26.toisc15 061018 1 PDF

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 46

เอกสารประกอบการบรรยาย

“ข้อควรระวังจัดทาเอกสารความตกลงในต่างประเทศ”
คุณสหัทธยา ใจสมุทร
รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ลีกัล สปิริต จากัด
วันที่ 6 ตุลาคม 2561
ข้อควรระวังในการจัดทาเอกสาร
ความตกลงต่างๆ ในต่างประเทศ
Guidelines for Entering into International Agreements
Presented by Ms. Sahattaya Jaisamut
Partner
Legal Spirit Ltd.
6 October 2018
Overview : การจัดทาเอกสารความตกลงต่างๆ ในต่างประเทศ

การเข้าสู่ตลาดต่างประเทศของนักลงทุน นักลงทุนอาจเข้าลงทุนในตลาดต่างประเทศ ด้วย


วิธีการต่างๆ อาทิเช่น การส่งออก การให้ใบอนุญาต (Licensing) แฟรนไชส์ (Franchising) การ
จ้างผลิต (Contract Manufacturing) การร่วมลงทุน (Joint Venture) การซื้อกิจการ (Acquisition)
และการลงทุนโดยตรง (Direct Investment) เป็ นต้น

การทาความตกลงต่างๆ เป็ นลายลักษณ์ อกั ษรเป็ นเครื่องมือที่สาคัญในการเข้าสู่


ตลาดต่างประเทศนักลงทุน
2
1 กระบวนการก่อนเข้าสู่การทาสัญญา (Pre-Contractual Stage)

2 2. กระบวนการลงนามในสัญญา (Contractual Stage)

3 3. กระบวนการภายหลังการลงนามในสัญญา (Post- Contractual Stage)


3
1. กระบวนการก่อนเข้าสู่การทาสัญญา
(Pre-Contractual Stage)

4
กระบวนการก่อนเข้าสู่การทาสัญญา
(Pre-Contractual stage)

ตรวจสอบความมีตวั ตนของคู่สญ
ั ญา

ศึกษาและตรวจสอบกฎหมายที่เกี่ยวข้องในประเทศเป้ าหมายและ
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

ตรวจสอบสนธิสญ ั ญา หรือมาตรการและสิทธิประโยชน์ ของนักลงทุน


ต่างชาติ ระหว่าง ไทยกับประเทศคู่ค้า เพื่อสิทธิประโยชน์ ในการลงทุน
5
ตรวจสอบความมีตวั ตนของคู่สญ
ั ญา

ติดต่อสอบถามข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากบริษทั

ตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้องของบริษทั นัน้ ๆ

ดาเนินการ Due Diligence บริษทั หรือบุคคล เพื่อทาหน้ าที่ตรวจสอบความ


น่ าเชื่อถือของคู่ค้า

เดินทางเพื่อตรวจสอบด้วยตนเอง

6
ศึกษาและตรวจสอบกฎหมายที่เกี่ยวข้องในประเทศเป้ าหมายและ
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ

 ศึกษากฎหมายและกฎข้อบังคับต่ างๆ รวมถึงข้อมูลพื้นฐานของประเทศที่ นักลงทุน


ประสงค์จะทาการค้าและการลงทุน อาทิเช่ น กฎหมายแรงงาน กฎระเบียบเกี่ ยวกับ
การนาเข้าและการส่ งออกสินค้า ภาษี นาเข้าหรือส่งออก กฎการลงทุนของนักลงทุน
ต่างชาติ อนุสญ
ั ญาภาษี ซ้อน เป็ นต้น

7
ตรวจสอบสนธิสญ ั ญา หรือมาตรการ และสิทธิประโยชน์ ของนักลงทุนต่างชาติ
ระหว่าง ประเทศไทยกับประเทศคู่ค้า เพื่อสิทธิประโยชน์ ในการลงทุน

 การศึ ก ษาสิ ทธิ ป ระโยชน์ ก ารลงทุ นในต่ า งประเทศ จะทาให้ นัก ลงทุ นได้ รบั สิ ท ธิ
ประโยชน์ หรือได้รบั ข้อยกเว้นในด้านกฎเกณฑ์ต่างๆจากทางภาครัฐ เช่น ความตก
ลงเขตการการค้าเสรี (“Free Trade Area” หรือ “FTA”) หรือสิทธิประโยชน์ ต่างๆ ใน
ประเทศกลุ่ม CLMV เป็ นต้น

