่ได้จากขั้น 2

ตัวอย่ำง จงแก้สมการ sin  = – 23


แนวคิด ขั้นที่ 1 เนื่ องจากค่า sin  เป็ นลบ แสดงว่า  อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 3 และ 4
ขั้นที่ 2 คิดเฉพาะ sin  = 23
จะได้  = 60o
ขั้นที่ 3 ในควอร์ดรันต์ 3 = 180o + ที่ได้จากขั้น 2 = 180o + 60o = 240o
ในควอร์ดรันต์ 4 = 360o – ที่ได้จากขั้น 2 = 360o – 60o = 300o
ดังนั้น เซตคาตอบ คือ { 240o , 300o }
31
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตัวอย่ำง จงแก้สมการ tan  = 1
แนวคิด ขั้นที่ 1 เนื่ องจากค่า tan  เป็ นบวก แสดงว่า  อยูใ่ นควอดรันต์ที่ 1 และ 3
ขั้นที่ 2 คิดเฉพาะ tan  = 1
จะได้  = 45o
ขั้นที่ 3 ในควอร์ดรันต์ 1 = ที่ได้จากขั้น 2 = 45o
ในควอร์ดรันต์ 3 = 180o + ที่ได้จากขั้น 2 = 180o + 45o = 225o
ดังนั้น เซตคาตอบ คือ { 45o , 225o }
ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้
1. sin  = 12 2. cos  = – 23 3. tan  = – 3

ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้


1. sin  = – 23 2. cos  = 12 3. tan  = 1

ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้


1. sin  = 1 2. sin  = 0 3. sin  = –1 4. cos  = 1 5. cos  = 0 6. cos  = –1

ฝึ กทำ. ถ้า 0o    360o แล้ว จงแก้สมการต่อไปนี้


1. sec  = –2 2. cot  = 1 3. cosec  = – 2
3 3

32
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
57. ถ้า 0o    360o แล้วผลบวกคาตอบของสมการ 2 sin  – 1 = 0 คือข้อใดต่อไปนี้
1. 90o 2. 180o 3. 270o 4. 360o

58. ถ้า 0o    360o แล้วสมการ 3 tan2  – 1 = 0 มีคาตอบกี่จานวน


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

59. ถ้า 0  x  2 แล้ว เซตคาตอบของสมการ 4 sin2 x – 3 = 0 คือข้อใดต่อไปนี้


1. { π2 , 23π ,  , 53π } 2. { π3 , 23π , 43π , 53π }
3. { π2 , π3 , 43π , 53π } 4. { π2 , π3 , π4 , π6 }

60. ค่าของ x จากสมการ 4 cos x = 3 sec x เมื่อ 0o  x  360o มีกี่จานวน


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

33
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
61. ค่า  ที่เป็ นคาตอบของสมการ sin2  – 3cos2  = 0 เมื่อ 90o    180o มีกี่จานวน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

62. ถ้า 0    2 แล้ว คาตอบของสมการ 2 cos2  + cos  = 0 คือเซตข้อใดต่อไปนี้


1. { π2 , 23π ,  , 53π } 2. { π3 , 23π , 43π , 53π }
3. { π2 , 32π , 23π , 43π } 4. { π2 , π3 , π4 , π6 }

63. ถ้า 0  x  2 แล้วคาตอบของสมการ 2 cos2 x – 3 cos x = 0 คือเซตข้อใดต่อไปนี้


1. { π2 , 23π ,  , 53π } 2. { π3 , 23π , 43π , 53π }
3. { π2 , 32π , 23π , 43π } 4. { π6 , π2 , 32π , 116π }

64. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin2  – sin  – 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่คาตอบ


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

34
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
65. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin2  – 3 cos  = 3 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่คาตอบ
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

66. ถ้า 0  x  2 แล้วสมการ 3 sec x – cos x + 2 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่คาตอบ


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

67. ถ้า 0o    360o ผลบวกของค่า x จากสมการ cos 2 = sin  ตรงกับข้อใด


1. 270 2. 390 3. 450 4. 540

68. ถ้า 0o  x  360o ผลบวกของค่า x จากสมการ sin 5x cos3x – cos 5x sin 3x = cos x
ตรงกับข้อใด
1. 270 2. 390 3. 450 4. 540

35
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
เทคนิค กำรแก้ สมกำรตรีโกณมิติของมุม 2 , 3 , 4 , ……
ขั้นที่ 1 หาค่า n  ในช่วง 0  x  2 ก่อน
ขั้นที่ 2 หากต้องการหาคาตอบของ n ให้นา 2 , 4 , 6 , ..... , 2n บวกมุมจากขั้น 1
ขั้นที่ 3 นา 2 , 3 , 4 , .... , n หารตลอด
69. ถ้า 0  x  2 แล้ว ผลบวกคาตอบของสมการ sin 3x = 0 มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5

70. ถ้า 0  x  2 แล้ว ผลบวกคาตอบของสมการ 2 cos 2x = 1 มีคา่ เท่ากับข้อใด


1. 2 2. 3 3. 4 4. 5

8.8 ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
f = { (x , y)  y = sin x , – π2  x  π2 } ฟังก์ชนั ไซน์
f–1 = { (x , y)  x = sin y , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั อาร์ คไซน์
f–1 = { (x , y)  y = arcsin x , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั อาร์ คไซน์
g = { (x , y)  y = cos x , 0  x   } ฟังก์ชนั โคไซน์
g–1 = { (x , y)  x = cos y , 0  y   } ฟังก์ชนั อาร์ คโคไซน์
g–1 = { (x , y)  y = arccos x , 0  y   } ฟังก์ชนั อาร์ คโคไซน์
h = { (x , y)  y = tan y , – π2  x  π2 } ฟังก์ชนั แทนเจนต์
h–1 = { (x , y)  x = tan y , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั อาร์ คแทนเจนต์
h–1 = { (x , y)  y = arctan x , – π2  y  π2 } ฟังก์ชนั แทนเจนต์
36
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
สู ตรสำหรับหำค่ ำ arc ของจำนวนจริงทีม่ ีค่ำเป็ นลบ
arccos ( –x ) = 180o – arccos ( x )
arcsin ( –x ) = – arcsin ( x ) = 360o – arcsin ( x )
arctan ( –x ) = – arctan ( x ) = 360o – arctan ( x )
สู ตรสำหรับหำค่ ำ arccot , arcsec , arccosec
arccot (x) = arctan ( x1 )
arcsec (x) = arccos ( x1 )
arccosec (x) = arcsin ( x1 )
สู ตรทีค่ วรทรำบเกีย่ วกับ arc
arcsin (x) = arccos ( 1  x 2 )
arccos (x) = arcsin ( 1  x 2 )
sin (arcsin x) = x เมื่อ –1  x  1
cos (arccos x) = x เมื่อ –1  x  1
tan (arctan x) = x เมื่อ –  x  + 
arcsin (sin x) = x เมื่อ – π2  x  π2
arccos (cos x) = x เมื่อ 0 x
arctan (tan x) = x เมื่อ – π2  x  π2
arcsin x + arccos x = π
2
arctan x + arccot x = π
2
arcsec x + arccosec x = π
2
arctan A + arctan B = arctan 1AA.B
B

หาค่ าได้ เลย


ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsin ( 12 ) 2) arccos ( 23 ) 3) arctan ( 1 )
3

37
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsin (1) 2) arcsin (0) 3) arcsin (–1)
4) arccos (1) 5) arccos (0) 6) arccos (–1)

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsin (– 22 ) 2) arctan (–1) 3) arccos (– 22 )

ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) arcsec (2) 2) arccosec ( 2 ) 3) arccot ( 3 )
3

71. ค่าของ tan (arccos 23 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 1 3. 3 4. หาค่าไม่ได้
3

72(แนว En) cos ( 4 + (arcsin 12 + arctan 1) ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. – 12 3. 12 4. 1

38
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

ใช้ 
73. ค่าของ cos (arctan 125 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 135 2. 12
13 3. 125 4. 1

74. ค่าของ sin (arctan [– 409 ]) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 40
41 2. – 419 3. 4041 4. 419

75. ค่าของ tan (arccos [– 40


41 ]) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
41
1. – 40 2. – 409 3. 4041 4. 419

76(แนว มช) sin [ 2 arctan (– 125 ) ] มีค่าเท่ากับค่าในข้อใด


1. – 12
13 2. 1213 3. 120
169 4. – 120
169

39
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
77(แนว En) cos (2 arcsin 1 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
3
1. 13 2. 12 3. 2 4. 3

sin ( arcsin x ) = x
ฝึ กทำ. จงหาค่าต่อไปนี้
1) tan arc tan (–1) 2. tan arc cot (– 3 ) 13 )
3) cos arc sec (– 12

4) sin arc cosec 2 5) cos arc sin 45  6) sin arc cos 45 

7) cos  – arc cos x  8) cos (arccos 7 ) 9) sin (arccosec 1 )


9

78(แนว มช) arcsin (sin 150o) มีคา่ เท่ากับค่าในข้อใด


1. 30o 2. 150o 3. 210o 4. 330o

40
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

arcsin x + arccos x = 90
79(แนว En) sec  12 (arcsin 35 + arccos 35 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 3 3. 1 + 2 4. 2 + 3

80(แนว En) tan  12 (arcsec 45 + arccosec 45 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

81(แนว En) ถ้า arccos x – arcsin x = π6 แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 1 4. 2

arctan A + arctan B = arctan 1AABB


82(แนว A–Net) sin (arctan 2 + arctan 3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 12 2. – 1 3. 1 4. 12
2 2

41
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.9 กฏของโคไซน์ และไซน์
พิจารณาสามเหลี่ยมที่มีมุมเป็ น A , B , C และมีดา้ นตรงกันข้ามแต่ละมุมยาวเท่ากับ a ,
b และ c ตามลาดับ ดังรู ป
กฎของไซน์ กล่ำวว่ำ
a b c
sinA  sin B  sin C
กฎของโคไซน์ กล่ำวว่ำ A
c
a2 = b2 + c2 – 2bc cos A
b 2 = a2 + c2 – 2ac cos B B b

c 2 = a 2 + b2 – 2ab cos C
a
สู ตรสำหรับหำพืน้ ทีร่ ู ปสำมเหลีย่ ม C
พื้นที่ ABC = 12 ab sin C
พื้นที่ ABC = 12 bc sin A
พื้นที่ ABC = 12 ac sin B
83. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า A = 120o ,
B = 45o , b = 5 2 แล้ว a มีค่า
a=?
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ b=5 2
1. 5 2. 5 3 120 o 45 o
3. 10 4. 10 3 A B

84. ในสามเหลี่ยม ABC ถ้า a = 2 , b = 2 2 และ A = 30o แล้ว แล้วมุม B มีขนาดเท่าใด


1. 45o 2. 90o 3. 135o 4. ข้อ 1. และข้อ 2. ถูก

42
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
85. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า Â = 60o , b = 40 และ c = 60 แล้ว a มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 10 2. 10 7 3. 20 4. 20 7

86. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า B̂ = 120o , a = 4 และ c = 6 แล้ว b มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 2 2. 2 19 3. 4 4. 4 19

87. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า B = 60o , a = 4 และ c = 8 แล้ว b มีค่าเท่ากับเท่าใด

88. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า a = 12 , b = 7 และ c = 8 แล้ว cos B̂ มีคา่ เท่ากับข้อใด
1. 0.65 2. 0.78 3. 0.83 4. 0.92

43
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
89. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า c = 10 , b = 4 และ Â = 45o แล้ว พื้ นที่ ของรู ปสาม
เหลี่ยม ABC มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 14.14 2. 68.3 3. 86.6 4. 141.4

8.10 กำรหำระยะทำงและควำมสู ง
90. พิเชษฐ์ยนื อยูห่ ่างจากตึกหลังหนึ่ง 18 เมตร มองเห็นยอดตึกและเสาอากาศซึ่ งอยูบ่ นยอดตึกเป็ น
มุมเงย 30o และ 60o ตามลาดับ แล้วความสู งของเสาอากาศในหน่วยเป็ นเมตร
1. 6 2 2. 6 3 3. 12 2 4. 12 3

91. เรื อสองลาทอดสมออยูห่ ่างกัน 60 เมตร และอยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกับประภาคาร ทหารใน


เรื อแต่ละลามองเห็นยอดประภาคารเป็ นมุมเงย 45o และ 30o จงหาว่าเรื อลาที่อยูใ่ กล้ประภาคาร
อยูห่ ่างจากประภาคารกี่เมตร
1. 10 ( 3 +1 ) 2. 20 ( 3 +1 ) 3. 30 ( 3 +1 ) 4. 40 ( 3 +1 )

44
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

เฉลยบทที่ 8 ฟังก์ ชันตรีโกณมิติ


1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 4. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 4. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 4 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 3.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 4.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 3. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 1. 75. ตอบข้ อ 2. 76. ตอบข้ อ 4.
77. ตอบข้ อ 1. 78. ตอบข้ อ 1. 79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 2.
81. ตอบข้ อ 2. 82. ตอบข้ อ 2. 83. ตอบข้ อ 2. 84. ตอบข้ อ 4.
85. ตอบข้ อ 4. 86. ตอบข้ อ 2. 87. ตอบ 6.93 88. ตอบข้ อ 3.
89. ตอบข้ อ 1. 90. ตอบข้ อ 4. 91. ตอบข้ อ 3.