8
2. กระบวนการลงนาม
ในสัญญา
(Contractual Stage)
9
กระบวนการลงนามในสัญญา (Contractual Stage)
Formation of contract

Preliminary Agreements

General structure of
contracts

10
Key clause in related
Agreement
Formation of contract

Meeting of the minds (mutual consent)

Offer Acceptance

11
Preliminary Agreements

What are preliminary agreements?

are entered into with an intention to conclude a more comprehensive


agreement at a later date

commonly used during the negotiation of commercial arrangements

12
Preliminary Agreements (Cont.)

Why are preliminary agreements needed?

Providing a useful ‘road map’ and timetable for the direction of future negotiations
Clarify complex terms that will later be included in a contract
Providing certain safeguards in case the negotiating parties do not end up entering a contract
Providing notice that the parties are officially negotiating with one another
Avoiding any misunderstandings about what has actually been agreed
Mechanisms dealing with pre-contractual issues such as exclusivity, confidentiality, due diligence and
intellectual property.

13
Preliminary Agreements (Cont.)

Letter of Intent (LOI)

Term Sheets

Memorandum of Understanding (MOU)

14
Preliminary Agreements (Cont.)
Letter of Intent (LOI)
 is written in the form of a
letter
 is likely to encompass a
number of different aspects

15
Preliminary Agreements (Cont.)
Term Sheets

 is more often in the form


of a list of the important
parts of the anticipated
contract or agreement

16
Preliminary Agreements (Cont.)
Term Sheets

17
Preliminary Agreements (Cont.)
Term Sheets

18
Preliminary Agreements (Cont.)

Memorandum of Understanding (MOU)

19
Preliminary Agreements (Cont.)
Memorandum of Understanding
(MOU)

20
Preliminary Agreements (Cont.)
Key standard Terms

 Identification of the parties  Timeframe for negotiation and


 Date of the MOU execution of the full agreement
 Legal Status of the MOU  lock-out/Exclusivity/no-shop
 Purpose of entering into the MOU provision
 Key Commercial Terms (depending  Provisions for deal termination
on the types of the contract)  Confidentiality
 Price, Payment,  Allocation of costs of preparation
Consideration and negotiations
 Due Diligence Arrangements  Governing law and jurisdiction
 Conditions to proceeding  Signature Blocks of the Parties 21
Preliminary Agreements (Cont.)
Key standard Terms

 Legal Status of MOU


Clearly specified whether the entire MOU is intended to be binding or non-binding
Clear language stating which terms are non-binding and that the parties may terminate the
transaction at any time (or after the conclusion of the exclusivity period) and in their sole
discretion.
Clearly separate the binding and non-binding parts

22
Preliminary Agreements (Cont.)
Key standard Terms

 Legal Status
• Clearly specify whether the entire MOU is intended to be binding or non-binding
• Language for NON-BINDING
Document is non-binding in every respect and is for discussion purposes only.
Parties will not be bound in any respect until and unless a written agreement is signed and
executed.
There is no other agreement relating to the subject matter, written or oral.
The parties understand that the negotiation may not result in any enforceable contract.
There is no agreement to agree
Nothing in the LOI is intended to create a binding agreement 23
Clearly label “subject to contract” in the MOU
Preliminary Agreements (Cont.)
Key standard Terms

 Legal Status
 Clearly specify whether the MOU is intended to be binding or
non-binding
 Language for BINDING
This LOI is intended by the parties to be a binding contract.
This LOI is the only agreement between the parties and will be replaced by the Agreement…