45
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
ตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 8 ฟังก์ชน
ั ตรี โ กณมิ ติ
8.1 ฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์
1. 54π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 150o 2. 225o 3. 255o 4. 420o

5π
2. 6 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –150o 2. –225o 3. –255o 4. –420o

7 π
3. 3 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –150o 2. –225o 3. –255o 4. –420o

4. –390o มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 23 π 2. 53π 3. 7 π
3 4. 133 π

5. 120o มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 23π 2. 53π 3. 73π 4. 133π

8.2 ค่ำของฟังก์ชันไซน์ และโคไซน์


6. sin 120o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 12 2. 22 3. 23 4. 1

7. cos 225o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 12 2. – 22 3. – 23 4. 22

8. sin 315o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 12 2. – 22 3. – 23 4. 22
46
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
9. cos (–930o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 12 2. – 22 3. – 23 4. 22

10. sin (–570o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 2. 22 3. 23 4. – 22

11. sin 23π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 2. 22 3. 23 4. – 22

12. cos 34π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 2. 22 3. 23 4. – 22

13. sin ( 73π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 12 2. – 22 3. – 23 4. 22

14. sin 54π + cos 116π + sin ( 73π ) + cos 94π + sin 136π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 12 2. 22 3. 23 4. – 22

15. cos ( 34π ) – cos ( 56π ) + sin ( 73π ) + cos ( 94π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 22 4. 23

16. sin ( 53π ) + cos ( 116π ) + cos ( 74π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 22 4. 23

47
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติอนื่ ๆ
17. tan 150o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. – 1 3. – 3 4. หาค่าไม่ได้
3

18. tan 210o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 1 3. 3 4. หาค่าไม่ได้
3

19. tan (–600o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –1 2. – 1 3. – 3 4. หาค่าไม่ได้
3

20. tan (–660o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 1 3. 3 4. หาค่าไม่ได้
3

21. sec (–300o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 2 2. – 2 3. 2 4. 2
3 3

22. cosec (–225o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 2 2. – 2 3. 2 4. 2
3 3

23. ค่าของ tan (480 o )  sin (840 o ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


cos (390 o )
1. 12 2. 1 3. 2 4. 3

24. ค่าของ 3 tan2 135  sec2 300 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2 sin 330
1
1. 2 2. 1 3. 2 4. 3

48
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
25. ค่าของ tan(480 )  sin(840)
cos(390) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 12 2. 1 3. 2 4. 3

26. ค่าของ sin 34π cos 54π tan 74π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 2. 1 3. 2 4. 3

27. ค่าของ cos π2  sin 53π  tan 94π  cos 56π  tan 76π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 32  3 2. 4 32  3 3. 4 33  3 4. 4 33  3

28. ค่าของ sin 56π  tan 76π  cos 34π sin 43π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6  4 32  3 6 2. 6  4 33  3 6
3. 6  4 36  3 6 4. 6  4 1233 6

29. ค่าของ sin 32π  tan π cos π2  cot 56π  sin 76π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 3  1 2. 2 3  1 3. 2 32  1 4. 2 32  1

30. ค่าของ sin π3 cos π6  cos π3 sin π6  sin 53π  tan 53π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2 3 2. 2 2 3 3. 2 3 3 4. 2 3 3

31. ค่าของ cos2 π4  sin2 π4  sin2 π6  cos2 116π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 12 2. 1 3. 2 4. 3

32. ค่าของ sin 256π cos 253π tan 254π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 14 3. 12 4. 1

49
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
33. ค่าของ sin ( 34π )  cos ( 114π )  tan ( 163π ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2  3 2.  2 3 3. 2 3 4.  2 3

34. ค่าของ cot2 136π  cosec2 54π  sec2 23π เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 14 3. 12 4. 1

35. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.8 แล้ว ค่าของ sin (–) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –0.8 2. –0.6 3. 0.6 4. 0.8

36. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 0.9848 แล้ว sec  + tan  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –1.0154 2. –1.1900 3. 1.0154 4. 1.1900

37. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 3


5
แล้ว ค่าของ sin (2 + ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. – 53 2. – 54 3. 3
5
4. 4
5

38. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 3


5
แล้ว ค่าของ sin (5 + ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. – 53 2. – 54 3. 3
5
4. 4
5

39. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 3


5
แล้ว ค่าของ sin ( – ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. – 53 2. – 54 3. 3
5
4. 4
5

40. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 3


5
แล้ว ค่าของ sin (–3 – ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. – 53 2. – 54 3. 3
5
4. 4
5

41. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 3


5
แล้ว ค่าของ cos (11 – ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. – 53 2. – 54 3. 3
5
4. 4
5

50
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
42. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. sin (90o – A) = cos A ข. sec(90o – A) = csc A
ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดถูก
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

43. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ sin (90o + A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. cos A 2. sec A 3. cosec A 4. tan A

44. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ sec (90o – A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. cos A 2. sec A 3. cosec A 4. tan A

45. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ cosec (90o + A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. cos A 2. sec A 3. cosec A 4. tan A

46. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ cot (90o – A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. cos A 2. sec A 3. cosec A 4. tan A

47. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = A แล้ว ค่าของ cos ( π2 – ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –A 2. A 3. – 1  A2 4. 1  A2

48. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = A แล้ว ค่าของ sin ( π2 + ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –A 2. A 3. – 1  A2 4. 1  A2

49. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = A แล้ว ค่าของ sin ( π2 + ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –A 2. A 3. – 1  A2 4. 1  A2

50. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = 0.20 , cos  = 0.98 แล้ว ค่าของ
sin ( π2 – ) + cos ( π2 + ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –0.20 2. 0.20 3. 0.78 4. 0.98
51
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
51. กาหนดให้ 0 < A < π2 แล้ว ค่าของ tan (270o – A) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. sin A 2. cos A 3. tan A 4. cot A

52. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = A แล้ว ค่าของ sin ( 32π + ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –A 2. A 3. – 1  A2 4. 1  A2

53. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ sin  = A แล้ว ค่าของ cos ( 32π – ) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. –A 2. A 3. – 1  A2 4. 1  A2

8.4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมของรู ปสำมเหลีย่ มมุมฉำก