24
Preliminary Agreements (Cont.)
Key standard Terms
 Legal Status
Separate the binding and non-binding parts
 For example,
PART ONE – NONBINDING PROVISIONS. each party acknowledges that the Nonbinding Provisions are not
intended to create or constitute any legally binding obligation between the Parties, and neither Prospective
Buyer nor Prospective Seller shall have any liability to the other party with respect to the Nonbinding
Provisions as follows:
1…
2…
PART TWO – BINDING PROVISIONS Upon execution by the Parties, the following Binding Provisions will 25
constitute the legally binding and enforceable agreement of Prospective Buyer and Prospective Seller
1….
Preliminary Agreements (Cont.)
Key standard Terms
Legal Status
The legally binding terms may include:
 Confidentiality to prevent parties from sharing confidential information with third parties;
 Exclusive rights to negotiate that prevent parties from negotiating with other parties while they are
negotiating with each other.
 The specific conditions, conducting satisfactory due diligence, receiving required approvals
 Covenant to negotiate in good faith
 Termination: the letter of intent expires on the earlier
(i) mutual agreement by the parties,
(ii) entry into definitive documentation, and 26
(iii) a specified outside date.
Definitive Agreement 27
General structure of Agreements
1. Name of the agreement. 7. General terms and conditions.
2. Date and place. 1) Force Majeure.
3. Names and detail of the parties. 2) Breach and Termination.
4. Recital / Purpose of the parties. 3) Amendment and Waiver.
5. Definition. 4) Assignment.
5) Confidentiality.
6. Specific terms and conditions.
6) Invalidity, Unenforceability or Severability.
1) Objective of the agreement.
7) Entire Agreement.
2) Terms of the parties' rights and obligations.
8) Indemnity.
3) Warranty. 9) Governing Law and Venue of Lawsuits.
4) Duration of agreement. 10) Heading.
5) payment 11) Notice. 28
6) Other terms. 12) Dispute Resolution.
8. Attachment and Appendix.
Key clause in related Agreements

License Agreement

Distributor Agreement

Non Disclosure Agreement

Export Agreement
29
Key Clauses in License Agreement
Grant of Right Reporting and Auditing of Accounts
Sublicensing Representation and Warranties
Territory Indemnification
Intellectual Property Taxes
Assignment Termination
Royalties/Consideration Effect of Termination
Payment Terms Confidentiality
Term and Renewal Recordal of License
Licensee’s Obligations Dispute Resolution
Licensor’s Obligations Governing Law 30
Key Clauses in License Agreement (Cont.)

Intellectual Property

The licensed trade-marks will be used only in association with permitted wares and/or services,
and such wares and services will meet any quality standards specified by the licensor.
The use of the trade-marks will comply at all times with the standards (including size, color,
font, etc.) specified by the licensor as attached to the Agreement in a schedule.
The licensor has the right to pre-approve all use of the licensed trade-marks on promotional or
other material.

31
Key Clauses in Distributor Agreement
 Grant of Right  Intellectual property
 Territory  Delivery
 Term and Renewal  Distributor’s Obligations (Reporting,
 Resale prices Promoting, Advertising)
 Minimum Purchase Order (yearly)  Taxes
 Representation and Warranties  Termination
 Order, invoices and payment  Governing Law and Jurisdiction
 Advertising activities  Dispute Resolution
32
Key Clauses in Non-Disclosure Agreement (NDA)
Parties and its detail.
Use of Confidential Information.
Definition of Confidential Information.
Term of Confidentiality.
Disclosure / Representatives.
Compelled Disclosure / Legal Obligation to Disclose.
Return / Destruction of Confidential Information.
Remedies.
Signature of the parties. 33
Key Clauses in Export Contract
Parties and its detail. Terms of payment.
Product detail and standards. Details of insurance goods against loss, damage, or
Quantity in terms of number of units both in numbers and destruction during transportation, type of risk covered
words. and the extent of coverage
Total contract value in words and numbers and the currency, Documents needed for international trade transactions.
responsibility for the payment of taxes, duties and levies. Product guarantee and warrantee and extent of such
Terms of delivery as per the latest applicable version of warrantees and guarantee, after sales service, etc.
INCOTERMS. Delay in delivery. Define the damages due to the buyer
Nature, manner and focus of the envisaged inspection, as well from the seller in the event of late delivery owing to
as the name of the inspection agency (if any). reasons other than force majeure.
Terms and place of dispatch and delivery and the date from Force majeure.
which the period of delivery begins. Applicable law.
34
Part-shipment, trans-shipment and consolidation of cargo. If Arbitration.
goods are to be shipped under a “consolidation of export Signature of the parties.
cargos”, it should be specified.
3. กระบวนการภายหลังการลงนามในสัญญา
(Post-Contractual Stage)
35
3. กระบวนการภายหลังการลงนามในสัญญา
กรณี ศึกษาและปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการทาเอกสารความตกลงต่างๆ

1 ปัญหาที่เกิดจากการไม่ได้ตรวจสอบคุณสมบัติของคู่สญ
ั ญาก่อนเข้าทาสัญญา

2 ปัญหาที่เกิดจากการใช้แบบฟอร์มความตกลงแบบสาเร็จรูป

3 ปัญหาที่พบในการจัดทาสัญญาแต่ละประเภท

4 ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับข้อสัญญาเบ็ดเตล็ดต่างๆ (boilerplates) 36
ปัญหาที่เกิดจากการไม่ได้ตรวจสอบ
คุณสมบัติของคู่สญ
ั ญาก่อนเข้าทาสัญญา

คุณสมบัติของคู่สญ ั ญาอาจส่งผลกระทบต่อความสมบูรณ์ ของสัญญาหรือความมีผลผูกพันของสัญญาตาม


กฎหมายได้
เช่น ในกรณี ทีก่ รรมการลงนามในหนังสือมอบอานาจไม่ครบตามทีก่ าหนดไว้ในหนังสือรับรอง
บริษทั หรือในกรณี ทีเ่ ป็ นการเข้าทาสัญญาในกิจการทีอ่ ยู่นอกเหนื อขอบวัตถุประสงค์ของบริษทั การเข้า
ทาสัญญาดังกล่าวอาจไม่มีผลผูกพันตามกฎหมายได้

คุณสมบัติของคู่สญ ั ญาหรือความสามารถในการปฏิบตั ิ ชาระ


ั ญาอาจกระทบต่ อความน่ าเชื่ อถือของคู่สญ
หนี้ ของสัญญา
เช่ น ทุนจดทะเบียนของบริษัทมีจานวนน้ อยเมือ่ เที ยบกับมูลค่าของสัญญา หรืองบการเงิน ของ
บริษทั คู่ค้าแสดงผลขาดทุนสะสมต่อเนื อ่ ง เป็ นต้น 37
ปัญหาที่เกิดจากการใช้แบบฟอร์มความตกลงแบบสาเร็จรูป

การใช้แบบฟอร์มสัญญาหรือความตกลงที่ไม่เหมาะสมกับประเภทของธุรกรรม หรือ การนา


แบบฟอร์มสัญญาที่เคยใช้ในการตกลงทางธุรกิจในครัง้ ก่อนๆกลับมาใช้ใหม่ อาจส่งผลให้
แบบฟอร์มดังกล่าวไม่ตรงตามเจตนาที่แท้จริงของคู่สญ
ั ญาในการทาธุรกรรมนัน้ และอาจไม่
สามารถคุ้มครองประโยชน์ ของคู่สญ
ั ญาได้

38
ปัญหาที่พบในการจัดทาสัญญาแต่ละประเภท

 ปัญหาที่พบในการจัดทาสัญญาจัดตัง้ ตัวแทนจาหน่ าย

 ปัญหาที่พบในการจัดทาสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิ

 ปัญหาที่พบในการจัดทาสัญญาจ้างผลิต

 ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับข้อสัญญาเบ็ดเตล็ดต่างๆ (Boilerplates)

39
ปัญหาที่พบในการจัดทาสัญญาจัดตัง้ ตัวแทนจาหน่ าย

 ปั ญหาเรื่องการนิยามคาในสัญ ญาไม่ชดั เจน หรือ ไม่ครอบคลุมเพี ยงพอ เช่ น การนิยาม “อาณาเขต”


(Territory) ในการจัดจาหน่ ายสินค้า โดยไม่ได้พิจารณาว่าคานิยามดังกล่าวครอบคลุมถึงการจัดจาหน่ าย
สินค้าทางอินเตอร์เน็ตหรือไม่

 ปั ญหาเรื่องการไม่ได้กาหนดเหตุในการเลิกสัญญาให้ครอบคลุมถึงการเลิกสัญญาโดยสมัครใจ ทาให้
ั ญายังคงต้ องผูกพันตามสัญญาอยู่ แม้ความผูกพันดังกล่าวจะเป็ นผลเสี ยต่ อธุรกิจของแต่ ละฝ่ ายก็
คู่สญ
ตาม
40
ปัญหาที่พบในการจัดทาสัญญาอนุญาตให้ใช้สิทธิ