54แนว O–Net) กล้องวงจรปิ ดซึ่ งถูกติดตั้งอยูส่ ู งจากพื้นถนน 4 เมตร สามารถจับภาพได้ต่าที่สุดที่
มุมก้ม 45o และสู งที่สุดที่มุมก้ม 30o ระยะทางบนพื้นถนนในแนวกล้องที่กล้องนี้ สามารถ
จับภาพได้คือเท่าใด ( กาหนดให้ 3  1.73 )
1. 1.00 เมตร 2. 1.46 เมตร 3. 2.00 เมตร 4. 2.92 เมตร

55. แม่น้ าแห่งหนึ่งกว้าง 50 เมตร นักว่ายน้ าจาก


จุด A ของฝั่งหนึ่งไปยังจุด B ของอีกฝั่งหนึ่ง B
ตามเส้นดังรู ป ระยะทางที่นกั ว่ายน้ าว่ายข้าม
50 เมตร
ฝั่งมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
60o
1. 53.5 เมตร 2. 55.8 เมตร A
3. 57.7 เมตร 4. 59.3 เมตร

56. แกว่งลูกตุม้ ซึ่ งยาว 90 เซนติเมตร ตามแนวดิ่ง


ด้วยมุม 15o ของแต่ละข้าง ดังรู ป ระยะระหว่าง 15o 15o
ตาแหน่งสู งสุ ดและต่าสุ ดของลูกตุม้ ( x เซนติ-
เมตร ) มีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
( กาหนดให้ cos15o = 0.9659 )
1. 2.8 2. 3.1 X เซนติเมตร

3. 3.8 4. 4.2
52
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
57. สามเหลี่ยมหน้าจัว่ ซึ่ งมีฐานยาว 40 นิ้ว และมุมที่ฐานมีขนาด 70o จะมีความยาวเส้นรอบรู ป
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ( กาหนดให้ cos 70o = 0.3420 )
1. 122.8 2. 136.0 3. 146.6 4. 157.0

58(แนว O–Net) กาหนดให้ ABC เป็ นรู ปสามเหลี่ยมที่มีมุม C เป็ นมุมฉาก และด้าน BC ยาว
18 นิ้ว ถ้า D เป็ นจุดบนด้าน AC โดยที่ BD̂C = 70o และ AB̂D = 10o แล้วด้าน AB
ยาวเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 4 3 นิ้ว 2. 12 3 นิ้ว 3. 6 นิ้ว 4. 18 นิ้ว

59. กาหนดให้ 0 <  < π2 และ cos  = 45 แล้ว sec  + cosec  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 35 2. 45 3. 75 35
4. 12

60. กาหนดให้ cos  > 0 และ sin  = 12 แล้ว sec  + tan  มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 3 2. 3 3 3. 1 4. 3
3 3

61. กาหนดให้ tan  = – 43 และ π2 <  <  แล้วค่าของ tan  + sec  เท่ากับข้อใด
1. – 12 2. 12 3. – 12
20 4. 12
20

62. กาหนดให้ sec  = – 45 และ  <  < 3π2 แล้วค่าของ sin  . tan  เท่ากับข้อใด
1. – 35 2. 15 3. – 12
20 4. 12
20

63. กาหนดให้ cot  = –3 และ 3π2 <  < 2 แล้วค่าของ 2 sin  + tan  เท่ากับข้อใด
1. 2  13 2.  2  13 3. 2  13 4.  2  13
10 10 10 10

64. กาหนดให้ 0 < < π2 และ tan  = 13 แล้ว 2 cos  + cot  มีค่าเท่ากับข้อใด

1. 3 10  15 2. 3 10  15 3. 3 10  15 4. 3 10  15
5 5
53
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
65. กาหนดให้  <  < 3π2 และ cosec2 + cot2 = 41 แล้ว sin  มีค่าเท่ากับข้อใด
9
1. – 35 1
2. 5 12
3. – 20 4. 12
20

8.5 กรำฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
66. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 12 sin  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 1 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
2
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 1 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
2

67. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = 4 cos 12  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้


1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

68. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = –2 cos 1  + 5 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ต่อไปนี้


2
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 2 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = 2 4. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

69. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = sin (–) – 3 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ ต่อไปนี้


1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 1 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = 1 4. คาบ = 4 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

70. คาบ และแอมปลิจูดของฟังก์ชนั y = –2 tan 1  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ต่อไปนี้


2
1. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = 4 2. คาบ = 2 , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้
3. คาบ =  , แอมปลิจูด = 4 4. คาบ =  , แอมปลิจูด = หาค่าไม่ได้

1 sin (400 t )
71. สมการของคลื่นชนิ ดหนึ่ งคือ y = 1000 เมื่อ t แทนเวลาเป็ นวินาที แล้ว
แอมปลิจูดและคาบของสมการคือข้อใดต่อไปนี้
1. 0.001 , 400 วินาที 2. 0.001 , 200 วินาที
1 วินาที
3. 0.001 , 400 4. 0.001 , 1
200 วินาที
54
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
72. กาหนดให้ v = 220 sin (140 t ) เป็ นสมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์
ไฟฟ้ า V (หน่วยเป็ นโวลต์) กับเวลา t (หน่วยเป็ นวินาที) แล้วค่าสู งสุ ดของ V และ คาบของ
ฟังก์เป็ นเท่าใด
1. 220 โวลต์ , 140 วินาที 2. 220 โวลต์ , 117 วินาที
3. 220 โวลต์ , 701 วินาที 4. 220 โวลต์ , 70 วินาที

8.6 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่ ำงของจำนวนจริงหรือมุม


73. sin ( π2  B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. sin B 2. –sin B 3. cos B 4. –cos B

74. ก าหนดให้ π2  A  π และ 0  B  π2 ถ้า cos A =  35 และ tan B = 125


แล้ว cos (A + B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 56
65 2. – 33
65 3. 33
65 4. 56
65

75. ก าหนดให้ π  A  32π และ π2  B  π ถ้า cos A =  135 และ sin B = 45


แล้ว cos (A – B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 56
65 2. – 33
65 3. 33
65 4. 56
65

76. ก าหนดให้ π  A  32π และ 0  B  π2 ถ้า sin A =  135 และ cos B = 45


แล้ว sin (A – B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 16
65 2. – 56
65 3. 16
65 4. 56
65

77. ถ้า cos A = 12 3 3π π


13 และ sin B = 5 โดยที่ 2  A  2 π และ 2  B  π แล้ว
sin (A + B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 6  2 2. 6  2 3. 6 4 2 4. 6 4 2

78. cos 7A cos 3A + sin 7A sin 3A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. sin 2A 2. cos 2A 3. sin 4A 4. cos 4A
55
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
79. ค่าของ sin (– 52π ) sin ( π2 ) + cos( π2 ) cos (– 52π ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –1 2. 0 3. 1 4. 2

80. ค่าของ sin3A  cos3A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


sinA cosA
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

81. tan (–15o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 + 3 2. 2 – 3 3. 3  2 4. – 3  2

82. tan (–105o) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 + 3 2. 2 – 3 3. 3  2 4. – 3  2

83. ถ้า cos A = – 45 และ sin B = 135 โดยที่ π2  A  π และ 0  B  π2 แล้ว


tan (A – B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 56
33 2. – 33
65 3. 33
65 4. 56
33

84. ถ้า tan A = 43 และ tan B = 512 โดยที่ π  A  32π และ π2  B  π แล้ว
tan (A + B) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
33
1. – 56 63
2. – 16 33
3. 56 63
4. 16

85. กาหนดให้ A + B = π4 และ tan A = n n 1 แล้ว tan B เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2n1 1 2. 2n1 1 3. 22n2  1 4. 22n 2  1
2n  4n  1 2n  4n  1

86. จากข้อที่ผา่ นมา tan (A – B) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2n1 1 2. 2n1 1 3. 22n2  1 4. 2n 2  1
2n  4n  1 2
2n  4n  1

56
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
87. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. 2 sin 30o cos 20o = sin 50o + sin 10o
ข. 2 sin 40o cos 28o = cos 12o – cos 68o
ค. cos 43o cos 35o = 12 (cos 78o + cos 8o)
ข้อความดังกล่าว มีถูกต้องอยูก่ ี่ขอ้
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูก

88. 2 sin 2 cos  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. cos 3 – cos  2. sin 3 – sin 
3. cos 3 + cos  4. sin 3 + sin 

89. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. 2 sin 5 cos  = sin 6 + sin 4 ข. 2 sin 2a sin 9a = cos 7a – cos 11a
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

90. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. 2 sin 30o cos 60o = 12 ข. 2 cos 20o cos 40o = 12
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด

91. ค่าของ cos20o – 2 sin20o sin 40o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 23 2. – 12 3. 23 4. 12

92. ค่าของ (cos 75o )2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  34 2 2.  34 2 3. 3 2 1 4. 3 2 1
57
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
93. ค่าของ cos π7 cos 27π cos 47π มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 12 2. – 14 3. – 17 4. – 18

94. ค่าของ cos 75o – cos 15o มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 22 2. 22 3. – 26 4. 6
2

95. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. sin 30o + sin 60o = 2 sin 45o cos 15o
ข. cos 70o + cos 50o = 2 cos 60o cos 10o
ค. sin 3A + sin A = 2 sin A cos 2A
ง. cos 5A + cos 3A = 2 cos 4A cos A
ข้อความดังกล่าว มีถูกต้องอยูก่ ี่ขอ้
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

96. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. sin 3A – sin 5A = –2 cos 4A sin A
ข. cos A – cos 5A = 2 sin 3A sin 2A
ค. sin 2A + 1 = 2 sin(A + 45o) cos(A – 45o)
ง. 1 + cos 4A = 2 cos2 2A
ข้อความดังกล่าว มีถูกต้องอยูก่ ี่ขอ้
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

97. กาหนดให้ sin 87o = a แล้วค่าของ cos 57o + sin 27o มีค่าตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. a 2. 2a 3. 1 + a 4. 1 + 2a

sin x  sin y มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


98. cos x  cos y
1. tan (x + y) 2. tan (x – y) 3. tan (x 2 y) 4. tan (x 2 y)

58
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
99. sin 2A  sin 2B
sin 2A  sin 2B มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
tan (A  B)
1. tan 2. tan (A  B) 3. tan (A 2 B) 4. tan (A 2 B)
(A  B) tan (A  B)

100. cos 2A  cos 2B


cos 2B  cos 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. tan (A + B) . tan (A – B) 2. cot (A + B) . cot (A – B)
3. tan (A  B)
tan (A  B) 4. cot (A  B)
cot (A  B)

101. ถ้า π2  A  π และ sin A = 45 แล้ว sin 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  24
25 2.  72 3. 177 4. 247

102. จากข้อที่ผา่ นมา cos 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  24
25 2.  72 3. 177 4. 247

103. จากข้อที่ผา่ นมา tan 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  24
25 2.  72 3. 177 4. 247

104. ถ้า π2  A  π และ cosec A = 45 แล้ว tan 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1.  24
25 2.  72 3. 177 4. 247

105. ถ้า π  θ  32π 13 แล้ว sin 2 + cos 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


และ sec  =  12
1. 177 2. 247 3. 120 239
4. 169
169

106. ถ้า 32π  A  2 π และ cos A = 35 แล้ว cot 2A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 247 2. 177 3. – 177 4. – 247

107. ถ้า π  θ  32π 13 แล้ว sin 2 + cos 2 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


และ sec  =  12
1. 177 2. 247 3. 120 239
4. 169
169
59
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
108. ถ้า 0  θ  π2 และ cot  = 73 แล้ว 3 cos 2 + 7 sin 2 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 12 3. 1 4. 3

109. กาหนดให้ π2  A
2  π และ tan A2   43 แล้ว tan A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1.  24
25 2.  72 3. – 177 4. – 247

110. ถ้า cos A2 5 3π  A 2π แล้ว sin A มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


 13 และ 2 2 

1. – 177 2. – 120
169 3. 177 4. 120
169

111. ถ้า 0  θ  π2 และ tan  = 13 แล้ว sin 4 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 13
25 4. 24
25

112. sin 3A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 – 2 sin3 A 2. 3 sin A – 4 sin3 A
3. 2 cos3 A – 1 4. 4 cos3 A – 3 cos A

113. cos 3A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 – 2 sin3 A 2. 3 sin A – 4 sin3 A
3. 2 cos3 A – 1 4. 4 cos3 A – 3 cos A

114. 2 cot 2x เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 cot2 x – 1 2. 1 – 2 tan2 x 3. cot x – tan x 4. cot x + tan x

115. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. 1 sincos2θ2θ = tan  ข. 1 = sec 2 ค. tan 2A = cot A 1 tan A
1  2 sin 2 θ
ข้อความดังกล่าว มีถูกต้องอยูก่ ี่ขอ้
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. ไม่มีขอ้ ที่ถูก

60
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
116. ค่าของ sin 15o เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 3 2. 2 3 3. 2 3 4. 2 3
2 2

117. ค่าของ cos 8 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2 2. 2 2 3. 2 2 4. 2 2
2 2