นิยามขอบเขตของการอนุญาตให้ใช้ สิทธิอย่างคลุมเครือหรือมีขอบเขตที่ กว้างเกินไป โดยพิจารณาจาก


ประเภทของการอนุ ญ าตให้ ใ ช้ สิ ท ธิ บริ เ วณพื้น ที่ ที่ อ นุ ญ าต ประเภทของสิ ท ธิ และช่ อ งทางในการจัด
จาหน่ าย

ไม่ได้ระบุให้แน่ ชดั ว่าผู้รบั อนุญาตให้ใช้สิทธิสามารถให้ผ้อู ื่นใช้สิทธิต่ออีกทอดได้หรือไม่ หรือสามารถโอน


สิทธิดงั กล่าวไปให้ผอ้ ู ื่นได้หรือไม่

ั ญาต้ องการขยายขอบเขตการให้ ใช้ สิท ธิไ ปยัง ผลิ ตภัณ ฑ์อื่น ๆใน
ในสัญ ญาไม่ไ ด้ มี ก ารระบุก รณี ที่คู่สญ
อนาคต
41
ปัญหาที่พบในการจัดทาสัญญาจ้างผลิต
ประเด็น เรื่ อ งข้ อ ตกลงการรับ ประกัน คุ ณ ภาพสิ น ค้ า ในกรณี ที่ มี ค วามช ารุด บกพร่ อ ง หรื อ สิ น ค้ า ไม่ เ หมาะกับ
วัตถุประสงค์ที่จะใช้งาน
 เนื่ องจากปัจจุบนั จานวนสินค้าที่ผบู้ ริโภคขอเปลี่ยนหรือส่งซ่อมแซมมีจานวนมาก ผู้จ้างผลิตจึงควรทาข้อตกลง
ในเรื่องการรับประกันคุณภาพสินค้าและการส่งคืนสินค้ากับผูผ้ ลิตให้รดั กุมเพื่อลดความเสีย่ งในเรื่องดังกล่าว

ประเด็นเรื่องการตกลงข้ อสัญญาเรื่องการปรั บขึน้ ราคาเพื่อป้ องกันมิให้ ผ้ ูผลิตปรั บราคาขึน้ เองในภายหลัง

ประเด็นเรื่องสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เช่น การรักษาความลับทางการค้า

42
ปัญหาในกรณี ที่ไม่ได้มีการตกลงมาตรการในสัญญากรณี ที่มีการผลิตสินค้าได้ล่าช้า
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับข้อสัญญาเบ็ดเตล็ดต่างๆ (boilerplates)

 ปัญหาจากการที่สญ ั ญาไม่ระบุข้อตกลงสัญญาอันครบถ้วน (Entire Agreement Clause) ซึ่งอาจ


ทาให้ เกิดข้อโต้แย้งในภายหลังจากการที่ ค่สู ญ
ั ญายกหลักฐานอื่นๆขึ้นกล่าวอ้างเพื่อปฏิเสธความผูกพัน
ตามสัญญา หรือกล่าวอ้างความผูกพันที่แตกต่างจากสัญญาที่ทาไว้เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร

 ปัญหาทีเกิดจากการไม่ได้ตกลง Warranty Clause หรือข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งกันไว้

43
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับข้อสัญญาเบ็ดเตล็ดต่างๆ (boilerplates)

 ปัญหาเรื่องการกาหนดกฎหมายที่จะใช้บงั คับกับสัญญา (Governing law clause) ในกรณี ที่ข้อสัญญา


ั ญาตกอยู่ใต้บงั คับของกฎหมายต่างประเทศ อาจเกิดปัญหาที่ข้อสัญญาขัดต่อ
ดังกล่าวกาหนดให้สญ
กฎหมายหรือความสงบเรียบร้อยของประเทศดังกล่าว ส่งผลให้สญ ั ญาตกเป็ นโมฆะได้

 ปัญหาเรื่องค่าใช้จ่ายและระยะเวลาที่อาจเกิดขึน้ จากข้อสัญญาในเรื่องการระงับข้อพิพาท (Dispute


Resolution Clause)

44
THANK YOU FOR

YOUR ATTENTION

45

You might also like