118. ค่าของ cot 38 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2  1 2. 2  1 3. 2 1 4. 21
2 2

119. ถ้า 32π  A  2 π และ tan A = – 43 แล้ว ค่าของ cos A2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 3 1010 2. – 3 1313 3. 3 1010 4. 3 1313

120. ถ้า π  A  32π และ sec A = – 135 แล้ว ค่าของ sin A2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 3 1010 2. – 3 1313 3. 3 1010 4. 3 1313

121. ถ้า π2 θ π และ sin  = 135 แล้ว ค่าของ tan θ2 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 12 3. 3 4. 5

122. ถ้า π  a  3π และ cot a = 3


2 4 แล้ว ค่าของ cosec 2a มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 22 2. 23 3. 25 4. 1

123. ถ้า tan 2 = 43 เมื่อ π  2θ  3π แล้ว ค่าของ sin  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


2
1. 52 2. 2 5 2 3. 55 4. 2 5 5

124. (cos θ2  sin θ2 )2 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 + sin  2. 1 – sin  3. 1 + cos  4. 1 – cos 
61
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
8.7 เอกลักษณ์ และสมกำรตรีโกณมิติ
8.7.1 เอกลักษณ์
125. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) sin  cot  = cos  b) cos  tan  = sin  c) cos  cosec  = cot 
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

126. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) (1 – cos2) cosec2  = 1 b) (1 – sin2) sec2  = 1 c) cot2 (1 – cos2) = 1
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

127. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) tan  1  sin 2 θ = 1 b) cosec  1  sin 2 θ = 1
c) (1 + tan2) cos2 = 1 d) (sec2  – 1) cot2 = 1
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

128. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
a) (sec  – 1) (sec  + 1) = tan2 
b) (sec  + tan ) (sec  – tan ) = 1
c) sec2  – csc2  = tan2  – cot2 
ข้อความที่กาหนดนี้ เป็ นจริ งกี่ขอ้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

29. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) sin2  (1 + cot2 ) = cos2 (ข) sec  – tan  = 1 cossinθθ
ข้อใดถูกต้อง
62
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

130. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) 11  tan
tan θ = cot θ  1
θ cot θ  1
(ข) 11  sin
sin θ = csc θ1
θ csc θ1
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

131. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) sin θsin θcos θ = 1  cot
1
θ
(ข) 11  sin θ
sin θ = (sec  – tan )
2
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

132. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) tan (45o – ) = 11  tan θ
tan θ (ข) cos (45o – ) – sin (45o – ) = 1
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

133. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) cot 2 + tan  = cosec 2 (ข) 1 sincos2θ2θ = tan 
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

63
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
134. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) (sin θ2 – cos θ2 )2 = 1 – sin  (ข) cossin22θθ cossinθθ 1 = tan 
ข้อใดถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ผิด
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

8.7.2 สมกำรตรีโกณมิติ
135. ถ้า 0  x  2 แล้วสมการ cos x + 2 cos x sin x = 0 มีคาตอบกี่จานวน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

136. ถ้า 0  x  2 แล้วสมการ sin2  + sin  = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีคาตอบ

137. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 cos2  – 3 cos  = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

138. ถ้า 0  x  2 ดังนั้นผลรวม x ที่สอดคล้องกับสมการ sin2 x – sin x = 0 เท่ากับข้อใด


1. 56π 2. 32π 3.  4. 2

139. ถ้า 0  x  2 ดังนั้นผลรวม x ที่สอดคล้องกับสมการ 3 csc2 x + 2 csc x = 0 เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1. 56π 2.  3. 2 4. 3

140. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cot2  = cot  จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

141. ถ้า 0  x  2 ดังนั้นผลรวม x ที่สอดคล้องกับสมการ tan x sin x + tan x = 0 เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1. 56π 2.  3. 2 4. 3
64
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
142. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin 2 + sin  = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

143. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin 2 cos  – sin  = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

144. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ tan  = 2 sin  เท่ากับข้อใด


1. 56π 2.  3. 2 4. 3

145. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sec  = cos  – tan  จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

146. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 4 sin3  – sin  = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

147. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ sin2  – cos2  = 12 เท่ากับ


ข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

148. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 (cos2  – sin2 ) = 1 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

149. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 cos2  + 5 sin  + 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

150. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin2  – cos2  + 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

65
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
151. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin2  – 2 cos2  = 3 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า
1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีคาตอบ

152. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin2  + cos  = 1 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

153. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ sin2  – cos  + 5 = 0 เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. π2 3.  4. 2

154. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cos2  + sin  + 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีคาตอบ

155. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cosec  + 2 = sin  จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีคาตอบ

156. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ 1 + 2 sin  = 3 cosec  เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. π2 3.  4. 2

157. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ 2 sin  – 3 cot  = 0 เท่ากับ


ข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

158. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ cot  + 2 sin  = csc  เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. π2 3.  4. 2

66
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
159. ถ้า 0    2 แล้วสมการ tan2  – sec  = 1 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า
1. 1 2. 2 3. 3 4. ไม่มีคาตอบ

160. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ 4 tan2  – 3 sec2  = 0 เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

161. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cos 2 + 3 sin  = 2 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

162. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ 2 cos 2 – 3 = 0 เท่ากับ


ข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

163. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ 2 cos2  + 2 cos 2 = 1 เท่า


กับข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

164. ถ้า 0    2 ดังนั้นผลรวม  ที่สอดคล้องกับสมการ cos  + 4 sin  – sin 2 = 2


เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1.  2. 2 3. 3 4. 4

165. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 3 sin  = 3 cos  จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

166. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cos  + sin  = 2 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

67
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
167. ถ้า 0    2 แล้วสมการ cos  + 3 sin  = 1 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

168. ถ้า 0     แล้วสมการ 1  cos   3 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


sin 
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

169. ถ้า 0    2 แล้วสมการ 2 sin4  – sin2  + 1 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

170. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin 3.cos  – cos 3.sin  = cos  จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

171. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin 2 = 12 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

172. ถ้า 0    2 แล้วสมการ sin 5 + sin 3 = 0 จะมีคาตอบทั้งหมดกี่ค่า


1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

8.8 ตัวผกผันของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
หาค่ าได้ เลย
173. arccos ( 12 ) + arcsin ( 23 ) + arctan ( 3 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. π2 3.  4. 2

174. arcsin (1) + arcsin (0) + arcsin (–1) + arccos (1) + arccos (0) + arccos (–1) มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 0 2.  3. 2 4. 4

68
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

175. arcsin (– 23 ) – arctan (– 3 ) + arccos (– 22 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 34 3. 54 4. 74

176. arcsec 2 + 2 arccot (1) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 46 3. 56 4. 76

177. arcsec 2 + 2 arccot (1) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 46 3. 56 4. 76

178. arcsec (–2) + arccosec (– 2 ) – arccot (– 3 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


3
1. 0 2. π2 3.  4. 2

179. tan ( arccos 23 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 1 4. 1
3

180. sin (arcsin 12 + arcsin 23 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 23 4. 1

181. tan [ arcsin (  12 ) ] มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. – 12 3. – 1 4. –1
3

182. arccos ( sin (  π6 ) ) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 34 3. 23 4. 56

69
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

ใช้ 
183. ค่าของ cosec (arctan 12 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 12 2. 25 3. 2 4. 5
5

184. ค่าของ sin ( arccot 43 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 135 2. 12
13 3. 125 4. 45

 
185. ค่าของ cot arcsin  32  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
 

1. – 12 2. – 214 3. – 2 4. – 14
14

186. ค่าของ sin [arctan (–3)] มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 2 2. – 3 1010 3. – 3 10 4. – 10
3

187. ค่าของ sin ( 12 arccot ( 43 ) ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 12 2. 25 3. 2 4. 5
5

arctan 3
188. ค่าของ sin ( 2 4 )  cos (2 arcsin 35 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 101  256 2. 13  256 3. 101  25 7 4. 17
3 25

189. ค่าของ sec [arcsin 135  arctan ( 43 ) ] มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 65
63 2. – 16
65 3. 16
65 4. 65
63

190. ค่าของ sin ( arccos 35  arctan 125 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 65
63 2. – 16
65 3. 16
65 4. 65
63
70
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

sin ( arcsin x ) = x
191(แนว En) cos arccos (– 12 ) + sin arccosec 2 + tan arccot 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 13 2. 12 3. 2 4. 3

192(แนว En) tan arc tan (–1) + cos (arcsec 2) มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 13 2. – 12 3. 12 4. 13

193(แนว En) cos arc sin 45  + sin arc cos 23  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


11
1. – 10 2. – 109 3. 109 11
4. 10

194(แนว En) cos (arccos 5 ) + sin (arccosec 14 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. –9 2. 0 3. 9 4. หาค่าไม่ได้

195(แนว En) cos 3 – arc cos x  + sin 2 + arc sin x  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – x 2. 0 3. x 4. หาค่าไม่ได้

196(แนว En) cos ( π2 + arcsin 23 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 43 2. – 23 3. 23 4. 43

197. ค่าของ sin( π2 + arccos x ) . cos ( – arcsin x) ตรงกับข้อใด


1. x 1  x 2 2. –x 1  x 2 3. 1 4. 2x

198. ค่าของ cos (2 arcsin 35 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 257 2. – 256 3. 256 4. 257

199. ค่าของ sin [ arccos 35 + arcsin (– 35 ) ] มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. – 257 2. – 256 3. 256 4. 257
71
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ

200. ค่าของ cos arcsin  1   arccos 2  มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


    
  2  5 

1. 3  1 2. 3  1 3. – 1 4. 1
10 10 10 10

arcsin x + arcsin x = 90
201(แนว En) tan  12 (arcsin 45 + arccos 45 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

202(แนว En) sec  12 (arctan 35 + arccot 35 ) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 2 2. 3 3. 1 + 2 4. 2 + 3

203(แนว En) ถ้า arccos x – arcsin x = π2 แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 12 3. 1 4. 2

arctan A + arctan B = arctan 1AABB


204(แนว A–Net) sec (arctan 2 + arctan 3) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. – 2 2. – 1 3. 1 4. 2
2 2

8.9 กฏของโคไซน์ และไซน์


205. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า A = 42o , B = 63o และ b = 15 แล้ว a มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 11 2. 11 3 3. 18 4. 18 3

206. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า A = 100o , C = 34o และ a = 24 แล้ว b มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 11 2. 11 3 3. 18 4. 18 3

72
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
207. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า C = 30o , b = 2.4 และ c = 1.2 แล้ว มุม B มีขนาดเท่าใด
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

208. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า Â = 45o , Ĉ = 60o และ b = 20 แล้ว c มีค่าเท่ากับข้อใด
1. 20 2. 20 3. 20 6 4. 20 6
3 1 3 1 3 1 3 1

209. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า B = 65o , a = 4 และ c = 8 แล้ว b มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 6.5 2. 7.3 3. 8.4 4. 9.3

210. ในสามเหลี่ยม ABC มี B = 30o , c = 150 และ b = 75 แล้ว มุม A กางกี่องศา


1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

211. ในสามเหลี่ยม ABC มี a = 3.9 , b = 5.2 และ c = 6.5 แล้ว มุม C กางกี่องศา
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

212. ในรู ปสามเหลี่ยม ABC ถ้า a = 15 , b = 20 และ Ĉ = 30o แล้ว พื้นที่ของรู ปสาม
เหลี่ยม ABC มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 50 2. 75 3. 80 4. 86

213. ถ้าสามเหลี่ ยม ABC มี มุม BAC = 45 มุม ACB = 60 และด้าน AC ยาว 20 นิ้ ว แล้ว
พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 300 2 2. 300 3 3. 200 2 4. 300 3
3 1 3 1 3 1 3 1

8.10 กำรหำระยะทำงและควำมสู ง
214(แนว มช) สามเหลี่ยมรู ปหนึ่งมีฐานยาว 6 เซนติเมตร มุมที่ฐานมุมหนึ่งมีขนาดเป็ น 120 องศา
ด้านที่อยูต่ รงข้ามมุมที่ฐานที่กาหนดให้ยาว 14 เซนติเมตร ความยาวของด้านที่เหลือมีค่าเท่ากับ
กี่เซนติเมตร
73
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
215. รู ปสี่ เหลี่ยมด้านขนานรู ปหนึ่ งมีขนาดของมุมๆ หนึ่ งเท่ากับ 135o ด้านประกอบมุมนี้ ยาว 5
และ 10 เซนติเมตร เส้นทแยงมุมเส้นสั้นของรู ปสี่ เหลี่ยมนี้ยาวเท่ากับข้อใด (เซนติเมตร)
1. 25  50 2 2. 25  50 2 3. 125  50 2 4. 125  50 2

216. รู ปสามเหลี่ ยมหน้าจัว่ ซึ่ งมีฐานยาว 60 หน่ วย และขนาดของมุมยอดเป็ น 30 องศา แล้ว


ความยาวของเส้นรอบรู ปของสามเหลี่ยมนี้มีค่าเท่ากับข้อใด
1. ( 6  2  1 ) 2. ( 6  2  1 )
3. ( 6  2  1 ) 60 4. ( 6  2  1 ) 60

217. ชายคนหนึ่ งยืนห่ างจากตึก 20 เมตร มองเห็ นโคนเสาธงซึ่ งปั กอยูบ่ นยอดตึกเป็ นมุมเงย 45o
และปลายเสาธงเป็ นมุมเงย 60o ความสู งของเสาธงมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 11.58 2. 12.64 3. 13.26 4. 14.64

218. ชายคนหนึ่ งยืนอยูท่ ี่ริมเขื่อนซึ่ งสู งจากระดับน้ าทะเล 100 เมตร มองเห็นเรื อสองลาทอดสมอ
อยูใ่ นทะเลเป็ นมุมก้ม 30o และ 60o ตามลาดับ จากเส้นสายตาระดับเดี ยวกัน เรื อทั้งสองลา
นั้นอยูห่ ่างจากกันเท่ากับกี่เมตร
1. 97.82 2. 107.68 3. 115.47 4. 120.22

74
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
เฉลยตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 8 ฟังก์ชน
ั ตรี โ กณมิ ติ
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 4. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 3.
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 1. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 4. 72. ตอบข้ อ 3.
73. ตอบข้ อ 4. 74. ตอบข้ อ 1. 75. ตอบข้ อ 2. 76. ตอบข้ อ 3.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 2.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 1. 83. ตอบข้ อ 1. 84. ตอบข้ อ 1.
85. ตอบข้ อ 1. 86. ตอบข้ อ 3. 87. ตอบข้ อ 3. 88. ตอบข้ อ 4.
89. ตอบข้ อ 1. 90. ตอบข้ อ 2. 91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 2.
93. ตอบข้ อ 4. 94. ตอบข้ อ 1. 95. ตอบข้ อ 3. 96. ตอบข้ อ 4.
97. ตอบข้ อ 4. 98. ตอบข้ อ 3. 99. ตอบข้ อ 2. 100. ตอบข้ อ 2.
101. ตอบข้ อ 1. 102. ตอบข้ อ 2. 103. ตอบข้ อ 4. 104. ตอบข้ อ 4.
105. ตอบข้ อ 4. 106. ตอบข้ อ 1. 107. ตอบข้ อ 4. 108. ตอบข้ อ 4.
75
ติวสบายคณิต เล่ ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 8 ฟั งก์ ชันตรั โกณมิติ
109. ตอบข้ อ 4. 110. ตอบข้ อ 2. 111. ตอบข้ อ 4. 112. ตอบข้ อ 2.
113. ตอบข้ อ 4. 114. ตอบข้ อ 3. 115. ตอบข้ อ 2. 116. ตอบข้ อ 4.
117. ตอบข้ อ 3. 118. ตอบข้ อ 1. 119. ตอบข้ อ 1. 120. ตอบข้ อ 4.
121. ตอบข้ อ 4. 122. ตอบข้ อ 3. 123. ตอบข้ อ 4. 124. ตอบข้ อ 2.
125. ตอบข้ อ 4. 126. ตอบข้ อ 3. 127. ตอบข้ อ 2. 128. ตอบข้ อ 3.
129. ตอบข้ อ 3. 130. ตอบข้ อ 1. 131. ตอบข้ อ 1. 132. ตอบข้ อ 2.
133. ตอบข้ อ 1. 134. ตอบข้ อ 1. 135. ตอบข้ อ 4. 136. ตอบข้ อ 3.
137. ตอบข้ อ 4. 138. ตอบข้ อ 2. 139. ตอบข้ อ 4. 140. ตอบข้ อ 4.
141. ตอบข้ อ 2. 142. ตอบข้ อ 4. 143. ตอบข้ อ 3. 144. ตอบข้ อ 4.
145. ตอบข้ อ 2. 146. ตอบข้ อ 3. 147. ตอบข้ อ 4. 148. ตอบข้ อ 4.
149. ตอบข้ อ 2. 150. ตอบข้ อ 3. 151. ตอบข้ อ 4. 152. ตอบข้ อ 3.
153. ตอบข้ อ 1. 154. ตอบข้ อ 1. 155. ตอบข้ อ 1. 156. ตอบข้ อ 2.
157. ตอบข้ อ 2. 158. ตอบข้ อ 4. 159. ตอบข้ อ 3. 160. ตอบข้ อ 4.
161. ตอบข้ อ 1. 162. ตอบข้ อ 1. 163. ตอบข้ อ 4. 164. ตอบข้ อ 1.
165. ตอบข้ อ 2. 166. ตอบข้ อ 1. 167. ตอบข้ อ 2. 168. ตอบข้ อ 4.
169. ตอบข้ อ 3. 170. ตอบข้ อ 4. 171. ตอบข้ อ 4. 172. ตอบข้ อ 4.
173. ตอบข้ อ 3. 174. ตอบข้ อ 4. 175. ตอบข้ อ 2. 176. ตอบข้ อ 3.
177. ตอบข้ อ 3. 178. ตอบข้ อ 2. 179. ตอบข้ อ 3. 180. ตอบข้ อ 4.
181. ตอบข้ อ 3. 182. ตอบข้ อ 3. 183. ตอบข้ อ 4. 184. ตอบข้ อ 4.
185. ตอบข้ อ 2. 186. ตอบข้ อ 2. 187. ตอบข้ อ 3. 188. ตอบข้ อ 3.
189. ตอบข้ อ 4. 190. ตอบข้ อ 2. 191. ตอบข้ อ 1. 192. ตอบข้ อ 2.
193. ตอบข้ อ 4. 194. ตอบข้ อ 4. 195. ตอบข้ อ 2. 196. ตอบข้ อ 2.
197. ตอบข้ อ 2. 198. ตอบข้ อ 1. 199. ตอบข้ อ 4. 200. ตอบข้ อ 4.
201. ตอบข้ อ 2. 202. ตอบข้ อ 1. 203. ตอบข้ อ 1. 204. ตอบข้ อ 4.
205. ตอบข้ อ 1. 206. ตอบข้ อ 3. 207. ตอบข้ อ 4. 208. ตอบข้ อ 4.
209. ตอบข้ อ 2. 210. ตอบข้ อ 3. 211. ตอบข้ อ 4. 212. ตอบข้ อ 2.
213. ตอบข้ อ 4. 214. ตอบ 10 215. ตอบข้ อ 3. 216. ตอบข้ อ 3.
217. ตอบข้ อ 4. 218. ตอบข้ อ 3.

76

You might also like